Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติศาสตร์ e-book เล่ม2

ประวัติศาสตร์ e-book เล่ม2

Published by Baimint Patteera, 2021-02-23 05:34:28

Description: ประวัติศาสตร์ e-book เล่ม2

Search

Read the Text Version

บคุ คลสาํ คัญของไทย เลม2 คุณครูวฒุ ิชเสยั นเอช่ือมประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต๑

บคุ คลสาํ คัญของไทย เลม2 โรงเรยี นมัธยมวดั หนองแขม สํานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา มธั ยมศึกษาเขต๑ ผูจ ดั ทํา รุงทิวา วานิยพงศ สิริลักษณ ดอกเทยี น วรดร สงิ หแ กว พรริษา ลักษณประวตั ิ โชควิวฒั น รุงเรือง พัทธธีรา ฐิติจริ ธรานนท ณฐั วุฒิ ปน ะกาพงั สุชาดา เจริญอปุ กรณ วรินธร หัสดี

คํานํา หนงั สือเลม นี้จดั ทาํ ขนึ้ เพอ่ื เปนสว นหนึ่งของรายวชิ า ประวตั ิศาสตร ส32104 ช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 5 เพื่อใหไดศ ึกษาความรเู ร่อื ง บคุ คลสําคัญ และไดศ กึ ษาอยา ง เขาใจเพ่ือเปน ประโยชนก ับการเรียน คณะผจู ัดทําหวังวา หนงั สอื เลม นี้จะเปน ประโยชนก ับผอู าน หรอื นักเรียน นักศกึ ษา ที่หาขอมูลในเรือ่ งนี้ หากมขี อ แนะนาํ หรอื ขอผิดพลาดประการใด คณะผูจัดทาํ ขอนอ มรบั ไวและขออภยั มา ณ ทีน่ ี้ดวย คณะผจู ดั ทํา 22 กุมภาพันธ 2564

สารบญั 1 2 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยูห วั 3 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู ัว 4 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ลพระอัฐมรามาธิบดนิ ทร 5 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 6 สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส 7 พระเจา บรมวงศเ ธอกรมหลวงวงศาธริ าชสนิท 8 สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการ 9 สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ 10 สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจา ฟา กรมพระยานรศิ รานุวดั ต 11 สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวีพระพนั วัสสาอัยยิกาเจา 12 เจา พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) 13 หมอมราโชทัย(หมอมราชวงศกระตาย อิศรางกูร) 14 สมเด็จเจา พระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ( ชว ง บนุ นาค) 15 ซีมง เดอ ลา ลแู บร 16 พระสังฆราชปล เลอกวั ซ 17 หมอบรดั เลย หรือ แดน บีช แบรดลยี 18 พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐม หิศรภักด(ี คอซิมบี๊ ณ ระนอง) 19 พระยากัลยาณไมตรี(ฟรานซสิ บ.ี แซร) ศลิ ป พรี ะศรี

1 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรเิ รมิ การสรา้ งโรงเรยี นเเทนวัดประจํารชั กาล นอกจากนียงั ทรง สนับสนุนกิจการของโรงเรยี นราชวิทยาลัยทีได้สรา้ งขนึ เมอื ปพ.ศ.2440 ต่อมาทรงโปรดเกล้าใหป้ ระดิษฐานโรงเรยี นขา้ ราชกาลพลเรอื นขนึ เปน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึงเปนมหาลัยเเหง่ เเรก

2 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั มพี ระราชปรารภจะพระราชทานรฐั ธรรมนูญ แต่ถูกทักท้วงจากพระบรมวงศ์ชันผใู้ หญจ่ ึงได้ระงบั ไปก่อน ซึงหมอ่ มเจ้าพนู พศิ มยั ดิศกุล มดี ํารสั ถึงเรอื งนีว่า \"ส่วนพระเจ้าอยหู่ วั เองนัน [พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั ] ทรงรูส้ ึกยงิ ขนึ ทุกทีว่าการปกครองบา้ นเมอื งในสมยั เช่นนี เปนการเหลือกําลังของ พระองค์ทีจะทรงรบั ผดิ ชอบได้โดยลําพงั แต่ผเู้ ดียวพระองค์ทรงรูด้ ีว่า ทรงอ่อนทังในทาง physical และmental จึงมพี ระราชปรารถนาจะพระราชทานรฐั ธรรมนูญใหช้ ่วยกัน รบั ผดิ ชอบใหเ้ ต็มทีอยเู่ สมอ\" แต่ก็เกิดเหตุการณ์ปฏิวัติโดยคณะราษฎร ในวันที 24มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 โดยพระองค์ทรงยนิ ยอมสละพระราชอํานาจ และเปนพระมหากษตั รยิ ภ์ ายใต้รฐั ธรรมนูญ ทรงใหต้ รวจตราตัวบทกฎหมาย รฐั ธรรมนูญทีจะเปนหลักในการปกครองอยา่ งถีถ้วน

3 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดลพระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงได้เขา้ รว่ มการพระราชทานรฐั ธรรมนูนฉบบั ใหม่ เเละเปดประชุม สภา นอกจากนียงั เสด็จไปเยยี มราษฎรในจังหวัดต่างๆ รวมทังชาว ไทยเชือสายจีน เพอื เเก้ไขปญหาระหว่างชาวไทยเเละชาวไทยเชือ สายจีน ณ สําเพง็

4 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรงโปรดเกล้าใหพ้ ระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วนพระองค์จัดตังมลู นิธสิ ําหรบั พระราชทานทุนเเก่นิสิตนักศึกษาทีมผี ลการเรยี นดีเพอื สรา้ งโอกาสในการศึกษา หาความรู้ นอกจากนียงั ทรงเสด็จไปเยยี มเเละพระราชทานพระบรมราโชวาทเเก่ คณะอาจารยเ์ เละนักเรยี นทีโรงเรยี น

5 สมเด็จพระมหาสมณ เจ้ากรมพระยาวชิ รญาณวโรรส พระมหาสมณเจ้า ทรงเรมิ การพฒั นาศาสนา โดยใหภ้ อกษสุ ามเณรบวชใหมเ่ รยี นพระ ธรรมวินัยในภาษาไทย มกี ารสอบความรูด้ ้วยการเขยี น ต่อมาจึงกําหนดเปนการสอบ นักธรรม รวมถึงทรงอํานวยการจัดการศึกษาหวั เมอื งทัวราชอาณาจักรเพอื ขยายการ ศึกษาขนั พนื ฐานตามพระราชดํารขิ องร.6

6 พระเจ้าบรมวงศ์ เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท ทรงเเต่งตําราภาษาไทยขนึ ใหม่ เพอื อนุรกั ษภ์ าษาไทย พระราชนิพนธเ์ รอื ง จินดามณี 2 ซึงทรงดัดเเปลงจากสมยั สุโขทัยเพอื ใหก้ ารใช้ภาษาไทยงา่ ยกว่าเดิม

7 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์ วโรปการ ทรงบรหิ ารราชการแผน่ ดินตลอดพระชมมช์ ีพ. จากรชั กาลทีหา้ ถึงรชั กาลทีหกโดยรชั กาล ทีหกพระจุฬาจอมเก้าเจ้าอยหู่ วั ได้ใหท้ รงดํารงตําแหน่งราชเลขานุการฝายต่างประเทศให้ ทําหน้าทีดูแลงานต่างประเทศทรงมบี ทบาทด้านการทูตเปนผเู้ จรจาขอ้ พพิ าทกับฝรงั เศส โดยครงั วิกฤตการณ์. รส112 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารตังสถานทูตในต่างประเทศทียโุ รปและ สหรฐั อเมรกิ าจนได้ชือว่าองบดิ าแหง่ การต่างประเทศของไทย

8 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงมคี วามสามารถด้าน ประวัติศาสตรโ์ บราณคดีและศิลปะวัฒนธรรมทรงได้รบั พระสมญั ญานาม ว่าพระบดิ าแหง่ ประวัติศาสตรไ์ ทยโดยในวันที 25 มถุ ุนายน พศ 2505 ทรงได้รบั การประกาศยกยอ่ งรว่าเปนบคุ คลสําคัญของโลกคนแรกของประเทศไทย โดยมมี ติใหว้ ันทีหนึงธนั วาของทุกปเปนวันดํารงราชานุภาพ

9 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ เจ้าฟากรมพระยานริศรานุวัดติ ด้านศิลปกรรม งานสถาปตยกรรมทีโปรดทํามากคือ แบบพระเมรุ โดยตรสั ว่า \"เปนงานทีทําขนึ ใช้ชัวคราวแล้วรอื ทิงไป เปนโอกาสได้ทดลองใช้ปญญาความคิดแผลงได้เต็มที จะผดิ พลาดไปบา้ งก็ไมส่ ู้กระไร ระวังเพยี งอยา่ งเดียวคือเรอื งทุนเท่านัน\" ด้านสถาปตยกรรม การออกแบบก่อสรา้ งพระอุโบสถวัดเบญจมบพติ ร ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั การออกแบบก่อสรา้ งอาคารเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวัดเบญจมบพติ ร ด้านภาพจิตรกรรม ภาพเขยี น ภาพเขยี นสีนามนั ประกอบพระราช พงศาวดาร แผน่ ดินพระเจ้าท้ายสระครงั กรุงศรอี ยธุ ยา เปนภาพช้าง ทรงพระมหาอุปราชแทงช้างพระทีนัง ภาพเขยี นรถพระอาทิตยท์ ี เพดานพระทีนังภานุมาศจํารูญ (พระทีนังบรมพมิ าน) ภาพประกอบ เรอื งธรรมาธรรมะสงคราม ภาพแบบพดั ต่าง ๆ

10 สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วัสสาอัยยกิ าเจ้า พระพนั วัสสาอัยยกิ าเจ้า พระองค์ทรงดํารงตําแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อัน เปนชือของสภากาชาดไทยเมอื ครงั แรกตังในต้นรชั กาลที 5 เปนพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายกิ า สภากาชาดไทย พระองค์ที 2 และทรงสรา้ งสถานพยาบาลขนึ ปจจุบนั คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรรี าชา ซึงอยภู่ ายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ทีประชุมใหญอ่ งค์การ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ (ยเู นสโก) ได้ประกาศยกยอ่ งสมเด็จพระศรสี วรนิ ทิราบรมราช เทวีฯ เปนบคุ คลสําคัญของโลก เนืองในโอกาสวันครบรอบ 150 ปวันคล้ายวันพระราชสมภพ ในวันที 10 กันยายน พ.ศ. 2555 ในฐานะทีทรงมผี ลงานดีเด่นด้านการศึกษา วิทยาศาสตรส์ ุขภาพและการอนุรกั ษพ์ ฒั นาด้านวัฒนธรรม

11 เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) ออกยาโกศาปาน ได้บรรดาศักดิออกพระพสิ ุทสุนทรได้รบั เเต่งตังเปน ฑูตออกไปเจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับฝรังเศษในสมยั นันฝรังเศษมอี ิทธิพลใน พระราชสํานักของพระนารายณ์เปนอยา่ งมากจุดประสงค์ของฝรงั เศษคือ การเผยเเพรศ่ าสนาครสิ ต์เเละโน้มน้าวใหพ้ ระนารายณ์เปนครสิ ชนรวมทัง พยายามจะมามีอํานาจทางการเมืองในอยุธยาด้วยการเจรจาก่อตังกําลังทหาร ทีเมอื งบางปะกอกเเละเมืองมะรดิ

12 หมอ่ มราโชทัย (หมอ่ มราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร) นามเดิม หมอ่ มราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูรเปนบตุ รหมอ่ มเจ้าชอุ่ม กับหมอ่ มนก เกิดเมอื พ.ศ. 2362 ม.ร.ว.กระต่ายได้ถวายตัวเปนขา้ หลวงเดิมมาตังแต่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงผนวช ในรชั กาลที3 และได้เรยี นภาษาอังกฤษกับหมอบลัดเลย์ เมอื พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั เสด็จ ขนึ ครองราชย์ ม.ร.ว.กระต่ายจึงได้เขา้ รบั ราชการเปนราชเลขานุการ ต่อมาได้รบั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เปนหมอ่ มราโชทัย ต้นพ.ศ. 2398 พ.ศ. 2400 หมอ่ มราโชทัยได้ทําหน้าทีเปนล่ามรว่ มคณะทูต ทีพระยามนตรสี ุรยิ วงศ์(ชุ่ม บนุ นาค) เปนหวั หน้าเดินทางไปเจรญิ ทางพระไมตรกี ับประเทศอังกฤษ เมอื กลับมาได้รบั พระราชทานพานทองเล็กเปนบาํ เหน็จความชอบในราชการแล้วได้เปนอธบิ ดีผพู้ พิ ากษาศาล ต่างประเทศคนแรกและทําหน้าทีช่วยราชการติดต่อกับอังกฤษในเรอื งต่าง ๆ เช่นต้อนรบั ลอรด์ เฮย์ ผบู้ ญั ชาการทัพเรอื อังกฤษทีเขา้ มากรุงเทพฯในพ.ศ. 2404 เปนต้น นอกจากได้เขยี นจดหมายเหตุ เปนรายงานไว้แล้วหมอ่ มราโชทัยได้นําเนือความจดหมายเหตุมาแต่งขยายเปนกลอนเรยี กชือว่านิราศลอนดอน * ขายกรรมสิทธกิ ารพมิ พค์ รงั แรกใหห้ มอบรดั เลยเ์ ปนเงนิ 400 บาทเมอื พ.ศ. 2404 ภายหลังเมอื พ.ศ. 2408 มปี ระกาศขายหนังสือในบางกอกรคี อเดอรโ์ ดยระบวุ ่า “เจ้าของหนังสือนิราศลอนดอนนันอยทู่ ีแพรมิ ปากคลองขดุ ตพานหนั ชือนายจ่ารง” หมอ่ มราโชทัยถึงแก่กรรมเมอื วันที 31 กรกฎาคม พ.ศ.2410 อายไุ ด้ 48 ป

13 สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่ วง บนุ นาค) นามเดิม ช่วง พ.ศ. 2351– 2425 เปนขนุ นางชันผใู้ หญใ่ นสกุลบนุ นาคของสยามในสมยั รตั นโกสินทรผ์ มู้ บี ทบาทสําคัญในการเมอื งการปกครองของสยามโดยเรมิ เขา้ รบั ราชการเปนมหาดเล็กในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย และได้รบั การสถาปนาขนึ เปนสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ์ใน รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ซึงนับเปนผทู้ ีดํารงตําแหน่ง \"สมเด็จเจ้าพระยา\" เปนคนสุดท้ายนอกจากนี ท่านยงั มบี ทบาทในการอัญเชิญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ขนึ ครองสิรริ าชสมบตั ิและได้รบั การ แต่งตังเปนผสู้ ําเรจ็ ราชการแทนพระองค์ตังแต่ปพ.ศ. 2411- พ.ศ.2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้วท่านยงั มบี ทบาทสําคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรรี วมถึงเปนแมก่ องในการก่อสรา้ ง บรู ณะ ซ่อมแซม สถานทีต่าง ๆ มากมาย เช่นพระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เปนต้น

14 ซี มง เดอ ลา ลูแบร ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ เปนราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที 14 แหง่ ฝรงั เศส เดินทางมาประเทศไทยในรชั สมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเพอื เจรญิ สัมพนั ธไมตรกี ับไทย โดยเดินทางมาทีกรุงศรอี ยธุ ยาพรอ้ มกับ เจ้าพระยาโกษาธบิ ดี และทหารของฝรงั เศสจํานวนประมาณ 600 คน ท่านได้รบั การแต่งตังใหเ้ ปนหวั หน้าคณะทูตฝรงั เศสรว่ มกับโกลด เซเบอแร ดูว์ บแู ล เดินทางมาอยธุ ยา เพอื เจรจาเรอื งศาสนาและการค้าของฝรงั เศสในอาณาจักรอยธุ ยา ในการเจรจานันอยธุ ยาไมส่ ู้จัก ยนิ ยอมรบั ขอ้ เสนอของฝรงั เศส ทําใหเ้ สียเวลาในการเจรจาหลายสัปดาห์ ในทีสุดฝายไทยก็ยนิ ยอมรบั ขอ้ เสนอตามความประสงค์ของฝรงั เศสและทังสองฝายได้ลงนามในสัญญาการค้าทีเมอื งลพบรุ เี มอื วันที 11 ธนั วาคมนอกจากจะเปนหวั หน้าคณะทูตจากฝรงั เศสแล้ว ท่านยงั ได้รบั คําสังใหส้ ังเกตเรอื งราวต่าง ๆ เกียวกับอาณาจักรอยธุ ยาและบนั ทึกขอ้ สังเกตทังหลายเหล่านันกลับไปรายงานใหร้ าชสํานักของพระ เจ้าหลุยส์ที 14 ได้รบั ทราบด้วย จดหมายเหตุเหล่านีได้กลายเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรท์ ีมคี ุณค่า ต่อแวดวงวิชาประวัติศาสตรไ์ ทยสมยั อยธุ ยา เพราะกล่าวถึงชีวิตความเปนอยู่ สังคม ประเพณี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม หลายสิงหลายอยา่ งของคนในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา จึงนับได้ว่าเปนหลักฐาน ทางประวัติศาสตรท์ ีมจี ารกึ เปนลายลักษณ์อักษร

15 พระสังฆราชปลเลอกัวซ ฌอ็ ง-บาติสต์ ปาลกัวหรอื ทีรูจ้ ักในนามพระสังฆราชปลเลอกัวซ์เปนบาทหลวง คณะมสิ ซังต่างประเทศแหง่ กรุงปารสี ปฏิบตั ิหน้าทีมชิ ชันนารใี นประเทศไทยในรชั สมยั ของ พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยหู่ วั ถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั มสี มณศักดิ เปนประมขุ มสิ ซังสยามตะวันออก (apostolicvicar of Eastern Siam) และมขุ นายกเกียรตินาม แหง่ มาลลอสหรอื มลั ลุส(titularbishop of Mallos/Mallus) ท่านได้นําวิทยาการการถ่ายรูปเขา้ มา ในประเทศไทยและนอกจากนีท่านยงั จัดทําพจนานุกรมสีภาษาเล่มแรกของไทยขนึ ชือ สัพะ พะจะนะ พาสาไท โดยมภี าษาทังสีทีว่านีคือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรงั เศสและภาษาละติน

16 หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย หมอบรดั เลย์ หรอื แดน บชี แบรดลีย์ แพทยศาสตรบณั ฑิต หรอื บางคนเขยี นเปน หมอบรดั เล หมอปลัดเล หมอปรดั เล หรอื หมอปรดั เลย์ เปนนายแพทยช์ าวอเมรกิ ัน ทีเขา้ มาเผยแพรศ่ าสนาครสิ ต์ในประเทศไทยสมยั รชั กาลที 3 และยงั เปนผเู้ รมิ ต้น การพมิ พอ์ ักษรไทยในประเทศไทยเปนและทําการผา่ ตัดในประเทศไทยเปนครงั แรก

17 พระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิ มบี ณ ระนอง) มหาอํามาตย์โท พระยารษั ฎานุประดิษฐ์มหศิ รภักดี (คอซิมบี ณ ระนอง) เปนข้าราชการชาวไทยระหว่างเปนเจ้าเมอื งตรงั ได้พฒั นาเมืองให้เจรญิ ก้าวหน้าจนกลายเปนเมืองเกษตรกรรม จึงได้เลือนตําแหน่ง เปนสมุหเทศาภิบาลสําเรจ็ ราชการมณฑลภูเก็ต และเปนผไู้ ด้รบั พระราชทานนามสกุล ณ ระนอง

18 พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิ ส บ.ี แซร์) ฟรานซิส บ.ี แซร์ เปนชาวอเมรกิ ันซึงเปนทีรูจ้ ักกันในบา้ นเกิดของเขาในฐานะ “ลูกเขย” ของ วูด โรว์ วิลสัน อดีตประธานาธบิ ดีคนที 28 ของสหรฐั ฯ ขณะเดียวกัน แซรย์ งั เปนผสู้ รา้ งคุณงาม ความดีใหก้ ับสยามหลายประการ โดยเฉพาะการเจรจาคลีคลายปญหาสนธสิ ัญญาทีไมเ่ ท่า เทียมกับชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที 6 จึงพระราชทาน บรรดาศักดิใหเ้ ปน “พระยากัลยาณไมตร”ี

19 ศิลป พีระศรี ศาสตราจารยศ์ ิลปเปนผวู้ ่งรากฐานทีเขม้ แข็งใหก้ ับวงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการ ผลักดันสิทธใิ หม้ ีความรูค้ วามสามารถในวิชาศิลปะจุดประสงค์ให้คนไทยเข้าใจศิลปะและ สามารถสรา้ งสรรค์งานศิลปด้วยความสามารถของบคุ ลากรของตัวเองการก่อตังมหา ลัยศิลปากรจึงเปรยี บเหมือนการหว่านเมล็ดพนั ธุใ์ หแ้ ก่คนไทยเพือออกไปสรา้ งศิลปะ เพือแผน่ ดินของตนแมจ้ ะรเิ รมิ ฐานความรูด้ ้านศิลปตะวันตกขณะเดียวกันศาสตราจารย์ ศิลปก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึงเนืองจากต้องการใหค้ นไทยรกั ษาความงามของ ศิลปะไทยเอาไว้จึงได้เกิดการสรา้ งศิษยท์ ีมีความรูท้ ังศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยและ เกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมยั ใหมใ่ นทีสุดด้วยคุณูปการนีศาสตราจารยศ์ ิลปจึกได้รบั การยกยอ่ งใหเ้ ปนปูชนียบคุ คลของมหาลัยศิลปกรและของประเทศไทยโดยเฉพาะงาน ประติมากรรมทีมผี ลงานโดดเด่นมากมายทีสรา้ งไว้ใหแ้ ก่ประเทศไทยด้วยเหตุนี ศาสตราจารย์ศิลปจึงได้รบั การยกยอ่ งว่าเปนบิดาแหง่ ศิลปะสมยั ใหม่ของไทยและเปน บดิ าของมหาวิทยาลัยศิลปากรในวันที15กันยายนทุกปจะถือเปน วันศิลป พรี ะศีเพือระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารยศ์ ิลป

อางองิ ออนไลน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยหู วั https://sites.google.com/site/burnboom12na/rachkal-thi-3 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดลพระอัฐมรามาธิบดนิ ทร https://library.stou.ac.th/odi/rama-7/history.html พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ลพระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร https://sites.google.com/site/biographyofkingbysung/rachkal-thi-8/phra-rach-krniykic-khxng-rachkal-thi-8 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร https://ka.mahidol.ac.th/king_9/history.html#:~:text=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0% B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B 2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%20%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9E %E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%99,%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0 %B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8 %B8%E0%B8%97%E0%B8%81%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0 สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชริ ญาณวโรรส http://www.gongtham.net/my_data/mydata_mahasamana/index.php พระเจา บรมวงศเธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท https://sites.google.com/site/nunookty/phracea-brm-wngs-thex-krm-hl-wng-wngsathi-rach- snith#:~:text=%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%97-,%E0%B8%9E%E0 %B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8 %A8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD%20%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8 %87%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A,%E0%B8%A7%E0%B8%B1 %E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%209%20%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8 %A1%202551 สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการ https://dvifa.mfa.go.th/th/page/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A1 %E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0% B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98%E0%B8%AD? menu=5d6aa27a15e39c2a2c0078d6 สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ http://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2012/5/2002_5006.pdf สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอเจา ฟา กรมพระยานรศิ รานุวดั ติ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E 0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9 %80%E0%B8%98%E0%B8%AD_%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3 %E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0 %B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B9% 8C สมเดจ็ พระศรีสวรนิ ทิราบรมราชเทวีพระพันวัสสาอัยยิกาเจา http://www.queensavang.org/new_qs/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B 8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4/

อางองิ ออนไลน เจา พระยาโกษาธิบดี (ปาน) https://sites.google.com/site/mnngot3/bth-thi-4-phl-ngan-khxng-bukhkhl-sakhay-ni-kar-srangsrrkh-chati-thiy/4-3-khunnang-laea-chaw-tang-chati-thi-mi- bthbath-ni-kar-srangsrrkh-chati-thiy? tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&showPrintDialog=1#:~:text=%2D%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AB% E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B8 %95%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87,%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%84%E 0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8% 99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0 %B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2 หมอมราโชทัย(หมอ มราชวงศกระตาย อศิ รางกรู ) http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19550- 029812#:~:text=%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%8A%E0%B8%97%E 0%B8%B1%E0%B8%A2%20(%E0%B8%A1.%E0%B8%A3.%E0%B8%A7.,%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%20%E0%B9%92%20%E0%B8%9E.%E0%B 8%A8.%E0%B9%92%E0%B9%94%E0%B9%90%E0%B9%98 สมเดจ็ เจาพระยาบรมมหาศรีสรุ ิยวงศ(ชวง บนุ นาค) http://www.bunnag.in.th/prarajpannuang001-3.html ซมี ง เดอ ลา ลแู บร https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A1%E0%B8%87_%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%AD_%E0%B8%A5%E0%B8%B2_ %E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B9%8C#:~:text=%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%88%E0%B8% B2%E0%B8%81%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0 %B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0,%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8% A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0 %B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%98%E0%B8% A2%E0%B8%B2 พระสังฆราชปล เลอกัวซ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%8C%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%87- %E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B9%8C_%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0% B8%B1%E0%B8%A7#:~:text=%E0%B8%8C%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%87%2D%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A A%E0%B8%95%E0%B9%8C%20%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A7%20(%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8 %B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA,%E0%B8%AA%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%B0% E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%20(apostolic%20vicar%20of หมอบรัดเลย หรือ แดน บีช แบรดลีย https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%99_%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%8A_%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E 0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C#:~:text=%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1 %E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%20%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B8%AD,%E0%B9%83%E0%B8%99% E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9 %87%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81

อา งอิงออนไลน พระยารัษฎานปุ ระดษิ ฐม หิศรภักดี(คอซิมบ๊ี ณ ระนอง) https://guru.sanook.com/4299/ พระยากัลยาณไมตร(ี ฟรานซสิ บ.ี แซร) https://thepeople.co/francis-sayre-drafter-outline-preliminary-draft/ ศิลป พรี ะศรี https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B9%8C_%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B 0%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook