Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 08-08-2019-12-05-27_1029419752 (1)

08-08-2019-12-05-27_1029419752 (1)

Published by Guset User, 2021-09-22 04:09:23

Description: 08-08-2019-12-05-27_1029419752 (1)

Search

Read the Text Version

รปู แบบกิจกรรมโรงเรยี นต้นแบบการแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ของนกั เรยี นระดับประถมศึกษา ผลการถอดบทเรียนจากสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติท่ีดี จากการนาแนวทางการบริหารจัดการกองทุน เพือ่ โครงการอาหารกลางวันที่มปี ระสิทธภิ าพเพ่ือลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนกั เรยี นไปใช้ สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี เพ่ือลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนท่ีมีนาหนัก ตอ่ สว่ นสงู ต่ากวา่ เกณฑ์ (ผอม) จากการสุนทรียสนทนา (Dialogue) สถานศึกษาที่เข้าร่วมการทดลองใช้แนวทางฯ เพ่ือแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีน้าหนักต่อส่วนสูงต่้ากว่าเกณฑ์ (ผอม) ที่ประชุมมีความเห็น ร่วมกนั ว่า สถานศกึ ษาทีม่ ีวธิ ีการปฏบิ ตั ิท่ดี ี คือ 1. โรงเรียนนิยมราษฎร์วิทยา ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษาก้าแพงเพชร เขต 1 หรือ นิยมราษฎร์วิทยา “2ส2อ” ซงึ่ มวี ธิ ีการด้าเนนิ งาน ดงั นี สาเหตุ 1. นกั เรยี นไม่รจู้ กั เลือกรับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ สขุ นิสัยทด่ี ีในการรบั ประทานอาหาร 2. ผปู้ กครองขาดความรู้ ความเข้าใจและไม่มีแนวทาง วิธกี ารดูแลสุขภาพนักเรยี น ชมุ ชนขาด การมสี ว่ นรว่ มในการดูแลสุขภาพนกั เรยี น 3. นกั เรียนไมอ่ อกก้าลังกายอย่างต่อเนื่อง และไม่เหน็ ความส้าคัญของการออกก้าลังกาย วธิ ีการแกป้ ัญหา จัดท้าโครงการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมภาวะโภชนาการแก่นักเรียนที่มีน้าหนักต้่ากว่าเกณฑ์ โรงเรียนนิยมราษฎร์วิทยา ส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาก้าแพงเพชร เขต 1 โดยใชร้ ปู แบบกจิ กรรม “นิยมราษฎรว์ ทิ ยา 2 ส 2 อ” ดงั แผนภาพตอ่ ไปนี

-2- ขันตอนการดาเนินงาน การดาเนินงานตามแนวทางการบริหารจัดการ กองทุนเพ่ือโครงการอาหารกลางวัน ในโรงเรยี นนิยมราษฎรว์ ทิ ยาเพ่อื ลดปญั หาภาวะทพุ โภชนาการของนกั เรียนมีดังนี 1. ขันวางแผน (Plan) ประชมุ วิเคราะหป์ ัญหาและปัจจัยทม่ี ีต่อภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน ก้าหนด จดุ ประสงค์ เป้าหมาย กา้ หนดแนวทางการด้าเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณและแตง่ ตังคณะกรรมการด้าเนินงาน 2. ขันดา้ เนินการ (Do) 2.1 ด้าเนินการช่ังน้าหนัก วัดส่วนสูงด้วย เครื่องช่ัง และเคร่ืองวัดท่ีได้มาตรฐาน คัดกรอง นกั เรยี นออกเปน็ กลุม่ 2.2 จัดทา้ ข้อมูลสารสนเทศด้านภาวะทพุ โภชนาการชองนกั เรยี น 2.3 จัดประชุมผู้ปกครองนักเรียน โดยเชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มาให้ความรู้ แก่ผู้ปกครองนักเรียน ในเร่ืองภาวะโภชนาการในเด็กและสร้างความตระหนักในการส่งเสริม ให้บุตรหลานเลือกบริโภคอาหารทดี่ ีและมปี ระโยชน์ 2.4 จัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาและส่งเสริมภาวะโภชนาการแก่นักเรียนที่มีน้าหนักต้่ากว่า เกณฑต์ ามรปู แบบการท้ากจิ กรรม 2 ส 2 อ ได้แก่ กิจกรรม ส ท่ี 1 สร้างองคค์ วามรู้ - เชิญเจ้าหน้าทีจ่ าก โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตา้ บลมอสมบูรณ์ มาอบรมให้ความรู้แก่ ผ้ปู กครองเก่ียวกบั การบรโิ ภคอาหารที่มีประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพของนกั เรียน เพอ่ื สร้างความตระหนกั ในการ สง่ เสรมิ ให้บุตรหลานเลือกบริโภคอาหารทด่ี แี ละมปี ระโยชน์ - เชญิ เจา้ หนา้ ทจ่ี าก โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตา้ บลมอสมบูรณ์ มาอบรมใหค้ วามรู้แก่คณะ ครู นกั เรียนทงั โรงเรียนมาให้ความรูเ้ กยี่ วกับสขุ นิสยั ทีด่ ีในการบรโิ ภคอาหารและภาวะโภชนาการท่ีดใี นเด็ก ตลอดจนวิธกี ารออกก้าลงั กายท่ถี ูกต้อง กิจกรรม ส ท่ี 2 สสู่ ุขลกั ษณะทีด่ ี - คณุ ครูให้ความร้กู ับนักเรยี นเกี่ยวกบั การบรโิ ภคอาหารท่ดี ี มีประโยชน์ รวมทัง สขุ ลกั ษณะท่ดี ีในการบริโภคอาหาร - จดั เมนอู าหารกลางวันโดยใช้โปรแกรม Thai school lunch - จดั กจิ กรรมบูรณาการการเรียนการสอนโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใน ทกุ ระดับชนั ในชั่วโมงลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารู้ ไดแ้ ก่ การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกพืชสมุนไพร การปลูกผกั ปลอดสารพษิ กิจกรรม อ ที่ 1 มอี าหารเสริม - จัดอาหารมือเชา้ ให้กับนักเรียน และจดั อาหารเสริมให้นกั เรียน ในภาคบา่ ย อาหารเชา้ เชน่ ข้าวเหนียวหมู กับ นา้ เตา้ หู้ / โจ๊กหมู กบั นา้ เต้าหู้ อาหารเสริม เช่น นม กบั ขนมปงั / น้าเต้าหู้ ขนมปงั กจิ กรรม อ ท่ี 2 เพ่ิมเตมิ ออกกาลังกาย - จดั กจิ กรรมออกก้าลงั กายเพื่อสร้างกล้ามเนือใหน้ ักเรียน ทา้ อาทิตย์ละ 3 วันเวลา 15.15 – 15.45 น. กิจกรรมดังนี - วนั จันทร์ เล่นแบดมนิ ตนั - วันองั คาร เตน้ แอโรบิก - วันพุธ เลน่ ฮูลาฮปุ

-3- 3. ขันตรวจสอบ (Check) ตรวจสอบผลการดา้ เนนิ งานเปน็ ขันตอนการตรวจสอบ ประเมินผลการ ด้าเนินงานตามกจิ กรรมต่าง ๆ รวมทังปรับปรุงระหว่างด้าเนินงานให้มปี ระสิทธภิ าพมากย่งิ ขึน 4. ขันปรบั ปรุงแก้ไข (Act) เป็นการปรับปรงุ แก้ไข พัฒนากิจการดา้ เนินงานตามโครงการใหม้ ี ประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ และเกิดผลย่งั ยืนพร้อมทังประชาสัมพนั ธ์การด้าเนินงานของโครงการให้ผู้ทม่ี ีส่วน เกยี่ วขอ้ งทราบ ผลการดาเนนิ งาน 1. นกั เรยี น (กลมุ่ ผอม) ได้ท้ากจิ กรรม 2 ส 2 อ แลว้ พบวา่ นกั เรียนมีนา้ หนกั ลดลงอยูใ่ นเกณฑส์ ม ส่วนจ้านวน 9 คน จากจ้านวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 69.23 2. นักเรียนมสี ุขนสิ ัยทด่ี ใี นการบริโภค รู้จักเลือกบรโิ ภคอาหารที่มีประโยชน์ 3. ผู้ปกครองมคี วามรู้เร่อื งภาวะโภชนาการท่ีดี และแนะน้าการบรโิ ภคอาหาที่ดีมีประโยชน์ให้แก่ บตุ ร หลานได้ ปัจจยั สคู่ วามสาเร็จ 1. ความร่วมมือระหว่างผบู้ ริหารโรงเรยี น ครู ผปู้ กครองและชมุ ชน และผูม้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ ง 2. ผบู้ ริหาร สง่ เสริม สนบั สนุน อ้านวยความสะดวกในการด้าเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั จนบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องโครงการ 3. ครูเห็นความสา้ คญั ของโครงการอาหารกลางวนั ด้าเนินงานโครงการจนงานประสบความส้าเรจ็ 4.จา้ นวนนักเรยี นที่มภี าวะทุพโภชนาการลดลง นกั เรยี นได้รับประทานอาหารครบมือ มีคณุ คา่ ทาง สารอาหารปลอดภัยและมนี ้าด่ืมทสี่ ะอาดมีคณุ ภาพถูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการทุกคน รวมทงั มีความตระหนัก และมีสุขนิสัยที่ดีในการบริโภคอาหาร

-4- 2. โรงเรยี นสามขาพิทยาคม ส้านักงานเขตพนื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอด็ เขต 2 ซึง่ มวี ิธีการ และขันตอนการด้าเนนิ งาน ดังนี ขนั ตอนการดา้ เนนิ งาน 1.วางแผน (Plan) 1) แตง่ ตังคณะทา้ งาน 2) ประชมุ วางแผนโครงการ 3) ก้าหนดหนา้ ทีร่ ับผดิ ชอบ 4) สรา้ งความรู้ความเข้าใจ 5) เขียนโครงการเสนออนุมตั ิ 6) เสนอโครงการ 7) รายงาน/สรปุ

-5- 2.ดา้ เนนิ การ (Do) ด้าเนินกิจกรรมด้วย SAMKA MODEL ประกอบด้วย S : Strategy คือการก้าหนดกลยุทธ์ในการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีน้าหนักต่อส่วนสูง ตา้่ กวา่ เกณฑ์ (ผอม) ด้วยกิจกรรมดังนี กจิ กรรมท่ี 1 อบรมให้ความรใู้ นการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพดว้ ยกจิ กรรม ดงั นี อาหาร คือการรู้จักเลือกบรโิ ภคอาหารใหเ้ หมาะสมและถูกหลักภาวะโภชนาการ ออกก้าลงั กาย คอื การออกกา้ ลงั กายเพื่อใหร้ ่างกายแข็งแรง สุขภาพดี อนามัย คอื การมสี ุขนิสัยทดี่ ใี นการดแู ลสขุ ภาพอนามัยของผเู้ รยี น สร้างความตระหนกั ร้เู พื่อใหม้ ีทัศนคติทถ่ี ูกต้องในการดแู ลสุขภาพ สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมอื ในการลดปญั หาภาวะทพุ โภชนาการของนักเรียนท่มี ีนา้ หนกั ต่อส่วนสงู ตา่้ กว่าเกณฑ์ (ผอม) ขนั ตอนดา้ เนนิ การ สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการรบั ประทานอาหารเสริมสร้างทกั ษะการออกก้าลังกายท่ถี กู วิธคี ือนักเรียน และบคุ ลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งสา้ หรบั การลดปญั หาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนทีม่ ีนา้ หนกั ต่อส่วนสงู ต้า่ กวา่ เกณฑ์ (ผอม) (ผอมหมายถึงนกั เรียนทม่ี ีน้าหนักต่อส่วนสูงต้า่ กว่าเกณฑ์มาตรฐานน้อยกว่าหรอื เทา่ กบั -2S.D.) กจิ กรรมท่ี 2 จัดทา้ ระบบการคดั กรอง ขันตอนด้าเนนิ การ ด้าเนนิ การชง่ั นา้ หนัก วดั สว่ นสงู ด้วยเครอ่ื งมือและวธิ ที ี่มาตรฐาน ครงั ที่ 1ไดโ้ ดยคดั แยกนักเรยี น ผอมอายุตังแต่ 4-12 ปจี ้านวน 55 คน กิจกรรมที่ 3 จัดอาหารกลางวันโดยใชโ้ ปรแกรม Thai School lunch - ให้นกั เรียนกินไข่ต้มวันละฟอง - ด่ืมนมเวลาประมาณ 14.00 น.คนละ 2 กลอ่ ง -แจกวติ ามนิ ให้ไปรบั ประทานทีบ่ า้ นตอนเยน็ กิจกรรมที่ 4 จดั ตารางการออกกา้ ลงั กาย - ใหน้ ักเรียนไดอ้ อกกา้ ลังกายเวลา 15.00 น. - 15.30 น. - อา่ นแบบบันทกึ น้าหนักต่อส่วนสงู ทมี่ ภี าวะทุพโภชนาการ A : Aim คือการก้าหนดเป้าหมายท่ีจะลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีน้าหนักต่อ ส่วนสูงตา้่ กวา่ เกณฑ์ (ผอม) โดยโรงเรยี นมเี ป้าหมายท่ี ร้อยละ 50 M : Management คือการบริหารจัดการเรื่องการลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีน้าหนักต่อ ส่วนสูงต่้ากว่าเกณฑ์ (ผอม) ด้วยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมมาใช้ในการจัดกิจกรรม แก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ของผู้เรียน การบูรณาการการจัดการเรียนการสอนเร่ืองการดูแลสุขภาวะถูกต้องของผู้เรียน การจัดหาอาหารเสริมให้ ผูเ้ รยี น K : Knowledge คือการสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องในการดูแลสุขภาวะของนักเรียน การเลือกรับประทานอาการ การออกก้าลังกาย การรับประทานอาหารเสริมเพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ของนกั เรียนที่มนี า้ หนกั ตอ่ สว่ นสูงตา้่ กวา่ เกณฑ์ (ผอม) A : Action คอื การปฏิบัตติ นให้เหมาะสมโดยการตระหนักและน้าความรู้ที่ได้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ้าวันเพ่ือ ลดปัญหาภาวะทพุ โภชนาการของนักเรยี นทม่ี นี ้าหนกั ตอ่ สว่ นสูงต่า้ กว่าเกณฑ์ (ผอม) 3. การตรวจสอบ(Check) จดั ผู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง นิเทศ ติดตามผลการดา้ เนนิ งานในแต่ละกจิ กรรม โดยให้ความส้าคัญกบั การ ดา้ เนินกจิ กรรมในแต่ละกจิ กรรม

-6- 4. ปรบั ปรุง(Action) - ปรบั ปรุงดว้ ยการตดิ ตามประเมินกลมุ่ เส่ียงและสง่ ตอ่ พัฒนาระบบข้อมูลการเฝา้ ระวงั ภาวะโภชนาการ ให้มคี วามครอบคลุม ความถูกต้องกจิ กรรม ดา้ เนนิ การช่ังน้าหนกั วัดสว่ นสูง ด้วยเครือ่ งมือและวธิ ีการ ทไ่ี ดม้ าตรฐาน ทกุ เดือน - การสังเกต สัมภาษณ์ สอบถามสรปุ ผลการด้าเนนิ งาน/รายงานผล ผลการดา้ เนินงาน 1. จ้านวนนกั เรยี น 55 คนมีนา้ หนกั ตอ่ สว่ นสงู อยู่ในเกณฑ์สมส่วน 2. นกั เรียนไดเ้ ขา้ ใจและมบี ทบาทในสุขนสิ ยั ทด่ี ีด้านอาหารและโภชนาการ 3. นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมการดูแลสุขภาพท่ีเหมาะสม 4. แก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรยี นที่มีน้าหนกั ตอ่ สว่ นสูงต่้ากว่าเกณฑ์ (ผอม) ใหม้ ีน้าหนกั เพมิ่ ขึน 5. นักเรยี นมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรงลดความเส่ียงต่อการเกิดโรคไม่ตดิ ต่อ ปัจจยั สู่ความสาเร็จ 1. ผู้บริหาร ครู ผู้รับผดิ ชอบโครงการอาหารกลางวนั มีความรู้ความเขา้ ใจการจัดอาหารกลางวัน ตามโปรแกรม TSL 2. ไดร้ บั ความรว่ มมือจากผปู้ กครอง ชมุ ชน เครือข่ายในพืนท่ี

-7- สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีส่วนสูงต่อ อายุตา่ กวา่ เกณฑ์ (เตยี ) จากการสุนทรียสนทนา (Dialogue) สถานศึกษาที่เข้าร่วมการทดลองใช้แนวทางฯ เพื่อ แกป้ ญั หาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนท่ีมสี ่วนสูงต่ออายุตา้่ กว่าเกณฑ์ (เตีย) ท่ปี ระชมุ มคี วามเห็นรว่ มกันว่า สถานศึกษาทม่ี วี ิธีการปฏบิ ัติทีด่ ี คอื 1. โรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล (ภาวนารังสี) สพป.อยุธยา เขต 1 หรือ “วัดใหญ่ชัยมงคล โมเดล” ดัง แผนภาพตอ่ ไปนี

-8- สาเหตุ 1. ผปู้ กครองขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการและภาวะทุพโภชนาการ 2. นกั เรยี นรับประทานอาหารไมค่ รบ 5 หมู่ 3. นักเรียนไม่ออกก้าลังกาย วธิ ีการแก้ปญั หา จัดทา้ โครงการ สูงดี สมวัย ใสใ่ จสขุ ภาพ พัฒนาเดก็ ไทยอย่างยั่งยืน โรงเรยี นวดั ใหญช่ ยั มงคล (ภาวนา รงั สี) สพป.อยุธยา เขต 1 ขนั ตอนการดาเนินงาน กจิ กรรมท่ี 1 : ประชุมเพิ่มพูนความรคู้ วามเข้าใจนักเรยี นและผูป้ กครองในเรื่องโภชนาการ ดาเนินการดงั นี 1. ครูประจ้าชันช่ังน้าหนักวัดส่วนสูงนักเรียนเพื่อน้าข้อมูลไปท้าการคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพ โภชนาการมีส่วนสูงไม่ถึงเกณฑ์มาตรฐานโดยประสานงานกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบลวัด พระญาติการาม และมีการบันทึกข้อมูลน้าหนักส่วนสูงลงในบันทึกอาหารกลางวัน และบันทึกการจ่ายนมปี การศกึ ษา 2561 ตลอดปีการศกึ ษา เพ่ือน้าไปใช้เปน็ ขอ้ มูลภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน 2. จัดอบรมสร้างความเข้าใจให้กับผู้ปกครองนักเรียนโดย นางสาวปวีณวัสสา อภิภัทรวงศ์ ต้าแหน่ง พยาบาลวชิ าชีพชา้ นาญการ เกย่ี วกับประโยชน์ของการจัดอาหารตามโปรแกรม Thai school lunch และสร้างความ ตระหนักให้ผู้ปกครองได้เห็นความส้าคัญของอาหารเช้าและการด่ืมนม ท่ีน้ามาใช้แก้ปัญหานักเรียนที่มีภาวะ ทุพโภชนาการสว่ นสงู ไมถ่ ึงเกณฑม์ าตรฐาน ท่ีหอ้ งประชุมพระครูพสิ ุทธ์ิบญุ สาร โรงเรียนวดั ใหญช่ ัยมงคล (ภาวนารงั ส)ี 3. ครูท้าการส้ารวจอาหารยอดนิยม ประมวลผล และพัฒนารายการอาหารท่ีควบคุมป้องกันภาวะทุพ โภชนาการ ร่วมนิเทศ ควบคุมประเมินอาหารและภาวะโภชนาการจัดท้ารายการอาหารท่ีมีคุณค่าทาง โภชนาการเตรียมไว้ล่วงหน้า อย่างน้อย 1 เดือนโดยผู้ปกครองและนักเรียนมีส่วนร่วม สอดคล้องกับโปรแกรม Thai school lunch ให้กับนักเรยี นทีม่ ีภาวะทุพโภชนาการมีส่วนสงู ไมถ่ งึ เกณฑม์ าตรฐาน กจิ กรรมท่ี 2 : ออกกา้ ลงั กายสง่ เสริมความสูง สดั ส่วน สมวัย ด้าเนินการดังนี นายณฐั กรณ์ เกลยี งเกตุ ครูพลศึกษา นา้ นกั เรยี นท้ากิจกรรมกระโดดเชือกทุกวนั จันทร์ พธุ ศกุ ร์ เวลา 15.30-16.00 น. หลังเลกิ เรยี น ใตต้ ึกอาคาร 4 โรงเรียนวัดใหญ่ชยั มงคล (ภาวนารงั ส)ี ผลการดาเนินงาน 1.นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองส่งเสริม ผู้เรียนเรื่องการบริโภคอาหารท่ีถูกหลักโภชนาการลดปัญหาเรื่องภาวะทุพโภชนาการ ส่วนสูงไม่ถึงเกณฑ์ มาตรฐานมีการจัดเวลาให้นักเรียนได้ออกก้าลังกายอย่างสม้่าเสมอรวมถึงไ ด้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ควบคุมดูแลการออกก้าลังกายของนักเรียนที่บ้านมีการเสริมอาหารเพ่ิมให้กับนักเรียนท่ีมีส่วนสูงต่้ากว่าเกณฑ์ และมีการปรับเปลีย่ นช่วงเวลาดื่มนมของนกั เรยี นเป็นตอนเช้า 2. นักเรียนระดับชนั ประถมศึกษาปีที่ 1 – นักเรียนระดบั ชนั ประถมศกึ ษาปีที่6 จา้ นวน 32 คน ที่มี ภาวะทุพโภชนาการ สว่ นสงู ไม่ถึงเกณฑม์ าตรฐาน มภี าวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานท่สี ูงขึนรอ้ ยละ 80 3. นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักบทบาทหน้าท่ีของผู้ปกครองส่งเสริม ผู้เรียนเรื่องการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการลดปัญหาเร่ืองภาวะทุพโภชนาการ ส่วนสูงไม่ถึงเกณฑ์ มาตรฐานท่ีสูงขนึ รอ้ ยละ 80

-9- ปัจจยั สคู่ วามสาเร็จ 1. ครูผู้รับผิดชอบอาหารกลางวันในโรงเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้โปรแกรม Thai School Lunch เพ่ือจัดท้าเมนูอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณท่ีเพียงพอต่อความต้องการของนักเรียนได้ตามมาตรฐาน โภชนาการ สขุ าภิบาลอาหาร และอาหารปลอดภยั ส้าหรบั โรงเรยี นประถมศึกษา 2. นักเรียนและผู้ปกครองมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจและตระหนักบทบาทหนา้ ทข่ี องผูป้ กครอง ส่งเสริมผู้เรียนเรื่องการบริโภคอาหารท่ีถูกหลักโภชนาการลดปัญหาเร่ืองภาวะทุพโภชนาการ ส่วนสูงไม่ถึง เกณฑ์มาตรฐาน 3. มีการเสริมอาหารเพ่มิ ให้กับนกั เรยี นทีม่ ีสว่ นสงู ต้่ากวา่ เกณฑแ์ ละมีการปรับเปล่ียน ช่วงเวลาดม่ื นมของนักเรียนเปน็ ตอนเช้า 4. มีการจัดเวลาใหน้ ักเรยี นได้ออกก้าลังกายอยา่ งสม้า่ เสมอรวมถึงได้รบั ความรว่ มมือจาก ผู้ปกครองควบคมุ ดแู ลการออกกา้ ลงั กายของนักเรยี นที่บ้าน

-10- 5. รูปแบบการดาเนนิ งานเพื่อลดปัญหาภาวะทพุ โภชนาการ (เตยี ) โรงเรยี นบ้านขนุ แจ๋ สานกั งานเขตพืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาเชียงใหม่ เขต 2

-11- ขันตอนการดาเนินงาน 1.วางแผน (Plan) ก: กนิ อาหารท่ีมปี ระโยชน์ วางแผนการจดั โปรแกรมอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch โดยเนน้ ให้จดั อาหาร ครบทัง 5 หมู่ใน 1 สปั ดาห์ อ : ออกกาลังกาย -คัดกรองนกั เรียนกล่มุ เป้าหมาย -จดั ท้าตารางการออกกา้ ลังกายท่สี อดคล้องกับการสง่ เสริมพฒั นาการในการเสริมสรา้ งมวล กระดูกใหก้ ับนักเรียน โดยเนน้ การกระโดดและเคล่ือนไหวร่างกาย ด : ดมื่ นมอยา่ งสม่าเสมอ -คดั กรองนกั เรยี นกลุ่มเป้าหมาย 2.ดาเนนิ การ(Do) ก : กนิ อาหารท่ีมปี ระโยชน์ แจง้ ผู้รับเหมาให้จัดทา้ อาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch ทีโ่ รงเรยี นก้าหนด อ : ออกกาลงั กาย ดา้ เนนิ กจิ กรรมการออกก้าลังกายและการเคลอื่ นไหวตามโปรแกรมดงั นี 07.30–08.00น.ทา้ กจิ กรรม เวรหมสู่ ี (กิจกรรมเคล่ือนไหว)08.20 – 08.50 น. ออกก้าลังกายตามโปรแกรมที่ก้าหนด (กจิ กรรม ยืดหยุ่น)15.30 – 16.00 น. ออกก้าลังกายตามโปรแกรมท่กี ้าหนด (กิจกรรมยดื หย่นุ ) ด : ดื่มนมอย่างสมา่ เสมอ - จัดอาหารเสริมนมวนั ละ 2 เวลา (เบรกเชา้ ,เบรกบา่ ย) - จัดผลไม้ตามฤดูกาล สปั ดาหล์ ะ 2 วนั 3. การตรวจสอบ (Check) ก: กนิ อาหารที่มีประโยชน์ -ตรวจสอบพฒั นาการด้านน้าหนกั /ส่วนสูง ของนักเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย -ตรวจสอบการจดั ทา้ อาหารของผรู้ บั เหมา โดยเจ้าหน้าที่อาหารกลางวันและคณะกรรมการ ตรวจรบั งานจ้าง อ : ออกกาลงั กาย -ตรวจสอบพัฒนาการด้านน้าหนัก/สว่ นสูง ของนักเรยี นกลุ่มเป้าหมาย ด :ดื่มนมอย่างสม่าเสมอ -ตรวจสอบพฒั นาการด้านน้าหนัก/สว่ นสงู ของนกั เรยี นกลุ่มเปา้ หมาย 4. ประเมนิ และรายงาน (Action) ผลจากการตรวจ - เมอื่ พบวา่ พัฒนาการด้านนา้ หนัก/ส่วนสูงของนักเรียนกลมุ่ เปา้ หมายไมส่ มดลุ กนั ตามสว่ นสูง ตอ่ อายุต้า่ กว่าเกณฑ์ (ยงั มีภาวะเตยี ) จงึ ส่งเสริมใหน้ ักเรียนกลมุ่ เปา้ หมายให้มีพัฒนาการทีด่ ียิง่ ขึนโดยกลบั ไป มองที่กระบวนการขนั วางแผนและด้าเนนิ การอีกครงั - เมอ่ื พบว่าพฒั นาการด้านนา้ หนัก/ส่วนสูงของนักเรยี นกลุม่ เปา้ หมาย สมดุลกนั ตามสว่ นสงู ต่ออายุต่้ากวา่ เกณฑ์ (ภาวะเตียลดลง) จึงสง่ เสรมิ และพฒั นาใหเ้ ป็นแนวทางการด้าเนนิ งานเพื่อแก้ปญั หาโรคเตีย

-12- ผลการดาเนนิ งาน จากการด้าเนนิ การสา้ รวจนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการเกิน(กลมุ่ อ้วน)โดยการช่งั นา้ หนักและ วัดส่วนสูงนักเรียนครังที่ 1 วันที่ (17 พฤษภาคม พ.ศ.2561) จ้านวน 99 คน โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์ อ้างองิ การเจริญเติบโตของเพศชายและหญงิ อายุ 5 -18 ปี (กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2542) พบว่ามี จา้ นวนนกั เรยี นอยู่ในเกณฑ์อว้ นจ้านวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.93 ของนักเรียนทังหมด โดยทางคณะ ผู้บริหาร ครู บุคลากรและผู้ปกครองได้ร่วมกันประชุม วางแผนการด้าเนินการจัดกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาภาวะ ทุพ โภชนาการเกิน(กลุ่มอ้วน) ของนักเรียนโรงเรียนบ้านขุนแจ๋ โดยใช้กิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ดังนี 1.กิจกรรม เคล่ือนไหว ปลดปล่อยพลังงาน 2. กิจกรรมการให้ความรู้และการเพิ่มทักษะในการบริโภคอาหาร 3. กิจกรรม จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของโรงเรียน หลังจากจัดกิจกรรมดังกล่าวได้ด้าเนินการวัดผลการ จัดกิจกรรม โดยการชัง่ นา้ หนกั และวัดส่วนสูงครังท่ี 4 (วนั ท่ี 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2562) พบว่ามนี ักเรยี นอยู่ใน เกณฑ์อ้วน จ้านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.93 ของนักเรียนทังหมด จากการบันทึกการช่ังน้าหนักและวัด ส่วนสูง แล้วน้ามาเทียบกราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต ของเพศชายและหญิง อายุ 5 -18 ปี (กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2542) การด้าเนินโครงการ ป้องกันและปัญหานักเรียนอ้วนในโรงเรียน เรียนบ้านขุนแจ๋ 2561 เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขภาพดี สูงดี สมสว่ นตามวยั ผลการด้าเนนิ โครงการอยู่ในระดับท่ีพอใจ เพราะกลุ่ม นักเรียนที่อยู่ในเกณฑ์เริ่มอว้ นลดลง แต่ ชว่ งระยะปิดภาคเรียนนักเรียนขาดความต่อเน่ืองของการท้ากิจกรรม ท้าให้นา้ หนักเพ่ิมกลับมาเหมือนเดิม และ ปัจจัยอื่นๆ เช่นหมอกควันที่เป็นปัญหามลพิษทางอากาศ ท้าให้ครู และนักเรียนไม่ได้ออกก้าลังกายอย่าง ต่อเน่อื ง ประโยชน์ท่ีไดร้ บั - นกั เรยี นทอ่ี ยใู่ นเกณฑอ์ ้วนมีสขุ ภาพดี รักการออกก้าลังกาย - นกั เรยี นรูจ้ กั และตระหนกั ถึงการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ - นักเรียนมสี ุขภาพท่ีดี แขง็ แรง สูงดี สมสว่ น ตามวยั ปจั จยั สคู่ วามสาเรจ็ 1. ครูผรู้ ับผิดชอบโครงการอาหารกลางวันโรงเรียน ใช้ โปรแกรมในการจัดอาหาร ตามโปรแกรม (Thai School Lunch) 2. นักเรยี นใหค้ วามรว่ มมือในการดา้ เนินกิจกรรมตา่ ง ๆ 3. ผู้บรหิ ารให้ความส้าคัญกับการ ก้ากบั ตดิ ตาม การใชง้ บประมาณในการด้าเนินงาน

-13- สถานศึกษาที่มีการปฏิบัติท่ีดี เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนที่มีนาหนักต่อ ส่วนสูง สูงกว่าเกณฑ์ (อ้วน) จากการสุนทรียสนทนา (Dialogue) สถานศึกษาที่เข้าร่วมการทดลองใช้แนวทาง ฯ เพื่อแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรยี นที่มีน้าหนักต่อส่วนสูง สูงกว่าเกณฑ์ (อ้วน)) ท่ีประชุมมีความเหน็ ร่วมกันว่า สถานศกึ ษาที่มีวธิ กี ารปฏิบัติท่ดี ี ไดแ้ ก่ 1. โรงเรียนวดั ยาง ส้านกั งานเขตพืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 2. โรงเรยี นวัดเวฬุวนาราม สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 3. โรงเรียนบ้านห้วยแม่บอน ส้านกั งานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 4. โรงเรยี นบา้ นเนนิ จา้ ปา ส้านักงานเขตพนื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาจนั ทบุรี เขต 1 วธิ กี ารด้าเนนิ งาน ดงั นี สาเหตุ 1. นกั เรยี นไมอ่ อกกา้ ลงั กาย 2. พฤติกรรมการรับประทานอาหารไมถ่ กู สุขลักษณะ 3. พันธุกรรม 4. การดแู ลเอาใจใส่ของผู้ปกครอง วิธกี ารแก้ปญั หา 1. โครงการชีวิตสดใส ในร่างกายที่แข็งแรง โรงเรียนวัดยาง สานักงานเขตพืนที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 หรือ “วดั ยางโมเดล” แนวคิดในการด้าเนินงานโครงการชีวิตสดใสในร่างกายที่แข็งแรง คือ การด้าเนินงานโดยใช้ กระบวนการ P D C A และกิจกรรม A B C D E ภายใต้ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง โรงเรยี น ผปู้ กครอง และนกั เรียน บนหลกั การความเขา้ ใจ การควบคมุ อาหาร และการออกก้าลงั กาย โดยนักเรียนกา้ กับตนเอง ดังแผนภาพดังนี

-14- ขันตอนการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย P Plan เป็นการ เตรียมนักเรียนโดยสร้างเสริมเจตคติที่ดี รวมถึงการเตรียมทรัพยากรในการด้าเนินงาน คอื กจิ กรรมตระหนกั รู้ (Attitude: A) D Do เป็นการด้าเนินงาน ประกอบดว้ ย 2 E คอื ควบคมุ อาหาร (Eat less) และออกกา้ ลังกาย (Exercise) และ 4 C คือ ระวังการบรโิ ภค นา้ ตาล (Care about sugar) ระวงั การบริโภค ไขมัน (Care about fat) ระวังปรมิ าณอาหาร ที่บรโิ ภค (Care about volume of food) และให้มีการออกกา้ ลังกายอย่างสม่า้ เสมอ (Care to daily exercises) คือ กิจกรรมชีวิตสดใสในรา่ งกายท่ีแขง็ แรง (Bright Life & Healthy Body: B) C Check เป็นการประเมินและรายงานผลการด้าเนินงาน คือกิจกรรมประเมินและรายงานผลการ ด้าเนินงานด้านลด ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ของนักเรียน และ ตามวัตถุประสงค์ (Declare the result: D) A Act เป็น การนา้ ผลมาปรบั ปรงุ วิธีการ ด้าเนนิ งาน ให้ เหมาะสมและมี ประสทิ ธภิ าพมากขึน (Enhancement: E) ขนั ตอนการดาเนนิ งาน กิจกรรม A B C D E มรี ายละเอยี ดโดยสังเขป ดังนี Attitude: A คือ การเสริมสร้างเจตคติท่ีดี คือ การเตรียม นักเรียนโดยการสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการ โดยด้าเนินการประชาสัมพันธ์ความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับ ความส้าคัญของภาวะโภชนาการท่ีดี โดยใช้เสียงตามสาย เดินรณรงค์ ในชุมชน ตลาด ร้านค้า แจกเอกสาร และในกิจกรรมนีรวมถึงการเตรียม ดา้ นวัสดุ อุปกรณ์ เอกสารในการด้าเนนิ งานดว้ ย Bright life & Healthy body: B คือ การด้าเนินงาน โครงการ “ชีวิตสดใส ในร่างกาย ที่แข็งแรง” เพอื่ ลดภาวะทุพโภชนาการ นักเรียนที่มีน้าหนักเกินเกณฑ์ โดยด้าเนินการ 2 E ได้แก่ E Eat less การควบคุมอาหาร (ควบคุม สารอาหาร โดย ใช้ เมนูอาหาร Thai School Lunch และปริมาณอาหาร ) และ E Exercise การออกก้าลังกาย (แกว่งแขน เตะขา ฮูลาฮูป กระโดดเชือก เดินว่ิง ยกดรัมเบล อุปกรณ์บิด ตัว)

-15- Care to 4 Surveillances: C คือ การมุ่งเน้น เฝ้าระวัง เร่ืองส้าคัญ 4 ประการ ได้แก่ C1: Care to Fat เฝ้าระวังการบริโภค ไขมัน C2: Care to Sugar เฝา้ ระวงั การบรโิ ภคนา้ ตาล C3: Care to volume of food เฝ้าระวังการบริโภคปริมาณมาก C4: Care to Exercise เฝา้ ระวังให้มกี ารออกกา้ ลงั กายทเี่ หมาะสม Declare the result: D คือ การเผยแพร่ผลการประเมิน การด้าเนินกิจกรรม ในโครงการชีวิตสดใสในร่างกายที่แข็งแรง ได้แก่ 1) ภาวะโภชนาการของนกั เรยี นทกุ คน 2) ภาวะโภชนาการของนกั เรียน กลุ่มเป้าหมาย 3) ความตระหนักและมีสุขนิสัยท่ีดีด้านอาหารและ โภชนาการของนักเรยี นกลุ่มเป้าหมาย Enhancement: E คือ การพัฒนายกระดับวิธีการด้าเนิน กิจกรรม ในโครงการชีวิตสดใสในร่างกายท่ีแข็งแรง โดยการน้าผล การด้าเนินงานมาวิเคราะห์ เพ่ือปรับเปล่ียนกิจกรรม ขันตอน ฯลฯ ใหเ้ หมาะสมกับบริบทในดา้ นต่างๆ ของนกั เรยี น และโรงเรียน ผลการดาเนนิ งาน 1. นักเรียนร้อยละ 69.72 มีน้าหนัก เป็นไปตามเกณฑ์ภาวะโภชนาการของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2. นกั เรยี นท่ีมีภาวะนา้ หนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 43.75 มีน้าหนักลดลง 3. นักเรียนร้อยละ 70.59 มีบทบาทในการสร้างความตระหนักและมีสุขนิสัยท่ีดีด้านอาหาร และโภชนาการ ในระดบั บ่อยครังขึนไป 4. ผู้ปกครองร้อยละ 85.30 มีส่วนร่วมในการเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีด้านอาหารและโภชนาการ ในระดับบ่อยครงั ขนึ ไป 5. ชุมชนร้อยละ 75.00 มีส่วนร่วมในการเสริมสร้างสุขนิสัยที่ดีด้านอาหารและโภชนาการ ในระดับ บอ่ ยครังขึนไป 6. นักเรยี นร้อยละ 96.32 มสี ุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรง และสขุ ภาพจิตท่ีดี ปัจจยั สู่ความสาเรจ็ การด้าเนิน กจิ กรรม 2 E และ 4 C อยา่ งสมา้่ เสมอ ต่อเน่ือง

-16- 2.โครงการสขุ นสิ ัยดี จิตสดใส รา่ งกายแข็งแรง โรงเรียนวัดเวฬุวนาราม สานกั งานเขตพืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 หรอื “วดั เวฬุวนารามโมเดล” หลักการแนวคิดในการด้าเนินงานโครงการสุขนิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรง โรงเรียนวัดเวฬุวนา ราม ส้านกั งานเขตพนื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 หรือ“วดั เวฬุวนารามโมเดล” ดงั แผนภาพต่อไปนี

-17- องคป์ ระกอบของโมเดล ประกอบดว้ ย 1. การประชุมระดมสมอง เพื่อวางแผนการพฒั นาทกั ษะกระบวนการกลุม่ กระบวนการปฏิบัติงาน (Plan) ของบุคลากรครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เพ่ือจัดท้าโครงการสขุ นิสัยดี จิตสดใส ร่างกายแข็งแรง และขออนุมัติงบประมาณด้าเนนิ การ แต่งตังคณะท้างานการ จัดท้าความร่วมมือ (MOU) กับบุคลากรครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศกึ ษาขนั พนื ฐาน ผ้มู ีส่วนเกย่ี วข้อง ทสี่ นใจสมัครเขา้ รว่ มโครงการ 2. พัฒนาทักษะกระบวนการกลมุ่ การทา้ งานเป็นทมี (Do) โดยใช้กระบวนการ ดงั นี 2.1 อบรมปฏิบัติการ แกนน้า เสริมสร้างความเข้มแข็ง ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนเพ่ือลูกหลาน ของเรา เพ่ือเสริมสร้างทักษะการบริหารจัดการ การท้างาน ที่จ้าเป็นในการส่งเสริมกระบวนการปฏิบัติงาน ตามธรรมนูญสุขภาวะชุมชน เพื่อลูกหลานของเรา ให้สามารถเป็นวิทยากร และเป็นพี่เลียง ในการให้ความรู้ แนวทางการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการขับเคล่ือนกระบวนการปฏิบัติงานตามธรรมนูญสุขภาวะชุมชน เพือ่ ลูกหลานของเรา 2.2 อบรมปฏิบัติการทักษะกระบวนการ (Facilitator) เสริมสร้างความเข้มแข็ง ธรรมนูญสุข ภาวะชุมชน เพื่อลูกหลานของเรา ให้แก่เด็ก ผู้ปกครอง กลุ่มเป้าหมาย และคณะกรรมการสถานศึกษา ขนั พนื ฐาน ผู้มสี ่วนเกย่ี วข้อง เพอื่ สง่ เสริมการดา้ เนนิ งานตามธรรมนญู สขุ ภาวะโรงเรยี น 2.3 ให้ผู้เข้ารับการอบรมสร้างทีม จ้านวน 5 ทีม ด้วยกิจกรรม “สร้างเครือข่าย” เพื่อขับเคล่ือน ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่ “ธรรมนูญสุขภาวะ เพ่ือลูกหลานของเรา” โดยให้ผู้บริหารสถานศึกษา และ บุคลากรครู เป็นโค้ช (Coaching) คอยให้ค้าปรึกษาด้านเทคนิควิธี เป็นผู้สนับสนุนให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน ผู้สร้างความร่วมมือภายในกลุ่ม ผู้ช่วยเหลืออ้านวยความสะดวก และผู้ช่วยแก้ปัญหาบางเรื่องที่อาจเกิดขึน ในการปฏิบตั งิ านใหป้ ระสบผลสา้ เรจ็ ตามเปา้ หมายท่กี า้ หนดไว้ 3. การตรวจสอบ (Check) ด้วยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยการถอดบทเรียน (After Action Review: AAR) ด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็ง “ธรรมนูญสุขภาวะ เพื่อลูกหลานของเรา” ด้านการเปลี่ยนแปลงพัฒนา ตนเองผู้เข้ารับการอบรมในทีม โดยใช้กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีม ความมีประชาธิปไตย และ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพ่ือดึงความรู้จากการท้างานออกมาใช้เป็นทุนในการท้างาน ให้เกิดการสกัดความรู้ ท่ีมีอยู่ในแต่ละบุคคล ในแต่ละกลุ่ม ( Tacit Knowledge) ออกมาเป็นบทเรียน/ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ท้าให้ได้รูปแบบชุดความรู้ท่ีเป็นรูปธรรม เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของผู้เข้าร่วม กระบวนการ ท้าให้เกดิ การปรับวธิ คี ิดและเปล่ยี นวธิ ีการท้างานที่สร้างสรรค์และมคี ุณภาพยงิ่ ขึน 4. การปรับปรุงและพัฒนา (Act) ดว้ ยการส่งเสรมิ กระบวนการนเิ ทศ กา้ กบั ติดตาม โดยใช้เทคโนโลยี เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงาน เพ่ือสร้างความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานสร้างสุขภาวะ และวัฒนธรรมองค์กร ท่ีเข้มแข็ง ท้าให้เกิดการ กระจายอ้านาจแบบมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ส่งเสริมสุขภาวะของเด็กเยาวชน และ ครอบครวั ให้เป็นผลส้าเรจ็ ขนั ตอนการดาเนินงาน 1 ประชุมระดมสมอง เพื่อวางแผนการพัฒนาทักษะกระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติงาน (Plan) ของบุคลากร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพ่ือ จัดทา้ โครงการสขุ นสิ ยั ดี จติ สดใส ร่างกายแขง็ แรง 2. จดั ทา้ ธรรมนุญสุขภาวะชมุ ชน เพ่อื ลูกหลานของเรา โดยกระบวนการมีสว่ นร่วม การสร้างชมุ ชน แหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ระหว่าง ครู นกั เรียน ผปู้ กครองนักเรยี น และผ้มู ีส่วนเก่ียวขอ้ ง

-18- 3. จัดกจิ กรรมการปฏิบตั งิ าน แบง่ เป็น 3.1 กิจกรรมรายวนั 1. กจิ กรรมแอโรบคิ พชิ ิตอ้วน 2. กิจกรรมเสยี งตามสายสรา้ งสุข 3. กจิ กรรมกินอาหารดีมีประโยชน์ 3.2 กจิ กรรมรายสัปดาห์ 1. กิจกรรมตอบปญั หาการเสรมิ สร้างสุขภาพ 2. กิจกรรม Sport Day 3.3 กจิ กรรมรายเดอื น 1. อบรมเชิงปฏิบัติการ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา อสม.และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการดา้ เนินงานธรรมนญู สขุ ภาวะชมุ ชนเพือ่ ลูกหลานของเรา 2. ก้าหนดส่งรายงานการด้าเนินงานตามธรรมนูญสุขภาวะชุมชนเพ่ือลูกหลานของเรา ระหวา่ งผูป้ กครองและโรงเรยี น 3.4 กิจกรรมรายภาค/ปี 1. อบรมผนู้ า้ อนามัยนกั เรียน 2. ถอดบทเรยี น (AAR) การดา้ เนินงานตามโครงการ (ระบุขันตอนส้าคัญในการด้าเนินงาน โดยระบุเป็นรายข้อ และระบุรายละเอียดท่ีเก่ียวข้อง เช่น เอกสารท่ีใช้ สถานท่ดี ้าเนินงาน ผดู้ ้าเนินงานในแต่ละขันตอน) 1. ติดตามการดา้ เนินงานและสรุปผลการดา้ เนินงาน 2. รายงานผลการดา้ เนินงานโครงการ ผลการดาเนนิ งาน 1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จ้านวน 15 คน มีน้าหนักลดลง จ้านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 26.66 และมสี ่วนสงู เพม่ิ มากขนึ ทุกคน คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2. นักเรียนท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน) มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมดูแลสุขภาพร่างกายท่ีถูกต้อง เหมาะสม รับประทานผัก มีการออกก้าลังกาย และมีอารมณ์-จิตใจท่ีแจ่มใส เต็มใจเข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการ 3. นกั เรียนมีความมน่ั ใจ เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง และกลา้ แสดงออกอยา่ งเหมาะสม 4. โรงเรียนมีธรรมนญู สุขภาวะเพ่ือลกู หลานของเรา โดยเกิดจากการมีสว่ นร่วมของผ้มู ีสว่ นเกี่ยวขอ้ ง ทกุ ภาคสว่ น และมีการสรา้ งเครือข่าย ธรรมนญู สขุ ภาวะเพ่ือลูกหลานของเรา ปัจจยั สูค่ วามสาเรจ็ จดุ แข็ง เด็กและเยาวชน ได้รับการดูแลเอาใจใส่ ในเร่ืองสุขภาวะ ท้าให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ญั ญา อยา่ งสมวัย ตลอดจนผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชน ทเ่ี ก่ียวข้องกับ เด็กและเยาวชน ตระหนักเห็นความสา้ คญั ของการดแู ลสุขภาพ ปฏิบัติตนตามธรรมนญู สขุ ภาวะที่กา้ หนด จุดออ่ นในระยะเร่ิมต้น อาจต้องสร้างความเข้าใจ และใช้เวลาในการปรับทัศนคติในการส่งเสริม กิจกรรมสร้างสุขภาวะ เน่ืองจากเป็นค่านิยม และความเช่ือ ท่ีมีมานาน จึงต้องเข้าถึงกลุ่มคนที่เป็นผู้น้าของ ชุมชน เพื่อสร้างความเชื่อม่ัน ศรัทธาในการปฏิบัติงาน โอกาสผู้น้าชุมชน ก้านัน ผู้ใหญ่บ้าน นายกองค์การ บรหิ ารส่วนตา้ บล สมาชกิ องคก์ ารบริหารส่วนต้าบล โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพ ส้านักงานเกษตรอา้ เภอดา้ เนิน สะดวก ให้การสนบั สนนุ เปน็ แกนนา้ ในการจดั ทา้ โครงการฯ

-19- ข้อจากัด 1. การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร ต้องเนน้ การสร้างความเข้าใจ ลงมือปฏิบัตจิ รงิ มีแบบอย่างที่ชัดเจน กับ ผูป้ กครอง ชมุ ชน 2. การจดั กจิ กรรม ต้องทา้ ความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครอง และนักเรียน ต้องติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด 3. วัยใสใสใ่ จสขุ ภาพ โรงเรียนบา้ นหว้ ยแม่บอน สานักงานเขตพนื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 1 หรือ “แม่บอนโมเดล”

-20- องคป์ ระกอบของแม่บอลโมเดล ประกอบด้วย 1. Mentor กิจกรรมทป่ี รกึ ษาปัญหาสขุ ภาพ หมายถงึ การด้าเนนิ งานให้ค้าปรึกษานักเรียนท่มี ปี ัญหา เร่ืองสขุ ภาพ โดยมีคณะครเู ป็นทีป่ รกึ ษา ตลอดจนควบคุม ดูแล ชว่ ยเหลือนกั เรียนในการแก้ไขปัญหาเร่ือง สุขภาพอย่างถูกวิธี 2. Attitude กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการดูแลรักษาสุขภาพและโภชนาการหมายถึง การด้าเนนิ งานให้ความรู้ ความเขา้ ใจวิธกี ารในการดูแลรกั ษาสุขภาพ รวมถงึ สรา้ งความตระหนกั ในการดแู ล รกั ษาสขุ ภาพแก่นักเรียน ผปู้ กครอง และคณะครู 3. Exercise กิจกรรมส่งเสริมการออกก้าลังกายดว้ ยกีฬาและนนั ทนาการ หมายถงึ การด้าเนนิ งาน เพ่ือส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมีทักษะ ทัศนคติที่ดี และสามารถปฏบิ ัติการออกก้าลังเพื่อสุขภาพในแบบท่ีตนเองชอบได้ 4. Build กิจกรรมพฒั นาการจดั สงิ่ แวดล้อมในโรงเรียนที่เอือต่อสุขภาพ หมายถงึ การด้าเนนิ งาน ให้สภาพแวดลอ้ มรอบบริเวณโรงเรียนทังอาคารสถานที่ สะอาด ปลอดภัย โดยใหน้ กั เรยี นร้จู ักดแู ลรักษา ความสะอาดเรียบร้อยของโรงเรียน 5. Organization กิจกรรมองคก์ รสขุ ภาพ หมายถึง การด้าเนนิ งานเพ่ือสง่ เสรมิ ใหค้ รูและบุคลากร ทางการศกึ ษามสี ขุ ภาพท่ีดี มีวัฒนธรรมในการท้างานเปน็ ทีม และท้างานอย่างมคี วามสุข 6. Nutrition กิจกรรมส่งเสรมิ โภชนาการอาหารกลางวนั หมายถงึ การด้าเนนิ งานเพือ่ ให้ นักเรยี นไดร้ บั ประทานอาหารกลางวันท่ีมปี ระโยชน์ มคี ณุ ภาพ สะอาด ปลอดภยั ครบ 5 หมู่ ทังนโี รงเรยี นมคี วามเช่ือมั่นว่าหวั ใจสา้ คญั ของการดา้ เนินกิจกรรมแก้ปัญหาเด็กอ้วน คือการปลูกฝงั พฤติกรรมการการกินทีถ่ ูกต้อง ให้เดก็ เกิดทัศนคติท่ีดีต่อการกนิ อาหารที่มปี ระโยชน์ มากกว่าการกนิ ตามความ นิยมหรอื การกินตามใจตนเอง และการออกก้าลังกายเพื่อสุขภาพตามความสนใจ เพราะเราเชอื่ วา่ หากเรา สามารถสรา้ งทัศนคตทิ ี่ดตี อ่ การกนิ อาหารที่มปี ระโยชนใ์ หเ้ กิดขึนในตวั เด็กและให้เด็กมีความสุขกับการออก ก้าลงั กายแล้ว จะเป็นการสรา้ งสุขภาพดที ่ียัง่ ยืนให้กับเด็กได้ดที ี่สุด ผลการดาเนนิ งาน 1.นักเรยี นทม่ี ีภาวะโภชนาการเกนิ (อว้ น) เดิมมจี ้านวน 19 คน หลังจากการเข้าร่วมกิจกรรมลด จา้ นวนลง 2 คน เหลือ เด็กอ้วน 17 คน ลดลงรอ้ ยละ 10.53 2.นกั เรยี นมสี ุขนิสัยทด่ี ีในการบริโภค รู้จกั เลือกบรโิ ภคอาหารท่ีมีประโยชน์ 3.ผปู้ กครองมีความรูเ้ ร่อื งสขุ นสิ ยั ท่ีดใี นการบริโภค 4.โรงเรยี นไดร้ บั ความรว่ มมือจากนกั เรยี น ผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา และโรงพยาบาล เป็นอยา่ งดี 5.นักเรยี นให้ความสนใจการออกก้าลังกายและร่วมกจิ กรรมการออกกา้ ลังกายตามความสนใจ อยา่ งมีความสขุ 6. นักเรยี นและผู้ปกครองนกั เรียนโรงเรียนบา้ นหว้ ยแม่บอนเกิดความรู้ความเข้าใจพฤติกรรมการ บริโภคทถ่ี ูกหลกั โภชนาการ รอ้ ยละ 90

-21- ปจั จยั สคู่ วามสาเรจ็ 1. รปู แบบการดา้ เนินงานตาม MAEBON MODEL 2. การมีสว่ นรว่ มของครู นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา โรงพยาบาล ส่งเสรมิ สขุ ภาพบ้านหว้ ยแมบ่ อน และโรงพยาบาลบ้านตาก 3. การทา้ งานเปน็ ทมี โดยอาศัยหลกั องค์กรสขุ ภาพดี 4. เป็นเรื่องส้าคัญใกล้ตัวเด็กที่ไม่ควรมองข้าม เพราะสุขภาพที่ดีจะเป็นพืนฐานท่ีดีท่ีส้าคัญของการ พฒั นาการด้านอ่ืนๆ เชน่ สติปญั ญา อารมณ์และสังคม 5. เป็นกจิ กรรมที่มงุ่ เน้นให้เด็กทา้ อย่างมีความสุขไม่ใช่การบังคบั เพราะเปน็ การปลูกฝงั ให้เกิดเป็นสุข นิสัยโดยอาศัยความรู้ ความเขา้ ใจ การลงมือปฏิบตั ิและเหน็ ผลดว้ ยตนเอง 6. เป็นการพัฒนาท่ีอาศัยการมีส่วนร่วมของบุคคลท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องโดยพัฒนาจากความเข้าใจเป็น พนื ฐานสา้ คญั 4. โครงการรูปร่างดี หล่อสวย ไปด้วยกัน (ลดปัญหาภาวะเด็กอ้วน) โรงเรียนบ้านเนินจาปา สานักงานเขตพืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 หรือ “เนินจาปาโมเดล” ภาพท่ี 4.9 แสดงแกป้ ัญหาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนนา้ หนักต่อสว่ นสูง สงู กวา่ เกณฑ์ (อว้ น) โดยใช้ “เนินจา้ ปาโมเดล” ท่มี า : โรงเรยี นบ้านเนินจ้าปา, 2562

-22- ขนั ตอนการดาเนนิ งาน 1. ประชุมวางแผนโครงการโดยผู้บริหาร คณะครู ร่วมกันเขียนโครงการเสนอขออนุมัติ ก้าหนดหน้าท่ี รับผิดชอบ แต่งตังคณะกรรมการด้าเนินงานกิจกรรมตามโครงการ (ครูผู้รับผิดชอบงานอนามัยของโรงเรียน, ครผู ู้รับผิดชอบโครงการอาหารกลางวนั , ครผู ้สู อนกล่มุ สาระการเรยี นรู้พลศึกษา, ครูแนะแนว) 2. ด้าเนนิ งานตามโครงการโดยมีกจิ กรรมหลัก 5 กจิ กรรม ดงั นี กิจกรรมท่ี 1 “คัดกรองนักเรียน” คัดกรองเด็กท่ีมีปัญหาภาวะน้าหนัก ส่วนสูงเกินเกณฑ์ท่ีก้าหนด โดยการชง่ั น้าหนกั วดั ส่วนสงู ครงั ท่ี1 ในวนั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2561 โดยเทียบเกณฑ์นา้ หนักของกรมนามัย กิจกรรมที่ 2 “จัดอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจ \"จัดอบรมให้ความรู้สร้างความเข้าใจให้กับ ผู้ปกครองและนักเรียนที่มีน้าหนกั เกินเกณฑ์โดยการเชญิ วิทยากรที่มีความรู้ด้านโภชนาการและสุขภาพอนามยั โดยประสานเจ้าท่ีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้าบล เพื่อจัดประชุมให้ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเด็กอ้วนแก่ นักเรียนและผู้ปกครองของนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน) โดยมีสาระส้าคัญ ดังนี1) การรับประทาน อาหารที่มีประโยชน์ ถูกสุขลักษณะ 2) ภัยโรคอ้วน 3) ประโยชน์ของการออกก้าลังกาย 4) ท้าความเข้าใจ ข้อตกลง ในการร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนกับผู้ปกครองในการควบคุมการรับประทานอาหารของนักเรียน ในเวลาทอ่ี ย่กู ับผูป้ กครอง กิจกรรมท่ี 3 “แอโรบิค พิชิตอ้วน” โดยจะเต้นและออกก้าลังกายช่วงเย็นทุกวัน เป็นเวลา 45 นาที ในช่วงเวลา 14.30น.-15.15 น. โดยให้นักเรียนที่มีทักษะทางการเต้นออกมาเป็นผู้น้า และให้นักเรียน ในกลุ่มเป้าหมายอยู่ในกิจกรรมชมรมกีฬาของโรงเรียนด้วย โดยจัดกิจกรรมกีฬา ท่ีหลากหลาย เช่น การเคลอ่ื นไหวสนาม BBL การยืดหยนุ่ ร่างกาย เปน็ ตน้ กจิ กรรมท่ี 4 “กินดี กนิ เปน็ เนน้ สขุ ภาพ” - มกี ารสา้ รวจรายการอาหารทีน่ ักเรยี นมคี วามช่ืนชอบเป็นพเิ ศษ - การจัดรายการอาหารตามโปรแกรม Thai school lunch โดยครูที่รับผิดชอบที่มีความรู้ด้าน โภชนาการ - จัดอาหารที่ไม่ใช้น้ามัน หรือวัตถุดิบท่ีมีไขมันสูง เน้นให้เด็กรับประทานอาหารอาหารประเภทผัก และผลไมท้ ี่ไม่มีรสหวานหรอื หวานนอ้ ย ทังในเด็กในกลุ่มเปา้ หมายและเด็กท่มี ภี าวะโภชนาการปกติ - ครูแต่สายชันมีหน้าที่ปรับเปลี่ยนกันตักอาหารให้เด็กในช่วงชันตนเองเพ่ือให้มีปริมาณอาหารที่ พอเหมาะกบั ปรมิ าณการทานของเด็ก เพอื่ ลดปัญหาอาหารเหลือทิง - มอบหมายใหค้ รูประจา้ ชันดูแล ควบคุม การรับประทานอาหารของเด็กอย่างใกล้ชดิ ทุกวนั - พยายามหลีกเลี่ยงอาหารทใ่ี ช้นา้ มัน เนน้ ทานผกั ทานข้าวให้น้อย ทานกบั ขา้ วทเ่ี ปน็ ผักใหม้ าก กิจกรรมท่ี 5 “ลดได้ให้รางวัล” โดยการใช้ร้อยละของน้าหนักที่ลดลงแข่งขันกับตนเองเปรียบเทียบ การลดลงในแต่ละเดือนและจะน้ามาสรุปเมื่อสินภาคเรียนแต่ละภาค รางวัลท่ีมอบ ได้แก่ อุปกรณ์กีฬาเพื่อต่อ ยอดการออกก้าลังกายทีบ่ า้ นต่อไป ผลการดาเนินงาน 1) นักเรียนออกก้าลังกายในช่วงเวลา 14.30น.-15.15 น. เป็นเวลา 45 นาที เป็นประจ้าทุกวันจันทร์- วันศกุ ร์ และได้น้าอุปกรณ์กฬี าไปออกกา้ ลงั กายทีบ่ ้านช่วงเย็นและวันหยดุ อีกดว้ ย 2) นักเรียน มีน้าหนัก ส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย คิดเป็นร้อยละ 13.95 ของนักเรียนทเี่ ข้ารว่ มโครงการ 3) ครูและผปู้ กครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดแู ลเด็กที่มีปญั หาภาวะทุพโภชนาการคดิ เป็นรอ้ ยละ 85.00 ปจั จยั สู่ความสาเร็จ 1. ความร่วมมือระหวา่ งครู นักเรยี น ผู้ปกครอง เจา้ หน้าที่ รพ.สต.บา้ นเนนิ จา้ ปา และผ้ทู ี่เก่ยี วขอ้ ง 2. แนวคดิ หลกั /รูปแบบในการดา้ เนนิ งาน *************************************


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook