Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-Book unit3 สิ่งปกคลุมโครงร่างตัวปลา

e-Book unit3 สิ่งปกคลุมโครงร่างตัวปลา

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2019-06-05 23:30:50

Description: e-Book unit3 สิ่งปกคลุมโครงร่างตัวปลา

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนรายวชิ ามนี วทิ ยา รหสั วชิ า 3601-2103 หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชนั้ สงู พทุ ธศกั ราช 2557 สาขาวชิ าเพาะเลยี้ งสตั วน์ า้ ประเภทวชิ าประมง หน่วยท่ี 3 สิง่ ปกคลมุ โครงรา่ งตัวปลา จดั ทา้ โดย ครูนุสราสินี ณ พัทลุง ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู านาญการ ภาควชิ าประมง วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี ส้านกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1 ICHTHYOLOGY หนว่ ยท่ี 3 สงิ่ ปกคลมุ โครงรา่ งตวั ปลา (Fish Skeleton Cover) จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. นักศึกษามคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั สิ่งปกคลุมโครงรา่ งตวั ปลา 2. นกั ศึกษาสามารถบอกชื่อประจ้าสง่ิ ปกคลุมโครงรา่ งตวั ปลาไดถ้ ูกตอ้ ง 3. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายหนา้ ที่สิ่งปกคลุมโครงรา่ งตัวปลาได้ถูกต้อง 4. นกั ศกึ ษามคี วามสนใจใฝ่รู้ มคี วามรับผดิ ชอบเรยี นร้ดู ้วยความซอื่ สัตย์ มีคุณธรรมและมี มนุษยส์ มั พันธ์ ดา้ เนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาระการเรยี นรู้ ปลามีส่ิงปกคลมุ ร่างกายเพ่ือปกป้องอันตรายและเชอ้ื โรคก่อนท่ีจะเข้าไปยังอวัยวะภายใน สิ่ง ปกคลมุ ร่างกายปลาประกอบด้วย ผวิ หนังและเกล็ด 1. ผิวหนัง (skin) ผวิ หนังปลาเป็นท่ีอย่ขู องสว่ นประกอบต่างๆ หลายอย่างได้แก่ เกล็ด ตอ่ มเมือก ตอ่ มพษิ (poison gland) ประสาทรับความรู้สึก นอกจากน้ี ผิวหนังยังช่วยปรับความสมดุลของน้าและเกลือ ชว่ ยขับถ่ายของเสยี และชว่ ยหายใจ (ภาพท่ี 3.1) 1.1ชั้นของผวิ หนัง ประกอบดว้ ยเนอื้ เยอื่ 2 ช้ัน (วิมล,2540 และHildebrand,1995) คือ 1) ผิวหนังชัน้ นอก (epidermis) 2) ผวิ หนังชน้ั ใน (dermis หรอื corium) 1) ผิวหนังชั้นนอก (epidermis) เจริญมาจากเน้ือเย่ือชั้นนอก (ectoderm) เป็น เซลลห์ ลายชั้นซงึ่ มีลักษณะแบนและชื้น โดยทัว่ ไปจะบาง มคี วามหนาประมาณ 250 ไมโครเมตร (µm) ประกอบด้วยช้นั ของเซลล์ 10-30 ช้ัน จา้ นวนช้นั ข้ึนอยู่กับวา่ เปน็ บริเวณใดของร่างกายและอายุ ของปลา เช่น ในม้าน้ามีความหนา 2-3 ช้ันเซลล์ บริเวณท่ีหนาที่สุดประมาณ 20 ไมโครเมตร ส่วน ปลาสเตอร์เจียนที่ริมฝีปากมีความหนาถึง 3 มิลลิเมตร ช้ันในสุดเป็นชนั้ ทสี่ ร้างเซลล์ เรยี กวา่ สตราตัม เจอรม์ นิ าทิวมั (stratumgerminativum) นอกจากนี้ยังมีเซลล์สร้างสี (pigment cell) เซลล์ให้แสงเรือง (photophores) ต่อมพิษ (poison gland) และต่อมสร้างเมือก (mucus gland) เมือกปลาจะมีมากหรือน้อยและมี วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรียบเรยี งโดยครนู สุ ราสินี ณ พทั ลุง

2 ICHTHYOLOGY สว่ นประกอบทางเคมีแตกตา่ งกันไปในปลาแต่ละชนิด ท้าให้กลนิ่ คาวปลาแตกต่างกันไปดว้ ย ปลาไม่มี เกล็ดจะมีเมือกมากกว่าปลามีเกล็ด เมือกช่วยให้ปลาว่ายน้าไปอย่างรวดเร็ว ถูกจับได้ยากเพราะล่ืน ชว่ ยกา้ จัดแบคทีเรียจากผวิ ท้าใหน้ ้าโคลนตกตะกอน ในปลาแรดและปลาปอดแอฟริกาใช้เมอื กในการ สร้างรงั ปลาการ์ตูนใชเ้ มือกปอ้ งกันพิษจากดอกไมท้ ะเลท่ีอยู่รอบตัวมัน (วิมล,2540 และBond,1996) ภาพที่ 3.1 องคป์ ระกอบของผิวหนงั ปลา ทมี่ า : Lagler et al.,1977 2) ผิวหนงั ชัน้ ใน (dermis หรอื corium) เจริญมาจากเย่ือชนั้ กลาง (mesoderm) มีความหนาและซับซ้อนมากกว่าผิวหนังช้ันนอก ประกอบด้วยเน้ือเยื่อเกี่ยวพัน ช้ันน้ีจะมีเส้นเลือด เส้นประสาท อวัยวะรบั สัมผัสท่ไี วมาก เป็นช้ันที่สร้างเกลด็ และส่วนประกอบอื่นๆ ของผิวหนัง ในปลา ทั่วไปชั้นนี้จะมีเยื่อหลวมๆ ตอนบนเรียกว่า สตราตัมวาสคิวลาร์ (stratum vascular) หรือสต ราตัมสปองจิโอซัม (stratum spongiosum) และตอนล่างเป็นส่วนท่ีหนาแน่นเรียกว่า สตราตัมคอม แพกตัม (stratum compactum) ส่วนบริเวณที่ปกคลุมครีบจะเปล่ียนไปเป็นเบซัลเมมเบรน (basal membrane) ปลาที่เจริญเต็มวัยแล้วจะมีผิวหนังช้ันในหนากว่าช้ันนอก ความหนาของผิวหนังข้ึนกับ จ้านวนชั้นและการอัดแน่นของช้ัน โดยเฉพาะท่ีผิวหนังช้ันในซ่ึงจะเปล่ียนแปลงมากน้อยไปตามชนิด ของปลา หนังปลากระดูกแข็งที่ไม่มีเกล็ดบางชนิดจะหยาบหนา สามารถลอกออกมาเป็นแผ่นได้แบบ หนังสัตว์อื่นๆ หนังปลาแฮกฟิชใช้ท้าของใช้ขนาดเล็กๆได้ เช่น กระเป๋าใส่เงิน หนังปลาฉลามก็ใช้ท้า ส่งิ ของไดห้ ลายอยา่ งเช่นกนั (ประจิตร, 2541 และ Bond, 1996) สว่ นประกอบของผวิ หนงั สรปุ แลว้ ผิวหนงั ปลาจะมีสว่ นประกอบตา่ งๆ ซงึ่ มหี น้าทสี่ ้าคญั ตอ่ ร่างกายดงั นี้ วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี เรยี บเรียงโดยครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

3 ICHTHYOLOGY 1. ต่อมเมือก (mucous gland ) อยู่ผิวหนังชั้นนอกมีหน้าที่สร้างเมือกปกคลุม ผิวหนัง 2. ต่อมพิษ (poison gland) อย่ผู วิ หนังช้นั นอก มหี นา้ ทสี่ รา้ งสารพิษหรอื น้าพษิ เก็บ ไว้ในถุงอยใู่ กลฐ้ านของเงีย่ ง (spine) 3. เซลลเ์ รืองแสง (photophores) อย่ผู วิ หนังชัน้ นอก เปน็ เซลลส์ ร้างสารใหแ้ สงเรอื ง 4. เซลล์สร้างสี (pigment cell หรือ chromatophores) อยู่ผิวหนังช้ันนอกและ ช้ันในเปน็ เซลล์สรา้ งสตี ่างๆ คือ ด้า เหลือง แดง ขาว 5. เซลล์สะท้อนแสง (iridophores หรือ iridocyte) เป็นเซลล์สร้างสีท่ีมีประกาย แวววาวสะท้อนแสงได้เปน็ สารกวาวนิน (guanine) มักจะอยดู่ ้านทอ้ งปลา 6. เกล็ด (scales) แผ่นและตุ่มแข็ง (plates หรือ denticles) อยู่ผิวหนังชั้นนอก นับวา่ เปน็ โครงกระดกู ภายนอก (exoskeleton หรอื dermal skeleton) ของปลา 2. เกล็ด (scale) เกล็ดเป็นสิ่งปกคลมุ ตัวปลา มีหนา้ ที่ปอ้ งกันอันตรายแก่ตัวปลามีตน้ ก้าเนิดมาจากผิวหนังชั้นใน ถือเป็นโครงกระดูกภายนอก (exoskeleton) เน่ืองจากเป็นส่วนท่ีอยู่ภายนอกและห่อหุ้มล้าตัวปลา เป็นสว่ นใหญ่ ปลาท่ีไมม่ ีเกลด็ เรียกว่า ปลาหนงั (catfish) ปลาทม่ี ีเกล็ดเรียกวา่ ปลาเกล็ด (carp) ปลา บางชนิดมเี กล็ดปกคลุมเฉพาะบางสว่ น ปลาบางชนิดมีเกล็ดท่หี ลุดง่าย บางชนดิ ยดึ ติดแน่น เกล็ดปลา สามารถแบง่ ออกได้ดงั น้ี 2. 1 ชนิดเกล็ด เกล็ดปลามีโครงสร้างและส่วนประกอบแตกต่างกันไป แบ่งเกล็ดออกตาม ลกั ษณะโครงสร้างได้ 2 ชนิดใหญ่ (วิมล, 2528 และสุภาพ, 2529) 2.1.1 เกลด็ แบบพลาคอยด์ (placoid scale) 2.1.2 เกลด็ แบบนอ็ นพลาคอยด์ (non-placoid scale) มี 3 ชนิดคอื 2.1.2.1 เกลด็ แบบคอสมอยด์ (cosmoid scale) 2.1.2.2 เกลด็ แบบกานอยด์ (ganoid scale) มี 2 ชนิด 1) เกล็ดแบบพาลีออนสิ คอยด์ (palaeoniscoid scale) 2) เกลด็ แบบเลพิโดสตีออยด์ (lepiosteoid scale) 2.1.2.3 เกล็ดแบบอีลาสมอยด์หรือโบนีริดจ์ (elasmoid scale หรือ bony-ridge scale) มี 2 ชนดิ คือ 1) เกลด็ ไซคลอยด์ (cycloid scale) 2) เกล็ดทนี อยด์ (ctenoid scale) 2.1.1 เกล็ดแบบพลาคอยด์ (placoid scale) พบในปลากระดูกอ่อนพวกปลา ฉลาม กระเบน และแร็ตฟิช (ratfish) มีลักษณะต่างๆ กันไปตามชนิดของปลา อาจมีลักษณะเป็นปุ่ม วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี เรียบเรยี งโดยครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

4 ICHTHYOLOGY (knop) เป็นแผ่นๆ (plate) หรือรูปกรวย (cone) เมื่อลองลูบผิวหนังปลาฉลามดูจะรู้สึกสากมือ เนื่องจากมีโครงสร้างคล้ายฟันซี่เล็กๆ จ้านวนมากเรียงเป็นแถวตามแนวเฉียงตลอดทั้งตัวรวมทั้งครีบ ดว้ ย เกล็ดชนดิ นี้ประกอบด้วย 2 ส่วน (ภาพท่ี 3.2) ภาพที่ 3.2 ลกั ษณะเกลด็ แบบพลาคอยด์ ท่ีมา: https://www.google.co.th/search?q=เกล็ด+placoid&tbm=isch&source=iu&ictx= ภาพท่ี 3.3 ตวั อย่างปลาที่มเี กลด็ แบบพลาคอยด์ ท่มี า: http://www.fishtech.mju.ac.th/FishNew1/AdventureByKorKob/PDF_files/ ส่วนแรกมีลักษณะคล้ายกระดูกฝังอยู่ใต้ผิวหนังซ่ึงมองไม่เห็นจากภายนอกเรียกว่า แบซลั เพลต (basal plate) อย่ตู อนบนของผิวหนังชนั้ ใน มเี ส้นเลือดเสน้ ประสาทมาหล่อเลี้ยง ส่วนที่2 เป็นหนามแหลม (spine) ยื่นออกมาภายนอกเหนือผิวหนังช้ันนอก ชี้ไปทางด้านท้ายตัวมีสารเคลือบ ผิวคล้ายพวกสารอีนาเมล (enamel-like) ซึ่งเรียกว่า วิโทรเดนทีน (vitrodentine) ลักษณะเหมือน สารเคลือบฟันของคนเคลือบผิวนอกของเกล็ดใต้ส่วนของวิโทรเดนทีนเป็นช้ันที่เรียกว่าเดนทีน (dentine) ซ่ึงจะมีเส้นเลือดเส้นประสาทจากช่องว่างภายในเกล็ด (pulp cavity) เข้ามาหล่อเลี้ยง จากชอ่ งวา่ งในเกล็ดนจี้ ะมที ่อเล็กๆ แยกออกไปแทรกอยใู่ นเน้ือเดนทีเรียกวา่ เดนทีนัลทูบลู (dentinal tubules) เกล็ดแบบพลาคอยด์จะมขี นาดเท่าเดมิ แมว้ ่าปลาจะตัวโตขึน้ แต่มีการหลุดและสามารถสร้าง ขน้ึ มาทดแทนได้ การเรยี งตัวของเกล็ดไม่เป็นแผ่นต่อแผ่น แต่จะเหลื่อมกันเลก็ น้อยยกเว้นบริเวณเส้น ข้างตัว 2.1.2 เกลด็ แบบนอ็ นพลาคอยด์ (non-placoid scale) มี 3 ชนิดคอื วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี เรียบเรียงโดยครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

5 ICHTHYOLOGY 2.1.2.1 เกล็ดแบบคอสมอยด์ (cosmoid scale) (ภาพท่ี 3.4) เป็นเกล็ด ของปลาโบราณท่ีสูญพันธ์ุไปแล้ว และยังมีชีวิตอยู่ พบในปลาปอด (lungfish) ปลาซีลาแคนท์ เกล็ด ชนดิ น้ีมีลักษณะแข็ง ประกอบไปด้วยชั้นตา่ งๆ 3 ชั้นด้วยกนั คือ ช้ันนอกมีสารเคลอื บเรียกวา่ วโิ ทรเดน ทีน เช่นเดียวกับเกล็ดพลาคอยด์ ถัดเขา้ มาเปน็ ชั้นของคอสมีน (cosmine) ซงึ่ เปน็ เดนทีนชนิดหนึ่ง มี ลกั ษณะเหนยี วไม่มีเซลล์และมีท่อเล็กๆ (canaliculae ) เรียงกันเป็นรูปคร่ึงวงกลม ถัดจากช้ันน้ีลงไป เป็นช้ันของกระดูกที่มีรูพรุนคล้ายฟองน้าหรือวาสคิวลาร์โบน (spongy bone layer หรือ vascular bone ) จะมีท่อภายในติดต่อกันโดยตลอด ถัดลงไปเรียกว่า ชั้นลาเมลลาร์โบน (lamellar bone) ภายในช้นั นีจ้ ะมีเสน้ เลอื ดเสน้ ประสาทมาหล่อเล้ยี ง เกล็ดคอสมอยด์ เจริญเติบโตเฉพาะส่วนท่ีอยู่ขอบด้านในเท่าน้ัน ส่วนท่ีโผล่ออกมา ภายนอกจะไม่เจริญ เพราะผิวภายนอกไม่มีเซลล์ที่มีชีวิตอยู่ รูปร่างเกล็ดเป็นรูปกลมหรือรูปส่ีเหล่ียม ขนมเปยี กปูน ขอบนอกมีลักษณะกลมหรือเปน็ ด้านขนานของส่ีเหลี่ยม เกล็ดแบบกลมมักจะเรยี งซ้อน กัน ส่วนแบบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนจะซ้อนกันเฉพาะขอบผิวด้านใน แต่ขอบผิวด้านนอกจะเรียงกัน แบบขอบต่อขอบ เกล็ดคอสมอยด์จะพบในปลาพวกพลาโคเดิร์มบริเวณส่วนท้ายของล้าตัว ในพวก ปลาซีลาแคนธ์ เกล็ดเป็นแบบกลมขนาดใหญ่ ไม่มีชั้นอีนาเมล ส่วนปลาปอดเป็น แบบกลม เชน่ เดยี วกนั แตจ่ ะบางเน่ืองจากไม่มชี นั้ ของคอสมนี จึงมีลักษณะเหมอื นเกล็ดไซคลอยด์ (lagler et al.,1977) ภาพท่ี 3.4 เกล็ดแบบคอสมอยด์ (cosmoid) ทม่ี า: https://www.google.co.th/search?q=เกล็ดแบบ+cosmoid&hl วิทยาลยั เทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี เรียบเรียงโดยครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลุง

6 ICHTHYOLOGY ภาพที่ 3.5 ตัวอย่างปลาทีม่ เี กลด็ แบบคอสมอยด์ (cosmoid) ทม่ี า: http://zmku.sci.ku.ac.th/ZMKU%20image/Lab%2011_Fish_60_Color.pdf 2.1.2.2 เกล็ดแบบกานอยด์ (ganoid scale) (ภาพท่ี 3.6) เป็นเกล็ดท่ีมี ความหนารปู สี่เหล่ยี มขนมเปยี กปูน วิวัฒนาการมาจากเกล็ดคอสมอยด์มี 2 แบบคือ 1) เกล็ดแบบพาลีออนิสคอยด์ (palaeoniscoid scale) เป็นเกล็ดท่ี โบราณกวา่ แบบหลัง ผวิ หน้าจะหนาประกอบด้วยสารกาโนอีน (ganoine) ซ่ึงเป็นสารอนินทรีย์ ถัดเข้า มาเป็นช้ันของคอสมีน ช้ันล่างสุดเป็นชั้นฐานเรียกว่า ช้ันลาเมลลารโ์ บน ช้ันนี้จะมีช่องของวาสคิวลาร์ คาแนล (vascular canal) มเี สน้ ประสาทมาหลอ่ เลีย้ งเกลด็ แบบนพ้ี บในปลาบเิ คอร์ (bichir-Polypterus) 2) เกล็ดแบบเลพิโดสตีออยด์ (lepiosteoid scale) วิวัฒนาการมา จากแบบแรกมีชั้นกาโนอีนเช่นเดียวกัน แต่ช้ันคอสมีนหายไป ช้ันฐานเป็นลาเมลลาร์โบน แต่ช่องว่าง ภายในชั้นน้ีไม่มีลักษณะเป็นท่อ (vascular) เช่นเดียวกับแบบแรก พบในปลาอะแคนโทเดียนซึ่งสูญ พันธุไ์ ปแล้ว และปลาในกลุม่ บาวฟนิ และปลาการ์ เกล็ดแบบกานอยด์มีการเจริญเติบโตได้ทั้งด้านบนและด้านล่างของเกล็ด และที่ด้านบน ของเกล็ดอาจมีเงยี่ งหรอื เดนทคิ ลั อยู่ด้วย ถา้ ลูบดจู ะรสู้ ึกสากมือ ภาพท่ี 3.6 เกล็ดแบบกานอยด์ ทมี่ า: http://www.pfcollege.com/images/column_1529463073/ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี เรียบเรยี งโดยครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลุง

7 ICHTHYOLOGY ภาพที่ 3.7 ตัวอยา่ งปลาทม่ี ีเกล็ดแบบกานอยด์ ทม่ี า: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B% 2.1.2.3 เกล็ดแบบอีลาสมอยด์หรือโบนีริดจ์ (elasmoid scale หรือ bony-ridge scale) เกล็ดแบบนี้พบในปลากระดูกแข็งที่มีชีวิตอยู่ท่ัวๆไป (osteichthyes) มี วิวัฒนาการมาจากเกล็ดกานอยด์ แบบเลพิโดสตอี อยด์ มลี ักษณะบางใสและมีความยดื หยนุ่ (flexible) ไม่มีช้ันของอีนาเมลและชั้นเดนทีน เหลือแต่ชั้นฐานซึ่งไม่มีเซลล์แต่มีเส้นใยพวกคอลลาเจนสานกันใน ทุกทิศทาง มีสารเคลอื บบางๆ ทีส่ รา้ งจากอนี าเมล มีการเจริญเตบิ โตไดท้ ุกสว่ น แบง่ ออกได้2 ชนดิ คอื 1) แบบไซคลอยด์ (cycloid scale) (ภาพที่ 3.8) มีลักษณะเป็นเกล็ด กลมขอบเรยี บ ไม่ขรขุ ระ ไม่มีหนามหรือหยัก (ภาพ ง.) เป็นเกลด็ ที่หลดุ ง่าย เวลาลูบจากหางไปยงั หัว จะไมร่ ู้สึกสากมือ พบในปลาตะเพียนขาว ปลาหลังเขยี ว ปลากะตัก ภาพท่ี 3.8 เกล็ดแบบอีลาสมอยด์หรอื โบนีรดิ จ์ แบบขอบเรียบ ทม่ี า: http://zmku.sci.ku.ac.th/ZMKU%20image/Lab%2011_Fish_60_Color.pdf วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี เรียบเรยี งโดยครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ

8 ICHTHYOLOGY ภาพที่ 3.9 ตวั อย่างปลาท่มี ีเกลด็ แบบอีลาสมอยดห์ รอื โบนีริดจ์ แบบขอบเรยี บ ทมี่ า: ถา่ ยภาพโดยนสุ ราสนิ ี (2561) 2) เกล็ดแบบทนี อยด์ (ctenoid scale) (ภาพท่ี 3.10) หรือเกล็ดหนาม มีขอบหยักหรือหนามท่ีขอบหลังของเกล็ด หลุดออกจากตัวค่อนข้างยาก พบในปลากระดูกแข็งท่ีมี วิวัฒนาการสูง เชน่ ปลากะพงขาว ปลาหมอไทย ปลาจวด ปลาสาก เป็นต้น ภาพท่ี 3.10 เกล็ดแบบอีลาสมอยดห์ รือโบนีริดจ์ แบบขอบหยัก ทมี่ า: https://www.digopaul.com/th/english-word/ctenoid.html วิทยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดยครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

9 ICHTHYOLOGY ภาพที่ 3.11 ตวั อยา่ งปลาทม่ี ีเกล็ดแบบอีลาสมอยดห์ รือโบนรี ิดจ์ แบบขอบหยัก ทม่ี า: ถา่ ยภาพโดยนุสราสินี (2561) สว่ นประกอบของเกล็ดอลี าสมอยดโ์ ดยท่วั ไปจะมีลักษณะดังน้ี 1. โฟกัส (focus) หรอื จดุ ศนู ยก์ ลางของเกล็ด การเจรญิ เติบโตของ เกล็ดปลาจะเรมิ่ จากจดุ นี้ 2. เซอร์คูลัสหรือโบนีริดจ์ ( circulus หรือ bony-ridge) เป็นการ เจริญเติบโตของเกล็ด ซ่ึงจะเจริญออกไปเป็นวงๆ มีลักษณะเป็นเส้น ถ้าปลาเจริญเติบโตอยู่เรื่อยๆ เซอร์คูลัสจะเกิดขึ้นอย่างสม่้าเสมอ แต่ถ้าฤดูกาลใดที่ปลาอดอาหารมากๆ สันดังกล่าวนี้จะเกิดชิดกัน มากมองเห็นเป็นเสน้ หนา้ เข้มกว่าเซอรค์ ูลัส จึงเรยี กว่า แอนนูลัส (annulus) แทน 3. แอนนูลัส (annulus) หรือวงปีของเกล็ดปลา คือเซอร์คูลัสหลายๆวง เบยี ดชิดกันนน่ั เอง ใชค้ ้านวณอายปุ ลาได้ โดยแอลนลู ัส 1 วงหมายถึงอายปุ ลา 1 ปี 4. ไพรมารีเรเดียส (primary radius) เส้นซึ่งเป็นร่องแผ่ออกไปโดยรอบ คลา้ ยรศั มีจากจุดศูนยก์ ลางจนจรดขอบเกลด็ 5. เซคันดารีเรเดียส (secondary radius) เป็นเส้นลักษณะเช่นเดียวกัน กบั ไพรมารีเรเดยี สแตต่ า่ งกันท่เี ส้นน้ีจะมีความยาวเพยี งช่วงใดช่วงหนึ่งของเกลด็ เท่านนั้ 6. ร่องเกล็ด (groove) มีเฉพาะในเกล็ดแบบทีนอยด์ อยู่ทางด้านท่ีฝั่งอยู่ ใต้ผิวหนงั 2.2 เกล็ดปลาที่เปลี่ยนรูป (modified scale) อวัยวะภายนอกของปลาหลายชนิดถือก้าเนิดมา จากการแปรรูปของเกลด็ ซง่ึ เราจะเหน็ ในลักษณะต่างๆ กัน ซ่งึ มอี ยู่หลายลักษณะ (วิมล, 2528) คือ 2.2.1 เป็นหนามแหลม (spine) (ภาพท่ี 3.12) ได้แก่ วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี เรยี บเรยี งโดยครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

10 ICHTHYOLOGY 1) เกล็ดบนครีบหลังอันแรกเปล่ียนรูปเป็นหนามแหลม (dorsal spine) พบในปลากลมุ่ spiny dog fish และในปลาแรทฟชิ (ภาพ ก.) 2) ฟันของปลาฉลาม เกิดจากเกลด็ แบบพลาคอยด์ (ภาพ ข.) 3) หนามแหลมบนหางปลา (sting) พบในปลากระเบนในครอบครวั ไทรโก นิดี (trygonidae) เกิดจากเกล็ดแบบพลาคอยด์ (ภาพ ค.) 4) ฟนั เลื่อยบนขอบทั้ง 2 ข้างของรอสทรัม (sawteeth) พบในปลาฉนาก (ภาพ ง.) 5) หนามท่ีบริเวณคอดหาง (lancet ) พบในปลาขตี้ ังเป็ด (ภาพ จ.) ภาพท่ี 3.12 ลกั ษณะของเกล็ดที่เปลีย่ นรปู ไปเปน็ หนามแหลมแบบต่างๆ ทมี่ า: วลั ภา (2558) 2.2.2 อย่ใู นรูปของสันกระดูกแขง็ (scutes) (ภาพที่ 3.13) ไดแ้ ก่ 1) belly scutes หรอื abdominal scutes มลี กั ษณะเป็นสันกระดูก แขง็ ทีส่ นั ท้อง พบในปลาหลงั เขยี ว ปลาแมว ปลาไส้ตัน เป็นตน้ (ภาพ ก.) วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปัตตานี เรยี บเรยี งโดยครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ

11 ICHTHYOLOGY 2) lateral scutes หรอื caudal scutes) เปน็ สันกระดูกแขง็ ทีม่ ีฟนั แหลมคมอยู่ทบี่ รเิ วณเส้นข้างตัวและคอดหางของปลา พบในปลาสีกนุ ปลาหางไก่ หรือปลาหางแขง็ เปน็ ตน้ (ภาพ ข.) ก. belly scute ข Lateral scute ภาพที่ 3.13 ลกั ษณะของเกล็ดเปลย่ี น.รปู ไปเปน็ สนั กระดูกแข็ง ทม่ี า: ถา่ ยภาพโดยนุสราสนิ ี (2561) 2.2.3 อย่ใู นรปู ของเกราะหมุ้ ตัว (armature) บางสว่ นหรอื ท้ังตัว (ภาพท่ี 3.14) 1) แผน่ กระดูก (bony-plate) เป็นเกราะท่มี ีลกั ษณะเป็นแผน่ กระดูก ปลายแหลมเรยี งเป็นแถวบนหลงั พบในปลาสเตอรเ์ จยี น (ภาพ ก.) 2) เกราะหุ้มตัว (armature plate) เป็นเกราะที่มลี กั ษณะต่อกันเป็นข้อๆ พบในปลาปากแตร ปลาม้าน้า (ภาพ ข.) 3) เกราะลักษณะเป็นกลอ่ ง (box turtle) เป็นเกราะแขง็ มีลกั ษณะเป็น กล่องหุม้ ภายนอกเกือบท้ังตัว ยกเว้นปากกบั โคนหาง พบในปลาสี่เหลย่ี ม (ภาพ ค.) 4) เกราะกระดกู ใส (cuirass) เป็นเกราะบางใสห้มุ ลา้ ตวั เกือบทง้ั หมด พบ ในพวกปลาข้างใส หรอื ปลามีดโกน (ภาพ ง.) 5) เกราะบนหนัง (dermal armature) เปน็ เกราะท่ีมีรูปรา่ งผิดไปจาก เกราะแบบอ่นื ๆ โดยมีลักษณะเป็นหนามแหลมทีต่ ั้งอยู่บนผิวหนัง พบในปลาปกั เป้าหนามทเุ รยี น (ภาพ จ. ) วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดยครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

12 ICHTHYOLOGY ก. ลักษณะเปน็ แผ่นกระดกู ข. ลกั ษณะเป็นเกราะหุม้ ตัว ง. ลักษณะเป็นกระดกู ใส ค. ลักษณะเปน็ กลอ่ ง จ. ลักษณะเป็นหนามแหลม ภาพที่ 3.14 ลกั ษณะของเกลด็ เปล่ียนรูปไปเปน็ เกราะห้มุ ตวั แบบต่างๆ ทม่ี า:ก. http://animal-of-the-world.blogspot.com/ ข. https://www4.fisheries.go.th/local/index.php/ ค. www.bloggang.com/m/viewdiary.php ง. http://boardapr2007.saveoursea.net/ จ. https://sites.google.com/site/haelmhin วทิ ยาลัยเทคโนโลยีการเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดยครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ

13 ICHTHYOLOGY 2.3 เกล็ดบนเส้นข้างตัว (lateral line scales) เกล็ดบนเส้นข้างตัวจะมีทางให้ปลาติดต่อ สัมผัสกับภายนอกได้ โดยรับความรู้สึกจากการสั่นสะเทือนของน้า ผ่านมากระทบกับเซลล์รับ ความรู้สึก (sensory cells) ซ่ึงอยู่ในร่องของเส้นข้างตัว ร่องบนเกล็ดน้ันอาจเป็นรู (pore) หรือเป็น ทอ่ (tube) ซึ่งอาจจะแยกเป็น 2 ทอ่ (bifid) หรอื 3 ท่อ (third) พบในปลาทัว่ ไป (วมิ ล, 2528) 2.4 การนับเกล็ดปลา ปลาบางชนิดมีจ้านวนเกล็ดบนอวัยวะบางส่วน เช่น แนวเส้นข้างตัว ตั้งแต่หัวจนถึงโคนหาง และตามแนวเฉยี งจากตอนต้นของโคนครีบหลงั ถึงเส้นข้างตัว และจากเส้นข้าง ตัวลงไปถึงท้อง เกล็ดในที่เหล่านี้ในปลาชนิดเดียวกันจะมีเท่ากันหรือใกล้เคียงกัน หากแตกต่างกันไป บ้างก็เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ดังนั้น จ้านวนของเกล็ดปลาในต้าแหน่งต่างๆ จึงสามารถใช้ประกอบการ วิเคราะห์ชนิดปลาไดถ้ ูกตอ้ งยงิ่ ขน้ึ (วิมล, 2540 และ สบื สิน, 2527) การนบั เกล็ดปลาเพื่อประกอบการวเิ คราะห์ชนิดปลา มตี า้ แหนง่ สา้ คญั 2 แหง่ คือ 1. เกล็ดตามแนวเส้นข้างตัว คือ เกล็ดท่ีมีท่อประสาทฝงั อยู่ต่อเน่ืองกันไป เร่ิมต้ังแต่ สว่ นต้นสุดซึ่งอยู่กับช่องเปิดเหงอื ก นับไปทางส่วนหาง จนจรดโคนครบี หางโดยเว้นไม่นบั เกล็ดอันที่อยู่ ฐานก้านครีบหาง 1 อนั 2. นับตามแนวเฉียงจากตอนต้นของฐานครีบหลังอันแรก ถึงเส้นข้างตัวตอนหนึ่ง และตามแนวเกล็ดที่ตั้งต้นจากเส้นข้างตัวเฉยี งลงไปจนจรดรกู น้ อีกตอนหนงึ่ นอกจากการนับในท่ีดังกล่าวแล้ว ยังอาจมีการนับท่ีอ่ืนด้วยแล้วแต่ชนิดของปลา เช่น จ้านวน เกล็ดท่ีอยู่ระหว่างปลายกระดูกท้ายทอยจนถึงฐานครีบหลัง ใช้นับในปลาที่ไม่มีเกล็ดบนหัวหรือนับ จ้านวนเกลด็ บนแก้มท่ีเรียงลงมาตามแนวเฉียง จากขอบตาถงึ มุมแก้มขา้ งล่าง ในจ้าพวกปลาตะเพียน บางชนิด อาจนับจ้านวนเกล็ดตามวงรอบตัวปลาตรงหน้าครีบหลัง และจ้านวนเกล็ดท่ีคาดรอบโคน หางตอนทแี่ คบหรอื ตอนท่คี อดทส่ี ุด เปน็ ตน้ การนับเกลด็ จะบันทกึ ไวเ้ ป็นสูตร สมมติว่านบั ได้ 44-47 6  7 หมายถงึ มีเกลด็ 9 10 44-47 อัน ตามแนวเส้นข้างตัว มีเกล็ด 6-7 อัน จากโคนครีบหลังมาถึงเส้นข้างตัว และมี 9-10 อัน จากเส้นข้างตวั ถงึ รกู น้ ปลาชอ่ นมคี วามแตกตา่ งจากปลาชะโดคือ ปลาช่อนมจี ้านวนเกลด็ ตามเสน้ ขา้ ง ตวั 52-57 เกลด็ สว่ นปลาชะโดมี 82-91 เกล็ด จะเห็นว่า การนับจ้านวนเกล็ดมิใช่จะถูกต้องแน่นอน เพียงแต่มีค่าใกล้เคียง แต่สามารถใช้ ประโยชน์ในการวิเคราะห์พรรณปลาไดอ้ ยา่ งหน่ึง นอกเหนอื จากการวิเคราะหจ์ ากลกั ษณะอ่ืนๆ (พิชญา, 2555) (ภาพที่ 3.15) วทิ ยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรียบเรยี งโดยครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลุง

14 ICHTHYOLOGY 1 2 3 4 …... 1 12 23 ก. การนบั เกลด็ เสน้ ข้างตวั ข. การนับเกลด็ ตามเฉียง 1 2 13 1 1 ค. การนับเกลด็ ที่แกม้ 1 243 ง. การนบั เกลด็ ที่คอดหาง ภาพที่ 3.15 การนับเกลด็ ปลา ที่มา: ถา่ ยภาพโดยนสุ ราสินี (2561) วิทยาลยั เทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตั ตานี เรยี บเรยี งโดยครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook