Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรร..[1]

ชุดกิจกรร..[1]

Published by sutitasrising, 2020-06-15 23:12:07

Description: ชุดกิจกรร..[1]

Search

Read the Text Version

1 ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรเ์ พ่อื สง่ เสรมิ การคดิ วเิ คราะห์ กลุ่มที่.............. ชื่อ......................................................................เลขที่.............. ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/.......... คาชี้แจง

2 ชดุ กิจกรรมทนี่ กั เรียนจะศกึ ษาต่อไปนี้ คือ ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพ่ือสง่ เสริมการคดิ วเิ คราะห์ เป็นชุดกิจกรรมที่เนน้ กระบวนการ ให้นกั เรียนได้คิดและไดล้ งมือปฏบิ ตั กิ จิ กรรม การทดลองตามทีก่ าหนดให้ได้ด้วยตนเอง เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดนักเรียนควรปฏิบตั ิ ตามคาชี้แจงต่อไป ตามลาดบั

3 ข้อแนะนาในการใชช้ ดุ กิจกรรม วิธกี ารเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ จากชุดกิจกรรมชุดนี้ 1. อา่ นทาความเข้าใจข้อเสนอแนะการเรยี นรู้ จากชุดกิจกรรมนี้โดยรอบครอบและชัดเจน 2. สร้างความรู้สึกทีด่ ีกับตนเองวา่ เราเปน็ ผู้ มคี วามสามารถ มศี กั ยภาพอยใู่ นตัว และเรา พร้อมทีจ่ ะเรียนรเู้ พ่อื รับสิ่งใหม่ ๆ 3. มีความอสิ ระพร้อมท่ีจะแสดงออกอย่างเตม็ ความสามารถ ตามกิจกรรมท่ีเตรียมไว้ใหใ้ นชุดกิจกรรม 4. อ่าน คดิ เขียน และปฏิบัติ อยา่ งรอบคอบในทกุ ๆ กิจกรรม เพื่อให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดกับตนเอง 5. ใชเ้ วลาในการเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณค่า เพ่อื ให้ตนเองมีความสามารถ ทางด้านการคิดวเิ คราะห์มากขนึ้ 6. ตระหนักอยูเ่ สมอวา่ จะเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือนาความรู้ ที่ได้พฒั นาขน้ึ มาพัฒนาตนเองและพัฒนาสังคม 7. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนและหลงั ทากิจกรรม โดยใชค้ วามสามารถของตนเอง 8. ขณะศกึ ษาและทาชดุ กิจกรรมถ้าเกดิ ข้อสงสัยหรอื ไมเ่ ข้าใจสามารถปรึกษาครูผู้สอนได้ ขอใหน้ ักเรยี นทุกคนทาชดุ กิจกรรมด้วยความเต็มใจและตัง้ ใจ ผลท่เี กิดจะเป็นความรูท้ ช่ี ่วยพฒั นาศักยภาพของนักเรียนได้

4 สารบัญ หน้า 2 คาชแี้ จง.................................................................................................................... 4 สารบญั ..................................................................................................................... 5 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ………………………………………………………………........................ 6 แบบทดสอบก่อนเรียน…………………………………………………….................................... 8 กิจกรรมการเรยี นรู้.................................................................................................... 8 9 การสร้างความสนใจ ………………………………………………….............. 15 การสารวจและค้นหา …………………………………………………............. 16 การอธิบายและสรุปผล ………………………………………………............. 20 การขยายความรู้ ………………………………………………….................... การประเมนิ ผล …………………………………………………....................... บทสรุป.....................................................................................................................22 บรรณนานกุ รม..........................................................................................................23

5 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เม่ือเรียนจบชดุ กิจกรรมน้แี ล้ว นกั เรียนควรจะสามารถ 1. อธบิ ายความหมายของโครมาโทกราฟไี ด้ 2. ทดลองแยกองค์ประกอบของสารเน้อื เดยี วที่มสี ี โดยวธิ ีโครมาโทกราฟีกระดาษ 3. อธิบายการนาความรู้เรื่องการแยกสารโดยวธิ ี โครมาโทกราฟี ไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน เนือ้ หาการเรียนรปู้ ระกอบด้วย - โครมาโทกราฟี - องค์ประกอบของสที ่สี กดั จากพืช พรอ้ มแล้วไปเรียนกนั เถอะ ทาด้วยความเตม็ ใจและตั้งใจนะคะ อยา่ ลืม ทาแบบทดสอบ ก่อนเรียนนะ แบบทดสอบก่อนเรียน

6 ให้นักเรียนเลือกข้อทถี่ ูกท่สี ุดเพียงข้อเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตวั เลอื ก ทีถ่ กู ต้อง 1. การแยกสารบริสทุ ธดิ์ ้วยวธิ ีโครมาโทกราฟีอาศยั หลักการในเรื่องใด ก.ความแตกต่างของการดดู ซบั ข.ความแตกต่างของสารในการละลาย ค.ความแตกตา่ งของสารท่ีใช้เปน็ ตวั ทาละลาย ง.ความแตกตา่ งของการละลายและการดูดซับ 2. เมื่อใช้โครมาโทกราฟกี ระดาษแยกสผี สมออกจากกนั โดยใช้นา้ เปน็ ตวั ทาละลาย ปรากฎวา่ มี สี 3 ชนดิ แยกออกจากกันเรยี งตามลาดับจากจดุ เริ่มตน้ ดังนี้ แดง เหลือง และเขียว แสดงวา่ ก. สีแดงมมี วลโมเลกลุ สงู ที่สุด จึงเคลือ่ นทไ่ี ดช้ า้ ข. สีเขยี วละลายนา้ ไดม้ ากกว่า จงึ เคล่อื นที่ไดไ้ กลทสี่ ุด ค. สแี ดงมสี มบตั เิ ปน็ ตวั ดดู ซับ จึงเคลื่อนทไ่ี ด้ช้า ง. สเี ขยี วละลายนา้ ไดน้ ้อยมาก จึงเคล่อื นทม่ี าพร้อมๆ กับน้า 3. ข้อจากดั ของการใชเ้ ทคนิคโครมาโทกราฟี คอื ข้อใด ก. ใชท้ ดสอบสารตวั อยา่ งปริมาณน้อยๆ ไม่ได้ ข. ใชแ้ ยกองคป์ ระกอบต่างๆ ในของผสมท่ีไมม่ สี ีออกจากกันไมไ่ ด้ ค. องค์ประกอบตา่ งๆ ในของผสมท่ีเคลอ่ื นทีไ่ ปบนตัวดดู ซับได้เกอื บเทา่ กนั จะแยกจาก กันไมไ่ ด้ ง. ถา้ แยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมออกจากกันไดแ้ ล้ว จะสกัดสารเหลา่ นั้นออก จากตัวดดู ซบั ไม่ได้ 4. การทาโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ กระดาษทาหน้าท่ใี ด ก. เปน็ ทางผา่ นของสารที่ต้องการจะแยก ทาให้เคลอื่ นท่ไี ปได้ ข. เป็นตัวทาละลายของสารที่ต้องการแยก ค. ดูดซับสารไว้มาก ทาให้สารนั้นเคล่ือนทีไ่ ด้ดี และแยกออกมากอ่ น ง. ดูดซับสารไวม้ าก ทาให้สารน้ันเคล่ือนทีไ่ ด้ช้า จงึ เคลอ่ื นออกมาทีหลงั 5. ขอ้ ใดควรใช้วธิ ีโครมาโทกราฟี

7 ก. สกดั สีออกจากดอกกหุ ลาบ ข. การแยกนา้ มันออกจากราขา้ ว ค. สกัดนา้ มนั หอมระเหยออกจากใบยูคาลปิ ตสั ง. วเิ คราะหว์ า่ สแี ดงในสผี สมอาหารเป็นสารใด 6. เม่อื มีสารสองชนิดทจ่ี ะต้องแยกออกจากกนั เชน่ สาร ก กบั สาร ข โดยใช้วธิ ี โครมาโทกราฟี สมบัติในข้อใดบ้างไม่มีความจาเป็น ก. สารทง้ั สองละลายในตัวทาละลายตัวเดียวกันได้ต่างกนั ข. สารท้ังสองเป็นสารท่ีมีสีต่างกนั ค. สารท้ังสองมคี วามสามารถในการดูดซับท่แี ตกต่างกนั ง. อัตราการเคลื่อนที่ของสารบนตวั ดูดซบั มอี ัตราการเคลอ่ื นทที่ แี่ ตกตา่ งกัน 7. ขอ้ ใดไม่ถูกต้องเก่ียวกับวิธีโครมาโทกราฟี ก. การแยกสารอาศัยสมบตั ิในการละลายและการดูดซับ ข. ใช้วเิ คราะหช์ นิดของสารได้ ค. สารท่ีเคล่ือนทไี่ ปบนตวั ดูดซับเท่ากันจะแยกจากกนั ไม่ได้ ง. ใชแ้ ยกเฉพาะสารที่มสี ีเท่าน้ัน 8. ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ วามผดิ พลาดในการแยกสารละลายด้วยวิธโี ครมาโทกราฟี ก. การใชน้ า้ เป็นตัวทาละลาย ข. การหยดสารละลายเป็นจุดใหญ่เกนิ ไป ค. ความอิ่มตัวของระบบของตัวทาละลาย ง. สารละลายทใี่ ช้ทดสอบมีความเขม้ ขน้ เกินไป 9. ถา้ ตอ้ งการทราบวา่ องคป์ ระกอบสีแดงในผลไม้มีเพียงชนิดเดยี วหรือมากกวา่ หน่งึ ชนิดน้นั จะเลอื กตรวจสอบด้วยวิธีใด ก. กลั่น ข. ระเหยแห้ง ค. โครมาโทกราฟี ง. สกัดดว้ ยตัวทาละลาย 10. ข้อใดต่อไปน้ไี มถ่ ูกต้อง ก. ค่า Rfเปน็ ค่าทีสามารถนาไปใชว้ เิ คราะหช์ นดิ ของสารได้ ข. ค่า Rfของสารใดสารหน่ึงจะมคี ่าเท่ากนั เสมอในทกุ ระบบการทดลอง ค. ค่า Rfของสารใด ๆ จะมคี ่าไม่มากกวา่ 1.0 เสมอ ง. ค่า Rfของสารใด ๆ จะหาไดจ้ ากการทดลองเท่านัน้ กิจกรรมการเรียนรู้

8 ใหน้ กั เรียนวเิ คราะห์องคป์ ระกอบของ ผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองดืม่ ในภาพ แล้วสรปุ ผล ลงในตาราง ภาพประกอบ 1 ผลิตภัณฑ์น้าผลไมพ้ รอ้ มดมื่ ท่มี า : www.oknation.net สรปุ ผลการวิเคราะห์ ส่วนประกอบ สีของสว่ นประกอบ ............................................................ ............................................................ ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. ............................................................. นกั เรียนคดิ วา่ สารทส่ี กัดได้จากส่วนต่าง ๆ ของพชื นน้ั เป็นสารเพยี งชนิดเดียวหรือเป็นสารหลายชนดิ ผสมกันอยู่ พร้อมทง้ั แสดงเหตุผลท่ีทาใหเ้ ช่ือเช่นนัน้ ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ขั้นสารวจและค้นหา

9 ความหมายของโครมาโทกราฟี แปลว่า การแยกออกมาให้เปน็ สี ๆ (The production of color scheme) ท้ังนี้เนื่องจาก Tswetfชาวรัสเซีย เปน็ ผู้ริเร่ิมใช้เทคนิคนเี้ ป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1906 โดยการแยกสารท่สี กัดออกจากใบไมอ้ อกไดเ้ ปน็ สีต่าง ๆ โครมาโทกราฟีนอกจากใช้แยกสารท่ี มีสีได้แลว้ โครมาโทกราฟยี ังสามารถใชแ้ ยกสารทไี่ ม่มีสีไดอ้ กี ด้วยโครมาโทกราฟมี หี ลายประเภท เช่น 1. โครมาโทกราฟแี บบกระดาษ 2. โครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์ (แบบลากระบอก) 3. ทนิ เลเยอรโ์ ครมาโทกราฟี (แบบผิวบาง) แต่ทีส่ ามารถทาไดใ้ นระดับโรงเรยี นโดยไม่ต้องใชเ้ ครื่องมือที่มรี าคาแพง คอื โครมาโทกราฟกี ระดาษ การแยกสารโดยวธิ ีโครมาโทกราฟี นิยมใชแ้ ยกสารเนอ้ื เดียวที่ผสมกนั อยู่ในปริมาณน้อยออก จากกนั โดยอาศยั สมบัตใิ นการละลายของสารในตัวทาละลาย และสมบัติ ของตวั ดูดซบั โดยที่สาร แตล่ ะชนดิ มีความสามารถ ในการละลายตา่ งกัน และถูกดดู ซบั ดว้ ย ตัวดูดซับไดต้ ่างกัน สารทีแ่ ยก โดยวิธนี ้ี มกั เป็นสารมีสี เชน่ สียอ้ ม สีผสมอาหาร สีจากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื น้าหมึก อีกทัง้ ยังใช้แยก สารทไ่ี มม่ สี ไี ดอ้ ีกดว้ ย เช่น สารละลายกรดอะมโิ น สารละลายนา้ ตาลหลายชนิดผสมกัน หลกั การแยกสารโดยใช้วิธโี ครมาโทกราฟี มดี ังน้ี 1. ใชแ้ ยกสารผสมท่ีมีสีปนอยดู่ ว้ ยกนั ออกจากกัน และถา้ เป็นสารที่ไมม่ สี สี ามารถแยกได้ เชน่ กัน แต่ต้องอาศัยเทคนคิ เพ่ิมเตมิ 2. สารท่ีผสมกันจะต้องมีความสามารถในการละลายในตวั ทาละลายชนิดเดียวกนั ได้ตา่ งกัน และความสามารถในการถกู ดดู ซับโดยตวั ดดู ซบั ชนิดเดยี วกันไดต้ ่างกนั ถ้าสมบัติต่างกนั มากจะแยก ไดช้ ดั เจนมากข้ึน 3. สารทีล่ ะลายไดด้ สี ่วนใหญ่จะถูกดูดซึมไดน้ อ้ ยจึงเคลือ่ นทไี่ ปไดไ้ กล สารท่ีละลาย ไดน้ อ้ ยสว่ นใหญ่จะถกู ดดู ซบั ไดด้ ี จงึ เคลื่อนทไี่ ปได้ระยะทางน้อยกว่า การทาโครมาโทกราฟี ประกอบด้วยองคป์ ระกอบหรือตวั กลาง 2 ชนดิ ดงั นี้ 1. ตวั กลางท่ไี มเ่ คลอ่ื นที่ หรือตัวดดู ซบั เปน็ ตัวดูดซับสารที่ต้องการแยก ซงึ่ สารต่างชนิดกัน จะถูกดดู ซับด้วยตัวดดู ซับชนดิ เดยี วกนั ไดต้ ่างกนั ตัวอย่างตัวดูดซับ ได้แก่ กระดาษกรอง กระดาษ โครมาโทกราฟี แทง่ ชอล์ก เป็นต้น 2. ตวั กลางทเ่ี คล่ือนที่ หรือตัวทาละลาย อาจเปน็ ของเหลวบริสทุ ธห์ิ รือเปน็ สารละลายก็ได้ ทาหนา้ ท่ลี ะลายสารตา่ ง ๆ (ตวั ละลาย) แล้วพาเคลอ่ื นท่ีไปบนตวั ดดู ซับ สารที่ละลายได้ดีจะแยกตัว ออกมากอ่ น ตัวอยา่ งตวั กลาง หรือตัวทาละลาย เช่น น้า เอทานอล น้าเกลือ เฮกเซน อเี ทอร์ สารแต่ละชนดิ แยกจากกันเนือ่ งจากเคล่อื นที่

10 ด้วยอตั ราเรว็ ต่างกันบนตัวดูดซบั และในตัวทาละลาย เดยี วกนั เพราะมีสมบตั ใิ นการถกู ดดู ซับและการละลาย ต่างกัน สารใดทีถ่ ูกดดู ซับน้อยกวา่ ละลายในตัวทาละลายได้ ดกี วา่ จะเคล่อื นไปบนตวั ดดู ซับไดเ้ ร็วกวา่ จึงไปได้ไกลจากจดุ เริม่ ต้นมากกวา่ สารท่ีถูกดูดซับได้ดีกวา่ ละลายไดน้ อ้ ยกว่า จะเคลอ่ื นไปบนตัวดูดซับไดช้ า้ กว่าจึงไปไดไ้ กล จากจดุ เริ่มต้นน้อยกว่า รู้มยั๊ ... นัน่ สิ....ไมแ่ น่ใจ ของเหลวจะเคลือ่ นผา่ น ตวั ดดู ซับตา่ งชนิดกัน ไดเ้ ทา่ กนั หรอื ไม่ ไมน่ า่ จะเทา่ นะ ถ้าอย่างน้ันเราไป ตรวจสอบดูกันนะ ตกลง...ไปกันเลย ไดเ้ ลย....เสรจ็ แล้วจะตามไปนะ

11 ลองทาดู : การเคลือ่ นที่ของของเหลวผ่านตวั กลาง วธิ ีการตรวจสอบไม่ยุ่งยาก....ให้แตล่ ะกลุ่มปฏิบัติดังนี้ 1. หยดนา้ หมึก 1 หยด ลงบนกระดาษกรอง สังเกต การซึมของนา้ หมกึ บนกระดาษกรองวดั เสน้ ผ่านศูนย์กลางของ บริเวณทน่ี ้าหมกึ แพร่ออกไป บันทกึ ผล 2. ทาการทดลองซา้ แตเ่ ปลี่ยนจากกระดาษกรองเปน็ ผ้าฝา้ ย กระดาษซับ กระดาษสาใบไม้ แทง่ ชอล์ก หรือวัสดุอ่ืนทส่ี นใจ บนั ทกึ ผล ผลการทากจิ กรรม วสั ดุทเี่ ป็นตวั ดูดซับ สีท่ีแยกไดจ้ ากนา้ หมกึ เส้นผา่ นศูนย์กลางของน้าหมึก(cm) ใบไม้ กระดาษกรอง ผา้ ฝ้าย กระดาษซบั กระดาษสา ใบไม้ แทง่ ชอลก์ วัสดุอืน่ ๆ.................... ระยะทางท่ีของเหลวเคล่อื นทไี่ ปบนวสั ดุชนดิ ต่างๆ เหมอื นหรอื ต่างกันอยา่ งไร ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... การเคลอ่ื นท่ขี องของเหลวบนวสั ดุน่าจะมีความสัมพันธ์กบั อะไรบ้าง

12 ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... การเคล่ือนท่ีของของเหลวบนตวั ดดู ซับจะมคี วามสัมพันธ์ กับความสามารถในการดดู ซับของเหลวของตัวดดู ซบั นนั้ และซึมผา่ นตัวดดู ซบั นน้ั ๆ ถา้ ของเหลวน้นั ซึมผา่ น ตวั ดดู ซบั ไดด้ ี และของเหลวน้นั ถกู ดูดซบั ไดน้ อ้ ย ก็จะเคลื่อนทีไ่ ปได้ไกล ถา้ ของเหลวถกู ดดู ซับไดม้ าก ก็จะเคลื่อนทีไ่ ด้น้อย แต่ถา้ ของเหลวนน้ั ไมส่ ามารถ ซึมผ่านตัวดดู ซบั ไดก้ ็จะไม่เคลือ่ นทเ่ี ลยเมือ่ แห้งแลว้ จะเป็นจดุ สเี ลก็ ๆ อยู่บนตัวดูดซบั น้ัน หลักการสาคญั ของโครมาโทกราฟอี ยทู่ ่ีการละลายของสารละลายในตวั ทาละลาย และการ ถูกดดู ซับโดยตัวดดู ซับ สารทจ่ี ะแยกดว้ ยวธิ ีโครมาโทกราฟจี ะละลายในตวั ทาละลายได้ไม่เทา่ กนั และถูกดูดซับโดยตัวดูดซับได้ไมเ่ ท่ากัน ทาใหเ้ คล่อื นทีไ่ ด้เรว็ ไม่เทา่ กนั และแยกออกจากกันได้การ แยกสารโดยวธิ ีนี้อยู่ที่การละลายของสารละลายในตวั ทาละลาย และการถกู ดูดซับโดยตวั ดดู ซับ สารท่ีจะแยกด้วยวิธโี ครมาโทกราฟจี ะละลายในตัวทาละลายไดไ้ ม่เทา่ กนั และถูกดดู ซับโดยตัวดูด ซบั ไดไ้ มเ่ ท่ากัน ทาใหเ้ คล่ือนทไ่ี ดเ้ รว็ ไม่เทา่ กันและแยกออกจากกันได้ เมอื่ ต้องการแยกสารออกจากกนั โดยใชเ้ ทคนิคโครมาโทกราฟี ให้นาสารผสมนนั้ มาละลาย ในตัวทาละลายท่ีเหมาะสม แล้วให้เคลอื่ นทผี่ ่านไปบนตัวดูดซบั เน่ืองจากอัตราการเคลือ่ นทีข่ อง สารบนตวั ดูดซับขน้ึ อยู่กบั ความสามารถในการละลายของสารแต่ละชนิดในตวั ทาละลาย และ ความสามารถในการดูดซับของตวั ดูดซบั ที่มีต่อสารนนั้ สารทล่ี ะลายไดไ้ มเ่ ทา่ กนั และถูกดูดซับไม่ เท่ากนั กจ็ ะเคลื่อนท่ีไปดว้ ยอัตราเร็วทไ่ี ม่เท่ากนั ทาให้แยกออกจากกันได้ โดยสรปุ เม่ือนาของผสมทตี่ ้องการจะแยกโดยโครมาโทกราฟี มาละลายในตวั ทาละลาย แลว้ ให้เคล่ือนทไ่ี ปบนตัวดูดซับ สารท่ีละลายในตัวทาละลายไดด้ ี และถูกดดู ซบั นอ้ ย จะถูกตวั ทา ละลายพาเคลือ่ นท่ีออกมาก่อน ในขณะทส่ี ารซึ่งละลายในตัวทาละลายได้น้อย และถูกดูดซับมากจะ เคล่ือนทีอ่ ออกมาภายหลัง ย่งิ ใชต้ ัวดดู ซับมาก ๆ ก็จะยิ่งแยกสารออกจากกันได้ดี

13 พืชแตล่ ะชนดิ มรี งควัตถุหลายชนดิ ผสมกันอยู่ รงควตั ถุท่เี รามองเห็นเพียง สเี ดยี วอาจมีรงควตั ถเุ พยี งชนิดเดยี วหรอื หลายชนิดกไ็ ด้ การศกึ ษาวา่ สีจากพืชมีรงควตั ถชุ นดิ เดียวหรอื หลายชนดิ ผสมกันอย่นู ั้น นักเรยี นจะได้ ศกึ ษาจากกจิ กรรมการทดลองต่อไปนี้ กิจกรรมการทดลอง เรื่อง องคป์ ระกอบของสที ่สี กัดจากพืช ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ จาได้หรอื เปลา่ สมมุติฐาน หมายถึง การคิดหาคาตอบ ลว่ งหนา้ โดยอาศยั การสังเกต ความรู้ ประสบการณเ์ ดิม มกั เป็นข้อความทแี่ สดงถึงความสัมพันธ์ ของเหตุและผล สมมุติฐานที่ตั้งข้นึ อาจจะ ถกู หรือผิดก็ได้ สามารถทราบไดภ้ ายหลัง การปฏิบัติการทดลอง เพือ่ สนับสนนุ หรือ คัดค้านสมมตุ ฐิ านท่ีตงั้ ไว้ จะตงั้ สมมุติฐานวา่ ยังไงน๊ะ...

14 ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. รายการ จานวน / กล่มุ 1 cm3 1.สที ี่สกดั ไดจ้ ากกิจกรรม เร่อื ง การสกัดด้วย ตัวทาละลาย (หรือน้าหมึก หรอื สผี สมอาหาร) 10 cm3 2.สารละลายโซเดียมคลอไรดเ์ ขม้ ข้น 1% 10 cm3 3.น้า 10 cm3 4.เอทานอล 3 ใบ 5.บีกเกอร์ขนาด 50 cm3 หรือกลอ่ งพลาสตกิ เบอร์ 2 3 แผน่ 6.กระดาษกรองขนาด 2 cm x 5.5 cm 3 แผน่ 7.กระดาษกาว (เทปกาวใส) ยาว 5 cm 2 อัน 8.หลอดแคปิลลารปี ลายตบี 3 แผน่ 9.กระดาษโครมาโทกราฟ*ี ขนาด 2 cm x 5.5 cm 2 แผ่น 10.กระดาษแข็ง ขนาด 20 cm x 10 cm 1. เตมิ นา้ เอทานอล และสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ลงในบกี เกอร์หรือภาชนะขนาด 50 cm3 แต่ละใบให้มีระดบั ความสงู ของของเหลวประมาณ 0.3 cm 2. ตดั กระดาษกรองหรอื กระดาษโครมาโทกราฟีให้มีขนาด 2 cm × 5.5 cm จานวน 3 แผ่น ใช้วสั ดุที่มีปลายขนาดเลก็ เชน่ เข็มหรือหลอดแคปลิ ารี จมุ่ สีท่ีสกดั ได้จากพชื ในกจิ กรรมการ ทดลอง เรื่องการสกดั ด้วยตัวทาละลาย มาแตะท่กี ระดาษแต่ละแผน่ ตรงกึง่ กลางและห่างจากปลาย กระดาษด้านหนึ่งประมาณ 1 cm รอใหแ้ ห้งแล้วจุ่มของเหลวท่ีจะทดสอบมาแตะซา้ ทาเช่นน้ี หลายๆ ครง้ั จนได้จดุ สีท่ีเข้มข้ึน

15 3. นาแถบกระดาษกรองไปตดิ เข้ากบั กระดาษแขง็ ด้วยเทปกาวใส ใหบ้ ริเวณท่จี ดุ ของเหลว ไวอ้ ยู่ท่ีด้านลา่ ง วางกระดาษแขง็ ลงบนปากบกี เกอร์ ปรับแตง่ ระยะของกระดาษกรองใหป้ ลายของ กระดาษกรองอยู่ในของเหลวแตไ่ มแ่ ตะกับกน้ บีกเกอร์ 4. ตงั้ ชดุ การทดลองไวจ้ นกระทง่ั ของเหลวแพร่ข้นึ มาเกือบถึงปลายกระดาษด้านบน ยกกระดาษกรองออก ผึง่ ให้แหง้ สงั เกตการเปลี่ยนแปลง ตารางบนั ทึกผลการทดลอง สาร สีของสาละลาย ผลท่สี งั เกตไดเ้ ม่ือใชก้ ระดาษกรองแยก ตัวอย่าง กอ่ นแยก เมอ่ื ใชเ้ อทานอล เมอ่ื ใช้น้า เมอื่ ใช้สารละลาย โซเดียมคลอไรด์ สสี กัดจากพชื ทนี่ ามาทดสอบประกอบด้วยสารเพยี งชนิดเดยี วหรือไม่ ทราบได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. จะมวี ิธแี ยกสที ่ีปรากฏบนกระดาษกรองหรือกระดาษโครมาโทกราฟอี อกมาได้อยา่ งไร ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ใหน้ กั เรยี นสรปุ หลักการแยกองคป์ ระกอบของสีทสี่ กดั จากพืชโดยวธิ ีโครมาโทกราฟี .............................................................................................................................

16 ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. สารทส่ี กัดจากพืชทีเ่ หน็ เปน็ สารเนอื้ เดยี ว อาจมอี งคป์ ระกอบชนิดเดยี ว หรือมากกว่า 1 ชนิดก็ได้ ซึง่ แยกโดยวิธโี ครมาโทกราฟี ถ้าแยกได้ หลายสีแสดงวา่ มีองคป์ ระกอบมากกวา่ 1 ชนดิ ถ้าแยกไดส้ เี ดยี ว อาจมี องค์ประกอบเดยี ว หรอื มีหลายองค์ประกอบท่เี คล่อื นทีไ่ ด้เรว็ ใกลเ้ คียง กันมากจะต้องตรวจสอบซา้ โดยใช้ตัวทาละลายชนดิ อื่น โครมาโทกราฟี (Chromatography) เปน็ เทคนิคอย่างหนึ่งทใ่ี ช้แยกสารผสมออกจากกันให้ บรสิ ุทธิ์ เทคนิคน้ีเร่ิมใชค้ รง้ั แรกในปี พ.ศ. 2449 โดยนักพฤกษศาสตร์ชาวรัสเซีย ช่ือมเิ ชลสเวต คาวา่ โครมาโทกราฟี หมายถึงการแยกสที ่ีผสมออกจากกนั แต่ปัจจุบนั สามารถพฒั นามาใช้แยกสาร ไม่มสี ีได้ และใชไ้ ด้แมส้ ารนัน้ มีเพยี งเล็กนอ้ ย ภาพประกอบ 2 การทาเปเปอร์โครมาโทกราฟี ที่มา : www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Matter.htm

17 หลกั การสาคัญของโครมาโทกราฟี คือ สารใดในของผสมละลายในตวั ทาละลายทใ่ี ชไ้ ดด้ ีจะ เคลื่อนท่ไี ปกบั ตวั ทาละลายได้ไกล หรอื ดดู ซับไว้ไดม้ ากหรอื ไดด้ ีระยะทางการเคล่อื นที่ของตัวถกู ละลายแตล่ ะชนดิ กบั ระยะทางการเคลื่อนท่ขี องตัวทาละลายท่ีเทา่ กนั เม่ือนามาเปรยี บเทยี บในแต่ ละชนิดของตวั ถกู ละลายจะเหน็ ความแตกตา่ งกัน อัตราส่วนทีไ่ ดเ้ รยี กว่า Rate of Flow Values หรอื ย่อว่า Rf ค่าRfขึ้นอยกู่ ับชนดิ ของตัวทาละลาย ชนดิ ของตัวดดู ซับ สภาวะ เช่น อณุ หภูมิ ความกดดัน ความชืน้ ในอากาศ ความสามรถในการละลายของสารบริสุทธก์ ับตัวทาละลายท่ี นามาใช้คา่ Rfของสารชนิดหนงึ่ ในตัวทาละลายอย่างหนง่ึ มคี ่าคงที่ ดงั น้ัน เมื่อระบุ Rf ของสารใดต้องบอกชนิดของตัวทาละลายทใ่ี ชแ้ ละสภาวะทีใ่ ช้ด้วย 1. ค่า Rfไม่มหี น่วย 2. คา่ Rfหาไดจ้ ากการทดลองเท่านนั้ 3. ค่า Rfมคี ่าไม่เกนิ 1 4. คา่ Rfขึ้นอย่กู ับชนิดของสารและชนิดตวั ทาละลาย 5. คา่ Rfเปน็ คา่ เฉพาะคา่ คงท่ขี องแต่ละสาร สารท่มี ีค่า Rfมาก แสดงว่ามีสมบัติ สารท่มี ีค่า Rfน้อย แสดงว่ามีสมบตั ิ 1. เคล่อื นทไ่ี ด้เร็วหรอื มาก 1. เคลอ่ื นท่ีไดช้ ้าหรอื น้อย 2. ถูกดดู ซับไดน้ อ้ ย 2. ถกู ดดู ซับได้มาก 3. ละลายได้ดี 3. ละลายไดน้ ้อย ทาหนา้ ทดี่ ูดซบั สารและเป็นตวั กลางให้สารเคล่ือนท่ผี า่ นและแยกตวั ออกจากกัน สารทีด่ ดู ซับด้วยตัวดดู ซับได้ดีจะเคลอื่ นท่ีช้า สารท่ีดูดซบั ไดน้ อ้ ยจะเคลอ่ื นทีเ่ รว็ ทาหน้าทล่ี ะลายและพาสารเคลอ่ื นไป สารท่ีละลายในตวั ทาละลายได้ดี จะเคลอ่ื น ท่แี ยกตัวไปก่อน สารท่ลี ะลายในตวั ทาละลายไดน้ ้อยจะเคล่อื นท่ีถึงทหี ลงั

18 ตัวทาละลายท่ีเหมาะสมควรจะละลายสารทต่ี อ้ งการแยกไมเ่ ท่ากนั และตวั ดูดซบั ท่ี เหมาะสมก็ควรจะดดู ซบั สารทต่ี อ้ งการแยกไดไ้ ม่เทา่ กัน ในระบบทเี่ ลือกไดอ้ ย่างเหมาะสมสารท่ี ละลายได้ดคี วรจะถกู ดูดซบั น้อย และสารที่ละลายไดน้ ้อยควรจะถกู ดูดซับมาก เพื่อจะไดแ้ ยกออก จากกันไดด้ ี ถ้าสารท่ีตอ้ งการแยกมกี ารละลายและถูกดูดซับไดใ้ กล้เคียงกัน จะแยกโดยโครมาโท กราฟไี มไ่ ด้ เพราะจะทาใหไ้ ดส้ ารทไี่ มบ่ ริสทุ ธ์ิ ดังนั้นในบางคร้ังถ้าต้องการแยกสารที่ผสมกันอยู่ หลาย ๆ ชนิด อาจจะตอ้ งใช้ตวั ทาละลายหลาย ๆ ชนิด หรืออาจจะตอ้ งใชต้ วั ทาละลายผสม มฉิ ะน้ันจะแยกสารออกจากกันไมไ่ ด้ ตวั ทาละลายที่นิยมใชก้ ันได้แก่ เฮกเซน ปโิ ตรเลยี มอเี ธอร์ ไซโคลเฮกเซน เบนซนี อะซโิ ตน คารบ์ อนเตตระคลอไรด์ คลอโรฟอร์ม และเอธานอล เปน็ ตน้ ตวั ดูดซับทีน่ ิยมใช้ ไดแ้ ก่ อลูมินาเจล(Al2O3) และซิลิกาเจล (SiO2) 1. ใช้ทดสอบสารตัวอยา่ งท่ีมีปรมิ าณนอ้ ย ๆ ได้ 2. ใช้แยกองค์ประกอบต่างๆ ในของผสมออกจากกนั ได้ ท้ังที่มสี แี ละไม่มีสสี ารไม่มสี ีทาให้ ภายหลังการแยกโดย - อบด้วยไอของไอโอดีน - ฉายด้วยรังสี UV - พ่นสารบางชดนดิ ไปทาปฏิกิริยาและเกดิ สีขน้ึ 3. ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ทัง้ ทางปริมาณวเิ คราะห์ และคณุ ภาพวิเคราะห์ กล่าวคือ ใช้ได้ท้งั การ แยกสาร เพอ่ื การตรวจสอบวเิ คราะหห์ าชนิดของสาร และใชว้ ิเคราะห์หาปรมิ าณของสาร ถา้ สารทต่ี อ้ งการจะแยกออกจากกันมคี วามสามารถในการละลายในตวั ทาละลายใน ตวั ทา ละลายไดเ้ ทา่ กันและถูกดดู ซับดว้ ยตัวดูดซับเท่ากนั ไม่สามารรถแยกออกจากกันได้ เพราะจะ เคลอ่ื นทไ่ี ปพรอ้ มกนั ดว้ ยระยะทางเท่ากนั ซงึ มวี ิธีวิธแี กไ้ ข คือ ในกรณีทตี่ วั ทาละลายชนดิ แรกแยกสารออกจากกนั ได้ไม่ชัดเจน ก็อาจจะทาต่ออีกครั้งได้ โดยการนาโครมาโทกราฟกี ระดาษที่ได้ในตอนแรกมาใสใ่ นตวั ทาละลายใหม่ โดยจัดกระดาษใหว้ าง อยบู่ นตัวทาละลายในลักษณะทต่ี ้ังฉากกับคร้ังแรก (ตัวทาละลายชนดิ ใหมจ่ ะเคล่ือนทใ่ี นทิศทางท่ตี ง้ั ฉากกบั ตวั ทาละลายชนดิ แรก) ซึ่งจะทาใหแ้ ยกสารไดช้ ดั เจนขน้ึ นอกจากนีถ้ า้ ตอ้ งการใหส้ าร แยกกันชัดเจนมากข้ึนก็อาจจะใชว้ ิธีเพ่มิ ความยาวของกระดาษเพือ่ เพ่ิมระยะทางท่ีสารเคลอ่ื นท่ี จะเป็นผลให้การแยกดกี ว่าใช้กระดาษสั้น

19 ช่วยคิดช่วยตอบ 1. หลกั การสาคญั ของวธิ โี ครมาโทกราฟี คือ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. 2. ขอ้ จากดั ของวธิ ีโครมาโทกราฟี คือ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. 3. ถา้ นาสารสหี นง่ึ มาทาโครมาโทกราฟกี ระดาษแล้วไดส้ เี ดียว เปน็ เพราะ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................................................................. .............................................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. คะแนนเตม็ 5 คะแนน นักเรยี นให้คะแนนตวั เอง ................. คะแนน เพราะ ................................. ...................................................

20 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ให้นักเรยี นเลือกข้อท่ีถกู ทสี่ ดุ เพยี งข้อเดียว แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ทับตวั เลือก ทถี่ กู ตอ้ ง 1. การแยกสารบริสทุ ธ์ดิ ้วยวิธโี ครมาโทกราฟีอาศยั หลักการในเรือ่ งใด ก.ความแตกตา่ งของการดูดซับ ข.ความแตกต่างของสารในการละลาย ค.ความแตกตา่ งของสารทใ่ี ช้เปน็ ตัวทาละลาย ง.ความแตกต่างของการละลายและการดดู ซบั 2. เม่ือใช้โครมาโทกราฟกี ระดาษแยกสผี สมออกจากกนั โดยใชน้ ้าเป็นตัวทาละลาย ปรากฎวา่ มี สี 3 ชนิดแยกออกจากกันเรยี งตามลาดับจากจุดเรม่ิ ตน้ ดังน้ี แดง เหลอื ง และเขียว แสดงวา่ จ. สีแดงมีมวลโมเลกลุ สงู ทีส่ ดุ จงึ เคลอื่ นทไ่ี ดช้ ้า ฉ. สีเขียวละลายน้าได้มากกว่า จงึ เคลื่อนท่ีไดไ้ กลที่สุด ช. สแี ดงมีสมบัตเิ ปน็ ตัวดูดซบั จงึ เคลอื่ นที่ไดช้ า้ ซ. สเี ขียวละลายนา้ ได้น้อยมาก จึงเคลอื่ นที่มาพร้อมๆ กบั นา้ 3. ข้อจากัดของการใช้เทคนคิ โครมาโทกราฟี คือขอ้ ใด จ. ใชท้ ดสอบสารตัวอยา่ งปรมิ าณน้อยๆ ไม่ได้ ฉ. ใช้แยกองคป์ ระกอบต่างๆ ในของผสมท่ไี มม่ สี ีออกจากกันไม่ได้ ช. องค์ประกอบต่างๆ ในของผสมทเ่ี คล่อื นทีไ่ ปบนตวั ดูดซบั ไดเ้ กือบเทา่ กัน จะแยกจาก กันไมไ่ ด้ ซ. ถา้ แยกองคป์ ระกอบตา่ งๆ ในของผสมออกจากกันไดแ้ ล้ว จะสกัดสารเหล่านน้ั ออก จากตัวดดู ซับไมไ่ ด้ 4. การทาโครมาโทกราฟแี บบกระดาษ กระดาษทาหน้าท่ใี ด จ. เป็นทางผา่ นของสารทต่ี ้องการจะแยก ทาให้เคลือ่ นท่ีไปได้ ฉ. เป็นตวั ทาละลายของสารทต่ี ้องการแยก ช. ดูดซบั สารไว้มาก ทาให้สารน้นั เคลื่อนทไ่ี ด้ดี และแยกออกมาก่อน ซ. ดูดซับสารไว้มาก ทาใหส้ ารน้นั เคลื่อนที่ได้ชา้ จงึ เคลอ่ื นออกมาทีหลงั 5. ขอ้ ใดควรใช้วธิ โี ครมาโทกราฟี

21 ก. สกัดสีออกจากดอกกุหลาบ ช. การแยกนา้ มนั ออกจากราขา้ ว ค. สกดั น้ามนั หอมระเหยออกจากใบยคู าลปิ ตัส ง. วิเคราะหว์ า่ สีแดงในสผี สมอาหารเป็นสารใด 6. เมือ่ มีสารสองชนิดทจี่ ะต้องแยกออกจากกนั เชน่ สาร ก กับ สาร ข โดยใช้วธิ ี โครมาโทกราฟี สมบตั ิในข้อใดบา้ งไม่มีความจาเป็น ก. สารทั้งสองละลายในตัวทาละลายตัวเดียวกันได้ต่างกัน ข. สารทง้ั สองเปน็ สารท่ีมสี ีต่างกัน ค. สารท้งั สองมคี วามสามารถในการดูดซบั ที่แตกต่างกนั ง. อตั ราการเคล่ือนที่ของสารบนตัวดดู ซับมีอัตราการเคลือ่ นที่ทแ่ี ตกต่างกนั 7. ข้อใดไมถ่ ูกต้องเก่ียวกับวิธโี ครมาโทกราฟี ก. การแยกสารอาศยั สมบตั ิในการละลายและการดดู ซับ ข. ใช้วเิ คราะห์ชนดิ ของสารได้ ค. สารทเี่ คล่อื นท่ีไปบนตวั ดดู ซับเท่ากันจะแยกจากกันไมไ่ ด้ ง. ใชแ้ ยกเฉพาะสารท่ีมสี เี ทา่ นน้ั 8. ข้อใดไม่ใช่ความผดิ พลาดในการแยกสารละลายด้วยวธิ ีโครมาโทกราฟี ก. การใช้นา้ เป็นตัวทาละลาย ข. การหยดสารละลายเป็นจุดใหญเ่ กินไป ค. ความอ่ิมตวั ของระบบของตัวทาละลาย ง. สารละลายทใี่ ช้ทดสอบมีความเขม้ ข้นเกนิ ไป 9. ถา้ ต้องการทราบวา่ องค์ประกอบสแี ดงในผลไม้มเี พียงชนิดเดยี วหรือมากกวา่ หนึ่งชนิดนั้น จะเลือกตรวจสอบด้วยวิธีใด ก. กล่ัน ข. ระเหยแห้ง ค. โครมาโทกราฟี ง. สกัดด้วยตวั ทาละลาย 10. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไมถ่ กู ต้อง ก. ค่า Rfเป็นค่าทสี ามารถนาไปใชว้ ิเคราะหช์ นดิ ของสารได้ ข. คา่ Rfของสารใดสารหน่งึ จะมีค่าเทา่ กันเสมอในทกุ ระบบการทดลอง ค. ค่า Rfของสารใด ๆ จะมีค่าไมม่ ากกว่า 1.0 เสมอ ง. คา่ Rfของสารใด ๆ จะหาได้จากการทดลองเท่าน้นั

22 วิธีโครมาโทกราฟีใชป้ ระโยชนท์ ง้ั ทางปริมาณวิเคราะห์ และคณุ ภาพ วเิ คราะหใ์ นกรณที ี่ใชก้ บั สารไม่มีสี อาจตรวจโดยส่องด้วยรังสี อลุ ตราไวดอเลต (UV) ถา้ สารนน้ั เรอื งแสงหรอื พน่ ด้วยไอโอดนี บน ตัวดูดซับในภาชนะปดิ สารบางชนดิ เมื่อถูกไอโอดนี จะใหส้ นี า้ ตาลหรอื พน่ นินไฮดรนิ (Ninhydrin) ถ้าสารนนั้ มีกรดอะมโิ นจะได้สีนา้ เงินปนมว่ ง อยา่ ลืมสรปุ ผลการเรยี นของตนเองนะคะ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น ขอ้ ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เฉลย ง ข ค ก ง ข ง ก ค ข สรุปผลการเรยี น คะแนนแบบทดสอบ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ก่อนเรยี น......... คะแนน หลังเรียน......... คะแนน ( ) เพม่ิ ขน้ึ ( ) ลดลง ............. คะแนน คะแนนกิจกรรมส่งเสริมการคิดวเิ คราะห์ กจิ กรรมลองคดิ ลองทา คะแนนเตม็ 10 คะแนน ทาได้ ........... คะแนน กจิ กรรมการทดลอง คะแนนเตม็ 10 คะแนน ทาได้ ........... คะแนน ช่วยคดิ ช่วยตอบ คะแนนเต็ม 5 คะแนน ทาได้ ........... คะแนน รวมคะแนนท้งั หมด 35 คะแนน รวมคะแนนท่ีทาไดท้ ั้งหมด...........คะแนน คดิ เป็นร้อยละ......... ของคะแนนเตม็

23 บรรณานกุ รม กณุ ฑรี เพ็ชรทวีพรเดช และคณะ. คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรสู้ าระพน้ื ฐานกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ม.1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์, 2545. เจรญิ วรนาถนฤมล. การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ้ันพื้นฐาน ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1. รายงานการศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547. นภาภรณ์ธัญญา. คูม่ อื สาระการเรียนรู้พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ม.1. กรงุ เทพฯ :แมค็ , 2550. ปรีชา สุวรรพนิ ิจ และนงลักษณ์ สวุ รรณพนิ จิ . สารและสมบัติของสาร. กรงุ เทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิง, ม.ป.ป. ปน่ิ ศกั ด์ิ ชุมเกษียน และปยิ าณี สมคิด. สัมฤทธ์ิมาตรฐานวทิ ยาศาสตร์ 1. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์, 2545. ศรลี กั ษณ์ ผลวฒั นะ และคณะ. สมบตั ิของสารและการจาแนก. กรุงเทพฯ : นยิ มวทิ ยา, 2545. สกลศกั ดิ์ มหาพรหม. วิทยาศาสตร์ ม.2. กรงุ เทพฯ : แมค็ , 2551. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์3 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 1. กรงุ เทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว, 2554. . คู่มอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์ 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เลม่ 1. กรุงเทพฯ : สกสค.ลาดพรา้ ว, 2554. เสยี ง เชษฐศ์ ิรพิ งศ์. สารและสมบตั ิของสาร. กรงุ เทพฯ : ธนธัชการพิมพ์, ม.ป.ป. www.oknation.net. สืบค้นเมื่อ 19มกราคม 2555. www.maceducation.com. สบื ค้นเมือ่ 19มกราคม 2555. www.school4.pattaya.go.th/Science/chem-ext.htm. สบื ค้นเมอ่ื 19มกราคม 2555. www.nstlearning.com. สบื ค้นเมื่อ 19มกราคม 2555.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook