Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8.2 รายงานการปฏิบัติจริง pdf

8.2 รายงานการปฏิบัติจริง pdf

Description: 8.2 รายงานการปฏิบัติจริง pdf

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษาการปฏิบตั ิจริง ระหวา่ งวนั ท่ี 5, 7 - 9 เมษายน 2564 กลมุ่ ที่ 8 ณ โรงเรียนวัดบณุ ยประดษิ ฐ์ สำนกั งานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร รายชือ่ สมาชิก 1. นายกิตตธิ ชั ชุ่มวงศ์ เลขที่ 26 2. นางมัทนยี า เช้อื บัณฑติ เลขที่ 27 3. นางสาวอนุตรา จติ รเทย่ี ง เลขท่ี 50 4. นางสาวอรฤทยั พวงกหุ ลาบ เลขที่ 86 5. นายสทิ ธชิ ยั ยาแก้ว เลขท่ี 87 หลักสตู รการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร ก่อนแต่งตงั้ ใหด้ ำรงตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา ร่นุ ที่ 12 สำนกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร

ข คำนำ รายงานการศึกษาการปฏิบัติจริง หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร ก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา ณ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ เป็นการฝึกประสบการณ์การปฏิบัติงานจริง ในตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสถานศึกษา โดยเริ่มฝึกปฏิบัติตั้งแต่วันที่ 5 เมษายน 2564 ถึง วันที่ 9 เมษายน 2564 โดยรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติจรงิ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 2) ภารกิจของ ผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การบริหารงานบุคคล การบริหารงานวิชาการ การบรหิ ารงานงบประมาณ และการบริหารงานท่ัวไป 3) เทคนคิ / วธิ กี ารบริหาร / แนวทางการแก้ไขปัญหา ที่ค้นพบ และ 4) การนำไปใช้ในการบริหารโรงเรียน มีภาพกิจกรรมประกอบภารกจิ การบริหารงานท้ัง 4 ด้าน และเอกสารประกอบการรายงานผลงาน ดังที่ได้แสดงไว้ในภาคผนวก ซึ่งผลจากการศึกษาการปฏิบัติจริง ทำให้ได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถนำความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการบริหารงาน ในโรงเรียน เพื่อให้บรรลุถึงวิสัยทัศน์หรือเป้าหมายในการจัดการศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมคี ณุ ภาพ ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณะครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และ นกั เรยี น โรงเรียนวดั บุณยประดษิ ฐ์ สำนกั งานเขตบางแค กรงุ เทพมหานคร และคณะผู้บริหารโรงเรยี นเครือข่าย ของโรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ที่ให้ความกรุณาในการให้ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ในครั้งนี้ให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี สามารถนำความรู้ไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา ของโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานครให้มคี ณุ ภาพสงู ตอ่ ไป คณะผูจ้ ัดทำ

ค สารบญั คำนำ........................................................................................................................................... หน้า สารบัญ........................................................................................................................................ ก สารบัญตาราง............................................................................................................................. ข สารบัญภาพ................................................................................................................................ ค ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานศกึ ษา ง 1 1. ขอ้ มลู ทัว่ ไป....................................................................................................................... 1 2. ขอ้ มูลผู้บริหาร.................................................................................................................. 2 3. ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากร....................................................................................................... 2 4. ข้อมูลนกั เรียน................................................................................................................... 2 5. สภาพแวดลอ้ มในชุมชน.................................................................................................... 2 แนวทางการจัดระบบโครงสรา้ งการบริหาร/การบริหารงานบคุ คล 3 1. ภาระงานที่สำคญั ............................................................................................................. 4 2. เทคนคิ / วธิ ีการบริหาร / แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทีค่ น้ พบ............................................. 5 3. การนำไปใชใ้ นการบรหิ ารโรงเรียน.................................................................................... 6 แนวทางการจดั ระบบโครงสร้างการบริหาร/การบริหารงานวชิ าการ 7 1. ภาระงานท่ีสำคัญ............................................................................................................. 7 2. เทคนิค / วธิ ีการบรหิ าร /แนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่คี น้ พบ............................................. 9 3. การนำไปใชใ้ นการบริหารโรงเรียน................................................................................... 10 แนวทางการจดั ระบบโครงสร้างการบริหาร/การบรหิ ารงานงบประมาณ 11 1. ภาระงานทส่ี ำคญั ............................................................................................................. 11 2. เทคนคิ / วธิ ีการบริหาร / แนวทางการแก้ไขปัญหาทค่ี ้นพบ............................................ 13 3. การนำไปใชใ้ นการบริหารโรงเรยี น................................................................................... 13 แนวทางการจัดระบบโครงสรา้ งการบรหิ าร/การบรหิ ารทว่ั ไป 14 1. ภาระงานท่สี ำคัญ............................................................................................................. 14 2. เทคนคิ / วิธีการบริหาร / แนวทางการแก้ไขปัญหาทค่ี ้นพบ............................................ 19 3. การนำไปใชใ้ นการบริหารโรงเรยี น................................................................................... 19 ภาคผนวก................................................................................................................................... 20

ง สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 1. ขอ้ มลู นกั เรยี น ................................................................................................................. 2

จ สารบญั ภาพ ภาพท่ี หน้า 1. แผนผงั การบรหิ ารงานโรงเรียนวดั บณุ ยประดิษฐ์............................................................. 3 การบริหารงานบคุ คล................................................................................................................. 22 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ......................................................... 22 การประชมุ การอบรมจากหน่วยงานภายในและภายนอก.................................................... 22 การส่งเสริมครใู นการพัฒนาวชิ าชพี และสรา้ งขวญั และกำลังใจ............................................. 23 การนิเทศเพอ่ื สง่ เสริมประสทิ ธิภาพ....................................................................................... 23 การจดั สมั มนาและการรว่ มแสดงความยินดใี นโอกาสต่าง ๆ........................................... ...... 23 24 การบรหิ ารงานวิชาการ.............................................................................................................. 24 การวางแผนงานวชิ าการ การบริหารหลกั สูตร การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้......................... 24 การพฒั นาและทบทวนหลักสูตรสถานศกึ ษา......................................................................... 24 การจัดการเรียนการสอน การนเิ ทศ โครงการต่าง ๆ............................................................. 25 ผลทีเ่ กดิ จากการพฒั นาศกั ยภาพการเรียนรขู้ องนกั เรยี น...................................................... 26 26 การบริหารงานงบประมาณ........................................................................................................ 26 การจดั ทำแผน วิเคราะห์ การจดั สรร เบกิ จ่าย งบประมาณภายในสถานศกึ ษา.................... 26 จัดทำแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ.................................................................................... 26 มอบเงนิ ค่าอปุ กรณ์และเคร่อื งแบบนักเรยี นใหก้ บั ผู้ปกครอง................................................. 27 การจัดทำแผน วิเคราะห์ การจัดสรร เบิกจา่ ย งบประมาณภายในสถานศกึ ษา.................... 27 การจ่ายเงินใหก้ บั ผู้ปกครอง.................................................................................................. 27 การของบประมาณ สงิ่ กอ่ สร้าง............................................................................................. 27 การบริหารพัสดแุ ละครุภณั ฑ์................................................................................................. 28 โครงการอาหารเช้า อาหารกลางวัน...................................................................................... 28 28 การบริหารงานท่ัวไป.................................................................................................................. 28 งานกจิ การนักเรียน และสมั พันธช์ มุ ชน................................................................................. 28 การประชมุ เครือขา่ ยผปู้ กครอง............................................................................................. 28 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น........................................................................................................... 28 กิจกรรมหนา้ เสาธง................................................................................................................ การดูแลความปลอดภยั ......................................................................................................... กิจกรรมสัมพนั ธช์ ุมชน..........................................................................................................

ฉ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) ภาพที่ หน้า งานอาคารสถานท่ี................................................................................................................. 29 การพัฒนาอาคารสถานทีเ่ พื่อความปลอดภยั และการเรียนรู้................................................. 29 30 การฝกึ ประสบการณ์รองผอู้ ำนวยการ....................................................................................... เรยี นรู้งานทัง้ 4 ฝ่าย บริหารงานบุคคล บริหารงานวิชาการ บริหารงานงบประมาณ 30 และบรหิ ารทัว่ ไป................................................................................................................... 31 การเรียนรู้กิจกรรมประจำวนั และประสบการณจ์ รงิ ............................................................

รายงานการศึกษาการปฏิบัติจริง หลกั สตู รการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษากรงุ เทพมหานคร ก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหน่ง รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ณ โรงเรยี นวัดบุณยประดิษฐ์ สำนกั งานเขตบางแค กรงุ เทพมหานคร 1. ข้อมูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา 1.1 ข้อมลู ท่ัวไป โรงเรียนบุณยประดิษฐ์ตั้งอยู่เลขท่ี 526 หมู่ 2 แขวงบางไผ่ เขตบางแค กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้น เม่อื พ.ศ.2498 โดยพระอธิการสนิ อดีตเจา้ อาวาสวัดบณุ ยประดษิ ฐ์ ปัจจุบนั มีพืน้ ท่ี 6 ไร่ 1 งาน 69 ตารางวา ปี พ.ศ.2501 อาคารเรียนหลังแรก ตามแบบ 003. สร้างจากเงินงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการเงิน ของสภาตำบล และประชาชนบรจิ าค ปี พ.ศ.2511 อาคารเรียนตามแบบ 004. สร้างโดยองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ธนบุรี (ต่อมาร้ือถอนก่อสรา้ ง เปน็ อาคารเรยี นตกึ 4 ชั้น แบบ สนศ. 384 งบประมาณกรุงเทพมหานคร) ปี พ.ศ.2515 อาคารเรียนไม้แบบ ป.1 ช.4 หอ้ งเรยี นงบประมาณจากองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดธนบรุ ี ปี พ.ศ.2518 อาคารสวุ รรณนภาศรี สรา้ งโดยงบประมาณของนายวิวฒั นส์ ุวรรณนภาศรี เปน็ อาคารชัน้ เดยี ว ปี พ.ศ.2519 สร้างโรงอาหารกว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร งบประมาณจากสำนักงบประมาณ 45,000 บาท กรุงเทพมหานคร 4,500 บาทและนายวิวัฒน์ สุวรรณนภาศรี 45,000 บาท ต่อมาในปี พ.ศ.2529 นายวิวัฒน์ สุวรรณนภาศรี ได้บริจาคเงินต่อเติมเพ่ิมเป็นขนาด 6 x 20 เมตร และในปี พ.ศ.2542 นายววิ ัฒน์ สวุ รรณนภาศรี ได้บริจาคสรา้ งใหม่ ปี พ.ศ.2520 อาคารเรียนแบบ ร.ร.800 - 2518 เป็นอาคารตึก 3 ชั้น จากงบประมาณ อุดหนุน ปี พ.ศ.2522 อาคารเรียนแบบ ร.ร.800 - 2518 จากงบประมาณของกรุงเทพมหานครเป็นตกึ 3 ช้นั ปี พ.ศ.2537 อาคารเอนกประสงค์แบบ ศอ.142 กว้าง 4 เมตร ยาว 32 เมตร พ้ืนที่ 128 ตารางเมตร 2 ชน้ั งบประมาณกรุงเทพมหานครปัจจุบนั ซน้ั ลา่ งเปน็ โรงอาหาร ชั้นบน เป็นห้องประชุม ปี พ.ศ.2540 หอ้ งสมดุ เฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ปี พ.ศ.2542 ไดป้ รับปรุงซอ่ มแซมเพอื่ ใช้เปน็ อาคารหอ้ งสมดุ ปี พ.ศ.2550 ได้รับงบประมาณจากสำนักการศึกษาสรา้ งอาคารเรียน 5 ช้นั แบบ สนศ.385 ปี พ.ศ.2552 ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียน 5 ชั้นจากเงินบริจาคของนายบุญเลิศ สัมฤทธ์ิวนิชชา เพ่ือใช้ทำการเรียนการสอนใหก้ ับนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ปี พ.ศ.2553 ได้รับงบประมาณในการก่อสรา้ งโครงโลหะสำหรบั ติดตั้งวัสดบุ งั แสง ปี พ.ศ.2554 ได้จัดงานเปดิ อาคารเรยี น 5 ชนั้ และสง่ มอบอาคารเรยี น โดยใหช้ ื่อว่า “อาคารสมั ฤทธ์วิ นิชชา” ปรัชญานำทาง การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาชวี ิตและสงั คม คำขวัญโรงเรียน ความร้ดู ี มีจริยา พัฒนาคน วิสยั ทัศน์ ภายในปี 2564 โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ คู่คุณธรรม เป็นพลเมืองที่ดี มีทักษะการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยชมุ ชนมีส่วนร่วม

