Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสัมมนาโครงงานวิทยาศาสตร์

การสัมมนาโครงงานวิทยาศาสตร์

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2019-12-21 02:17:00

Description: การสัมมนาโครงงานวิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

วทิ ยาลยั เทคโนโลยีการเกษตร และประมงปตั ตานี การเรียนร้ทู ห่ี ลากหลาย เปน็ การเรยี นรทู้ ต่ี อ้ งคน้ หา การเรียนรู้เพือ่ การวิจัยและพฒั นา จะนาพาส่คู วามสาเร็จ

การสัมมนาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง ศกึ ษาผลของการเสริมขมน้ิ ชนั ในอาหาร ต่อการเจรญิ เติบโตและอตั ราการรอดของปลาสอด The Effect of Curcuma longa Supplementary Food on the Rate Growth of Xiphophorus hellerii

นาเสนอโดย นางสาวนูรีซัน อบิ รอเฮง นางสาวปนัดดา กโู น นางสาวนัสเราะห์ มเี ลาะ

ครทู ่ปี รกึ ษา ครูชวารี ช่วยนุกลู ครูนุสราสินี ณ พัทลงุ ครูธีริศรา คงคาลมิ ีน





ทม่ี าและความสาคญั ของการศกึ ษาคน้ ควา้ ดงั น้ัน ผู้ทาโครงการจึงสนใจทีจ่ ะศึกษาผลของการเสริม ผงขม้นิ ชันในอาหารทเ่ี หมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของปลา สอด ซ่ึงเป็นพืชสมุนไพรราคาถูกและสามารถหาได้ใน ท้องถ่ิน มาผสมกับอาหารให้ปลาสอดกิน ทาให้ปลาสอดมี การเจรญิ เติบโตดแี ละชว่ ยปอ้ งกนั การเกิดโรคในปลาสอดได้ อีกด้วย

วัตถุประสงคข์ องการวิจยั เพอ่ื ศึกษาปรมิ าณผงขมนิ้ ชนั ทเี่ หมาะสมตอ่ การ เจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอด สมมติฐานการวิจัย ผงขมิ้นชันมีผลต่อการเจริญเตบิ โต และอัตราการรอดของปลาสอด

รูปแบบของการศกึ ษา การศึกษาครงั้ นเี้ ป็นการวจิ ยั ทดลอง (Experimental research) กลุม่ ตัวอยา่ ง ปลาสอด

ตวั แปรที่ศึกษา ตวั แปรต้น ( Independent variable) ผงขม้นิ ชัน ตัวแปรตาม (Dependent variable) การเจรญิ เตบิ โตและอัตรารอดของปลาสอด ตวั แปรควบคมุ (Controlled Variable) พนั ธุป์ ลาสอด อายปุ ลาสอด น้าหนกั และเพศปลาสอด จานวนของปลาสอด ปรมิ าณผงขมน้ิ ชัน ปริมาณอาหาร ขนาดของกระถางทใ่ี ชท้ ดลอง ปริมาตรนา้

พน้ื ที่การวิจยั โรงเพาะฟักสตั ว์น้าจืด วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี ระยะเวลาในการทดลอง วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ถึงวนั ท่ี 30 มถิ ุนายน พ.ศ.2562

วสั ดอุ ุปกรณ์ วสั ดุ

วสั ดุอุปกรณ์ อุปกรณ์

วธิ ดี าเนนิ การวจิ ัย 1. เตรยี มพนั ธ์ปุ ลาสอดทม่ี ขี นาด 3 เซนตเิ มตร จานวน 120 ตวั 2. เตรียมนา้ สะอาด เตมิ ในกระถางทกุ ชดุ การทดลอง กระถางละ 5 ลิตร พกั ทิ้งไว1้ สปั ดาห์

3. การเตรยี มผงขม้ินชัน นาขม้นิ ชันทีล่ ้างทาความสะอาดแล้วไปอบใหแ้ ห้ง แลว้ นามาป่ันใหล้ ะเอียด และช่ังนา้ หนักผงขมนิ้ ชัน ตามชดุ การทดลอง

4. การเตรยี มอาหาร ช่ังอาหารให้ได้ปริมาณชุดการทดลองละ 500 กรัม ผสมกบั ผงขมิ้นชนั ตามชุดการทดลอง

ป่นั ให้ละเอยี ด

นาไปผ่งึ ลมให้แห้ง เก็บใส่ถุงไว้ มกี ารเตรยี มอาหารสปั ดาห์ละ 1 คร้งั

ขนั้ ตอนการทดลอง นาปลาสอดไปปลอ่ ยลงเลีย้ งในกระถางทีเ่ ตรยี มนา้ ไว้ ชุดการทดลองซา้ ละ 10 ตวั

ให้อาหารปลาวันละ 2 มอ้ื เช้าและเยน็ มอ้ื ละ 30 กรัม ในแตล่ ะชดุ การทดลอง เปลี่ยนถา่ ยนา้ ทกุ ๆ 2 วัน

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล เมือ่ ครบ 8 สัปดาห์ หาค่าเฉลยี่

ผลการวจิ ัย การวัดการเจรญิ เติบโตของปลาสอดด้านนา้ หนกั การวดั การเจริญเติบโตของปลาสอดด้านความยาว อัตราการตายของปลาสอด

ผลการวจิ ยั การวดั การเจริญเตบิ โตของปลาสอดดา้ นนา้ หนกั ผลการวิเคราะหผ์ ลของการเสริมขมิ้นชันในอาหารต่อการ เจรญิ เติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดโดยให้อาหารผสม ขมน้ิ ชนั ในปรมิ าณทต่ี ่างกัน เม่ือทาการทดลองครบ 8 สัปดาห์ พบว่า ชุดการทดลองท่ี 2 มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และอัตราการรอดของปลาสอดดีท่ีสุด โดยการวัดการ เจริญเติบโตทางดา้ นน้าหนกั พบวา่ มีน้าหนักเฉล่ีย 15.30 กรัม รองลงมาชุดการทดลองท่ี 4 มีน้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 13.67 กรัม รองลงมาชุดการทดลองที่ 1 มีน้าหนักเฉล่ียเท่ากับ 11.50 กรัม และชดุ การทดลองท่ี 3 มีนา้ หนักเฉล่ยี เทา่ กบั 11 กรมั ตามลาดบั

ผลการวจิ ยั การวัดการเจรญิ เตบิ โตของปลาสอดดา้ นนา้ หนกั 18 น้ ำหนกั เฉล่ียของปลำสอด (กรมั ) 16 14 ซำ้ ท2ี่ ซำ้ ท3ี่ 12 ชุ ดกำรทดลองท่ี1 ชุ ดกำรทดลองที่2 ชุ ดกำรทดลองท่ี3 ชุ ดกำรทดลองท่ี4 10 8 6 4 2 0 ซำ้ ท1ี่

ผลการวิจยั การวัดการเจรญิ เติบโตของปลาสอดดา้ นความยาว ผลการวิเคราะหผ์ ลของการเสรมิ ผงขมิน้ ชนั ในอาหารต่อ การเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดโดยให้อาหาร ผสมขม้ินชันในปริมาณที่ต่างกันเม่ือทาการทดลองครบ 8 สัปดาห์ พบว่า ชุดการทดลองที่ 2 มีความเหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดดีที่สุด โดย วัดการ เจริญเติบโตทางด้านความยาว มีความยาวเฉล่ีย 8.03 เซนติเมตร รองลงมาชุดการทดลองที่ 4 ความยาวเฉล่ีย 7.67 เซนตเิ มตร รองลงมาชุดการทดลองที่ 1 ความยาวเฉลี่ย 6.43 เซนติเมตร และชุดการทดลองที่ 3 มีความยาวเฉล่ีย 6.14 เซนตเิ มตร ตามลาดับ

ผลการวจิ ยั การวัดการเจรญิ เตบิ โตของปลาสอดดา้ นความยาว 9 ควำมยำวเฉล่ยี ของปลำสอด (เซนตเิ มตร) 8 7 ซำ้ ท2ี่ ซำ้ ท3่ี 6 ชดุ กำรทดลองท1่ี ชุดกำรทดลองท3ี่ ชุ ดกำรทดลองท่ี4 5 4 3 2 1 0 ซำ้ ท1่ี ชุดกำรทดลองท2ี่

ผลการวิจัย อตั ราการตายของปลาสอด ผลการวิเคราะห์ผลของการเสริมผงขม้ินชันในอาหารต่อ การเจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดโดยให้อาหาร ผสมขม้ินชันในปริมาณท่ีต่างกัน เม่ือทาการทดลองครบ 8 สัปดาห์ พบว่า ชุดการทดลองท่ี 2 มีความเหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตและอัตราการรอดของปลาสอดดีที่สุด อัตราการ ตายน้อยท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 1 ตัว รองลงมาชุดการทดลองท่ี 4 อัตราการตายมีคา่ เฉลยี่ 1.66 ตัว รองลงมาชุดการทดลองท่ี 1 อัตราการตายมีค่าเฉลี่ย 3 ตัว และชุดการทดลองท่ี 3 อัตรา การตายมีคา่ เฉลยี่ 3.66 ตัว ตามลาดับ

ผลการวจิ ัย อัตราการตายของปลาสอด 4.5 จำนวนกำรตำยของปลำสอด (ตวั ) 4 ซ้ ำท่ี2 ซ้ ำท3่ี 3.5 ชุ ดกำรทดลองที่1 ชุ ดกำรทดลองท่ี2 ชุ ดกำรทดลองท่ี4 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 ซ้ ำท1ี่ ชุ ดกำรทดลองท่ี3

สรุปผลการวจิ ัย ผลการวิเคราะห์ผลของการสริมผงขม้ินชันในอาหารต่อ ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ อั ต ร า ก า ร อ ด ข อ ง ป ล า ส อ ด (Xiphophorus hellerii ) พบว่าชุดการทดลองที่ 2 มีความ เหมาะสมตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและอัตราการรอดของปลาสอดดี ที่สุด โดยการวัดการเจริญเติบโตทางด้านน้าหนักพบว่ามี น้าหนักเฉล่ีย 15.30 กรัม วัดการเจริญเติบโตทางด้านความ ยาวมีความยาวเฉล่ีย 8.03 เซนติเมตร และมีอัตราการตาย นอ้ ยทีส่ ุดมีคา่ เฉล่ยี 1 ตัว

สรุปผลการวิจัย รองลงมาชุดการทดลองที่ 4 มีน้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 13.67 กรัม วดั การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาว เฉล่ีย 7.67 เซนติเมตร อัตราการตาย มีค่าเฉล่ีย 1.66 ตัว รองลงมาชุดการทดลองท่ี 1 มีน้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 11.50 กรัม วดั การเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาว เฉลย่ี 6.43 เซนติเมตร อัตราการตายมีคา่ เฉลี่ย 3 ตวั และชุดการทดลองท่ี 3 มีน้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 11 กรัม วัดการเจริญเติบโตทางด้านความยาวมีความยาวเฉล่ีย 6.14 เซนติเมตร อตั ราการตายมีค่าเฉลย่ี 3.66 ตวั ตามลาดบั

สรุปผลการวจิ ัย ผลการวิเคราะหท์ างสถิติเม่ือเปรียบเทียบ พบว่าปริมาณของผงขมน้ิ ชนั มีความแตกตา่ งกันทางสถิติ (P≤0.05)

อภิปรายผลการวจิ ยั จากการศึกษาคร้ังนี้ แสดงให้เห็นว่า การเสริมผงขมิ้นชันใน ชุดการทดลองที่ 2 ทดลองเลี้ยงปลาสอดโดยใช้อาหาร สาเร็จรูปปลาสวยงาม จานวน 500 กรัม ผสมผงขมิ้นชัน 0.5 กรัม มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอด ของปลาสอดดีที่สุด โดยมีน้าหนักเฉล่ีย 15.30 กรัม มีความ ยาวเฉลยี่ 8.03 เซนตเิ มตร อัตราการตายน้อยท่ีสุด มีค่าเฉลี่ย 1 ตวั

อภิปรายผลการวจิ ยั เมอ่ื เทียบกบั ชดุ การทดลองที่ 4 ชดุ การทดลองที่ 1 และชุดการ ทดลองท่ี 3 เน่ืองจากชุดการทดลองที่ 2 ปลาสอดได้รับ ปริมาณผงขมิ้นชันในระดับที่เหมาะสมทาให้ปลาสอดมีการ เจริญเติบโตดี และมีอัตราการตายน้อยท่ีสุด ดังการศึกษา ของศภุ รัตน์ และคณะ (2553) พบวาปลาทองท่ีทดลองเล้ียง ด ว ย อา ห า รเ ส ริ ม ผง ข มิ้ นชั นมี อัต ร า การ เ จ ริญ เ ติ บโ ต แ ล ะ ประสิทธิภาพของอาหารดกี วาปลาทองท่ีเลี้ยงดวยอาหารสูตร ทไ่ี มเสรมิ ขม้นิ ชนั

ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมกี ารทดลองใช้ผงขม้ินชนั กับสัตว์นา้ ชนิดอื่นๆด้วย 2. ควรมกี ารศกึ ษาสมนุ ไพรชนิดอื่นๆ มาใชใ้ นสตั วน์ ้า เพื่อพฒั นาคณุ ภาพของสัตวน์ ้าและสรา้ งมูลคา่ ให้ สมุนไพรได้

เราเรียนรู้ด้วยงานการฝกึ หัด เราปฏิบตั ิเพ่ือหวงั ทางศกึ ษา หาเลย้ี งชีพเพื่อชวี ิตพฒั นา ใชว้ ชิ าเพอ่ื บรกิ ารงานสงั คม

ขอได้รบั ความขอบคุณ จาก หน่วยปัตตานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook