Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

Published by นุสราสินี ณ พัทลุง, 2021-04-25 10:56:40

Description: หน่วยที่ 2 รูปร่างและลักษณะภายนอกและภายในของปลา (Shape of External and Internal of Fish)

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที 2 รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

หวั ข้อเรือง 1. รปู รางและรปู ทรงของปลา 2. เคร่ืองมอื วัดขนาดและสัดสว นรา งกายของปลา 3. การแบงสดั สว นของปลา 4. การวดั ขนาดและสัดสว นของปลา 5. อวยั วะภายนอกของปลา 6. อวยั วะภายในของปลา รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลงุ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักศกึ ษาสามารถอธิบายรูปรา งและรูปทรงของปลาได 2. นักศึกษาสามารถจําแนกรปู รางและรูปทรงของปลาแบบตา งๆ ได 3. นักศกึ ษาสามารถอธิบายการแบง สวนของตวั ปลาได 4. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายการวดั ขนาดและสัดสว นตางๆ ของปลาได 5. นักศกึ ษาสามารถบอกช่ือและอธบิ ายลกั ษณะหนาท่ขี องอวัยวะ ภายนอกของปลาได 6. นักศกึ ษาสามารถบอกช่ือและอธิบายลักษณะหนาท่ีของอวัยวะ ภายในของปลาได 7. นักศึกษามีความสนใจใฝ รู มีความรับผิดชอบเรยี นรูดว ยความ ซ่ือสัตย มีคณุ ธรรมและมีมนุษยส มั พันธ ดําเนินชีวิตตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

สาระการเรยี นรู้ ปลาแตละชนิดมีรปู รา งลักษณะภายนอกท่ีแตกตา งกนั ออกไป ทงั้ นีเ้ พ่ือ ประโยชนในการหาอาหารและเพ่อื พรางศัตรู ปลาบางชนิดมีรูปรา งปราดเปรยี ว วายนํ้าไดรวดเรว็ บางชนิดมรี ปู รางแบนจากบนลงลา ง เพราะเป็ นปลาท่ีหากิน ตามหนาดนิ และสะดวกในการฝั งตัวลงไปในโคลน นอกจากนัน้ ปลามีครีบเพ่ือ ชวยในการวา ยนํ้าและทรงตวั ลักษณะรูปรา งของปลายงั นํามาใชใ นการจัด จาํ แนกประเภทของปลาอีกดว ย สว นอวยั วะภายในของตวั ปลา มอี วัยวะตา งๆ อยูหลายระบบ เชน ระบบหมนุ เวียนโลหติ ระบบยอยอาหาร ระบบสืบพันธุ และการขับถา ย ซ่งึ จะกลา วในรายละเอยี ดตอไป รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1 รูปร่างและรูปทรงของปลา การแบง่ รูปร่างของปลา ปลาเป็ นส่งิ มีชีวิตท่อี าศัยอยใู นนํ้าท่มี สี ภาวะแวดลอ มท่ี แตกตา งกัน จึงมีวิวัฒนาการของรูปรางแตกตางกันออก ไปหลายแบบ เพ่ือใหเหมาะสมในการท่จี ะดาํ รงชีวิตใน สภาพแวดลอมนัน้ ๆ เชน การเคล่อื นท่ีในนํ้า รปู รา งของ ปลาจึงมีหลายๆ แบบ ดงั นี ้ รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.1.1 การแบ่งตามรูปทรงของปลา เมอื มองทางดา้ นข้างและภาคตัดขวาง จะแบ่งรูปทรงของปลาได้ 8 แบบ ดังนี (วมล, 2540 และ สุภาพ, 2529) 2.1.1.1 รูปทรงแบบกระสวย (fusiform หรือ torpedo shape) มลี กั ษณะแหลมหัวแหลมทายคลา ยกระสวยทอผา ทางสว นหนาจะมี ความหนา แลวคอยๆ เรยี วเล็กลงไปทางสว นทาย เพ่ือใหตานนํ้านอยลง ถามองทางดา นหนาตดั แลว ตัดออกเป็ นแวน ๆ จะเป็ นรูปวงรีเลก็ นอย โดยสว นหนามขี นาดใหญแลว เรียวเล็กลงจนถึงคอดหางจะเล็กท่สี ดุ ปลากลุม นีว้ า ยนํ้าเร็ว อาศัยในมวลของนํ้าท่ไี มมสี ่ิงกดี ขวางหากนิ ไดท งั้ บรเิ วณกลางนํ้าและผวิ นํ้า เชน ปลาโอ ปลาทู ปลาทนู า ปลาฉลาม เป็ นตน (วมิ ล, 2556) (ภาพท่ี 2.1) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

ตวั อยา งปลาท่มี ีรปู ทรงแบบกระสวย เชน รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.2 รปู ทรงกลม (globiform หรอื globe-shaped) ลักษณะคอน ขา งเป็ นทรงกลมคลายลูกโลก พวกนีจ้ ะวายนํ้าชา เชน ปลาปั กเป า ปลาฟุตบอล ปลาทอง เป็ นตน (ภาพท่ี 2.3) รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

ตวั อยางปลาท่มี รี ปู ทรงกลม เชน รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.3 รูปทรงแบบงู (anguilliform หรอื snake-shape หรือ serpentine-shape) รูปรางเรียวยาวคลายงู การวา ยนํ้าเหมอื นกับการส่นั ของเสน เชอื ก ซ่ึงปลายสวนท่ีไมถูกส่นั จะมคี วามแรงนอยลงทาํ ใหม กี ารตา นนํ้านอยลง เชน ปลาไหล ปลาตหู นา ปลายอดจาก เป็ นตน (ภาพท่ี 2.5) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลงุ

ตวั อยางปลารูปทรงแบบงู เชน รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.4 รปู ทรงแบบเสน ดาย (filiform หรอื thread-like shaped) ลกั ษณะเรียวยาวมากคลายเสนดา ย เชน ปลาไหลทะเลลึกชนิดหน่ึง (Snipe eel) (ภาพท่ี 2.7) รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พัทลงุ

ตวั อยา งปลารปู ทรงแบบเสนดา ย เชน รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.5 แบบแถบแบนยาว (trachipteriform หรือ taeniform หรือ ribbon-shape) รูปทรงมลี กั ษณะยาวและแบนขา งมาก เคล่อื นไหวไปมาโดยอาศัยกลามเนื้อ ลาํ ตวั และครีบท่ีเจริญดี เชน ปลาดาบเงิน ปลาดาบลาว เป็ นตน (ภาพท่ี 2.9) รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

ตวั อยา งปลารปู ทรงแบบแถบแบนยาว เชน รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.6 แบบลกู ธนู (arrow-shaped หรือ sagittiform) รปู ทรงแบบลกู ธนู ลกั ษณะคลายรูปทรงกระสวยแตลําตวั ยาวกวา ภาคตดั ขวางลาํ ตวั จะกลมหรอื คอ น ขา งกลม วายนํ้าไดด ี เชน ปลาการ ปลาไพท ปลาชอน ปลาปากคม ปลานํ้าดอกไม ปลาเข็ม ปลากระทงุ เหว เป็ นตน (ภาพท่ี 2.11) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

ตัวอยางปลารปู ทรงแบบแบบลูกธนู เชน รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.1.1.7 รปู ทรงแบนขา ง (compressed form หรอื compressiform) เม่อื มองจาก ภาคตัดขวางจะเหน็ วาลําตัวดานซา ยและดานขวาจะแบนเขาหากนั เชน ปลาอินทรี ปลาสกี นุ ปลาแป น ปลาผีเสอื้ เป็ นตน และถา มองภาพทางดา นขา งจะสามารถแบงออก 3 แบบ คอื 1) แบบรปู ป อม (bream type) รปู ทรงคลา ยรูปไข เชน ปลากระด่ี ปลาผีเสอื้ (ภาพท่ี 2.13) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ

2) แบบรูปเหล่ียม (moonfish type) มีลักษณะเป็ นเหล่ยี ม เชน ปลาพระจนั ทร ปลาโฉมงาม ปลาแป น ปลาตะกรบั เป็ นตน (ภาพท่ี 2.14) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

3) แบบลนิ ้ หมา (pleuronectiid type) เป็ นปลาท่มี ลี ักษณะเอาดานขางไปนอน กบั พืน้ แลว วิวัฒนาการเอาสว นของตาขึน้ มาอยูบนขางเดยี วกัน ไดแ ก ปลาลนิ ้ หมา ปลาลนิ ้ ควาย ปลาจกั รผาน ปลาซีกเดยี ว เป็ นตน (ภาพท่ี 2.15) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.1.1.8 รูปทรงแบนลง (depressed form หรือ depressiform) ภาคตดั ขวางลาํ ตัว ดานบน-ลา ง จะแบนเขา หากนั เชน ปลากระเบน ปลาฉนาก เป็ นตน (ภาพท่ี 2.16) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

2.1.2 การจดั แบง รูปทรงของปลา โดยเปรยี บเทยี บระหวางความยาวกับความลกึ ของ ตัวปลาซ่ึงแบง รปู รา ง (Body shape) ได 3 แบบดว ยกนั (สืบสิน, 2527) คอื 2.1.2.1 ลาํ ตัวยาว (elongate) ลาํ ตวั คอ นขางยาวเม่ือเปรยี บเทียบกบั ความลึกของ ลําตัว ความยาวมาตรฐานจะมากกวา 4.1-8.0 เทาของความลกึ หรืออาจมากกวานีก้ ไ็ ด เชน ปลาไหล ปลาดาบลาว ปลานํ้าดอกไม เป็ นตน (ภาพท่ี 2.18) รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.1.2.2 ลาํ ตัวปานกลาง (oblong) ลาํ ตัวจะสัน้ กวาแบบ elongate มคี วามยาว มาตรฐานตอ ความลกึ ของตวั ปลามากกวา 2 เทา แตไ มเกนิ 4 เทา เชน ปลาใบขนุน ปลาโอ เป็ นตน (ภาพท่ี 2.19) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.1.2.3 ลําตวั สนั้ (ovate) ลําตวั สนั้ กวาแบบท่ี 2 มีความยาวมาตรฐานตอ ความลึกเป็ น 1–2 เทา เชน ปลาจาระเมด็ ปลาพระจนั ทร ปลาลิน้ หมา บางชนิด เป็ นตน (ภาพท่ี 2.20) รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.2 เครอื งมือวัดขนาดและสดั สว่ นรา่ งกายของปลา อุปกรณและเคร่อื งมือท่ีใชในการวดั ความยาวของปลานัน้ มหี ลายแบบ ทัง้ นีข้ ึน้ อยกู ับ ขนาดของปลาและความละเอียดของการศกึ ษา ซ่งึ มดี งั นี ้ 2.2.1 ไมบ รรทัด ใชว ัดปลาท่ีมขี นาดเล็กความยาวไมมากนัก หนวยของการวดั อาจเป็ นเซนติเมตร มลิ ลิเมตรหรือนิว้ กไ็ ด (ภาพท่ี 2.21) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

2.2.2 เวอรเนียแคลปิ เปอร (vernier caliper) เป็ นเคร่อื งมอื ท่ใี ชว ัดขนาดความยาวของปลาท่มี ีความยาวไมมากนัก โดยท่ัวไป ใชวดั ปลาท่มี คี วามยาวไมเ กนิ 20 เซนติเมตร และสามารถวดั ปลาไดหลายลกั ษณะในตัว เดยี วกันและสะดวกรวดเรว็ เวอรเ นียแคลิปเปอร ท่ีใชวดั ปลามที ัง้ แบบดจิ ิทัลและแบบสเกลวดั หนวยท่ใี ชว ัดอาจเป็ นเซนติเมตรหรือมลิ ลิเมตรก็ได (ภาพท่ี 2.22) สเกลเวอรเ นียสามารถบอก ความละเอียดถงึ 0.05 มิลลเิ มตร เวอรเนียแคลปิ เปอรมสี วนประกอบดงั นี ้ (ภาพท่ี 2.23) ก สเกลหลกั ข สเกลเวอรเนีย ค ป ุมเล่ือนสเกลเวอรเนียไปในสเกลหลัก ง น็อตลอ คสเกลเวอรเนีย จ ปากหนีบวัตถุท่ีตองการวดั เป็ นการวดั ภายนอก ฉ ปากวัดขนาดภายในของวัตถุ รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

การวดั และอา นคาของเวอรเนียรแ คลิปเปอร มขี นั้ ตอนการปฏิบตั ิดังนี ้ 1. เล่ือนปากเวอรเ นียรช ดิ กัน และตรวจสอบวา ขีดศูนยของสเกลเวอรเนียรจะตรงกบั ขดี ศนู ยของสเกลหลกั หรือไม หากไมเป็ นเชนนัน้ ใหพ จิ ารณาความคลาดเคล่อื นศูนย 2. เล่อื นปากของเวอรเ นียรใ หช ดิ กบั ปลาท่ีจะวัด โดยการวดั ปลาใหวดั ดานภายนอก 3. ล็อกสลกั ใหเวอรเนียรอ ยูกบั ท่ี 4. การอา นคาการวัดขนาดของปลา มีวธิ กี ารอา นดังนี ้ 4.1 อา นตาํ แหนงบนสเกลหลกั กอ น 4.2 อา นคา ของเลขตรงขีดศนู ยข องสเกลเวอรเ นียรในตาํ แหนงท่ตี รงกบั สเกล หลกั เป็ นคา ตําแหนงท่ี 1 หลงั จดุ ทศนิยม 4.3 อานคา ของเลขตรงขดี ศูนยของสเกลเวอรเนียรใ นตาํ แหนงท่ีตรงกับสเกล หลักเป็ นคา ตําแหนงท่ี 2 หลงั จุดทศนิยม รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พัทลงุ

2.2.3 สายเทปวัด เทปวัดมีหลากหลายรูปแบบ สาํ หรับท่ใี ชว ัดปลาตองเป็ นเทปท่ีใชด งึ และเปิ ด ปิ ดได สามารถวดั ปลาท่ีมขี นาดความยาวไดม ากกวาไมบรรทดั หรือเวอรเ นียร แคลปิ เปอร หรือวดั ปลาไดประมาณ 5-10 เมตร หรืออาจมากกวานี ้ หนวยท่ใี ช วดั อาจเป็ นเซนติเมตร นิว้ หรือเมตร (ภาพท่ี 2.24) รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.3 การแบงสัดสว นของตวั ปลา โดยท่ัวไปเม่อื ปลาโตเต็มวัยแลว จะมรี ูปรางแบบสมมาตรซา ย-ขวา ยกเวน ปลาซกี เดียว รา งกายปลาแบงออกได 3 สวน (วมิ ล, 2540 และ สภุ าพ, 2529) (ภาพท่ี 2.25) คอื 2.3.1 หัว (head) เร่มิ จากปลายสดุ ของจะงอยปากถึงริมสุดของกระดูกกระพงุ แกม หรอื กระดูกปิ ดเหงือก (opercal หรอื opercular bone) สว นหวั นีจ้ ะเป็ นท่ีตัง้ ของอวัยวะรับความรูส กึ เกือบทกุ ชนิด ไดแ ก ตา ปาก จมูก หนวด นอกจากนีย้ ังเป็ นท่ตี ัง้ ของระบบประสาท ไดแ ก สมอง และระบบหายใจ คือ เหงือกซ่งึ ใชแลกเปล่ยี นกา ซจากนํ้า อกี ทัง้ มีระบบยอยอาหารบางสวน คอื ปาก ฟั น ลนิ ้ และชองคอ 2.3.2 ลาํ ตัว (trunk หรือ body) อยถู ดั จากกระดูกปิ ดเหงือกไปจนถงึ รทู วาร (anus) สวนนีเ้ ป็ นสวนท่ีตงั้ ของครบี (fin) เกือบทงั้ หมดยกเวน ครีบหางและครีบกน เป็ นสว นท่ีมเี กลด็ และตอมเมอื กมากซ่ึงใชสําหรับการป องกันตวั นอกจากนีย้ งั เป็ นท่ีตงั้ ของอวัยวะภายในซ่ึง ไดแ ก ระบบทางเดินอาหาร ระบบขบั ถา ย และระบบสืบพันธุ รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.3.3 หาง (tail) เป็ นสว นสุดทายของตวั ปลา โดยเร่ิมจากรทู วารไปจนสดุ ปลาย ครบี หาง สวนนีเ้ ป็ นท่ตี งั้ ของครบี กน และครบี หาง เป็ นสว นท่ีมเี กลด็ ปกคลุมเชน กนั มีกลา มเนื้ออยหู นาแนน เพ่อื ใชในการควบคุมทศิ ทางการเคล่อื นท่ีเหมอื นหางเสอื และชวยในการทรงตัว ปลาไมมีคอแตม ีสวนท่เี รยี กวา อสิ ทมัส (isthmus) ซ่งึ อยูระหวา งเหงอื ก แบงเหงอื กออกเป็ น 2 ขา งซาย-ขวา เทา ๆกนั รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.4 การวัดขนาดและสดั สวนของปลา การวดั ขนาดของปลา (Lagler และคณะ, 1962) (ภาพท่ี 2.26) ดงั นี ้ 2.4.1 การวดั ความยาวทัง้ สิน้ หรอื ความยาวเหยียด (Total length; TL) เป็ น ความยาวท่ีวดั โดยเร่มิ จากปลายสดุ ของจะงอยปากทางดานหนาไปจนถึงปลายสดุ ของครีบหาง 2.4.2 การวดั ความยาวตรงรอยเวาของครบี หาง (Forked length; FL) โดยวดั จากปลายสุดทางดา นหวั ไปจนถงึ สวนท่ีเวาลึกท่ีสุดของรอยหยกั เวาของครบี หาง 2.4.3 การวัดความยาวมาตรฐาน (Standard length; SL) โดยวัดจากปลายสุด ทางดานหัวไปจนถงึ เสนด่ิงท่ลี ากลงมาตัดกบั ฐานครีบหางหรอื ปลายสุดของกระดูก hypural plate 2.4.4 การวดั ความยาวของจะงอยปากหรือการวัดความยาวหนาตา (Snout length; SnL) หรือ (preorbital length) โดยเร่มิ วดั จากปลายสดุ ของจะงอยปาก มาถงึ เสน ตัง้ ฉากท่ตี ัดผานขอบหนาของตา รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.4.5 การวดั ขนาดเสน ผา ศนู ยกลางของตา (Eye diameter; ED) โดยวัดจาก เสน ตัง้ ฉากท่ีตัดกับขอบทางดานหนาสุดของตาไปจนจรดเสนตงั้ ฉากท่ตี ดั กบั ขอบหลงั สดุ ของตา 2.4.6 การวดั ขนาดความยาวของหวั (Head length ; HL) โดยเร่มิ วัดจากปลาย สดุ ของจะงอยปากไปจนถงึ เสน ตงั้ ฉากท่ีลากลงมาตดั กับดา นทา ยสุดของแผน เย่ือปิ ดกระพงุ แกม (opercular flap) 2.4.7 การวัดความลึกของลาํ ตัว (Body height; BH) เป็ นการวัดชวงท่ลี ึกหรือสงู ท่สี ดุ ของตวั ปลาโดยท่ัวไปแลว มักจะเป็ นบริเวณหนาครบี หลงั เป็ นแนวด่ิงลงไปท่ีบรเิ วณ สว นทอ งของปลา 2.4.8 การวัดความยาวแกม ปลา (postorbital length) เป็ นการวัดจากขอบหลงั ตาปลาไปจนถงึ ขอบปลายสดุ ของแผนปิ ดเหงอื ก (operculum) 2.4.9 การวดั ความยาวครบี หลังอนั แรก (length of first dorsal fin) เป็ นการวัด จากขอบครีบหลงั ดา นหนาสุดไปจนถึงขอบครบี หลงั ดานทา ยสุดในแนวระนาบเม่ือกางครีบ ออก รวบรวมโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.4.10 การวดั ความยาวครีบหลงั อนั ท่ีสอง (length of second dorsal fin) เป็ นการวัดความยาวจากขอบกา นครบี อนั แรกสุดของกา นครบี อันท่ีสอง ไปจนถึงปลาย สดุ ของกานครบี อันสดุ ทา ยในแนวระนาบเม่ือกางกา นครีบออกเต็มท่ี 2.4.11 การวดั ความยาวของครบี หหู รอื ครบี อก (length of pectoral fin) เป็ นการวดั จากฐานครบี บริเวณท่อี ยูใกลแ ผน ปิ ดเหงือกมากท่สี ดุ ไปจนถงึ ปลายสุดของ ครบี หูในแนวระนาบ 2.4.12 การวัดความยาวครีบกน (length of anal fin) เป็ นการวดั จากขอบหนา สุดของครบี ไปจนถึงขอบหลงั สุดของครีบกนในแนวระนาบ 2.4.13 ความกวา งของจาน (disc width) หมายถึง ความกวา งจากดา นหน่ึงไป ยงั อีกดา นหน่ึงของแผนจานปลากระเบน วัดไดเฉพาะกลุมปลากระเบน กระเบนไฟฟ า ปลาโรนัน และปลาโรนิน เป็ นตน 2.4.14 ความยาวของจาน (disc length) ความยาวของแผนจานจากปลายสุด ของจะงอยปากไปยงั ขอบทางดานทา ยสุดของครบี หู วัดไดในกลุมปลากระเบน ปลากระเบนไฟฟ า ปลาโรนัน รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

การวัดขนาดสัดสว น ความกวางและความยาวสวนตางๆ ของปลาจากตัวอยางจริง มแี นวทางการปฏบิ ัติดังนี ้ (ภาพท่ี 2.27 ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

การวัดขนาดสัดสว น ความกวางและความยาวสวนตางๆ ของปลาจากตัวอยางจริง มแี นวทางการปฏบิ ัติดังนี ้ (ภาพท่ี 2.27 ) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสินี ณ พทั ลงุ

2.5 อวัยวะภายนอกของปลา อวัยวะภายนอกตัวเป็ นอวัยวะท่สี ามารถมองเห็นไดทนั ทีจากภายนอก สวนใหญจ ะเป็ นอวยั วะท่ี ทําหนาท่ีเก่ียวกับการรับสัมผัสทางประสาท เพ่ือใหป ลาหลบหนีไดทนั กาลและชวยในการหาอาหาร ดังนัน้ อวัยวะภายนอกทงั้ หลายจงึ จําเป็ นอยางย่งิ ในการดํารงชีวิตขัน้ พืน้ ฐานของปลา (พชิ ยา, 2555) อวยั วะเหลา นี ้ ไดแก รวบรวมโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.5.1 ปาก (mouth) เป็ นชอ งเปิ ดท่ีใหญท่ีสุดของรา งกาย อยใู นตําแหนงสว นหนา ของรางกาย ทาํ หนาท่ใี นการรบั อาหาร รบั นํ้าเพ่ือการหายใจ ชว ยในการเกาะยดึ บางชนิด ใชใ นการตอสู บางชนิดใชใ นการหาอาหาร ปากของปลาแตกตางกนั ท่ีตาํ แหนง ขนาด รูปทรง โดยเทียบขนาดกบั ความกวางกบั สวนหัวสวนใดสวนหน่ึงปากปลาสามารถแบง ออกเป็ น 3 ตําแหนง ไดแ ก (ภาพท่ี 2.31) 1) ตําแหนงปากดานบน (superior mouth) มตี ําแหนงของปากปลาเฉียงขึน้ ทาง ดานบน พบในปลาท่ีหากินผิวนํ้า เชน ปลาเข็ม ปลาเขือ ปลาคางเบือน ปลาซวิ ปลาซวิ ใบไผ ปลาดาบลาวทะเล ปลาดาบลาวนํ้าจดื เป็ นตน (ภาพ ก.) 2) ตําแหนงปากดา นหนาสุดของหวั (anterior mouth หรือ terminal mouth) เป็ นกลุมปลาท่ีหากนิ กลางนํ้า เชน ปลาตะเพยี นขาว ปลากระแห ปลาทู ปลาลัง ปลาหลัง เขยี ว ปลาแขงไก ปลาจาระเมด็ ปลาสวาย ปลากระบอก ปลากะพงขาว ปลาสลดิ (ภาพ ข.) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสนิ ี ณ พทั ลงุ

3) ตาํ แหนงปากอยูดานลา ง (inferior mouth) ตาํ แหนงปากเฉียงลงทางดา น ลา งอาจอยูตําแหนงดานลา งมากนอยแลวแตชนิดของปลา สวนใหญเป็ นปลาท่หี ากนิ ท่ี พืน้ ทองนํ้า เชน ปลาสเตอรเ จียน ปลากุเรา ปลาหนวดพราหมณ ปลาฉลาม ปลาคอ ปลากระเบน ปลาโรนัน ปลาจิง้ จก ปลาหลด ปลาเลยี หิน ปลาลกู ผึง้ ปลาไสตัน เป็ นตน (ภาพ ค.) รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

2.5.1.1 รูปทรงของปาก (shape of mouth) รปู ทรงของปากปลาท่ีเป็ นแบบแปลกออกไปกม็ ีหลายรูปแบบตามนิสัยการกินอาหาร แบงออกไดด ังนี ้ (วิมล, 2528; สภุ าพ, 2529 และ Nikolsky, 1965) 1) ปากเป็ นทอหลอดหรอื ปลองยาสูบ (tube-like mouth หรือ pipe-like mouth หรือ spout-like mouth) มีจะงอยปากย่ืนยาวเป็ นทอ ขนาดเลก็ เชดิ ขึน้ เลก็ นอย ชองเปิ ดของปากอยตู รงปลายทอ เชน ปลาปากแตร ปลามานํ้า ปลาจมิ ้ ฟั นจระเข ปลาผเี สือ้ เป็ นตน (ภาพท่ี 2.32) รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ

2)ปากนก (beak-like mouth) ลักษณะเป็ นเหมอื นปากนกย่นื ยาวออกไป แบงออก ไดเป็ น 3 แบบ คือ (อภนิ ันท, 2561) (1) ขากรรไกรบนสัน้ และขากรรไกรลางยาว เชน ปลากระทงุ เหว ปลาตับเตา และปลาเขม็ (2) ขากรรไกรลางสัน้ และขากรรไกรบนยาว เชน ปลากระโทงแทง และ ปลากระโทงแทงดาบ (3) ขากรรไกรแขง็ แรงพัฒนาเป็ นฟั น เชน ปลานกแกว และปลาปั กเป า 3)ปากแบบฟั นเล่อื ย (saw-like mouth) จะงอยปากย่ืนยาวออกมาและมรี อยหยกั เหมือนใบเล่อื ย พบในปลาฉนาก (พชิ ยา, 2556) 4)ปากยดื -หดได (protractile mouth) เน่ืองจากกระดกู สว นพรแี ม็กซิลลายาวและ กระดูกสวนแมก็ ซิลลาใชเป็ นคานงัด ทาํ ใหป ากยึดออกมาได ลกั ษณะการยดื อาจชีต้ รง ออกไปหรือชขี ้ ึน้ ขางบน หรือลงลางก็ได (Jobling, 1995) ปลาท่มี ปี ากลกั ษณะนี ้ เชน ปลาแป น ปลาหมอตาล ปลากระเบนไฟฟ า ปลาสรอ ย เป็ นตน (ภาพท่ี 2.33) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พทั ลงุ

รวบรวมโดย ครนู ุสราสนิ ี ณ พทั ลงุ

5) ปากเป็ นปากดดู (sucking mouth) ใชปากในการดูดกินอาหารและใชใ น การเกาะติดกับท่ี เชน ปลาแลมเพรย ปลาทรงเคร่ือง ปลาสเตอรเ จียน ปลาลกู ผึง้ 2.5.2 จะงอยปาก (snout หรือ rostrum) อยูระหวา งปลายสดุ ปากถึงหนาตา บริเวณนี ้ จะมีจมกู และหนวดอยู 2.5.3 จมูก (nostril หรือ nare) เป็ นอวยั วะท่ใี ชใ นการรับกล่ิน สารเคมี และประจุไฟฟ า ในปลาไมไดใ ชเพ่ือการหายใจ ปลาปากกลมมี 1 รู ตรงกลางจะงอยปาก ปลากระดูกออ น จะมีดา นละ 2 รู และปลากระดกู แข็งสวนใหญจะมดี านละ 2 รู ยกเวน ในกลุม ปลานิล (ภาพท่ี 2.34) รวบรวมโดย ครนู สุ ราสนิ ี ณ พัทลงุ

2.5.4 ตา (eye) เป็ นอวัยวะท่ีใชรับแสงใหเ ขา ไปแลวสะทอนเพ่ือเห็นภาพใหม องเหน็ ตาปลาไมม ีเปลือกตา ยกเวน บางชนิด เชน ในปลาฉลามหดู ํา ปลาบางชนิดมวี ุนใสคลุม เชน ปลานวลจนั ทรท ะเล หรอื มีหนังคลมุ ทงั้ ตา เชน ปลาแขยง ตาปลาสวนใหญจะอยู 2 ขางของหวั ยกเวน ปลาซีกเดียว มีตาอยูดา นขางหัวดา นท่อี ยขู างบนเม่ือปลานอนอยบู น พืน้ ทะเล ปลาสวนมากมี 2 ตา ยกเวนปลา 4 ตา และปลาไมมตี าซ่ึงอยูใตทะเลลกึ หรอื ใน ถํา้ มดื (ภาพท่ี 2.35) รวบรวมโดย ครูนุสราสินี ณ พทั ลงุ

2.5.5 แผน ปิ ดเหงอื ก (operculum) ในปลากระดูกแขง็ แผนปิ ดเหงือกจะอยู 2 ขาง ของหัวทาํ หนาท่ปี ิ ดเหงอื ก และขยับปิ ด-เปิ ดเพ่ือหายใจ โดยการปิ ดเปิ ดของสว นท่เี ช่ือม กบั กระดูก branchiostegal ray ทาํ ใหส ามารถขยายองุ ปากไดใหญข นึ้ เพ่อื ใหน ํ้าสามารถ ขังอยไู ดในกระพุงแกม ใชใ นการแลกเปล่ียนกาซ ในปลากระดูกออ นจะมชี องแยกออก จากกนั เรียกวาชองเหงือก (gill slit) แผนปิ ดเหงอื กเรียกวา gill septum (ภาพท่ี 2.36) รวบรวมโดย ครูนสุ ราสินี ณ พัทลงุ

2.5.6 หนวด (barbel) หนวดอยบู ริเวณหัวใกลป ากและจมูกหรอื อาจอยใู ตค าง หนวดปลาเปล่ยี นแปลงมาจากผวิ หนังชนั้ นอก (ectoderm) จึงไมม ีโคนฝั งอยูเหมือน หนวดของสัตวช นั้ สงู ลกั ษณะเป็ นเนื้อนมุ ๆ หนวดปลาอาจจะสนั้ หรอื ยาว จาํ นวนมาก หรอื นอยแลว แตชนิดของปลา มหี นาท่ใี นการรบั สมั ผสั และชวยหาอาหาร หนวดปลาบาง ชนิดมตี ุม รบั รส (taste bud) อยูด ว ย ปลาไมม เี กล็ด หนวดจะเจรญิ ดกี วาปลามเี กลด็ เพ่ือ ชว ยในการรับความรสู ึกดีขึน้ สามารถแบงหนวดปลาตามตาํ แหนงท่ีตงั้ ได 5 ชนิด คือ (ภาพท่ี 2.37) 2.5.6.1 maxillry barbel เป็ นหนวดท่มี ักเป็ นคขู นาดใหญตงั้ อยูบนกระดกู maxillary ของขากรรไกรบน พบในปลาแขยง ปลาดกุ ปลากด ปลาแค เป็ นตน 2.5.6.2 mandible หรือ mandibulary barbel เป็ นหนวดท่ีอยูบรเิ วณขากรรไกรลาง Mandible มีเป็ นคูพ บในปลาดุก ปลากด เป็ นตน 2.5.6.3 snout barbel เป็ นหนวดคทู ่ีอยูบ นจะงอยปาก หนวดคนู ีห้ ากอยูบริเวณ ฐานของรูจมกู ก็จะเรยี กอีกอยางวา Nasal barbel พบอยทู ่วั ไปในปลากด รวบรวมโดย ครนู ุสราสินี ณ พทั ลงุ