2 ตน้ ไม้ประจำโรงเรยี น ตน้ ราชพฤกษ์ คติธรรม นตฺถิ ปญญฺ า สมา อาภา แสงสวา่ งอ่ืนเสมอดว้ ยปัญญาไม่มี สีประจำโรงเรยี น ความรู้ - คคู่ ุณธรรม สเี ขยี ว หมายถงึ ความสดใส ความเจรญิ ความงาม เอกลกั ษณ์ สเี หลือง หมายถึง ความดงี าม ความสว่างไสว ดว้ ยแสงแห่งธรรม อตั ลักษณ์ มารยาทงาม ไหวส้ วย 1.2 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา 1) นางบญุ ธิดา พงศะบตุ ร รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา 2) นางภัทรวดี นุ้ยแหลมหลกั รองผู้อำนวยการสถานศึกษา 3) นายศปุ กร รวบรวม 1.3 ข้อมูลครูและบุคลากร จำนวนบคุ ลากร ประกอบดว้ ย ผ้บู รหิ าร 3 คน ผอู้ ำนวยการ 1 คน รองผูอ้ ำนวยการ 2 คน ข้าราชการ ครู 39 คน รวม 42 คน พนักงานสถานที่ 4 คน ลูกจา้ งชั่วคราว 2 คน พเี่ ล้ียงเดก็ 5 คน และเจ้าหนา้ ท่ีธุรการ 1 คน แม่ครวั 5 คน 1.4 ขอ้ มูลนกั เรียน ปีการศกึ ษา 2563 (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน 2563) อ.1 อ.2 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวม ช 27 29 40 44 45 44 58 46 36 42 32 443 ญ 24 30 35 32 40 52 37 32 35 24 25 366 รวม 51 59 75 76 85 96 95 78 71 66 57 809 1.5 สภาพแวดล้อมในชมุ ชน โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ตั้งอยู่ในชุมชน ที่ทำการเกษตร สภาพแวดล้อมบริเวณรอบ โรงเรียน เป็นพ้ืนที่ปลูกผัก ทำสวน บ้านเรือนจะต้ังอยู่กระจัดกระจาย ไม่เป็นชุมชนแออัด โดยมีวัดบุณยประดิษฐ์ เป็นศูนย์กลางการจดั กิจกรรมทางด้านศาสนา ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ สถานภาพทางครอบครัว นักเรียนส่วนใหญ่อาศัยอยู่กับพ่อแม่ มีความอบอุ่นในครอบครัวดี มีฐานะทางการเงินพอใช้ ที่เหลือมีปัญหา ครอบครัวแตกแยก ส่วนใหญ่อยู่กับแม่ บางส่วนอยู่กับญาติผู้ใหญ่ ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ จะเป็นคนต่างจังหวัด บ้านพักเป็นบ้านเช่า บางส่วนอยู่หมู่บ้านจัดสรร อาชีพส่วนใหญ่รับจ้างท่ัวไป ทำงานโรงงานอุตสาหกรรม ค้าขาย ข้าราชการ ทำสวนผัก ระดับการศึกษา ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา อาชีพหลัก คือ รับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 85 นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 97 ฐานะ ทางเศรษฐกจิ /รายได้ โดยเฉลี่ยต่อครอบครวั ต่อปี ประมาณ 50,000 บาท จำนวนคนเฉลีย่ ตอ่ ครอบครวั 3 - 5 คน

3 แนวทางการจัดระบบโครงสร้างการบริหาร/การบริหารงานบุคคล ในการศึกษาปฏิบัติจริง ณ โรงเรยี นวัดบุณยประดิษฐ์ โดยเฉพาะในเร่ืองการบริหารงานบุคคล พบว่า สถานศึกษามีการกระจายอำนาจให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 และ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจาย อำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร ท่ัวไป ไปยังคณะกรรมการสถานศึกษา มีแนวการจัดระบบโครงสร้างการบริหาร โดยผู้อำนวยการสถานศกึ ษา มอบหมายงานให้รองผู้อำนวยการฝ่ายบุคคลดำเนินการ มีการแต่งต้ังหัวหน้าฝ่ายบุคคล หัวหน้าสายชั้น หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เน้นการมีส่วนร่วมและการกระจายอำนาจในการบริหารงาน ดังแผนผังการ บริหารงานโรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ดงั น้ี คณะกรรมการสถานศึกษา โรงเรียนวดั บณุ ยประดษิ ฐ์ คณะกรรมการเครือข่ายฯ นางบณุ ธิดา พงศะบตุ ร ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา นางภัทรวดี นยุ้ แหลมหลัก นายศุปกร รวบรวม รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษา รองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา งานบริหารงานงบประมาณ งานบริหารท่วั ไป งานบรหิ ารงานวชิ าการ งานบริหารงานบคุ คล - บริหารงบประมาณ - พฒั นาเครือขา่ ย - งานวิชาการ - การจัดทำทะเบียน - บริหารการเงนิ สารสนเทศ - การพฒั นาหลักสตู ร ประวตั ิ - งานวางแผนการบริหาร การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน - การสรรหาและบรรจุ และบัญชี ทางการศกึ ษา - การพฒั นากระบวนการ แต่งตง้ั บุคลากรทางการ - บรหิ ารพสั ดุ - การบรหิ ารงานธรุ การ เรยี นรู้ ศึกษา - บริหารจัดการ - งานสมั พนั ธช์ มุ ชน - การพัฒนาคุณภาพ - การพฒั นาบคุ ลากร - งานกจิ การนักเรยี น การศึกษา - การสง่ เสรมิ ทรัพยากร - งานอาคารสถานท่ี - การพัฒนาศักยภาพ ประสทิ ธภิ าพ เพื่อการศึกษา สงิ่ แวดล้อมและ การเรียนรู้ การปฏิบตั งิ าน - การประเมนิ และ ยานพาหนะ - การพ้นจากราชการ การรายงานการเงิน - งานพฒั นาเครือข่าย ภาพท่ี 1 แผนผังการบรหิ ารงานโรงเรยี นวัดบณุ ยประดิษฐ์

4 แนวทางการบรหิ ารงานบุคคลสถานศึกษา มีข้อคน้ พบ ดังน้ี (กรณีศกึ ษา : โรงเรียนวัดบุณยประดษิ ฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร) 1. ภาระงานที่สำคญั การบริหารงานบุคคล คือ กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรภายในองค์กร เริ่มต้ังแต่การวางแผน กำลังคน การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน โดยมีการสร้างแรงจูงใจด้านต่าง ๆ เพื่อให้สถานศึกษาบรรลุ วตั ถุประสงคท์ ่วี างไว้ ซง่ึ งานบรหิ ารงานบคุ คล มีขอบข่ายการพัฒนางานตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.1 การจัดทำทะเบียนประวัติ - การจัดทำข้อมูลทะเบียนประวัติ - การขอมีบัตรประจำตวั เจ้าหน้าท่ขี องรัฐ - การขอพระราชทานเคร่ืองราชอสิ ริยาภรณ์ - การออกหนงั สือรับรอง ในสถานศึกษาน้ีมีการจัดทำข้อมูลทะเบียนประวัติของข้าราชการครู บุคลากรและลูกจ้าง โดยการ จัดเก็บเป็นแฟ้มรายบุคคลในแฟ้มจะประกอบด้วยข้อมูลส่วนตัว สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน สำเนาทะเบียนประวัติ (กพ.7) ให้เป็นปัจจุบัน มีการบันทึกข้อมูลการเลื่อนขั้นเงินเดือน การเปลี่ยน/เล่ือน ตำแหน่ง วุฒิการศึกษา วินัย อย่างเป็นระบบ จัดทำทะเบียนประวัติเพื่อตรวจสอบการหมดอายุของบัตร ประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพื่อแจ้งบุคลากรให้ดำเนินการต่ออายุบัตรประจำตัวของรัฐ ในส่วนของ การขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ มีการจัดทำทะเบียนข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ใช้ในการตรวจสอบ ดำเนินการขอให้กับบุคลากรเพ่ือเป็นขวญั และกำลังใจในการปฏิบัติงาน และมีการออกหนังสือรับรองเพื่อใช้ ในการดำเนินการทางธรุ กรรมตา่ ง ๆ 1.2 การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ต้งั - การคดิ กรอบและการขออตั รากำลัง - การบรรจุและแต่งตัง้ อตั รากำลัง - การแตง่ ตงั้ โยกยา้ ย โอน ขา้ ราชการครแู ละบุคลการทางการศกึ ษา ในสถานศึกษาน้ีมีการคิดกรอบอัตรากำลัง โดยพิจารณาจากความต้องการของแต่ละกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ซง่ึ ได้มกี ารดำเนินงานขอจดั สรรครไู ปยงั หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบตามลำดับตอ่ ไป 1.3 การพัฒนาบคุ ลากร - การพฒั นาเพ่ือเลอ่ื นใหม้ แี ละเลื่อนวิทยฐานะ - การอบรมเพอ่ื พฒั นามาตรฐานวชิ าชพี - การอบรมเพื่อพัฒนางาน - การศกึ ษาตอ่ - การสรา้ งขวัญและกำลงั ใจในการทำงาน ในสถานศึกษาแห่งนี้มีการแจ้งในการดำเนินงานการขอพัฒนาเพ่ือเลื่อนให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ ก่อนล่วงหนา้ เพื่อขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะได้ดำเนนิ การไดท้ ันท่วงทีและมีการสง่ ข้าราชการ

5 ครูและบุคลากรไปอบรมเพื่อพัฒนามาตรฐานวิชาชีพตามความถนัดของตนเอง มีการส่งเสริมข้าราชการครู และบุคลากรในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นไป สร้างขวัญและกำลังใจโดยการจัดกิจกรรมท่ีสร้างสรรค์ การแลกเปล่ียนความคดิ เห็น และความเป็นกนั เองภายในองคก์ ร 1.4 การสง่ เสริมประสิทธภิ าพการทำงาน - การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานเพื่อเล่ือนขัน้ เงินเดือน - การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื ใหม้ ีหรอื เล่ือนวิทยฐานะ - การประเมนิ เพ่อื ให้มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี - การเสรมิ สรา้ ง การรักษาและการดำเนินการทางวินยั - การลา ในสถานศึกษาแห่งน้ีมีการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือเล่ือนข้ันเงินเดือน โดยใช้เกณฑ์ มาตรฐานที่โรงเรียนกำหนดไว้ มีการพิจารณาเล่ือนขั้นเงินเดือน 2 ครั้ง/ปี ในส่วนของการประเมินผล การปฏิบัตงิ านเพ่ือให้มีหรือเล่ือนวิทยฐานะได้จัดทำข้อมูลในรูปแบบแฟม้ ตัวอย่าง เพ่ือให้ขา้ ราชการครทู ี่สนใจ นำไปศึกษาและเป็นแนวในการปฏิบัติ มีการจัดทำหนังสือเวียนแจ้งให้ข้าราชการครูเพ่ือดำเนินการขอ ใบประกอบอนุญาตวิชาชีพครู การเสริมสร้าง การรักษา และการดำเนินการทางวินัย โรงเรียนมีกฎ และระเบียบวนิ ยั ทช่ี ัดเจน สว่ นเร่ืองการลา จดั ทำเป็นระบบสถิติใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั 1.5 การพน้ จากราชการ - กรณตี าย - กรณีพ้นจากราชการตามกฎหมายว่าดว้ ยบำเหน็จบำนาญราชการ ในสถานศึกษาแห่งนี้ได้ดำเนินการแจ้งสทิ ธิประโยชน์ให้กับญาติของข้าราชครูและบุคลากรเพ่ือรักษา สิทธิท่ีญาติควรได้รับกรณีพ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญราชการ ได้จัดทำทะเบียน ประวัติก่อนรบั บำเหน็จบำนาญ การลาออกจากราชการ การเกษียณอายุราชการ และการตายของข้าราชการ ครแู ละบคุ ลากร เพ่อื สะดวกในการตรวจสอบตา่ ง ๆ 2. เทคนิค / วิธีการบริหาร / แนวทางการแกไ้ ขปัญหาทคี่ น้ พบ ตามที่ได้ไปศึกษาการปฏิบัติงานจริงในโรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร ไดค้ ้นพบเทคนคิ วธิ กี ารดำเนนิ และแนวทางการแกป้ ัญหาเพอื่ ทำให้องคก์ รประสบความสำเร็จ ดังน้ี 2.1 แนวทางการจัดระบบโครงสร้างการบริหารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเป็น กระบวนการท่ีผู้บริหาร ใช้ระบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการบริหารทุกฝ่าย มีการกำหนดหัวหน้างาน และคณะกรรมการแต่ละฝ่ายที่ชัดเจน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือให้เกิดความศรัทธา และความเข้าใจเพ่อื นำมาซง่ึ การยอมรับ 2.2 ผู้บริหารทำหน้าท่ี ดแู ลใหก้ ารสนับสนุนความต้องการตา่ ง ๆ ของข้าราชการครแู ละบุคลากร เช่น สนับสนุนส่ือ อุปกรณ์การสอน อุปกรณ์การทำงานต่าง ๆ เป็นต้น ถ้าได้ในสิ่งท่ีต้องการ ข้าราชการครู และบคุ ลากรก็จะทำงานด้วยความเตม็ ใจ

6 2.3 การพัฒนาบุคลากร ผู้บริหารจะจัดทำแบบสำรวจความต้องการพัฒนาตนเองในหัวข้อที่ยังขาด ความรปู้ ระสบการณ์และจัดสรรงบประมาณพร้อมท้ังดำเนินการอบรมพัฒนาเพ่ิมความรู้ให้กับข้าราชการครู และบุคลากร นอกจากน้ันภายในเครือข่ายการศึกษามีการสร้างเครือข่ายวิชาการเขตร่วมกันจัดกิจกรรม และแลกเปลย่ี นการเรยี นรู้ภายในเขต สง่ เสรมิ การพฒั นาศักยภาพของข้าราชการครูและบคุ ลากร 2.4 การเสริมสรา้ งขวัญและกำลังใจ ผู้บรหิ ารเสริมสร้างขวญั และกำลงั ใจให้ข้าราชการครูและบุคลากร โดยการชืน่ ชม ใหก้ ำลังใจ และจดั กิจกรรมทีส่ รา้ งสรรค์ เชน่ แจกของรางวัลในโอกาสต่าง ๆ การไปสัมมนาในท่ี ท่ีทุกคนอยากไป การมอบของขวัญในวันเกิด สิ่งเหล่าน้ีล้วนเป็นสิ่งท่ีดีท่ีทำให้ข้าราชการครูและบุคลากร มกี ำลังใจในการทำงานตอ่ ไป 2.5 การปรับเปลี่ยนรูปแบบ วิธีการดำเนินงานใหม่ ผู้บริหารจะจะค่อย ๆ ปรับเปล่ียน หากสิ่งไหน ท่ีดีอยู่แล้วก็จะดำเนินการต่อไป ส่วนส่ิงไหนไม่ดีก็จะค่อย ๆ พัฒนาให้ดีขึ้น ช่วยกันคิดช่วยกันทำและลงมือ ปฏิบตั ิรว่ มกันทกุ คน 2.6 ปัญหาท่ีพบเก่ียวกับบุคลากร ข้าราชการครูยังสอนไม่ตรงตามเอกท่ีต้องการ ทางผู้บริหารได้ ดำเนินการแก้ไข ขาดการสนบั สนุนทางผู้บริหารได้ดำเนินการแก้ไข โดยขออัตรากำลังเพิ่มเติมไปยังหน่วยงาน ต้นสังกัด ในกรณีท่ีขาดส่ือการเรียนการสอนจากหน่วยงานตน้ สังกัด ทางผู้บริหารได้ดำเนินการแก้ไข โดยการ แจ้งไปที่วัดบณุ ยประดิษฐ์เพ่ือขอสนับสนุนเงนิ ในการจัดหาซอ้ื ส่ืออุปกรณ์การสอน และทางวัดบณุ ยประดิษฐใ์ ห้การ สนับสนนุ เป็นอย่างดี 3. การนำไปใช้ในการบรหิ ารโรงเรยี น ตามทไ่ี ด้ไปศึกษาการปฏบิ ัติงานจริงในโรงเรียนวัดบณุ ยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร สามารถนำประสบการณ์ทไี่ ด้รับไปใช้ในการบรหิ ารโรงเรียนได้ดงั น้ี 3.1 การบริหารงานบุคคล เป็นกระบวนการการตัดสินใจท่ีต้องใช้บุคคลในการรว่ มมือกนั ดำเนินการ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะนำไปปฏิบัติในสถานศึกษาเพื่อให้มีประสิทธิภาพและเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ สูงสุด บุคคลเป็นปัจจัยชี้ขาดความสำเร็จ เป็นสินทรัพย์หรือทุนให้แก่สถานศึกษา การบริหารงานบุคคล สามารถใช้ศกั ยภาพของตนเองอย่างเตม็ ที่ สถานศึกษาสามารถดำเนนิ งานไดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง 3.2 การบริหารงานบุคคลถือเป็นงานที่ยากท่ีสุดเพราะต้องบริหารคนท่ีมีความแตกต่างกัน ต้องใช้ ท้ังศาสตร์และศิลป์ท่ีเป็นเทคนิคเฉพาะของแต่ละบุคคล ดังนั้นการส่ือสารจึงเป็นเร่ืองสำคัญมาก ต้องรู้จัก การโน้มน้าวจิตใจคน ผ้บู รหิ ารตอ้ งมคี วามเชอ่ื ม่นั ในความรูแ้ ละความสามารถของครู ใหเ้ กยี รติซง่ึ กนั และกนั 3.3 การวางตนของผู้บริหาร ต้องเข้าไปอยู่ในใจของข้าราชการครูและบุคลากรให้ได้ มีความรัก มคี วามยุติธรรม มีความเมตตา รบั ฟังความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชาและพร้อมท่ีอยู่เคียงขา้ งเพ่ือช่วยเหลือ และแนะนำขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทุกเม่ือ 3.4 การระมัดระวังในการปกครองคน คือต้องควบคุมอารมณ์ตนเองใหไ้ ด้ ไม่ไปทะเลาะกบั ขา้ ราชการ ครูและบุคลากรเพราะงานทุกอย่าง ผู้บริหารจะทำคนเดียวไม่ได้ จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน เพราะฉะน้นั ผ้บู ริหารตอ้ งใจเยน็ คดิ กอ่ นทำ คิดก่อนพูด เพ่อื ท่จี ะบริหารองคก์ รใหส้ ำเรจ็

7 3.5 การสร้างความสุขให้เกิดแก่ทุกคน สามารถทำให้ทุกคนมีความสุขเหมือนอยู่บ้านเดียวกัน ครอบครวั เดียวกนั ใหเ้ ขาทำงานอย่างมคี วามสุข สนับสนนุ ให้ขา้ ราชการครูได้รับการพัฒนาตนเอง มวี ทิ ยฐานะ ท่สี ูงขน้ึ จดั อบรมใหค้ รูมคี วามเชี่ยวชาญเพื่อใชใ้ นการพฒั นาการเรียนการสอน 3.6 การบริหารงานบุคคล ควรยดึ หลักธรรมาภิบาล ไม่ย่อท้อต่อปัญหาท่พี บ มองปัญหาเป็นเรื่องท้า ทาย แก้ปญั หาให้ได้ เพราะการเป็นผู้บริหารตอ้ งเข้ามาแกไ้ ขปญั หาต่าง ๆ ให้ดำเนนิ งานไปได้ด้วยดี 3.7 ในฐานะผู้บริหารต้องสรา้ งผู้นำตามศักยภาพของแต่ละบุคคล เพื่อเป็นกำลงั สำคัญในการทำงาน แบบมสี ่วนรว่ ม พร้องทัง้ การมกี ารกระจายขอบข่ายงานใหท้ ว่ั ถึง เพ่อื ใหบ้ ุคลากรสามารถทำงานได้ทุกฝา่ ย แนวทางการจัดระบบโครงสรา้ งการบรหิ าร/การบรหิ ารงานวชิ าการ (กรณศี กึ ษา : โรงเรียนวัดบณุ ยประดิษฐ์ สำนกั งานเขตบางแค กรงุ เทพมหานคร) 1. ภาระงานท่สี ำคัญ การบริหารงานวิชาการ ถือว่าเป็นภารกิจท่ีสำคัญยิ่งของผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคน ใน สถ าน ศึ ก ษ าที่ จะ ต้ อ งร่ ว ม กั น ด ำเนิ น ก าร เพื่ อให้ เป็ น ไป ต าม ท่ี เป้ าห ม ายข อ งส ถาน ศึ ก ษ าไ ด้ว าง ไว้ แล ะ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน ท้ังน้ีเพราะงานบริหารวิชาการมีจุดมุ่งหมายอยู่ที่การสร้างผู้เรียนให้มีคุณภาพ มคี วามรู้ มจี รยิ ธรรม และมคี ุณสมบัตติ ามท่ีหลักการจดั การศึกษาไดก้ ำหนดไว้ อกี ทั้งงานวชิ าการยังเป็นตัวบ่งช้ี คณุ ภาพและความสำเร็จของสถานศกึ ษาดังเห็นได้จากการรายงานตนเองของสถานศึกษาท่ีมีการมุ่งเน้นไปยัง ผลสัมฤทธิ์ด้านผ้เู รียน และมาตรฐานผู้เรียนทต่ี ้นสงั กัดไดก้ ำหนดไว้ ดังน้ันผู้บริหารสถานศึกษาจึงต้องเป็นผูน้ ำ ด้านวิชาการท้ังทางด้านหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการศึกษา สามารถพัฒนาส่ือ และเทคโนโลยีการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสม พัฒนาแหล่งการเรียนรทู้ ีเ่ พียงพอ ตลอดจนดำเนินการตา่ ง ๆ ที่มุ่งเน้นให้ ผูเ้ รียนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปญั ญา ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เปน็ ทีย่ อมรบั ของสังคม และผลติ พลเมืองที่ดีให้แกป่ ระเทศชาติ จากการศึกษาการปฏิบัติจริง ณ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร นนั้ ทำให้สมาชกิ กลุม่ เกดิ ความรคู้ วามเข้าใจว่า การบริหารงานวิชาการในสถานศกึ ษาจะตอ้ งดำเนินไปให้สำเร็จ บรรลุความมุ่งหมายตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 น้ันก็ด้วยภาระงานท่ีสำคัญตามท่ีกฎกระทรวง กำหนด หลักเกณฑ์และวิธกี ารกระจายอำนาจการบรหิ ารและการจัดการศกึ ษา พ.ศ. 2550 ซง่ึ สามารถจัดขอบขา่ ยงาน ใหค้ รอบคลุมได้ ดงั น้ี 1.1 การบรหิ ารงานวิชาการ ไดแ้ ก่ - การจัดทำระเบียบและแนวปฏบิ ัติเกี่ยวกบั งานดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา - การวางแผนงานด้านวชิ าการ - การจัดการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา - การจดั ตารางสอน ตารางเรียน - การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพอ่ื ใช้ในสถานศกึ ษา

8 - การนิเทศการศึกษา - การประสานความร่วมมอื ในการพฒั นาวชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองคก์ รอื่น - การส่งเสรมิ ชุมชนให้มคี วามเข้มแข็งทางวชิ าการ - การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการอืน่ ท่ีจดั การศึกษา 1.2 การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา ไดแ้ ก่ - การจดั ทำ พัฒนา และปรับปรงุ หลกั สตู รของสถานศึกษา - การพัฒนาหรอื การดำเนินการเกี่ยวกับการใหค้ วามเหน็ การพฒั นาสาระหลกั สตู รทอ้ งถิ่น - การจดั กิจกรรมเสริมหลกั สูตรและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน 1.3 การพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้ ได้แก่ - การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ - การวดั ผล การประเมินผล และดำเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน - การพฒั นาและใชส้ ือ่ เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา - การพฒั นาและสง่ เสริมให้มแี หลง่ เรียนรู้ - การวจิ ยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในสถานศกึ ษา - การแนะแนว - การพฒั นาผู้เรียนส่คู วามเปน็ เลิศและการจดั การเรยี นร่วม 1.4 การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ได้แก่ - การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา - การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายนอก นอกจากนี้สมาชิกกลุ่มยังได้เห็นถึงแนวทาง และข้ันตอนการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ให้เกิดประสิทธิภาพด้วย กล่าวคือ ในการดำเนินการต่าง ๆ เก่ียวกับการบริหารงานวิชาการน้ัน จะต้องมี การวางแผนการทำงานดา้ นวิชาการ โดยศึกษาข้อมูลทส่ี ำคัญของสถานศกึ ษา วิเคราะห์สภาพปัญหา อุปสรรค รวมถึงค้นหาแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียนด้วยการร่วมมือจากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ด้านวิชาการทุกฝ่าย มีการจัดประชุมครูพร้อมทั้งจัดทำคำส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการดำเนินงาน ที่ชัดเจน มีการดำเนินกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการบริหารวิชาการตามปฏิทินปฏิบัติงาน มีการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการดำเนินกิจกรรมทเ่ี กยี่ วข้อง และอาจมีการจดั ทำชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) รวมถึง จะต้องมีการนิเทศติดตามจากผู้บริหาร แล้วจัดทำรายงานผลการดำเนินงานเพ่ือรายงานต่อผู้บังคับบัญชา และต้นสังกัด ตลอดจนต้องร่วมมือกันในสถานศึกษาหาแนวทางเพื่อปรับปรุง พัฒนาระบบการบริหารงาน วชิ าการใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งข้ึนไปให้ต่อเนือ่ ง

9 2. เทคนิค / วธิ กี ารบริหาร / แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทีค่ น้ พบ ในการดำเนินการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค พบว่า มเี ทคนิค วธิ กี าร และรูปแบบในการบริหารทีน่ ่าสนใจหลายประการพอทจี่ ะประมวลสรุปได้ ดงั น้ี 2.1 ผู้บริหารได้มุ่งเน้นการบริหารสถานศึกษาโดยใช้หลักการการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซงึ่ พบวา่ ผู้บริหารได้สนบั สนุนให้บคุ ลากรในสถานศกึ ษาร่วมมือกันทุกฝ่ายดำเนนิ การด้านวิชาการ มีการทำงาน เป็นทีมด้วยการวางโครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจนเป็นข้ันตอน มีการแต่งต้ังหัวหน้างานวิชาการ เพ่ือช่วย รองผอู้ ำนวยการควบคุม กำกับ นิเทศ ตดิ ตามและดำเนินงานด้านวชิ าการให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย อีกท้ัง บุคลากรทุกคน ร่วมแรงร่วมใจกัน พัฒ น าปรับปรุงคุณ ภาพ งานวิชาการของ สถาน ศึกษาให้มีประสิทธิภาพ อย่างต่อเน่ืองและสม่ำเสมอ เช่น การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาท่ีมีการดำเนินการปรับปรุงทุกปีการศึกษา การจัดทำแผนการเรียนรู้ จัดทำวิจัยชั้นเรียนที่เป็นระบบและรายงานให้ผู้บริหารทราบเป็นระยะ การวัด และประเมินผลการเรียนรู้ที่ใช้กระบวนการท่ีหลากหลายและเหมาะสมตามธรรมชาติวิชา ทั้งน้ีผู้บริหาร ยงั ได้นำหลักกระบวนการคุณภาพมาใช้ ในการดำเนนิ งาน ได้แก่ ร่วมกันวางแผนงานด้านวชิ าการผา่ นหัวหน้า งานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ และหัวหน้าสายช้ันทุกระดับช้ัน ร่วมกันดำเนินงานตามปฏิทิน การปฏบิ ัติงานวิชาการด้วยความสมัครสมานสามัคคโี ดยมีผู้บริหารคอยสนับสนุนท้ังด้านงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และการบริหารจัดการ ตลอดจนบุคลากรท้ังในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษามีส่วนร่วม ในการตรวจสอบการดำเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ มีแบบประเมนิ และการติดตามผลที่ชัดเจน เช่น การรว่ มมือกัน เตรียมความพร้อมทดสอบการอ่านของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 เป็นต้น พร้อมทั้งร่วมมือกันปรับปรุง ระบบการทำงานให้มีประสทิ ธิภาพข้ึนด้วยการรว่ มกนั รายงานผลการจัดการศกึ ษาให้ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องรบั ทราบ และจดั ประชมุ ทบทวนและหาแนวทางการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ให้มีประสทิ ธิภาพเปน็ ประจำทกุ ปีการศกึ ษา และยังมีการร่วมมือกันดำเนินการด้านวิชาการด้วยความทุ่มเท เสียสละ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐาน และตัวบ่งชข้ี องกรุงเทพมหานคร และเพื่อรองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก จากสำนักงานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.) 2.2 ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาได้มุ่งเน้นการมสี ว่ นร่วมจากชมุ ชนตามวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา โดยร่วมกับ วัดบุณยประดิษฐ์ กรรมการสถานศึกษา สหกรณ์การเกษตรภาษีเจริญ ตลอดจนผู้ปกครองและศิษย์เก่าของ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ระดมทุนทรัพย์ บริจาควัสดุ อุปกรณ์ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เช่น การบริจาคเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวน 1 ห้องเรียน การติดต้ังระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ตเพ่ือการเรียนรู้ การติดต้ังเคร่ืองฉายพร้อมจอโปรเจคเตอร์ การบริจาคสมาร์ททีวี เป็นต้น โดยวัสดุอุปกรณ์ดังกล่าวล้วนแล้ว เป็นอุปกรณ์ท่สี ่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนทท่ี ันสมัย เพยี งพอและรองรับต่อความจำเปน็ ในการใช้งาน ของคณะครูและผู้เรียน ตอบสนองการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 พร้อมท้ังได้ส่งเสริมให้ครูได้ผลิตสื่อ เทคโนโลยีเพื่อใช้ในการสอนออนไลน์และใช้สอนร่วมกับวัสดุอุปกรณ์ที่ได้รับบริจาคมาเพ่ือให้เกิดประโยชน์ สงู สุด ซึ่งผู้บริหารได้จัดให้มีการอบรมการผลิตสื่อ ส่งเสริมให้ครูได้ร่วมผลิตสื่อกับสำนักการศึกษา และขยาย ผลการดำเนนิ งานใหบ้ คุ ลากรรว่ มกนั สร้างสรรค์สือ่ และเทคโนโลยีการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธภิ าพอกี ดว้ ย

10 2.3 ผู้บริหารสถานศึกษาได้มีการบริหารจัดการเรียนรู้โดยจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งพบว่าผู้บริหารได้กระตุ้นให้ครูได้ตระหนักถึงการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยการให้ครูเกิด ความเช่ือพ้ืนฐาน ๓ ประการ คือ เช่ือว่าผู้เรียนทุกคนมีความแตกต่างกันเฉพาะบุคคล เชื่อว่าผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ได้ และเชื่อว่าผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลา โดยผู้บริหารได้ส่งเสริมให้ครูดำเนินการ จัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาทีไ่ ด้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา แล้วดำเนินการจดั ทำแผนการ สอนที่สอดคล้องกับหลักสูตรและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดให้มีแหล่งการ เรยี นรู้ภายในโรงเรยี น เชน่ อาคารกฬี า สนามหญ้าเทียม มีการตกแต่งโรงเรยี นดว้ ยการวาดภาพที่แทรกความรู้ เชิงวิชาการตามจุดต่าง ๆ ในโรงเรียน ตลอดจนได้จัดกิจกรรมทสี่ ่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ฝึกปฏิบัติจรงิ เช่น จัดให้มี ชมรมศิลปะ ชมรมนาฏศิลป์ จัดให้มีการเรียนรู้สู่อาชีพ เช่น การทำเหรียญโปรยทาน การฝึกตัดผมชาย และการเสริมสวย การทำขนมอบ ตลอดจนได้ส่งเสริมให้ครูภูมิปัญญาท้องถ่ินและปราชญ์ชุมชนได้เข้ามา ร่วมจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เช่น การทำโครงงานขนมสายบัว การทำโครงการสหกรณ์ เป็นต้น นอกจากน้ีผู้บริหารยังได้ส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นการสัมพันธ์ชุมชน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ทางสังคม โดยให้ผู้เรียนได้บริการสังคม เช่น ร่วมกิจกรรมในวันสำคัญทางศาสนา พร้อมทั้งมีการวางแผน ทำกจิ กรรมร่วมกับสถานพยาบาลในการทำกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในระยะยาวอกี ด้วย 3. การนำไปใชใ้ นการบรหิ ารโรงเรียน จากการทไี่ ด้ศึกษาเอกสารและปฏบิ ตั จิ ริงในด้านการบรหิ ารงานวิชาการ พร้อมทงั้ ได้รบั ฟังการบรรยาย พเิ ศษจากผู้อำนวยการสถานศึกษาและวทิ ยากรรับเชิญ พรอ้ มท้ังได้สังเกตการบรหิ ารงานด้านวิชาการ เป็นผล ให้ผู้เข้าฝึกปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทัศนคติเชิงบวกต่อการบริหารวิชาการ ได้รับประสบการณ์ตรง ทีเ่ กิดผลสำเร็จในการบริหารงานวิชาการ อีกทั้งเห็นทักษะในการบริหารวิชาการในสถานศึกษาหลายประการ ซึ่งสามารถนำไปเป็นแนวทางเพื่อการบริหารโรงเรียนให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลได้ กล่าวคือ ในการบริหารวิชาการของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาต้องตระหนักและประพฤติตนให้เป็นผู้นำ ทางวิชาการ โดยผู้บริหารสถานศึกษาจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในด้านการบริหารงาน หลักสูตร การวัดและประเมินผล การเทียบโอนผลการเรียน การจัดการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย แนวทางการใช้ส่ือ และเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ พร้อมท้ังมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำการประกันคุณภาพทั้งภายใน และภายนอกสถานศึกษา สามารถอธบิ ายภาระงาน ขอบเขตงาน และกระบวนการทำงานเกี่ยวกับงานวิชาการ ให้บุคลากรในสถานศึกษาทราบและเข้าใจได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องดำเนินการ ทางด้านงานวิชาการอย่างเป็นระบบ บริหารทรัพยากรทางการศึกษาให้คุ้มค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ ร่วมทั้งต้องดำเนนิ การตามโครงสร้างการบริหารงานดว้ ยการมีแผนการบริหารงานวิชาการ กำหนดผู้รับผิดชอบ งานต่าง ๆ และกำหนดระยะเวลาการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน ผู้บริหารต้องควบคุมให้มีการดำเนินงานต่าง ๆ ด้านวิชาการตามแผนการปฏิบัติงานด้านวิชาการ พร้อมทั้งต้องดำเนินการประชุมวางแผนท้ังระยะสั้น และระยะยาวให้สอดคล้องกับงบประมาณ รวมถึงต้องกำกับ นิเทศ ติดตามผลการปฏิบัติงานเป็นระยะ และต่อเน่ืองสม่ำเสมอ ผู้บริหารต้องเดินเย่ียมห้องเรียน สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นท่ีสร้างสรรค์

11 เกย่ี วกับ การจดั การเรยี นรู้กับครูอยูเ่ สมอ สง่ เสริมให้ครูจัดกจิ กรรมท่ีสง่ เสริมการเรียนรทู้ ่ีเปน็ ไปตามท่ีหลักสตู ร กำหนด ให้ครรู จู้ กั การใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอนอยา่ งเหมาะสม ใหค้ รูเปน็ นวัตกรสร้างสรรคน์ วัตกรรม และเป็นแบบอยา่ งนวตั กรให้แก่ผเู้ รยี นได้ รวมถงึ ตอ้ งจดั ใหม้ หี รือจดั หาใหค้ รไู ด้พัฒนาทกั ษะเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย อาจจัดให้มีกิจกรรมการอบรม การนิเทศภายใน หรือการจัดทำชุมชน การเรียนรู้ ทางวชิ าชีพ เพื่อให้ครไู ด้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล น อกจากน้ี ผู้บริหารยังจะต้องจัดหาวัสดุและอุ ปก รณ์ ใน ก ารบริหารงาน วิชาก าร ท่ีเพียงพอต่อความต้องการของครูและผู้เรียน อำนวยความสะดวกให้แก่บุคลากรอย่างเต็มที่และ เต็มความสามารถ ท้ังน้ีผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องรู้จักระดมทุนมาใช้จัดการศึกษาจากกัลยาณมิตร ในการบริหารงาน เพ่ือความคล่องตัวในการดำเนินงานต่าง ๆ ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายและวิสัยทัศน์ ของสถานศกึ ษา อนั จะนำไปสู่การบริหารงานวิชาการท่เี ปน็ เลิศ เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล แนวทางการจัดระบบโครงสรา้ งการบริหาร/การบรหิ ารงานงบประมาณ (กรณีศกึ ษา : โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร) 1. ภาระงานท่ีสำคญั ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 และ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 มาตรา 39 กำหนดใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั กระจายอำนาจการบรหิ ารและ การจัดการศึกษาด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไปสู่สถานศึกษา สถานศึกษาจึงมีหน้าที่จัดการบริหารงานเหล่านั้นให้มีประสิทธิภาพ โดยที่การบริหารงบประมาณมุ่งเน้น ความเท่าเทียมกนั และความเสมอภาคทางโอกาสด้านการศึกษา มีความคลอ่ งตวั โปร่งใส และความรบั ผดิ ชอบ ทต่ี รวจสอบไดจ้ ากผลสำเร็จของงานและทรพั ยากรทีต่ ้องใช้ การบริหารงานงบประมาณจึงเป็นกระบวนการบริหารจัดการท่ีมุ่งใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัด ให้คุ้มค่ามากที่สุด เป็นแผนงานที่แสดงออกมาในรูปของจำนวนเงินและโครงการต่าง ๆ ซึ่งในการบริหาร งบประมาณจำเป็นต้องมีการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามรายการ โครงการและแผนงานหรือ งานที่โรงเรียนได้รับงบประมาณ ดังน้ันการบริหารงานงบประมาณจึงจำเป็นต้องมีขั้นตอนที่รัดกุม โปร่งใส มีระบบตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบ ประมาณท่ีมุ่งเน้นผลงาน เป็นระบบงบประมาณท่ีแสดงถึงความเช่ือมโยงระหว่างทรัพยากรท่ีใช้กับผลงาน ทเ่ี กดิ ข้ึนว่ามีความเชือ่ มโยงสัมพันธก์ ันอย่างไร คุ้มคา่ มากน้อยเพียงไร นอกจากนรี้ ะบบงบประมาณแบบมงุ่ เน้น ผลงานยังเป็นระบบการทำงานท่ีผสมผสานระหว่างการวางแผนการจัดงบประมาณ การตรวจสอบติดตาม ท บ ท วน ผลงาน ซึ่งห น่ วย งาน ท่ี ได้รั บ จัด สรรงบ ป ระ มาณ ห รือ ท รัพ ย ากรต้ อ งรับ ผิด ชอ บ ผลงาน ที่ เกิด ขึ้ น ความสำเรจ็ ของผลงานแบง่ ได้ 2 ลักษณะ คือ 1) ผลผลิต เป็นผลท่ีเกิดข้ึนโดยตรงจากการดำเนินกิจกรรมภายในระยะเวลาที่กำหนด ซึ่งเกิดข้ึน เม่ือเสร็จกิจกรรมน้ัน ๆ เชน่ จำนวนสื่อการเรียนการสอนท่ีโรงเรยี นจัดซื้อ จำนวนครูท่ีผ่านการอบรม จำนวน

12 นักเรียนท่ีได้รับบริการอาหารกลางวัน จำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวนนักเรียน ที่รบั อาหารเสรมิ (นม) เป็นตน้ 2) ผลลัพธ์ เป็นผลท่ีเกิดข้ึนตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังเป้าหมายไว้ ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากการดำเนิน กิจกรรมแล้วเป็นเวลาพอสมควร ไม่เกิดข้ึนทันทีทันใด เช่น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ระดับคะแนน จากการทดสอบสูงขึ้น นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ สามารถประกอบอาชีพได้ นักเรียนมีสุขภาพร่างกาย แขง็ แรง สขุ ภาพจิตดี มีทักษะในการดำรงชีวิต เปน็ ต้น ดังน้ัน การบริหารงานงบประมาณจำเป็นต้องมีการควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณตามรายการ และแผนงานหรอื โครงการที่โรงเรียนได้รับอนุมัตงิ บประมาณ ให้เปน็ ไปตามระเบยี บการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ รวมถงึ การรายงานผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการใชจ้ ่ายงบประมาณนนั้ ๆ ด้วย ขอบข่ายและภารกิจการบรหิ ารงานงบประมาณ 1. การบรหิ ารงานงบประมาณ 1.1 การจัดทำแผนการบรหิ ารงบประมาณ 1.2 การดำเนินงานเกยี่ วกับงบประมาณ 1.2.1 การขอตั้งงบประมาณ 1) คา่ ครุภณั ฑ์ 2) ค่าซ่อมแซมครุภณั ฑ์ 3) คา่ ที่ดนิ และสิง่ ก่อสรา้ ง 4) ค่าปรับปรงุ และซ่อมแซมส่ิงก่อสรา้ ง 1.2.1 การจดั สรรงบประมาณ (คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน) 1) งบเงนิ อุดหนนุ รัฐบาล 2) งบประจำปีกรงุ เทพมหานคร 1.2.2 การจดั ซื้อจดั จา้ ง 2. การบรหิ ารการเงนิ และการบัญชี 2.1. การดำเนินงานเกย่ี วกบั การบรหิ ารการเงิน 2.1.1 เงนิ โครงการอาหารกลางวนั 2.1.2 เงินบำรุงการศกึ ษา 2.1.3 เงนิ ลกู เสือโรงเรียน 2.1.4 เงนิ ยวุ กาชาดโรงเรียน 2.2. การดำเนนิ การเกยี่ วกบั การบรหิ ารบญั ชี 3. การบรหิ ารพัสดุ (วสั ดุ ครุภณั ฑ์ ที่ดนิ และสิง่ กอ่ สร้าง) 3.1. การจัดหาวัสดุ ครภุ ัณฑ์ ทดี่ ินและสิง่ กอ่ สร้าง 3.2. การควบคมุ การเบกิ จา่ ยและการบำรงุ รกั ษาวัสดุ ครภุ ัณฑ์

13 3.3. การตรวจรบั และรายงาน 3.4. การจำหนา่ ยวัสดุ ครุภัณฑ์ 4. การประเมินและการรายงานงบประมาณ แต่ละโรงเรียนสามารถดำเนินการจัดทำภารกิจท่ีเกี่ยวข้องเพ่ิมเติมให้มีค วามสมบูรณ์ และสอดคล้องกบั บรบิ ทของแตล่ ะโรงเรียนได้ตามความเหมาะสม 2. เทคนคิ / วธิ กี ารบริหาร / แนวทางการแกไ้ ขปัญหาทคี่ ้นพบ จาก ก าร ศึ ก ษ าก าร ป ฏิ บั ติ จ ริง ก าร บ ริห ารง าน ง บ ป ร ะ ม าณ ใน ส ถ าน ศึ ก ษ า โรงเรียน วัดบุณยประดิษฐ์ สำนักงานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร จึงได้เทคนิค วิธีการและแนวทางในการบริหารงาน งบประมาณทย่ี ึดหลกั กระบวนการดำเนินงานเพอ่ื ให้บรรลจุ ุดมงุ่ หมายขององค์กร ดังน้ี 2.1. วางแผนขั้นตอนการจัดการงบประมาณท่ีรัดกุม เป็นกระบวนการที่วางแผนการดำเนินงานงบประมาณ ให้สถานศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายตามที่สถานศึกษาวางเป้าหมายไว้ วางแผนโครงการท่ีมีความสอดคล้อง ในการดำเนินงานของสถานศึกษาตามแผนงานงบประมาณ อย่างคุ้มค่า และเกิดประสิทธิผลกับสถานศึกษามากท่ีสุด จดั ทำโครงสรา้ งแผนงานและกำหนดงบประมาณใหส้ อดคล้องกับนโยบาย และกลยุทธ์ในการปฏบิ ตั งิ าน 2.2. ควบคุมการใช้งบประมาณให้เป็นไปตามแผนงานท่ีกำหนด โดยจัดให้มีการตรวจสอบ การดำเนินงานในแต่ละข้ันตอนอย่างถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีคณะกรรมการดำเนินงานจัดให้ทุกฝ่าย มีสว่ นรว่ มกบั การดำเนนิ งานงบประมาณ 2.3. หม่ันตรวจสอบและทบทวนแผนงานงบประมาณอย่างสม่ำเสมอ หากเกิดปัญหาอุปสรรค ให้เร่งดำเนินการแก้ไขปรับแผนงาน ให้เป็นไปตามท่ีสถานศึกษาได้วางแผน ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณ ให้การบริหารจัดการเกิดประโยชน์สูงสุดกับสถานศึกษา พร้อมท้ังการระดมทรัพยากรในการบริหารจัดการท่ีจะ แกไ้ ขปัญหาการดำเนนิ งานให้รวดเร็วและสง่ เสริมการจัดการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพมากที่สุด 2.4. รายงานผลการดำเนนิ งาน ติดตาม และประเมินผลการใช้งบประมาณอย่างสมำ่ เสมอ เพือ่ การ บริหารจัดการศึกษาให้บรรลุจุดมุ่งหมาย อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของชุมชน สังคม ตอบสนองนโยบายการจดั การศึกษากรงุ เทพมหานคร 3. การนำไปใชใ้ นการบริหารโรงเรยี น จากการศกึ ษาการบริหารงานงบประมาณของสถานศกึ ษาในยุคปจั จุบันเน้นความเป็นอสิ ระในการ บริหารใหม้ ี ความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลกั การบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธแิ์ ละบริหารงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงาน มีการจัดผลประโยชน์จากทรัพย์สินของโรงเรยี น รวมทั้งจัดหารายได้จากการบริการมาใช้ ในการบริหารจัดการเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดคุณภาพท่ีดีต่อผู้เรียน การบริหาร งาน งบประมาณจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการจัดการศึกษาทั้งระบบ ดังน้ัน การบริหารจัดการท่ีมี ประสิทธิภาพ มีประสิทธิผล เท่าเทียมกัน จึงส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา รวมท้ังการติดตามประเมินผล กเ็ ปน็ อีกเงื่อนไขหนึง่ ท่สี ง่ ผลให้การจัดการศกึ ษามีคุณภาพไดม้ าตรฐานตามเป้าหมายของการจดั การศกึ ษา

14 การบริหารงานงบประมาณเป็นส่ิงจำเป็นอย่างย่ิงในการบริหารงานทุกชนิด ต้องจัดทำแผน งบประมาณให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือสามารถใช้งบประมาณที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดรวมทั้ง คาดการณ์ ลว่ งหน้าถึงการเปลีย่ นแปลงทางการเงนิ ที่จะเพิ่มหรือลดในอนาคตดว้ ย เพ่ือความพร้อมที่จะสามารถวางแผน แก้ปัญหาได้ทันการณ์และไม่เป็นเหตุใหก้ ารดำเนินงานต้องหยุดชะงัก งบประมาณเป็นส่ิงที่บ่งชี้ แนวความคิด ในการบริหารงานตลอดจนวิธกี ารดำเนินงานงบประมาณ จึงมคี วามสมั พันธ์เก่ียวขอ้ งกับ วัตถปุ ระสงค์ นโยบาย วิธีดำเนินงานและโครงสร้างของสถานศึกษา การดำเนินการกับงบประมาณในรูปแบบท่ีเหมาะสม มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการช่วยส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงเป็นหลักท่ีผู้บริหารควรนำไปใช้โดยยึดม่ันในกฎระเบียบ การใชจ้ ่ายงบประมาณบนพน้ื ฐานของความถกู ตอ้ ง เกิดประโยชนส์ ูงสดุ กบั สถานศึกษา แนวทางการจัดระบบโครงสร้างการบรหิ าร/การบรหิ ารงานทั่วไป (กรณศี ึกษา : โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ สำนกั งานเขตบางแค กรุงเทพมหานคร) 1. ภาระงานทสี่ ำคัญ มีดังน้ี 1.1 การพฒั นาระบบและเครอื ข่ายสารสนเทศ การพัฒนาระบบสารสนเทศ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศให้ สอดคล้องต่อการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน มีระบบสารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียน ทเ่ี ก่ียวกบั ภาพรวมของโรงเรยี น การบรหิ ารและการจดั การตามโครงสร้างและภารกิจของโรงเรียน เช่น ปฏิทิน การปฏบิ ตั งิ าน ข้อมลู สารสนเทศเกีย่ วกับครู ขอ้ มูลนักเรียน หลกั สูตรและการเรยี นการสอน มีขัน้ ตอนท่ีชดั เจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเคร่ืองมือท่ีมีมาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ ใช้ระบบสารสนเทศทางการศึกษา (EMIS) ของสำนกั การศกึ ษา กรุงเทพมหานคร โดยมีครูหัวหน้าสายชั้นและ ครูประจำช้ัน จัดเตรียมข้อมูลนักเรียนที่เข้าใหม่ในปีการศึกษาน้ัน ๆ และดำเนินการตรวจสอบข้อมูลพ้ืนฐาน ของนกั เรยี น เพอื่ กรอกขอ้ มลู ในระบบ EMIS ให้เสร็จเรียบรอ้ ยภายในวันที่ 10 มิถุนายนของทกุ ปี การสร้างระบบเครือข่าย โรงเรียนวดั บุณยประดิษฐ์ มีการพัฒนาระบบเครือข่าย เพ่ือประโยชน์ ในการใช้คอมพิวเตอร์ด้นต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น การใช้อุปกรณ์เครื่องพิมพ์ร่วมกัน การใช้อินเทอร์เน็ตร่วมกัน การตดิ ต่อสอื่ สารผ่านทางอเี มล,์ Facebook, Line 1.2 การจัดระบบการบริหารและการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในโรงเรยี น ในการวางแผนการบรหิ ารการศกึ ษาของโรงเรียนวัดบุณยประดษิ ฐ์ มกี ารดำเนนิ งาน ดังนี้ การจัดโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน ผู้บริหารและคณะครู ประชุมวางแผนการ ดำเนินงานรว่ มกัน จัดทำโครงสรา้ งการบริหารงาน ภาระงาน จดั ทำเป็นแผนปฏิบัตริ าชการประจำปี เพ่อื ให้ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา มีแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านทช่ี ดั เจนและเป็นระบบ การพัฒนาองค์กร โดยการสร้างความเข้าใจและความพึงพอใจในการร่วมพัฒนาโรงเรียน โดยร่วมวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และปัญหา เพ่ือวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน และมีการ นเิ ทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงาน สรปุ ผลการพฒั นา

15 การจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ได้สร้าง ความรู้ ความเข้าใจแก่บุคลากรในโรงเรียน แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ประชุมช้ีแจง มอบหมายหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบ มีการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนทั้งระดบั การศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษา ข้ันพื้นฐาน จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติราชการประจำปีของโรงเรียนท่ีมุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา (SWOT analysis) เพื่อสำรวจและวิเคราะห์บริบทสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของชุมชน เพ่ือกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายและความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือเปน็ แนวทางในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนโดยใช้ กระบวนการบริหารโครงการ/กิจกรรม เชิงระบบ (PDCA) จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน จัดทำรายงานประจำปี ท่ีมีความ ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นภาพสะท้อนภาพความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในรอบปีการศึกษา เพ่ือรายงานเสนอต่อคณะกรรมการสภานศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเผยแพร่ต่อสาธารณชน เพ่ือเป็นการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร และจัดใหม้ ีการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ือง 1.3 การบรหิ ารงานธุรการ โรงเรียนวดั บุณยประดิษฐ์ มีเจ้าหนา้ ทธี่ รุ การท่ีมีความรู้ ความสามารถ และความชำนาญในการ ปฏิบัติงาน รวมทั้งยังมีครทู ่ีมีคุณภาพ และมีจิตอาสาช่วยงานธุรการ และการเงิน มีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และผู้บริหารมีส่วนส่งเสริม สนับสนุน อำนวยความสะดวกในการทำงาน มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการดำเนินงาน จัดบุคคลรับผิดชอบงานตามความสามารถ และมีการส่งเสริม พฒั นาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ ความสามารถในการปฏบิ ตั ิงานตามภาระงานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ งานสารบรรณ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์มีการดำเนินงานสารบรรณของโรงเรียนเป็นไป ตามระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการ โดยมีเจ้าหน้าท่ี ธุรการ และบุคลกรที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบ ในการดำเนินงานเก่ียวกับหนังสือราชการต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือภายนอก หนังสือภายใน หนังสือประทับตรา หนังสือส่ังการ หนังสือประชาสัมพันธ์ และหนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ตง้ั แตก่ ารจัดทำ การรบั การส่ง การเก็บรกั ษาเอกสาร การยมื จนถึงการทำลายเอกสาร งานทะเบียนนักเรียน เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการรับนักเรียน การรับมอบตัวนักเรียน การลงทะเบียนนกั เรยี น และการจำหน่ายนักเรยี น ระเบียนนักเรียน เป็นเอกสารที่บันทึกรายการส่วนท่ีเป็นเร่ืองส่วนตัวของนักเรียน ซึ่งบันทึก ต้ังแต่นกั เรียนเขา้ เปน็ นักเรยี นในโรงเรียน บันทึกเก่ยี วกับผลการสอบ สขุ ภาพ และความประพฤติ เอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับโรงเรียน ทางโรงเรียนมเี อกสารทเ่ี กี่ยวข้อง เชน่ สมุดหมายเหตุ รายวัน สมดุ คำสง่ั สมดุ บนั ทึกประจำวัน สมุดบนั ทกึ การประชมุ สมุดบันทึกการนเิ ทศ สมุดลงเวลาทำการ เปน็ ต้น

16 1.4 การบริหารงานกจิ การนกั เรียน โรงเรียนวดั บุณยประดิษฐ์ ได้ดำเนินการบรหิ ารงานกจิ การนักเรียน ดงั นี้ 1) กิจกรรมนอกหลกั สูตร กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ มีการจัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน เพือ่ ให้นกั เรียนเรียนร้วู ธิ ีการสหกรณ์ และเกิดทักษะในการเรียนรโู้ ดยการปฏิบตั ิจริง นักเรียนมสี ่วนร่วมในการ ดำเนินการ เช่น จัดเรียงสินค้า ตรวจสอบจำนวนสินค้า แล้วแจ้งครูท่ีดูแล นำไปวางแผนการส่ังสินค้ามาจำ หน่วยให้เพียงพอตอ่ ความต้องการและมกี ารประชาสัมพนั ธ์ใหน้ ักเรยี นทราบข้อมลู ข่าวสารของสหกรณ์ กิจกรรมกีฬานักเรียนและนันทนาการ โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ มีการจัดกิจกรรม เพอ่ื ส่งเสรมิ ความสามารถทางด้านกีฬาใหแ้ ก่นักเรียน เช่น การจดั กิจกรรมกฬี าสี เพอื่ สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นทกุ คน ได้เขา้ ร่วมกจิ กรรม เชน่ การว่ิงผลดั ฟตุ ซอล แชร์บอล เป็นการส่งเสรมิ สุขภาพร่างกาย อารมณ์ และให้มีน้ำใจ นักกีฬา และยังจัดกิจกรรมว่ายน้ำเป็นเล่นน้ำอย่างปลอดภัย ตามโครงการของกรุงเทพมหานคร ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ได้เรียนว่ายน้ำทุกคน ทำให้นักเรียนมีความสามารถในการว่ายน้ำเป็น มีสุขภาพ ร่างกายที่แขง็ แรง กิจกรรมด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์มีส่วนร่วมในการปลูกฝัง ให้นักเรียนเลื่อมใสในคุณค่า พิธีการอันดีงามของศาสนา โดยมีการปฏิบัติกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญต่าง ๆ เช่น วันมาฆบูชา วันเข้าพรรษา มีการทำบุญใส่บาตร สวดมนต์ ไหว้พระ ปฏิบัติสมาธิ รวมทั้ งการบำเพ็ญ ประโยชน์ นอกจากน้ี โรงเรียนได้ส่งเสริมกิจกรรมทางด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น กิจกรรมรอบรู้อาเซียน ให้นักเรียนได้เรียนรู้วัฒนธรรมท้ัง 10 ประเทศในอาเซียน กิจกรรมวันลอยกระทง เพื่อให้นักเรียนได้สืบสาน วัฒนธรรมไทย ประดิษฐ์กระทงเพื่อนำไปลอยกับครอบครัว และบางส่วนมอบให้วัดเพ่ือจำหน่ายนำเงินทำบุญ เขา้ พฒั นาวัด กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์มีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด สวยงาม ปลอดภัย และเอื้อต่อการเรียนร้ขู องนักเรียน มีการส่งเสริมให้ครจู ัดห้องเรียนท่ีมีบรรยากาศวิชาการ มมี ุมให้ความรู้ภายในห้องเรียน มีการส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริม ศักยภาพของนักเรียนที่หลากหลาย เช่น 1) การอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนร่วมกันดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อม ให้โรงเรียนมีความสะอาด สวยงาม ไม่มีขยะ 2) การจัดการขยะ โดยกำหนดจุดทิ้งขยะ และให้มีการคัดแยกขยะ กอ่ นท้ิง 3) จัดให้มีพ้นื ท่ีสีเขียว โดยการจัดโครงการโรงเรียนรกั ษ์สิง่ แวดล้อม โดยให้นกั เรียนรว่ มกันปลูกต้นไม้ และดแู ลตน้ ไม้ ทำสวนแนวตงั้ ปลกู พืชผักสวนครวั เพ่ือเรียนรู้ทักษะชวี ิต กิจกรรมทัศนศกึ ษา โรงเรียนวัดบณุ ยประดษิ ฐ์ มีโครงการห้องเรียนในโลกกว้าง นำนักเรียน ไปทัศนศกึ ษายังสถานทต่ี า่ ง ๆ เช่น สวนสัตว์ แหล่งเรยี นรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ แหล่งเรียนร้ตู ามธรรมชาติ เพ่ือบรู ณา การความรู้กับเนื้อหาในบทเรียนท้ัง 8 กลุ่มสาระ ทำให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจเร่ืองนั้น ๆ ได้ดีข้ึน และมี คุณครูเป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิด ใก้มีความปลอดภัยในการเดินทาง ส่งเสริมให้นักเรยี นได้เรียนรู้ นอกหอ้ งเรยี นจากประสบการณ์โดยตรง เพอ่ื เพมิ่ พนู ความรู้ และทักษะในการเรียนรู้แกน่ กั เรียน

17 กิจกรรมสภานักเรียนและการส่งเริมประชาธิปไตย โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ได้จัด กิจกรรมเลือกตั้งสภานักเรียนอย่างเป็นระบบ เพ่ือส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยแก่นักเรียน ให้นักเรียนไดเ้ รยี นรู้จากการปฏบิ ัติจรงิ และสามารถนำความรูไ้ ปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ 2) ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน โครงการอาหารกลางวนั โรงเรยี นวัดบณุ ยประดิษฐ์ มกี ารจัดอาหารเชา้ และอาหารกลางวัน ตามนโยบาย เรียนดี เรียนฟรี อย่างมีคุณภาพ ให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารถูกหลักอนามัย และครบ 5 หมู่ โดยไดใ้ ช้โปรแกรม Thai School Lunch for BMA ในการจัดทำเมนูอาหาร งานห้องสมุด โรงเรียนมีการจัดห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ให้นักเรียน มีรูปแบบที่ถูกต้อง มหี นงั สอื ทห่ี ลากหลายสำหรับใหน้ ักเรียนไดเ้ ข้าไปศึกษา ค้นควา้ หาความรู้ อีกทั้งยังมีการจัดทำโครงการพัฒนา หอ้ งสมดุ เพอ่ื ให้เป็นแหลง่ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพฒั นาการศึกษา มคี วามทันสมัย ทันต่อการเปลีย่ นแปลง ของโลกในยุคปจั จุบนั งานส่งเสริมสุขภาพอนามัย โรงเรียนมีการสง่ เสริมสุขภาพอนามัยแกน่ ักเรียน มีโครงการ ส่งเสริมอนามัยนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้มีสุขภาพ ร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีห้องพยาบาลเพื่อใช้ ในการดแู ลรักษาพยาบาลเบอื้ งตน้ แก่นักเรียน การการประกันสุขภาพแกน่ ักเรยี น งานเยี่ยมบ้านนักเรียน โรงเรียนวดั บุณยประดษิ ฐ์ มีกจิ กรรมเยี่ยมบ้านนกั เรยี น เพือ่ ให้ครู ได้รู้จักนักเรียนรายบุคคล รู้สภาพปัญหาและความต้องการของนักเรยี น และมกี ารติดตามนักเรยี นที่ขาดเรียน นานเกนิ 5 วนั เพือ่ ตดิ ตาม สอบถามปญั หาของนักเรยี น เพื่อจะได้ชว่ ยเหลือได้ทนั ท่วงที งานส่งเสริมความปลอดภัยในโรงเรียน โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ มีการส่งเสริมความ ปลอดภัยในโรงเรยี น โดยมีการติดตง้ั กลอ้ งวงจรปิดตามจดุ ตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกนั อนั ตรายท่ีจะเกิดแก่นักเรยี น และ มีมาตรการไม่ให้ผู้ปกครองหรือบุคคลภายนอกขึ้นอาคารเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต ให้ผู้มาติดต่อราชการ แลกบัตรเพอื่ เขา้ มาภายในโรงเรยี น การพัฒนาความประพฤตแิ ละระเบียบวินยั นักเรยี น โรงเรยี นวดั บณุ ยประดษิ ฐ์ ได้จัดทำ คู่มือนักเรียน เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนของนักเรียนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับของโรงเรียน โดยจัดทำและแจกให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองในวันประชุมผู้ปกครอง เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไข เพิ่มเติมเร่ืองใด ผู้บริหารจะแจ้งใหผ้ ู้ปกครองทราบ และขอมตทิ ่ีประชุมผู้ปกครองต่อไป 1.5 งานอาคารสถานที่ สง่ิ แวดล้อม และยานพาหนะ งานอาคารสถานท่ี โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์มีการจัดหา ควบคมุ รักษา การใช้อาคารให้เกิด ประโยชน์สงู สุด มีการสำรวจและซอ่ มแซมอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพดีเสมอ มีสนามท่ีมีหลังคากันแดดและฝน ทำให้สามารถจัดกิจกรรมได้ทุกสภาพอากาศ โรงเรยี นมีห้องเรียนพิเศษ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น ห้องดนตรี หอ้ งพฤกษศาสตร์ หอ้ งวิทยาศาสตร์ ทำให้นักเรียนไดเ้ รียนร้จู ากประสบการณ์ตรงและตามสภาพจริง งานจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม โรงเรียนมีการจัดสภาพแวดล้อม ที่ส่งเสริม การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนตามศักยภาพ มีการปรับภูมิทัศน์ให้สะอาด สวยงาม บรรากาศดี มีพื้นท่ี

18 สีเขียว มีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายตรงตามความต้องการของนักเรียน อีกทั้งยังมีการส่งเสริมให้ครูจัดบรรยากาศ ในห้องเรียนทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ และจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย งานยานพาหนะและจราจรในโรงเรียน โรงเรียนมีการจัดการจราจร โดยมีเจ้าหน้าท่ีจราจร และเจา้ หนา้ ทีร่ กั ษาความปลอดภยั ประจำโรงเรียนดแู ลการขา้ มถนน เพอ่ื ความปลอดภยั ของนักเรยี น งานกิจกรรม 5 ส โรงเรียนได้สร้างความเข้าใจกับบุคลากรในโรงเรียน ดำเนินกิจกรรม 5 ส เพื่อทำการสะสาง ทำความสะอาดโรงเรียน ห้องเรียน และพื้นที่ส่วนรวมให้มีความสะอาด สะดวก ถกู สขุ ลักษณะ และสร้างเปน็ นิสัย 1.6 การพัฒนาเครือข่ายทางการศกึ ษา การพัฒนาเครือข่ายทางการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ ส่งเสริม หลักการมีส่วนร่วมโดยให้ชุมชนเข้ามาร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำ และร่วมตัดสินใจในการบริหารจัดการ โรงเรียนให้มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์ เช่น การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การประชุม คณะกรรมการเครือขา่ ยผู้ปกครอง และมีการชน่ื ชมผลสำเร็จของโรงเรยี นรว่ มกัน การพฒั นาเครอื ขา่ ยทางการศกึ ษาภายนอกสถานศกึ ษา โรงเรียนมกี ารประสานงานเครือข่าย โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร หน่วยงานราชการอื่น ๆ ร่วมประชุม ร่วมระดมความคิด ร่วมวางแผน และรว่ มดำเนินการในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การระดมทรัพยากรทางการศึกษา โรงเรียนมีการระดมทุนเพ่ือใช้พัฒนาสถานศึกษา โดยประสานงานกับทางชุมชน วัด สหกรณ์การเกษตร ในการจัดหาเงนิ ทุน วัสดุอุปกรณ์ วิทยากร ภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่นทใ่ี ชใ้ นการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนานักเรียนใหม้ ีคณุ ภาพ การประสานความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานภายใน และภายนอกสถานศึกษา เช่น กิจกรรมวันสำคัญต่าง ๆ มีการเชิญผู้นำชุมชนเข้าร่วมกิจกรรมและถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน ส่งผลให้ ชุมชนมีความใกล้ชิดกับโรงเรียน รับทราบข่าวสารท่ีทันสมัย ทันเหตุการณ์ สามารถให้คำแนะนำ ติชม เพอื่ การพฒั นาการบรหิ ารงานของสถานศึกษา 1.7 งานจัดระบบควบคมุ ภายใน โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ มีการดำเนินการควบคุมภายในสถานศึกษา ได้แก่ การสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่บุคลากรทุกฝ่ายในโรงเรียน มีการแต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือทำงานด้านการประเมินภายใน มีการประชุมมอบหมายงานและวางแผนการดำเนินงาน จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานด้านการจัดระบบควบคุม ภายใน มีการตรวจสอบทบทวน ประชุมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง ดำเนินการจัดระบบควบคุมภายในโรงเรียน ร่วมกนั ตดิ ตาม บันทึกผล สร้างสารสนเทศข้อมลู การปฏิบัติงานให้เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ข้อบังคบั เพอ่ื จดั ทำ รายงานควบคุมภายในเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดเมื่อสิ้นปีงบประมาณ และใช้อ้างอิงในการดำเนินงาน ในปงี บประมาณตอ่ ไป

19 2. เทคนคิ / วธิ ีการบรหิ าร / แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทค่ี น้ พบ จากการเข้ารับการฝึกประสบการณ์การบริหารสถานศึกษาที่โรงเรียนวดั บุณยประดิษฐ์ ได้รับความรู้ เทคนิค วิธกี ารบริหาร และแนวทางการแก้ปัญหาท่เี กย่ี วข้องกบั การบริหารทวั่ ไป ดงั นี้ 1) โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์มีการจัดทำโครงสร้างระบบการบริหารงานท่ีถูกต้องตามระบบ ราชการ ตามสายบังคับบญั ชาและการสนบั สนุนการจัดการเรยี นรู้ 2) การพัฒนาระบบและเครือข่ายสารสนเทศที่ทันสมัยและเป็นปัจจบุ ัน สามารถสืบค้นข้อมูลได้ อย่างรวดเร็ว ทันการณ์ มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมและงานของโรงเรยี นสู่ผปู้ กครอง และบุคคลภายนอกได้ อย่างทว่ั ถึง เช่น ผา่ นทาง Facebook, Line กลมุ่ ผูป้ กครอง 3) โรงเรียนมีวิธีการบริหารความเส่ียง อาคาร สถานท่ี โดยใช้ 9 มาตรการความเสี่ยง ซ่ึงอาศัย ความร่วมมือจากชุมชน และทำงานร่วมหนั แบบกลั ยาณมิตร 4) การประสานความรว่ มมือกับชุมชน เช่น วัดบุณยประดิษฐ์ สหกรณ์การเกษตร บริษัทเอกชน และห้างร้านต่าง ๆ เพ่ือระดมทุนมาใช้ในการพัฒนาโรงเรียนในด้านต่าง ๆ ให้มีความพร้อมในการพัฒนา คณุ ภาพการจดั การศึกษา 5) การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ สะอาด สวยงาม ปลอดภัย บรรยากาศดี ร่มร่ืน มแี หล่งเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย เชน่ สวนพฤกษศาสตร์ ห้องคอมพวิ เตอร์ หอ้ งสมุด 6) การจดั ระบบงานธุรการ งานสารบรรณทเี่ ป็นระบบ สามารถปฏิบัตงิ านได้ตรงตามกำหนด 3. การนำไปใชใ้ นการบรหิ ารโรงเรยี น จากการเข้ารับการฝึกประสบการณ์การบริหารสถานศึกษา สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร โรงเรยี น ดงั น้ี 1) การจัดโครงสร้างการบริหารงาน - การจัดโครงสรา้ งการบรหิ ารงานท่เี ป็นระบบ - การแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบตามความเหมาะสม มอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถ ของคน 2) การจดั สภาพแวดลอ้ ม อาคาร สถานที่ - การจดั สภาพแวดลอ้ ม ภูมิทัศนข์ องโรงเรียนให้เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ สะอาด สวยงาม ปลอดภัย มีบรรยากาศดี และร่มรื่น มีการจัดการขยะที่ดี จดั จดุ ท้ิงขยะท่ีเปน็ ท่ี มีการคัดแยกขยะก่อนท้งิ - การจัดทำแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนที่หลากหลาย เหมาะแก่การเรียนรู้ สอดคล้องกับ หลักสูตรกลมุ่ สาระตา่ ง ๆ เพือ่ ใช้ในการบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอนของแต่ละกลมุ่ สาระ - การเป็นผู้ช่วยผู้อำนวยการเดินสำรวจอาคารสถานที่ เพ่ือให้ทราบสภาพแวดล้อมที่ต้องการ พัฒนา ปรับปรุง หรอื ซอ่ มแซมให้มีความปลอดภัย เหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอน 3) ด้านการประสานความร่วมมือกบั ชุมชน

20 - การประสานความสัมพันธ์กับชุมชน วัด องค์กรท้องถ่ิน บริษัท ห้างร้าน และหน่วยงาน ภายนอกตา่ ง ๆ โดยการดำเนินงานของบุคคลในสถานศึกษา เพ่อื ระดมทุนมาใชใ้ นการบริหารจัดการ ปรบั ปรุง พฒั นาโรงเรยี นในดา้ นต่าง ๆ ใหม้ ีความพร้อมในการจดั การศึกษาและพัฒนานักเรยี นให้มคี ณุ ภาพ - การออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เพ่ือให้ทราบถึงบริบท สภาพความเป็นอยู่ ความต้องการ ช่วยเหลือ หรือปัญหาของนักเรียนรายบุคคล ทำให้สามารถเข้าใจนักเรยี น และสามารถช่วยแก้ไขปัญหาของ นกั เรียนไดอ้ ยา่ งทันท่วงที - การร่วมกิจกรรมกับชุมชน โดยใหบ้ คุ ลากรในโรงเรียนเขา้ ไปร่วมกิจกรรมที่ชมุ ชนจดั ข้นึ เช่น งานประจำปีของวดั งานทอดผา้ ปา่ 4) การจดั ระบบงานธรุ การ - การเรยี นรู้เก่ยี วกบั การทำงานธรุ การ งานสารบรรณท่ีถกู ต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ - การเขียนหนังสือราชการ บนั ทกึ ข้อความ หนงั สอื ภายใน หนงั สือภายนอก อยา่ งถูกตอ้ ง - การเรยี งลำดับความสำคัญของงานในหนงั สือราชการตา่ ง ๆ 5) ประชาสมั พันธก์ ิจกรรมของโรงเรยี น - การประชาสัมพันธ์กจิ กรรมของโรงเรียนผา่ นทางช่องทางต่าง ๆ เช่น วารสาร จดหมายข่าว Facebook, Line กลุ่มผู้ปกครอง เช่น การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน การจัดกิจกรรมวันสำคัญ ต่าง ๆ การปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน เพ่ือให้ผู้ปกครอง ชุมชน และบุคคลที่เก่ียวข้องทราบถึงการดำเนินงานของ โรงเรียน

21 ภาคผนวก

22 การบรหิ ารงานบุคคล พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ การประชุม การอบรมจากหน่วยงานภายในและภายนอก

23 การบริหารงานบุคคล การสง่ เสรมิ ครใู นการพัฒนาวิชาชพี และสรา้ งขวัญและกำลงั ใจ การนิเทศเพื่อส่งเสริมประสทิ ฺธภิ าพ การจดั สมั มนาและการร่วมแสดงความยนิ ดใี นโอกาสตา่ งๆ

24 การบรหิ ารงานวชิ าการ การวางแผนงานวชิ าการ การบริหารหลักสูตร การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ การพัฒนาและทบทวนหลกั สตู รสถานศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน การนิเทศ โครงการตา่ ง ๆ

25 การบริหารงานวิชาการ ผลท่ีเกิดจากการพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรู้ของนกั เรียน

26 การบริหารงานงบประมาณ การจัดทำแผน วเิ คราะห์ การจดั สรร เบกิ จา่ ย งบประมาณภายในสถานศึกษา จดั ทำแผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณ มอบเงินค่าอุปกรณ์และเครือ่ งแบบนกั เรียนใหก้ ับผปู้ กครอง

27 การบริหารงานงบประมาณ การจดั ทำแผน วเิ คราะห์ การจดั สรร เบกิ จ่าย งบประมาณภายในสถานศึกษา การจ่ายเงนิ ใหก้ ับผปู้ กครอง การของบประมาณ สิ่งกอ่ สร้าง การบรหิ ารพสั ดแุ ละครุภณั ฑ์ โครงการอาหารเช้า อาหารกลางวนั

28 การบรหิ ารงานท่วั ไป งานกจิ การนกั เรียน และสมั พนั ธ์ชมุ ชน การประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น กิจกรรมหน้าเสาธง การดแู ลความปลอดภัย กิจกรรมสัมพนั ธช์ มุ ชน

29 การบรหิ ารงานท่ัวไป งานอาคารสถานที่ การพัฒนาอาคารสถานท่เี พอ่ื ความปลอดภัยและการเรยี นรู้

30 การฝึกประสบการณ์รองผ้อู ำนวยการ เรยี นรู้งานทัง้ 4 ฝ่าย บริหารงานบุคคล บริหารงานวิชาการ บริหารงานงบประมาณ และบรหิ ารท่วั ไป การเรยี นรู้กจิ กรรมประจำวัน และประสบการณจ์ ริง

31 การฝึกประสบการณ์รองผ้อู ำนวยการ เรยี นรู้งานทัง้ 4 ฝ่าย บริหารงานบุคคล บริหารงานวิชาการ บริหารงานงบประมาณ และบรหิ ารท่วั ไป การเรยี นรู้กจิ กรรมประจำวนั และประสบการณจ์ ริง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook