Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดําเนินงานเปิดกรุ คุรุสัมมนาคาร

รายงานผลการดําเนินงานเปิดกรุ คุรุสัมมนาคาร

Published by Presentation, 2022-02-02 09:17:47

Description: รายงานผลการดําเนินงานเปิดกรุ คุรุสัมมนาคาร

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดําเนินงาน เ ปิ ด ก รุ คุ รุ ส ัม ม น าค าร จ า ก วั น ว า น ส ูวั น นี้ ก ั บ เ รื่ อ ง ร า ว ด ี ๆ ี่ แ บ  ง ปั น

คำนำ การจัดงาน “เปิดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสู่วันน้ีกับเรื่องราวดี ๆ ท่ีแบ่งปัน” เมื่อวันที่ 6-7 สิงหาคม 2562 ณ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 อาเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จัดข้ึนภายใต้ โครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคล่ือน การพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นท่ี และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ การศึกษา เพ่ือเป็นพื้นที่ในการคัดเลือกและนาเสนอผลงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดในระดับภาค ภายในงานมีการจัดนิทรรศการ การเสวนาทางวิชาการสาหรับครูและผู้บริหาร รวมถึงการออกร้าน ผลิตภัณฑ์ของสถานศึกษาในพื้นท่ี เพ่ือให้ผู้บริหาร ครู นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจ ได้มกี ารแลกเปล่ยี นแนวคดิ การพฒั นาดา้ นการศกึ ษาในมิตติ า่ ง ๆ ระหว่างกัน รายงานผลการดาเนนิ กิจกรรมการจัดงาน “เปิดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสวู่ ันนี้กับเรื่องราว ดี ๆ ที่แบ่งปัน” ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพ่ือให้ผู้อ่านได้ทราบถึงความเป็นมาของการจัดงาน รายละเอียด และข้ันตอนการดาเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรม ตลอดจนผลการดาเนินงานและผลที่ได้รับจากการจัดงาน ดังกล่าว คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายละเอียดและข้อมูลต่าง ๆ ท่ีได้มีการรวบรวมไว้ จะเปน็ ประโยชน์ในแง่ของการวางแผนและการจัดเตรยี มงานวิชาการในระดับพ้ืนท่หี รือระดบั ภาคต่อไป คณะผูจ้ ดั ทำ สำนักงำนศกึ ษำธิกำรภำค 7

สำรบัญ หนำ้ คำนำ 1 1 สำรบญั 2 2 ส่วนท่ี 1 บทนำ 2 1.1 ความเปน็ มา 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 1.3 เปา้ หมาย 3 1.4 กลมุ่ เปา้ หมาย 5 1.5 ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 6 7 สว่ นที่ 2 ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน 2.1 ผูร้ ับผิดชอบโครงการหารือรว่ มกัน 8 2.2 การแต่งตง้ั คณะทางานเพ่อื ดาเนนิ งาน 19 2.3 ประชุมคณะทางานเพอ่ื วางแผนและติดตามผลการดาเนินงาน 23 2.4 การจดั งาน “เปดิ กรุ คุรุสัมมนาคาร จากวนั วานสู่วนั นี้ กับเร่อื งราวดี ๆ ทแ่ี บง่ ปัน” 2.5 จัดทารายงานสรุปผลการดาเนนิ งาน ส่วนท่ี 3 ผลกำรดำเนนิ งำน 3.1 ผลการจัดกจิ กรรม 3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจ 3.3 สรุป

สำรบัญ (ตอ่ ) หน้ำ ภำคผนวก ข ภาพกจิ กรรม จ โครงการ TFE : Teams For Education เพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ฌ โครงการขบั เคล่อื นการพัฒนาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในระดับพ้ืนท่ี ฑ โครงการ Coaching Teams เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ธ คาสง่ั สานักงานศึกษาธิการภาค 7 ที่ 76/2562 ภ ประกาศสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ว รายนามคณะผู้จดั ทา

สว นท่ี 1 บทนํา ๑.1 ความเปน มา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญในการพัฒนาคุณภาพ ผูเรียนและการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู เพ่ือเปนการสรางคุณลักษณะและทักษะที่จําเปน ตอ การเรยี นรูในศตวรรษที่ 21 ใหกบั ผูเรียนเพ่ือเปน การพฒั นาการเรียนรใู หผูเรียนเขา สูสังคมไดอยาง มีคุณภาพ จึงไดมีโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา และโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นท่ีขึ้น พรอมมอบหมาย ใหสํานักงานศึกษาธิการภาค และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดทั่วประเทศเปนศูนยกลางสงเสริม การเรียนรูการพัฒนาและถายทอดองคความรูดานการจัดการเรียนรูเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา เพื่อการพฒั นายกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรทู ี่ย่ังยนื ในอนาคต โดยท้งั สองโครงการ ดังกลาวไดกําหนดใหมีกิจกรรมการคัดเลือกสถานศึกษานํารองท่ีมีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา การจัดการเรียนรูระดับภาค และการคัดเลือกจังหวัดที่นําผลงานหรือนวัตกรรมขยายผลอยางมี ประสิทธิภาพระดับภาค พรอมกับใหมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูเพ่ือเปนการเผยแพรและถายทอด องคความรูใหแก สถานศึกษา หนวยงานทางการศึกษา ตลอดจนประชาชนผูสนใจ ทั้งน้ีในหวงเวลา ดังกลาวไดมีอีกหน่ึงโครงการที่ไดดําเนินการควบคูไปดวย คือ โครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ซ่ึงเปนการพัฒนาแนวทางทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล การบรหิ ารการจดั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานในระดบั ภาคท่ีมคี วามสอดคลองเหมาะสมตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี ในการน้ีสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 จึงไดจัดใหมีกิจกรรมการคัดเลือกและนําเสนอ ผลงานโดยใชช่ือวา “การจัดงาน เปดกรุคุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเรื่องราวดี ๆ ที่แบงปน” ระหวางวันท่ี 6-7 สิงหาคม 2562 ณ สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 โดยมีกิจกรรมประกอบไปดวย การคัดเลือกและนําเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การเสวนาทางวิชาการสําหรับครูและผูบริหาร รวมถึงการออกรานผลิตภัณฑของสถานศึกษาในพื้นท่ีเพ่ือเปนพื้นที่ใหผ ูบริหาร ครู นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผูส นใจไดม ีการแลกเปล่ยี นแนวคิดการพฒั นาดานการศึกษาในมติ ติ าง ๆ 1.๒ วัตถปุ ระสงค 1) เพื่อเปนเวทีในการคัดเลือกและนําเสนอผลงานตามโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ในระดับพ้ืนท่ี และโครงการ Coaching Teams เพ่อื ยกระดบั คุณภาพการศึกษา ๒) เพ่ือเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และตอยอดองคความรูสูครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดนาํ ไปพัฒนาการศกึ ษาในพน้ื ทีจ่ ังหวัดภาคใตช ายแดนตอไป ๓) เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการ รวมถึงผลการดําเนินงานโครงการท่ีสําคัญ ตลอดจน เปนการประชาสมั พันธหนว ยงานใหนักเรียน ครู บคุ ลากรทางการศึกษาและประชาชนในพน้ื ทีจ่ ังหวัด ภาคใตช ายแดนไดร บั รู

2 1.๓ เปา หมาย เชงิ ปริมาณ 1) มีผลการคัดเลือกสถานศึกษานํารองที่มีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา การจัดการเรียนรูระดับภาค ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพ การศึกษา 2) มีผลการคัดเลือกจังหวัดที่นําผลงานหรือนวัตกรรมขยายผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดบั ภาค ตามโครงการขบั เคล่ือนการพฒั นาการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระดับพ้นื ที่ เชิงคุณภาพ หนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาเกิดการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู และถา ยทอดองคความรูระดับภาคและระดับจังหวดั รวมกัน 1.4 กลุมเปาหมาย บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 บุคลากรสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา ผูบริหารหนวยงานและสถานศึกษาในพ้ืนท่ีภาคใตชายแดน ครู นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จาํ นวน 200 คน 1.5 ผลทคี่ าดวา จะไดร ับ 1) มีผลการคัดเลือกและนําเสนอผลงานตามโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี และโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษา เพ่ือรายงานตอ หนว ยงานตน สงั กดั ๒) มีการการแลกเปล่ียนเรียนรู และตอยอดองคความรูสูครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดนําไปพฒั นาการศกึ ษาในพนื้ ทีจ่ ังหวัดภาคใตชายแดนตอไป ๓) มีการเผยแพรผ ลงานทางวิชาการ รวมถงึ ผลการดาํ เนนิ งานโครงการทส่ี าํ คัญ ตลอดจนเปน การประชาสัมพันธหนวยงานใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนในพื้นที่จังหวัด ภาคใตชายแดนไดรบั รู

สวนที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงาน การจัดงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเร่ืองราวดี ๆ ท่ีแบงปน” เปนการบูรณาการ การทํางานรวมกันระหวางสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 และสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่ รับผิดชอบ ภายใต 3 โครงการ คือ โครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ และโครงการ Coaching Teams เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศึกษา โดยมขี ้นั ตอนการดําเนินงาน ดงั นี้ 2.1 ผูรับผิดชอบโครงการหารอื รวมกนั 2.2 การแตงตง้ั คณะทํางานเพ่อื ดําเนินงาน 2.3 ประชมุ คณะทาํ งานเพอื่ วางแผนและติดตามผลการดาํ เนนิ งาน 2.4 การจดั งาน “เปดกรคุ ุรุสัมมนาคาร จากวนั วานสวู นั นี้กบั เรอื่ งราวดี ๆ ทแ่ี บงปน 2.5 จดั ทาํ รายงานสรปุ ผลการดําเนินงาน 2.1 ผรู บั ผิดชอบโครงการหารอื รว มกัน ผูรับผิดชอบและคณะทํางานโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา รวมกันหารือเก่ียวกับกรอบแนวทางการจัดงาน เพ่ือเปนพ้ืนท่ีแสดงผลงานทางวิชาการของสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 และสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ คือ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส สํานักงานศึกษาธิการ จังหวดั ปต ตานีและสํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดยะลา 2.2 การแตงตั้งคณะทํางานเพอื่ ดาํ เนนิ งาน จากการหารือรวมกันของผูรบั ผิดชอบโครงการ TFE : Teams For Education เพอ่ื ยกระดับ คณุ ภาพการศึกษา โครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่ และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เห็นวาควรมีการจัดต้ังคณะทํางานเพื่อรวมกัน ดําเนินการในภาพของสํานักโดยใชงบประมาณจากทั้ง 3 โครงการ ตามหลักเกณฑการเบิกจาย ท่ีแตละโครงการไดกําหนดไว และไดแตงต้ังคณะทํางานจากสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด และหนว ยงานทางการศึกษาในพ้ืนที่เพื่อเปน เครือขา ยและรวมกนั ปฏิบัติงาน ประกอบดว ย 2.2.1 คาํ สง่ั สาํ นักงานศึกษาธิการภาค 7 ที่ 76/2562 เรอื่ ง แตงตง้ั คณะทาํ งานการจัดงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูว ันน้กี ับเรอ่ื งราวดี ๆ ที่แบงปน” ลงวันท่ี 22 กรกฎาคม 2562 ประกอบดว ยคณะทํางาน 17 ฝา ย ไดแ ก 1) ที่ปรึกษาคณะทํางาน มีหนาที่ อํานวยความสะดวก ใหคําปรึกษา แนะนํา สนบั สนนุ การดําเนนิ งาน 2) คณะทํางานฝายอํานวยการ มีหนาท่ี กําหนดแนวทางการดําเนินงาน และแกป ญ หารว มกันกบั คณะทาํ งาน และตดิ ตามความกาวหนา การดําเนินงาน

4 3) คณะทํางานฝายเลขานุการ มีหนาที่ ดําเนินการ ประสานงาน และรายงาน ความกา วหนาการดาํ เนินงานของฝา ยตา ง ๆ ตามภารกิจทีไ่ ดร ับมอบหมาย 4) คณะทํางานฝายจัดเสวนาวิชาการ มีหนาที่ ดําเนินการเกี่ยวกับการนําเสวนา บนเวที การประสานงานกับวิทยากรและผทู รงคณุ วุฒิ และพิธีการบนเวทีทงั้ หมด 5) คณะทาํ งานฝายคัดเลือกและนําเสนอผลงาน มหี นา ที่ ดําเนนิ การคดั เลือกผลงาน ระดับภาค ประกาศผลการตัดสิน อํานวยความสะดวกและประสานงานกับหนวยงาน/สถานศึกษา ในการนําเสนอผลงานบนเวที 6) คณะทํางานฝายจัดนิทรรศการ มีหนาท่ี ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ในการจัดซุมนทิ รรศการ และดูแลความเรยี บรอยในการจัดซมุ นิทรรศการตลอดการจดั งาน 7) คณะทํางานฝายจัดทําเกียรติบัตรและโลรางวัล มีหนาที่ ประสานงานกับ ฝายคัดเลือกและนําเสนอผลงานเพื่อจัดทําเกียรติบัตรและโลรางวัลสําหรับผูชนะเลิศ แขกผูมีเกียรติ ผูมีอุปการคุณ และผูเขารวมงาน ตลอดจนดําเนินการจัดสงเกียรติบัตรและเอกสารท่ีเก่ียวของ ทางไปรษณยี  8) คณะทํางานฝายกิจกรรมมุทิตาจิต มีหนาท่ี วางแผนและดําเนินการจัดกิจกรรม มุทิตาจิต จัดทํากําหนดการ/สูจิบัตร ประสานงานกับประธานในพิธี แขกผูมีเกียรติ ตลอดจน ประสานงานกบั ฝา ยท่เี กี่ยวของในการจดั หาวัสดุ ครุภณั ฑท ต่ี อ งใชในกจิ กรรม 9) คณะทํางานฝายปฏิคม มีหนาที่ จัดทําเอกสารรายงานตัว ดําเนินการ รับลงทะเบียน ประสานงานและตอนรับประธานในพิธี แขกผูมีเกียรติ วิทยากร ผูทรงคุณวุฒิ และผมู ารว มงาน 10) คณะทํางานฝายอาคาร สถานที่และโสตทัศนูปกรณ มีหนาที่ จัดเตรียม หองประชุม จัดหาเต็นท โตะ เกาอ้ี และปรับพื้นที่สําหรับรองรับการจัดงาน จัดทําปายไวนิลสําหรับ ติดเวที ผาประดับ และตนไมสําหรับตกแตงสถานที่ จัดเตรียมเครื่องขยายเสียง ไฟสองสวาง และระบบไฟฟาสํารองกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินไฟฟาดับ ตลอดจนดูแลความเรียบรอยของอาคารสถานที่ ตลอดการจัดงาน 11) คณะทํางานฝายสวัสดิการ อาหาร เครื่องดื่ม มีหนาท่ี จัดหาอาหารกลางวัน อาหารวางและเครื่องด่ืม สําหรับประธานในพิธี แขกผูมีเกียรติ ผูทรงคุณวุฒิ ผูเขารวมงาน และคณะกรรมการจัดงานใหเพียงพอและเหมาะสม 12) คณะทํางานฝายรานคาสวัสดิการ มีหนาท่ี ติดตอประสานกับหนวยงาน/ สถานศึกษาท่ีจะมาตั้งบูทจัดแสดงสินคาหรือผลิตภัณฑในบริเวณพ้ืนที่จัดงาน ตลอดจนอํานวย ความสะดวกใหการจดั รานคา สวัสดิการเปนไปดว ยความเรียบรอย 13) คณะทํางานฝายยานพาหนะ มีหนาที่ จัดหายานพาหนะและพนักงาน ขับรถยนตในการรับ-สงประธานในพิธี แขกผูมีเกียรติ วิทยากร และผูทรงคุณวุฒิ ระหวาง ทา อากาศยาน-ท่ีพกั -สถานทีจ่ ัดงาน ท้ังกอ น หลัง และระหวางการจดั งาน 14) คณะทํางานฝายรักษาความปลอดภัย มีหนาที่ ประสานงานกับเจาหนาท่ี ทเี่ ก่ยี วขอ ง ในการรักษาความปลอดภัยในบรเิ วณพน้ื ทจี่ ดั งาน การจัดพื้นท่ีสําหรบั จอดรถของผูเ ขารวม งานและขาราชการที่มาปฏิบัติงาน ตลอดจนดูแลการจราจรของรถที่เขา-ออก รวมถึงประสานงาน

5 เจาหนาท่ีสาธารณสุขหรือเจาหนาท่ีพยาบาลเพื่อใหการดูแลเบ้ืองตนกรณีเกิดอุบัติเหตุระหวาง การจดั งาน 15) คณะทํางานฝายการเงิน บัญชี และพัสดุ มีหนาท่ี วิเคราะหการใชจาย งบประมาณในการจัดงานใหเปนไปตามระเบียบของกระทรวงการคลัง ดําเนินการเบิก-จายเงิน งบประมาณ จัดหาวัสดุ ครุภัณฑที่จําเปนตองใชในการจัดกิจกรรม ตลอดจนดําเนินการจัดเตรียม เอกสารทเ่ี กย่ี วของกบั การใชจ า ยงบประมาณ 16) คณะทํางานฝายประเมินผลการจัดงาน มีหนาท่ี จัดทํา แจกจาย และจัดเก็บ แบบประเมินผลความพึงพอใจในการเขารวมงาน ตลอดจนรวบรวม วิเคราะห สรุปผล และสงขอมูล ใหผ ูรบั ผดิ ชอบโครงการจดั ทํารายงานผลโครงการตอไป 17) คณะทํางานฝายประชาสัมพันธและบันทึกภาพ มีหนาท่ี จัดทําส่ือ ประชาสมั พนั ธก ารจัดกิจกรรม การบนั ทึกภาพนิ่งและภาพเคล่ือนไหว 2.2.2 ประกาศสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 เร่ือง แตงต้ังคณะทํางานการจัดงาน “เปดกรุ ครุ ุสมั มนาคาร จากวนั วานสวู ันนกี้ บั เรอ่ื งราวดี ๆ ทแ่ี บงปน ” ลงวนั ที่ 1 สิงหาคม 2562 1) ท่ีปรึกษาคณะทํางาน มีหนาที่ อํานวยความสะดวก ใหคําปรึกษา แนะนํา สนับสนุนการดาํ เนนิ งาน 2) คณะทาํ งานฝา ยคดั เลอื ก นาํ เสนอผลงาน และจัดนทิ รรศการ มหี นาที่ ดําเนินการ คัดเลอื กผลงานระดับภาค ประกาศผลการตัดสิน อาํ นวยความสะดวกและประสานงานกับหนวยงาน/ สถานศึกษาในการนําเสนอผลงานบนเวที ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ในการจัดซุมนิทรรศการ และดแู ลความเรียบรอ ยในการจดั ซมุ นทิ รรศการตลอดการจดั งาน 3) คณะทํางานฝายกิจกรรมมุทิตาจิต มีหนาท่ี วางแผนและดําเนินการจัดกิจกรรม มุทิตาจิต จัดทํากําหนดการ/สูจิบัตร ประสานงานกับประธานในพิธี แขกผูมีเกียรติ ตลอดจน ประสานงานกบั ฝา ยที่เก่ยี วขอ งในการจัดหาวสั ดุ ครภุ ณั ฑท ต่ี องใชในกจิ กรรม 2.3 ประชุมคณะทาํ งานเพือ่ วางแผนและตดิ ตามผลการดําเนนิ งาน ไดมีการจัดประชุมคณะทํางานเพ่ือเตรียมการนําเสนอผลงานและจัดนิทรรศการ “เปดกรุ ครุ สุ มั มนาคาร จากวนั วานสวู นั น้กี ับเรื่องราวดี ๆ ท่แี บงปน” จํานวน 4 ครั้ง คอื ครง้ั ท่ี 1 วันพฤหสั บดที ่ี 27 มิถนุ ายน 2562 ณ หอ งประชุมประดูแดง สํานักงานศกึ ษาธกิ าร ภาค 7 อาํ เภอเมอื งยะลา จงั หวัดยะลา มผี เู ขารว มประชมุ จาํ นวน 22 คน เนื้อหาสาระเปนการจัดประชุมเพื่อหารือถึงรูปแบบและแนวทางการจัดงานเพ่ือนําเสนอ ผลงานในระดับภาค โดยเปนการนําเสนอผลงานของสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 และสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดในพื้นท่ีรับผิดชอบ คือ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี และจังหวัดยะลา โดยเนนหลักไปที่ 3 โครงการ คือ โครงการ TFE : Teams For Education โครงการขับเคลื่อน การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ในระดับพื้นที่ และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับ คุณภาพการศึกษา สําหรับ 2 โครงการแรกจะมีการนําเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ และการคัดเลือกผลงานในระดับภาค สวนโครงการ Coaching Teams เปนการนําเสนอผลงาน และการจดั นทิ รรศการเทา นนั้

6 ครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม 2562 ณ หองประชุมประดูแดง สํานักงานศึกษาธิการ ภาค 7 อาํ เภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา มีผเู ขา รวมประชมุ จาํ นวน 20 คน เน้ือหาสาระเปนการประชุมเพื่อติดตามการดําเนินงานตามภารกิจท่ีไดรับมอบหมาย และกําหนดวันเวลาที่แนนอนของการจดั งานคือชวงระหวา งวนั ที่ 6-7 สิงหาคม 2562 ณ สํานักงาน ศึกษาธกิ ารภาค 7 อาํ เภอเมอื งยะลา จังหวัดยะลา คร้ังที่ 3 วันพฤหัสบดีท่ี 11 กรกฎาคม 2562 ณ หองประชุมประดูแดง สํานักงาน ศึกษาธกิ ารภาค 7 อําเภอเมอื งยะลา จงั หวดั ยะลา มีผเู ขา รวมประชมุ จํานวน 26 คน เน้ือหาสาระเปนการประชุมยอยของคณะทํางานฝายคัดเลือกและนําเสนอผลงาน และฝายจัดนิทรรศการ โดยประชุมรวมกับผูรับผิดชอบโครงการ TFE : Teams For Education โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ในระดับพื้นที่ และโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส จังหวัดปตตานี และจังหวดั ยะลา ถึงรายละเอียด แนวทางการดําเนนิ งาน และหลักเกณฑตา ง ๆ คร้ังที่ 4 วันพฤหัสบดีท่ี 1 สิงหาคม 2562 ณ หองประชุมประดูแดง สํานักงานศึกษาธิการ ภาค 7 อาํ เภอเมอื งยะลา จงั หวดั ยะลา มีผเู ขา รวมประชุมจาํ นวน 19 คน เนื้อหาสาระเปน การตดิ ตามความคบื หนาการดาํ เนนิ งานและยืนยันความครบถว นของภารกิจ ทฝี่ า ยตาง ๆ รบั ผดิ ชอบเปน ครง้ั สุดทา ยกอนถึงวันปฏบิ ัตงิ านจรงิ 2.4 การจดั งาน “เปดกรคุ ุรุสัมมนาคาร จากวันวานสวู ันนก้ี บั เรอ่ื งราวดี ๆ ที่แบง ปน ระยะเวลาท่ดี ําเนนิ การ ระหวางวนั ท่ี 6 - 7 สงิ หาคม 2562 สถานที่ สํานกั งานศึกษาธิการภาค 7 อําเภอเมืองยะลา จังหวดั ยะลา กจิ กรรมท่ีดําเนนิ การ ประกอบดว ย 1) กิจกรรมการจัดนิทรรศการของสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 สํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา วทิ ยาลัยเทคโนโลยกี ารเกษตรและประมงปตตานี และ กศน. อําเภอระโนด 2) กจิ กรรมการคัดเลอื กและนาํ เสนอผลงาน 2.1) การคัดเลือกและนําเสนอผลงาน ไดแก การคัดเลือกสถานศึกษา นํารองท่ีมีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรูระดับภาคตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการคัดเลือกจังหวัดท่ีนําผลงานหรือนวัตกรรม ขยายผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดับภาคตามโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ในระดับพ้นื ที่ 2.2) การนําเสนอผลงาน ไดแก การนําเสนอผลงานที่ชนะเลิศการคัดเลือก สถานศึกษานํารองท่ีมีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรูระดับภาค ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการคัดเลือกจังหวัดท่ีนําผลงาน หรือนวัตกรรมขยายผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดับภาค ตามโครงการขับเคล่ือนการพัฒนา การจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นท่ี และการนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ Coaching Teams เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา ของสํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั ทั้ง 3 จังหวัด

7 3) กจิ กรรมการเสวนาทางวิชาการ ประกอบดว ย 3.1) การเสวนาทางวชิ าการ เรื่อง “นวตั กรรมทางการศกึ ษา กบั การพฒั นา เชิงสรางสรรค” มีผูรวมเสวนา ไดแก ดร.มัฮดี แวดราแม ดร.ลัลนลลิต สืบประดิษฐ นายสุเทพ เทงประกิจ ดําเนินรายการโดย นายดนรอหีม สนุ ทรมาลาตี สําหรับกลุมเปาหมายเปนครูในโรงเรียนของรัฐสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ท้ัง 3 จังหวัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสํานักงาน การศกึ ษาเอกชนทงั้ 3 จังหวดั จํานวน 200 คน 3.2) การเสวนาทางวิชาการ เร่ือง “การศึกษาชายแดนใต บริบท บริการ กับการบริหารความทาทาย” มีผูรวมเสวนา ไดแก ดร.วีระกุล อรัณยะนาค นายมาโนช บุญญานุวัตร นายสนั ติ แสงระวี ดาํ เนนิ รายการโดย นายดนรอหีม สนุ ทรมาลาตี และนายราชนั ย สนั ตวิ งศววิ ัฒน สําหรับกลุมเปาหมายเปนผูบริหารโรงเรียนของรัฐสงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาท้ัง 3 จังหวัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสํานักงาน การศึกษาเอกชนท้ัง 3 จังหวดั จํานวน 200 คน 2.5 จดั ทาํ รายงานสรปุ ผลการดําเนนิ งาน การจดั ทํารายงานสรุปผลการดําเนินงาน ประกอบดวย 3 สว น คอื สวนท่ี 1 บทนํา ผูร ับผดิ ชอบ กลุมพัฒนาการศกึ ษา และกลมุ ยทุ ธศาสตรการศึกษา สวนท่ี 2 ข้ันตอนการดําเนินงาน ผรู ับผดิ ชอบ กลุม พัฒนาการศึกษา สวนที่ 3 ผลการดําเนินงาน ผูรับผิดชอบ กลุมพัฒนาการศึกษา กลุมยุทธศาสตรการศึกษา กลมุ ตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล และศูนยพัฒนาอิสลามศกึ ษา

สวนที่ 3 ผลการดาํ เนนิ งาน งาน “เปดกรุคุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเรื่องราวดี ๆ ท่ีแบงปน” จัดขึ้นระหวาง วันท่ี 6-7 สิงหาคม 2562 ณ สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา โดยมี วัตถุประสงคหลัก คือ 1) คัดเลือกและนําเสนอผลงานตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี และโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา เพื่อรายงานตอหนวยงานตนสังกัด 2) ดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรู และตอยอดองคความรูสูครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดนําไป พัฒนาการศึกษาในพื้นที่จังหวัดภาคใตชายแดนตอไป และ 3) เปนการเผยแพรผลงานทางวิชาการ รวมถึงผลการดําเนินงานโครงการที่สําคัญ ตลอดจนเปนการประชาสัมพันธหนวยงานใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดภาคใตชายแดนไดรับรู ซ่ึงดําเนินการภายใต โครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคล่ือน การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ และโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษา โดยผลการดําเนนิ งานสามารถสรุปได ดังน้ี 3.1 ผลการจดั กจิ กรรม 3.1.1 กิจกรรมการคดั เลอื กและนําเสนอผลงาน 3.1.2 กิจกรรมการจดั นิทรรศการ 3.1.3 กิจกรรมการเสวนาทางวชิ าการ 3.2 ผลการประเมินความพงึ พอใจ 3.3 สรุป 3.1 ผลการจดั กิจกรรม 3.1.1 กิจกรรมการคัดเลือกและนําเสนอผลงาน ประกอบไปดวย 1) การคัดเลือกสถานศึกษานํารองท่ีมีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู ระดบั ภาค ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา 1.1) เกณฑก ารคดั เลอื กพจิ ารณา 5 ดา น จํานวน 100 คะแนนเต็ม ประกอบดว ย 1. กระบวนการคัดเลือกสถานศึกษานาํ รอ ง นํ้าหนกั 5 คะแนน 1.1 การแตง ต้ังคณะทาํ งาน 1.2 การวิเคราะหผ ล O-NET 1.3 วิธีการคดั เลอื กโรงเรยี น 1.4 การผา นความเหน็ ชอบของ กศจ. 2. กระบวนการพัฒนารปู แบบ/แนวทาง นาํ้ หนัก 40 คะแนน 2.1 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี 2.2 การศึกษาบริบทและสภาพปจจบุ นั 2.3 มีการพัฒนารปู แบบ/แนวทาง 2.4 การวิพากษรปู แบบ/แนวทาง

9 2.5 มีการปรบั รปู แบบ/แนวทางตามขอเสนอแนะ 2.6 ดําเนินการตามรปู แบบ/แนวทาง 2.7 การผานความเห็นชอบของ กศจ. 3. การนเิ ทศ ติดตาม นา้ํ หนัก 20 คะแนน 3.1 แตง ตัง้ คณะทํางาน 3.2 มีแผนการนเิ ทศ/ปฏทิ นิ การนิเทศ 3.3 มีเครื่องมอื การนเิ ทศ 3.4 ดาํ เนินการนเิ ทศ 3.5 มรี ายงานการนเิ ทศ 3.6 มีการนาํ ผลการนิเทศไปใช 4. ผลทีเ่ กิดขนึ้ และการถอดบทเรียน น้ําหนกั 25 คะแนน 4.1 ผลท่ีเกิดข้ึนกบั นักเรยี น 4.2 ผลที่เกิดข้นึ กบั ครู 4.3 ผลท่ีเกิดข้ึนกบั ผูบ ริหารสถานศึกษา 4.4 มกี ารถอดบทเรียนของแตล ะสถานศึกษา 4.5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรรู ะหวา งสถานศกึ ษา 4.6 ความพงึ พอใจของผทู ่ีเกีย่ วของจากการใชร ูปแบบ/แนวทาง 5. ประโยชนของการดาํ เนนิ งานท่ีสถานศกึ ษาไดรับ นํ้าหนกั 10 คะแนน 1.2) คณะกรรมการตดั สนิ ประกอบดวยผูท รงคณุ วุฒิ จาํ นวน 5 ทาน ไดแก 1. ดร.ลัลนล ลิต สบื ประดิษฐ อาจารย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา 2. ดร.มัฮดี แวดราแม อาจารย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วทิ ยาเขตปตตานี 3. ผศ.ดร.จารวุ ัฒน สองเมือง อาจารย มหาวทิ ยาลัยฟาฏอนี 4. นางสาวรงุ กานต ศิริรัตนเรอื งสขุ รองปลดั องคก ารบริหารสว นจังหวดั ยะลา 5. นายศุภมติ ร ธมั มิกะกลุ ผเู ชย่ี วชาญเฉพาะดานการศกึ ษา สํานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 1.3) ผลการคัดเลือก ชนะเลิศ สาํ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดยะลา รองชนะเลศิ อันดบั 1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธวิ าส รองชนะเลิศอันดับ 2 สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดปต ตานี 2) การคัดเลือกจังหวัดท่ีนําผลงานหรือนวัตกรรมขยายผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดับภาค ตามโครงการขบั เคลือ่ นการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวยั ในระดับพื้นที่ 2.1) เกณฑการคดั เลือกพิจารณา 3 ดา น จํานวน 100 คะแนนเต็ม ประกอบดว ย ดา นท่ี 1 การนํานวตั กรรมขยายผลหรือตอยอดสกู ลุมเปา หมาย นาํ้ หนกั 40 คะแนน 1. มีการจัดทําโครงการ หรือกิจกรรมรองรับการนํานวัตกรรมขยายผล สเู ปา หมาย 2. มแี ผนการดําเนินงานหรือขัน้ ตอน 3. มีการดาํ เนนิ งานตามแผน

10 4. มกี ารติดตาม ประเมินผล 5. มีการสรุปผลการดําเนินงานตามแผน ดานที่ 2 ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมทนี่ ําไปขยายผล น้ําหนกั 40 คะแนน 1. เปนนวตั กรรมทส่ี งเสริมพฒั นาการของเดก็ ปฐมวยั ครบ 4 ดา น 2. เปนนวตั กรรมท่รี ิเริ่ม สรางสรรค นําไปใชไดจ รงิ เชิงประจักษ 3. เปนนวตั กรรมทีม่ ีการเผยแพรอยางหลากหลาย 4. การนาํ เสนอนวตั กรรมในเวทสี ัมมนาทางวิชาการ ดานที่ 3 แผนการพัฒนาและขยายผล นา้ํ หนกั 20 คะแนน 1. มีการกําหนดโครงการหรือกิจกรรม การสงเสริมพัฒนาการ ของเด็กปฐมวยั ทจี่ ะทาํ ตอเน่ือง ในแผนพฒั นาของจงั หวดั 2. มีขอ มูลสนบั สนุนโครงการหรือกจิ กรรมที่จะพัฒนาตอ เน่ือง ในขอ 1 2.2) คณะกรรมการตดั สิน ประกอบดว ยผทู รงคณุ วุฒิ จํานวน 5 ทาน ไดแ ก 1. ผศ.ดร เกศรี ลัดเลีย อาจารย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2. นางจริ าภรณ กอเกยี รติยากลุ นกั วชิ าการอิสระ 3. นางสาวไพเราะ สกนธวฒุ ิ อาจารย โรงเรยี นเทศบาล 4 4. นางโสรยา ชมุ ประเวศ อาจารย โรงเรียนเทศบาล 4 5. ดร.พิชญา ชูเพชร ผูอํานวยการกลุมตรวจราชการ ติดตามและประเมินผล สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 2.3) ผลการคดั เลอื ก ชนะเลศิ สาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวดั ปตตานี รองชนะเลศิ อันดับ 1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวดั ยะลา รองชนะเลศิ อันดบั 2 สาํ นักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนราธวิ าส 3) การนาํ เสนอผลงานทางวชิ าการ - การนําเสนอผลงานท่ีชนะเลิศ การคัดเลือกสถานศึกษานํารองที่มีรูปแบบหรือ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรูระดับภาค ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดย สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา เร่ือง แนวทางการยกระดับ คณุ ภาพการศกึ ษาจงั หวดั ยะลา - การนําเสนอผลงานท่ีชนะเลิศ การคดั เลือกจังหวัดทีน่ ําผลงานหรือนวตั กรรมขยาย ผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดับภาค ตามโครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ในระดับพื้นท่ี โดย สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี เร่ือง การนําผลงาน/นวัตกรรมปฐมวัย ท่ีสงเส ริมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน ของเด็กปฐ มวัยท่ีเปนเลิศ (Best Practice) ขยายผ ล อยางมปี ระสทิ ธิภาพดวยกระบวนการ 3K ของสาํ นกั งานศึกษาธิการจงั หวัดปต ตานี - การนําเสนอผลการดําเนินงานโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพ การศึกษา ไดแก 1) การดําเนินงานโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส 2) การดําเนินงานโครงการ Coaching Teams

11 เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี และ 3) การดําเนินงาน โครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา โดยสาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวดั ยะลา 3.1.2 กจิ กรรมการจดั นทิ รรศการ ประกอบไปดวย 1) นิทรรศการ “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเร่ืองราวดี ๆ ที่แบงปน” นําเสนอประวัติการจัดตั้งสํานักงานศึกษาธิการภาค ๗ ผลการดําเนินงานที่สําคัญในการพัฒนา การศึกษา ผลการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาในพ้ืนท่ีภาคใตชายแดน และเผยแพรผลการดําเนินงาน ทีส่ าํ คัญเพ่ือขยายผลการพัฒนาการศกึ ษาอยางทั่วถึง ๒) นิทรรศการ “ศึกษาวิจัย เรื่อง สภาพปญหาและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตรระดับประถมศึกษาในพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต (ยะลา ปตตานี และ นราธวิ าส)” นําเสนอผลการศึกษาวจิ ัยและนวัตกรรมการแกไขปญหาการสอนคณิตศาสตร โดยการใช กระบวนการทางคณติ ศาสตรแ ละส่ือสรา งสรรค

12 ๓) นิทรรศการ “ครตู นแบบ One Teacher ดานการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยี” นําเสนอ การพัฒนาครูตนแบบ One Teacher, Coding ภาษาแหงอนาคต, Classroom การจัดการ ช้ันเรียน, SHOWROOM หองเรียนออนไลน, IOT บอรดสมองกล, Merge ลูกบาศกมหัศจรรย, Flippity สอ่ื ดี ท่ีเดยี วจบ ๔) นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี นําเสนอ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย ไดนําเสนอรูปแบบการนําผลงานหรือ นวัตกรรมขยายผลอยางมีประสิทธิภาพดวยกระบวนการ ๓ K ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ปตตานี ผลงานวิชาการ “การจัดประสบการณการเรียนรูพยัญชนะไทยดวยวงลอแสนสนุก” ของนักเรียนชั้นอนุบาล ๒ ของโรงเรียนบานตะโละแมะนา ผลงานวิชาการ “การใชหนังสือภาพ คําพ้ืนฐานประกอบคําคลองจอง” เพ่ือพัฒนาทักษะภาษาดานการฟงและการพูดของนักเรียน ช้ันอนุบาล ๑ การใชชุดกิจกรรมศิลปะโดยใชว ัสดใุ นทองถิ่นเพ่ือพัฒนาความคิดสรา งสรรคสําหรบั เดก็ ช้นั อนุบาลปท ี่ ๒ โรงเรียนวัดนาประดู ๕) นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส นําเสนอ นวัตกรรมตนแบบการเรียนรูทักษะอาชีพตลาดสองแผนดินชายแดนไทย-มาเลเซีย โดยนักเรียน โรงเรียนบานมูโนะ การสรางสรรคแรงบันดาลใจสูร้ัว CWN เพื่อตอยอดอาชีพในอนาคต โดยแหลงเรียนรูในชุมชน โดยโรงเรียนเจริญวิทยานุสรณ การจัดการเรียนรูในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา TFE โดยโรงเรียนบานปาลอบาตะ การจัดการเรียนรูแบบมีสวนรวมโดยใชกิจกรรม โครงงานเพ่ือเสริมสรางทักษะการคิดใหกับผูเรียนผานแหลงเรียนรูอุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี โดยโรงเรยี นบาเจาะ ๖) นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา นําเสนอ ผลการดําเนินงานโครงการ TFE การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย เกมการละเลนของเด็กปฐมวัย โครงการ Project Approach “มะเขอื เทศ” ๗) นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของ กศน.อําเภอระโนด นําเสนอ “ระบบการจัดการ ความรูออนไลน” ประกอบดวยโครงสรางระบบการจัดการศึกษาท่ีเหมาะสมในยุคดิจิทัล และการสรางระบบเพ่ือจัดการแหลงเรียนรูเปนสวนประกอบของแหลงเรียนรูที่สรางข้ึน บูรณาการ กับกระบวนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๘) นิทรรศการ “การจัดการเรียนการสอนบูรณาการหลักสูตรปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีประมงปตตานี นําเสนอการจัดการเรียนการสอนบูรณาการ ส่ิงประดิษฐคนรุนใหมเพื่อการอนุรักษพลังงาน Super Parabola Dome นวัตกรรม “คอกไกไข แบบเศรษฐกิจพอเพียง” นวตั กรรม/งานวิจัย ผลติ ภัณฑช าใบขลเู สริมสมุนไพร

13 3.1.3 กจิ กรรมการเสวนาทางวชิ าการ ประกอบไปดว ย 1) การเสวนาทางวชิ าการ เรือ่ ง “นวตั กรรมทางการศกึ ษา กบั การพัฒนาเชงิ สรา งสรรค” ผรู ว มเสวนา ไดแ ก ๑. ดร.มัฮดี แวดราแม อาจารยม หาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร วทิ ยาเขตปต ตานี ๒. ดร.ลัลนล ลิต สบื ประดษิ ฐ อาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 3. นายสุเทพ เทงประกิจ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนบานคลองนํ้าใส สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ผดู าํ เนินรายการ นายดนรอหีม สุนทรมาลาตี ผูเ ขา รว มรับฟงการเสวนาทางวิชาการ กลุมเปาหมายเปนครูในโรงเรียนของรัฐสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ทั้ง 3 จังหวัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน ท้งั 3 จงั หวดั จาํ นวน 200 คน ระยะเวลาและสถานที่ดําเนินการเสวนา ตั้งแตเวลา 09.30 - 11.30 น. ณ หองประชุมขุนศิลป สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 ถนนอาคารสงเคราะห อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ยะลา กาํ หนดการเสวนา ๐๙.๐๐ – ๐๙.๑๕ น. ผเู ขา รวมรับฟง พรอมกันทห่ี องประชมุ ๐๙.๑๕ – ๐๙.๓๐ น. ประธานกลาวตอนรับคณะวทิ ยากรและผูเขารวมรบั ฟง ๐๙.๓๐ – ๑๑.๓๐ น. ดําเนินการเสวนา (พิธีกรประจําเวทีแนะนําผูเขารวมเสวนา พรอมเชิญผูรว มเสวนาและผดู ําเนนิ รายการข้ึนสูเวท)ี ประเด็นคําถามและผลการนําเสนอโดยสรปุ ขอที่ 1 ลักษณะของ “นวัตกรรม”ในรูปแบบใดที่ทานคิดวาจะเหมาะสมกับสภาพ การจดั การศกึ ษาในพน้ื ท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตมากที่สดุ ? - นิยามของคําวานวัตกรรมที่อยากจะนําเสนอใหเขาใจงายคือ เคร่ืองมือ ส่ือ วิธีการ ระบบ หลักสูตร โปรแกรม รูปแบบ หรืออะไรก็ไดทั้งเกาและใหม ที่เพ่ิงจะนํามาใชหรือเคยใชมาแลวในอดีต แตไดรับการปรับปรุงเปล่ียนแปลงใหเหมาะสมกับสภาพปญหาท่ีตองการแกไขปรับปรุงหรือพัฒนา อยากจะบอกวานวัตกรรม และนวัตกรรมอาจเปนสิ่งประดิษฐที่ผูคิดประดิษฐขึ้นมาใหมดวยตนเอง หรือนํานวัตกรรมที่มีผูคิดคนเคยใชมาแลว มาปรับปรุงตอยอดแลวนํามาทดลองแกปญหา ตามท่ผี ูพ ฒั นาตอ งการ - ความเหมาะสมหรอื ไมเ หมาะสมขน้ึ อยูกบั สภาพและความตองการหรือการตอบสนองสภาพ ปญหาท่ีตองการแกไข หากผูคิดคนนวัตกรรมเขาถึงสภาพปญหาและมุงมั่นตั้งใจสรางนวัตกรรม มาเพ่ือแกปญหา นวตั กรรมกจ็ ะเปน นวัตกรรมทเ่ี หมาะสมท่ีสดุ - นวัตกรรมหรือเครื่องมือ ระบบ หลักสูตร วิธีการ ขั้นตอน หรืออะไรก็ไดที่ผูคิดคนคิดขึ้นมา ทุกอยางจะมีความเหมาะสมทั้งหมด สวนจะมากนอยเพียงใดอยูท่ีการถึงปญหาและความมุงม่ันตั้งใจ ของผูคิดคนนวัตกรรม และการนํานวัตกรรมมาใช ส่ิงหนึ่งที่ผูคิดคนนวัตกรรมทางการศึกษา ควรมองคือสภาพจริงทางสังคมของผูเรียน อยามองการศึกษาเพียงแคการจัดการศึกษาในหองเรียน

14 สี่เหลี่ยม เพราะนั่นคือเส้ียวหน่ึงของการจัดการศึกษา หากเรามองการศึกษาแตในหองเรียนเรา ก็จะมีนวัตกรรมมาเพื่อแกปญหาบางสวน ซึ่งเปนสวนยอย ๆ เล็ก ๆ นอย ๆ ใหกับผูเรียนเทานั้น บริบทและสภาพความเปนอยูของผูเรียน ท่ีตองมองคือการเรียนรูเพื่อการดํารงชีวิต การเรียนรู ตลอดชวี ิต โรงเรียนจะตอ งเปนจุดเริ่มตนของการเรยี นรู การออกแบบนวัตกรรมจึงตองมองไปขางหนา ไกล ๆ ก็จะเขาใจการศึกษาทั้งระบบ จุดไหนคือปญหาท่ีเกิดขึ้นมาแลวและกําลังจะเกิด หากเราสามารถเขาถึงจุดนี้ได เราก็จะมองออกวานวัตกรรมแบบไหนที่เราความนาํ มาพฒั นาการศึกษา - วิธีมองวานวัตกรรมท่ีเราคิดคนข้ึนเหมาะสมหรือไมอยางไร มันข้ึนอยูกับตัวจุดประกาย แรงผลกั ดนั สภาพปญหาที่พบและตองการพฒั นาแกป ญหา ผม(ครูสเุ ทพ) มองเห็นวา โรงเรยี นควรจะ เปน เสมือนโรงงานเล็ก ๆ ของหมูบา น ชมุ ชน ทม่ี ีท้ังนกั เรยี น ครู ผปู กครอง และอกี หลายตอหลายคน ที่เขามาเกี่ยวของ มุมมองในลักษณะน้ีทําใหสามารถมองออกวาเราจะพัฒนาการศึกษาเพื่ออนาคต ของเด็ก ๆ กลุมนี้อยางไร ซ่ึงหากเราตองการพัฒนาแกปญหาของนักเรียน เราตองเขาถึงผูปกครอง นกั เรียนจะทําใหเ ราสามารถเขาถึงปญหาไดอยางลกึ ซ้งึ เม่อื เราเขา ใจปญหา เรากจ็ ะสามารถออกแบบ นวัตกรรมมาแกปญหาหรือพัฒนายกระดับการศึกษาไดมากยิ่งขึ้น แตถึงแมนวัตกรรมจะดีทันสมัย อยา งไร หากเราขาดซงึ่ ความตั้งใจ นวัตกรรมนนั้ ก็ไรผล ขอที่ 2 ส่ิงแรกทค่ี รผู สู อนควรนํามาเปน จุดเร่ิมตน ของการคิดคนนวตั กรรมเพ่ือการพัฒนา การศกึ ษาเชิงสรา งสรรค คอื อะไร ? (เนน ท่ีครสู ุเทพ) - จุดแรกท่ีครูควรมอง คือ สภาพและบริบททางสังคมของสถานศึกษา เพราะการศึกษา ไมไดหมายถึงการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนเทาน้ัน แตการศึกษาคือการเรียนรูตลอดชีวิต การเรียนรูในโรงเรียนอาจจะเปนจุดหนึ่งหรือข้ันตอนหนึ่ง สวนหน่ึงของการศึกษา แตอาจจะเปน สวนที่สําคัญท่ีสุด เพราะเปนการจัดการศึกษาตามระบบ แตเวลาเราจะมองเพื่อกําหนดรูปแบบ วิธีการ หรือนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา เราตองเริ่มมองมาจากบริบทหลักของพื้นท่ี ในเขตบันนังสตา และพ้ืนท่ีใกลเคียง หรือพ้ืนท่ีสวนใหญของจังหวัดยะลา ผูคนสวนใหญมีอาชีพ ทําสวนยาง ทําสวน ผลไม นักเรยี นทุกคนจะคุนชนิ กบั การอาชพี เดิมของพอแมกันมาทกุ คน แตรนุ แลว รนุ เลา การประกอบ อาชีพก็ยังเปนอยูในรูปแบบเดิม สิ่งที่เราควรคิดคือการพัฒนาการศึกษาใหกับเด็กใหตระหนักเห็นถึง สิ่งท่ีอยูรอบตัวเรา ซึ่งอาจจะมองเห็นเปนอุปสรรค หรือมองเห็นเปนแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองก็ได การพัฒนาอาจจะออกมาในลักษณะการตอยอด หรือเปล่ียนรูปแบบ หรือพัฒนาตนเองใหกาวขาม สงิ่ ที่เรียกวาปญหาอุปสรรคไปสูวิธีหรือวิถีชีวิตท่ีดีกวา การเริม่ ตน มองในลักษณะน้ีเราจะสามารถจูงใจ ใหผเู รยี นและผูปกครองหรือทุกคนเขามามสี วนรวมได - การมองเพื่อการเริ่มสรางนวัตกรรม คือความเปนไปได ในการแกปญหา ถึงแมนวัตกรรม บางตัวสามารถแกปญหาไดมาแลวในบางพ้ืนที่ สามารถพัฒนาการศึกษาจนสําเร็จมาแลว ในบางโรงเรียน แต สภาพบริบทและปจจัยบางอยางของพ้ืนที่อาจจะเปนตัวแปรสําคัญในการสงเสรมิ หรือขดั ขวางการพฒั นาได สิ่งนค้ี อื สิ่งทค่ี วรมองเปน จุดแรก ถึงบอกวา บรบิ ทและสภาพความตองการ ของแตละพื้นท่ี คือประเด็นสําคัญสูงสุดของการคิดคนและออกแบบนวัตกรรมของครู แตจะอยางไร ก็ตามการศึกษาผลการพัฒนาของผูที่เคยคิดคนนวัตกรรมมาใชและไดผลมาแลว ก็ยังคงเปนส่ิงท่ี ควรแกการพิจารณานํามาเปนตัวอยาง การศึกษาผลงาน ชิ้นงาน ระบบ หลักสูตรวิธีการที่เคยมีคนใช มาแลว เราสามารถนํามาประยุค นํามาปฏิรูป ปฏิวัติใหเขากับบริบทของพ้ืนท่ีของเราได อาจจะเปน

15 ส่ิงท่ีจะจุดประกายใหเรามองเห็นในส่ิงเรายังไมเห็นก็ได แตท่ีอยากจะใหเริ่ม สําหรับคนท่ียังไมเริ่ม คือการมองปญ หาใกลตัวใหอ อกแลว คิดคนวิธแี กปญหาใหได แลว คอ ยเร่ิมขยายวงกวา งออกไป ขอที่ 3 นวัตกรรมซึ่งเปนผลงานทางวิชาการของครูผูสอนในพื้นที่ ท่ีทําเปนวิทยฐานะไว ทานคิดวามนั ตอบโจทยบรบิ ทหรอื สภาพปญหาทางการศึกษาในพื้นที่หรือยงั เพราะอะไร ? - คาํ ถามขอน้ี (วทิ ยากรท้ังสามทานบอกวาไมอยากจะตอบใหตรง ๆ มากนัก แตอ ยากมองใน แงดี) วาสวนหนึ่งสามารถแกปญหาได และแกไดดีดวย โดยเฉพาะอยางย่ิงการอานออกเขียนได ซึ่งเปนหัวขอยอดนิยมของการจัดทําผลงานทางวิชาการ แตที่ยังไมออกมาเปนผลงานทางวิชาการ เปนตัวเปนตน เราก็พบเห็นอยูมากมาย ไมไดเปนการทําผลงานพัฒนาเปนวิทยฐานะ แตเปนการ คิดคน วธิ กี ารออกมาเพื่อแกปญหาจรงิ ใหก ับนกั เรียน ครหู ลายทานสามารถคิดคน วิธีการ ไมวาจะเปน ส่ือ เกม กิจกรรมออกมาตามสภาพปญหาที่ตนเองพบ สวนผลงานทางวิชาการหากไมหยุดอยูแคเปน ผลงานทางวิชาการ แตนาํ เอาส่อื นวัตกรรมไปใชตอ ไปใชจ รงิ การพัฒนาก็จะไมหยดุ นิ่ง ผลก็จะปรากฏ อยางนอยชวยกระตุนใหครูพัฒนาผลงานเปนของตนเอง วันน้ีอาจจะไมไดใช ในวันขางหนาอาจมีใคร สกั คนหน่ึงนาํ ไปพัฒนาตอ - จากการตรวจผลงานทางวิชาการ หรือจากการอานผลงานทางวิชาการของครู หลายตอ หลายผลงาน พบวา การแกป ญ หายงั ไปกระจุกอยูกบั บางเร่ือง อยา งเชนการอานไมออกเขียน ไมได มาตราตัวสะกด แตนั่นไมไดหมายความวาจะไมดี อาจจะเปนเพราะวาพื้นท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใต มีพ้ืนเพภาษาท่ีตางไปจากท่ีอ่ืน การเร่ิมพัฒนาสวนนี้ใหดีกอนท่ีจะไปพัฒนาเร่ืองอื่น ๆ นาจะ เปนการแกปญหาเพ่ือหาทางตอยอด แตสิ่งที่อยากจะใหคุณครูทุกคนคิดตอก็คือการพัฒนา ท่ีหลากหลายสามารถตอยอดได แกปญหาไดอยางตอเนื่อง ตีปญหาท่ีตนเองอยากแกอยากพัฒนา ใหไ ด กอนทจี่ ะเรม่ิ ตน การออกแบบนวัตกรรม - จากการอานผลงานทางวิชาการท่ีผานมา พบวานวัตกรรมหรือผลงานทางวิชาการในพื้นที่ เนนการสรางผลงานใหเปนรูปเลมมากกวาที่จะไปแกปญหาจริง แตนั่นไมไดหมายความวา นวัตกรรม ท่ีเปนผลงานทางวิชาการน้ันแกปญหาไมได แตในทางตรงกันขาม หากนําไปใชจริงอยางตอเนื่อง และพัฒนาตอผลงานเหลา นีค้ งมีประโยชนมาก คําถามขอ 4 นวัตกรรมที่ทานอยากใหมี อยากใหคุณครูไปคิดและสรางออกมาใหได คือ นวตั กรรมรูปแบบใด ? - นวตั กรรม อยางทีน่ าํ เรียนมาแลว ขางตนวา ส่งิ นัน้ อาจจะเปนสิ่งทปี่ ระดิษฐคิดคนข้ึนมาใหม หรือเปนเร่ืองเกาแตสามารถนํามาปรับปรุงใหมใหเขากับสภาพปญหา แตสิ่งที่อยากจะใหเกิดขึ้นคือ นวัตกรรมที่สามารถนําเทคโนโลยีเขามาใชเพราะปจจุบันสื่อ ICT ไดเขามามีบทบาทมากและเขามา เปนเลือดเปนเนื้อของทุกคนไปแลวท้ังหมด หากนวัตกรรมท่ีสามารถดึงเอา ICT มาใชได ก็จะทําให นักเรียนพัฒนาตนเองได สามารถนําพวกเขาไปสูแหลงเรียนรูแหลงใหญได ก็จะเปนการพัฒนา ดาน ICT ไปในตัว - เทคโนโลยีชาวบาน การนําสงิ่ ประดิษฐใ นพน้ื ท่ี การใชแหลงเรียนรชู มุ ชนใหเขามามสี ว นรวม ในการพัฒนาการจัดการศึกษาที่เหมาะสม ใชวิธีคิดแบบนําเรื่องใกลตวั มาเปนนวัตกรรมในการพฒั นา โดยใชฐานเดิมวา การศึกษาไมไดหมายถึงการพัฒนาแตเฉพาะในโรงเรียน แตหมายถึงการศึกษา เพ่ือชีวิต ซึ่งก็มีตัวอยางใหเห็นอยูมากมาย บางคร้ังเราเอาความล้ําสมัยไปใชกับโรงเรียนชายขอบ

16 โรงเรียนบาน ๆ จะกลายเปนการลงทุนท่ีไมเหมาะสม ตองตระหนักวาโรงเรียนบางพ้ืนท่ีในบานเรา อินเตอรเน็ตยังไปไมถึง เคร่ืองคอมพิวเตอรยังมีใชตามท่ีมี การพัฒนานวัตกรรมจึงควรมองสภาพจริง ของพ้ืนที่ อะไรก็ไดท่ีมันสามารถพัฒนาการศึกษาใหเด็ก ๆ ไดในวิถีชีวิตของเขา น่ันคือสิ่งท่ี อยากจะใหเกิด - นวัตกรรมที่แกปญหาไดจริง สอดคลองกับความตองการของพ้ืนท่ี ทําใหนักเรียนสามารถ เรียนรูอยางมีความสุข สนุกกับการเรียน การทํากิจกรรม หากครูตองการไดคําตอบวานวัตกรรม ประเภทใด รูปแบบใดท่ีเราควรสรางครูตองยอนไปดูปจจัยหลาย ๆ ดานของนักเรียน ความตองการ อุปสรรค ปญหา ขอจํากัด แลวนําส่ิงน้ีมาประมวล แลวเราจะไดคําตอบวา นวัตกรรมลักษณะไหน ท่เี ราควรมี ควรสรา งมาเพื่อการสรา งสรรคท แี่ ทจริง คําถามจากหนาเวทแี ละผเู ขารว มรบั ฟง การเสวนา - ไมมี (อาจารยไซหนับ เอส เอ ถามแทนจากการประมวลและรับฟงมาจากคําถามที่ไมเปน ทางการ) - สําหรับคนท่ีทําผลงานทางวิชาการแบบไมตรงเอก เชน สอนภาษาอังกฤษแตไปทํา นวัตกรรมแกป ญหาภาษาไทย หรอื คณติ ศาสตร เปนตน ? ไดหรือไมอ ยางไร ? วิทยากรไดชี้แจงเก่ียวกับแนวทางและเกณฑท่ีกําหนด เกี่ยวกับการทําผลงานทางวิชาการ และแนะนําวา การออกแบบนวัตกรรม การสรางผลงานทางวิชาการหากมั่นใจวานวัตกรรมน้ันคือ แนวทางการแกปญหาและสามารถพัฒนาตอยอดได ก็สามารถเร่ิมจากจุดไหนก็ได เพราะเปาหมาย หลกั คือการแกปญหาและพฒั นาการศึกษาไปสูการสรางสรรค 2) การเสวนาทางวิชาการ เร่ือง “การศึกษาชายแดนใต บริบท บริการกับการบริหาร ความทา ทาย” ผูรวมเสวนา ไดแก ๑. ดร.วรี ะกลุ อรณั ยะนาค หวั หนา ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒. นายมาโนช บญุ ญานุวัตร นกั วชิ าการอาวุโส ๓. นายสันติ แสงระวี ศกึ ษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธกิ ารภาค ๗ ผูดําเนินรายการ นายดนรอหมี สุนทรมาลาตี และนายราชนั ย สันติวงศว วิ ฒั น ผเู ขารว มรบั ฟงการเสวนาทางวิชาการ กลุมเปาหมายเปนผูบริหารโรงเรียนของรัฐสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ท้ัง 3 จังหวัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน ท้ัง 3 จังหวัด จาํ นวน 200 คน ระยะเวลาและสถานท่ีดําเนนิ การเสวนา ต้ังแตเวลา 09.30 -11.30 น. ณ หองประชุมขุนศิลป สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 ถนนอาคารสงเคราะห อาํ เภอเมอื ง จังหวดั ยะลา กาํ หนดการเสวนา ๑๓.๓๐ – ๑๓.๔๕ น. ผปู ระชมุ รับฟง การเสวนาพรอม ณ หอ งประชมุ ๑๓.๔๕ – ๑๔.๔๕ น. ประธาน (ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) กลาวตอ นรับและบรรยายพเิ ศษ ๑๔.๔๕ – ๑๖.๓๐ น. เริม่ ดําเนนิ การเสวนา

17 ประเดน็ คาํ ถามและผลการนําเสนอโดยสรุป ขอท่ี 1 บริบททางการศึกษาในพื้นที่ที่ทานเห็นวามันคือความตาง เอกลักษณ จุดเดน ขอจาํ กดั ของพนื้ ท่ีน้ีคอื อะไร ? - การจัดการศึกษาในอดีตของจังหวัดชายแดนภาคใต สิ่งที่เรียกไดวาเปนขอจํากัด จนเปน อุปสรรคก็มีอยูหลายประการ เชน ความเปนคนไทยที่ใชภาษามลายูส่ือสารในชีวิตประจําวัน มีคนที่ พูดภาษาไทยไดนอย จนกลายมาเปนโจทยที่ตองหาทางแกปญหากันในเวลาตอมา และท่ีสําคัญ บางพืน้ ทีย่ งั มีความเขา ใจคลาดเคลอ่ื นวา การเรยี นสามัญเปนบาป ซึง่ เปน ความเขา ใจท่ไี มถูกตอ งเขามา - คนในพ้ืนท่ีในยุคน้ันสมัยน้ันเปนคนที่พรอมท่ีจะศึกษาเลาเรียน จะเห็นไดจาก สถาบันการศึกษาทางศาสนามีมากมาย ถึงขนาดมีคนนอกพื้นท่ีเขามาเรียนรูศาสนาเปนจํานวนมาก นนั่ กแ็ สดงใหเ หน็ วา ตนทนุ เดมิ ของภูมิภาคน้ี ผูคนรักการศึกษาและการเรยี นรู - หากจะมองวาการท่ีคนในพื้นท่ีใชภาษามลายูเปนภาษาเพ่ือการส่ือสารในชีวิตประจําวัน เปนอุปสรรคหรือเปนขอจํากัดของการจัดการศึกษาก็ไมคอยจะถูกตองนัก เน่ืองจากในแตละพื้นที่ ก็จะมีภาษาของตนเอง ไมวาจะเปนชาวเขาเผาตาง ๆ ก็มีภาษาเปนของตนเองอยู การที่จะจัด การศึกษาใหกับพวกเขา เพ่ือใหพวกเขาสามารถใชภาษาไทยได จึงไมใชอุปสรรคหรือขอจํากัด มเี พียงแตวา เรามีแรงจูงใจอะไรใหเขาอยากเรยี นรูเทาน้ัน - คนท่ีมีพ้ืนฐานทางภาษาเปนภาษามลายู สามารถพัฒนาไปสูการเรียนรูภาษาตางประเทศ ไดดีกวา ไมวาจะเปนภาษาอาหรับ ภาษาอังกฤษ หรือภาษาอื่น ๆ ซึ่งจะสังเกตไดจากนักเรียนในพ้นื ที่ จังหวัดชายแดนภาคใตในปจจุบันท่ีสามารถพูดส่ือสารภาษาอังกฤษไดดีกวาคนไทยที่ใชภาษาไทย เพื่อการสือ่ สารในชวี ติ ประจาํ วนั มาก - เห็นดวยกับบริบทของพ้ืนท่ี ที่หลายคนมองวาเปนแหลงเรียนรูโดยเฉพาะวิชาศาสนา มีตําหรับตํารามากมาย จนมีผูคนจากหลากหลายพื้นที่เดินทางเขามาเรียนศาสนาในพ้ืนท่ีน้ี บริบทหลักท่ีเราควรมองคือ รูปแบบการจัดการศึกษาที่สอดคลองกับความตองการของคนในพื้นที่ สอดคลองกับหลกั ความเชื่อ สอดคลองกับวิถชี วี ิต สว นขอจํากัดตา ง ๆ เราสามารถมองใหเปนอุปกรณ ได ส่ิงที่เปนอุปสรรคจะชวยใหเราคิดคนหาแนวทางในการออกแบบการศึกษา จนสามารถพัฒนา การศึกษามาได สามารถกาวผานอุปสรรคและขอจํากัดเหลานั้นมาได ดังท่ีปรากฏใหเห็นการพัฒนา ที่ยกระดับข้ึนมาเรื่อย ๆ จนถึงปจจุบัน จากท่ีไมมี เปนมี จากมีเปนมีคุณภาพ จนกลายเปนมีคุณภาพ จนเปน ตวั อยางใหก ับใครตอ ใครได ขอที่ 2 บริการทางการศึกษาท่ีหนวยงานทางการศึกษาควรจัดใหมีเพื่อตอบสนองบริบท ที่สําคัญท่ีสดุ คืออะไร การจัดการศกึ ษาแบบไหน ? ขอที่ 3 ความทาทายที่ทานคิดวา ผูบริหารควรมองในสภาพปจจุบันคืออะไร ? และเพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปตามบริบทสอดคลองกับความตองการของพื้นท่ีและสภาพ ปญ หาทานคดิ วาผูบริหารควรจัดการแบบไหนอยา งไร ? (ขอ 2 กับ ขอ 3 ผนวกรวมกนั เพ่ือใหเ หมาะสมกบั เวลาในชวงบาย) - การจัดการศึกษาอิสลามศึกษาซึ่งสอดคลองกับความตองการของผูคนในพื้นท่ี ซึ่งสวนใหญ นับถอื ศาสนาอิสลาม คือการศึกษาทีค่ นในพน้ื ที่ตองการใหเกิด การกําหนดกรอบใหเนนเร่ืองคุณธรรม จรยิ ธรรมไปพรอม ๆ กับการศึกษาทว่ั ไป

18 - การสรางงานสรางอาชีพสงเสริมใหรูจักใชทรัพยากรในพื้นที่ พัฒนาทรัพยากรในพื้นที่ ใหม ีมลู คา เพม่ิ คือการศกึ ษาท่นี าจะสง เสรมิ - ในปจ จุบันวทิ ยาการท่ีมีการนําเอา ICT เขามาเปน สวนหนึ่งของชีวติ ประจําวัน เปน ความทาทาย สําหรับนักจัดการศึกษา เพราะตอไปในโรงงานอุตสาหกรรมจะมีการนําหุนยนตเขามาแทนที่แรงงาน ของมนุษย ซ่ึงเปนความทาทายท่ีจะตองนําพาเยาวชนใหสามารถกาวทันเทคโนโลยีเหลาน้ีได คือสุดยอดของการจัดการศึกษา ใหพวกเขาไดมีความพรอมที่จะกาวไปพรอม ๆ กับเทคโนโลยีที่ไดรับ การพฒั นาอยูอยางตอ เน่ือง - จัดการศึกษาใหเยาวชนไดกาวเขาถึงแหลงเรียนรู ดวยตัวของพวกเขาเอง ใหรูจักการใช ประโยชนจากแหลงเรียนรู ท้ังแหลงเรียนรูท่ีเปนธรรมชาติและแหลงเรียนรูท่ีมี ICT เปนตัวเช่ือม คนท่ีมีความพรอมเทาน้ันท่ีจะไดรับประโยชนจากแหลงเรียนรูขนาดใหญที่มีอยูในโลกออนไลน ส่ือโซเชี่ยล - จัดการศกึ ษาใหท กุ คนตระหนกั ถึงความเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก - สรางโอกาสใหกับเยาวชนในพ้ืนท่ีในการกาวสูการศึกษาโดยเฉพาะสายอาชีพที่สอดคลอง กบั สภาพความตองการของคนในพื้นท่ี ใหไ ดมากที่สุด เพ่อื ใหพ วกเขาไดเ รียนในสิ่งท่ีเขาอยากจะเรียน การแนะแนวทางการศกึ ษาจะตอ งพฒั นาใหส อดคลองกบั กาลเวลาทีพ่ ัฒนาเปลย่ี นไป - ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่แสดงออกมาผานการสอบตาง ๆ ทุกระดับอาจจะไมใชตัวชี้วัด ความสําเรจ็ ทางการศึกษาท่ีแทจริง เน่อื งจากบริบทของพื้นท่ีนี้อาจจะแตกตางไปจากพ้ืนที่อื่น แตส ิ่งท่ี จะสะทอนออกมาใหเห็นเปนขอสรุปก็คือความแตกตางทางการศึกษาของแตละพื้นที่ของประเทศ ที่จะตองปรับเปลยี่ นไปตามบริบทของแตล ะภมู ิภาค - พัฒนาการทางการศึกษาที่เปนความภาคภูมิใจของคนในพ้ืนท่ีท่ีแทจริง คือ การที่มี นกั วิชาการ บุคลากรซึ่งเปนคนในพ้ืนท่ีมากมายในปจจุบัน ในทกุ สายสาขาอาชีพ มีนกั การเมืองซ่ึงเปน คนในพื้นท่ีตั้งแตระดับทองถิ่น ไปจนถึงระดับประเทศ คนในพ้ืนท่ีสามารถพัฒนาตนเองไปจนไดเปน ประธานรัฐสภา เปนรัฐมนตรี เปนนักการศึกษาระดับสูง เปนนักกีฬา น่ีคือผลการพัฒนาการศึกษา ท่นี าภาคภูมใิ จ ควรหยิบยกมาเปนตัวอยางเพ่ือสรางแรงจูงใจใหกับเยาวชนคนรนุ หลงั - ส่ิงท่ีผูบริหารทุกระดับตองนําไปคิดตอ คือ ทําอยางไร จึงจะสามารถจัดการศึกษา แบบเสียบหนอตอยอด เพ่ือการนําพาเยาวชนไปสูอนาคตใหได เพื่อใหเยาวชนสามารถกาวทันยุค ทันกาลเวลารเู ทา ทนั สงั คมแหงการเรยี นรแู ละการพฒั นาทก่ี ําลงั เดนิ เขามาหาสงั คมนไี้ ด ผลทไี่ ดร ับ 1. มีผลการคัดเลือกและนําเสนอผลงานตามโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่อื รายงานตอ หนว ยงานตน สงั กดั ๒. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู และตอยอดองคความรูสูครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดนาํ ไปพัฒนาการศกึ ษาในพืน้ ที่จงั หวดั ภาคใตช ายแดนตอไป ๓. มกี ารเผยแพรผลงานทางวิชาการ รวมถงึ ผลการดําเนินงานโครงการทสี่ ําคัญ ตลอดจนเปน การประชาสัมพันธหนวยงานใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัด ภาคใตชายแดนไดร ับรู

19 3.2 ผลการประเมินความพงึ พอใจ การประเมินผลการจัดงาน “เปดกรุคุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเร่ืองราวดี ๆ ทีแ่ บงปน ” สามารถสรปุ รายงานผลการประเมนิ ความพงึ พอใจ ไดด งั นี้ 1) ขอ มูลทั่วไปของผูเ ขา รบั การอบรม 2) ผลการประเมินความพงึ พอใจการใหบ ริการดานตาง ๆ 3) ปญ หาและขอเสนอแนะ สญั ลกั ษณและอักษรยอที่ใชใ นการสื่อความหมายในการประเมนิ ไดแก X หมายถึง คา เฉล่ีย (Mean) S.D. หมายถงึ คาเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) N หมายถึง จาํ นวนผูเ ขารบั การอบรม ใชเกณฑของ Best 1997 สําหรับการแปลผลคะแนนเฉล่ียใชตามเกณฑของเบส (Best, 1977 : 1745) ใชส ตู รการหาคา ชว งคะแนน = คะแนนสูงสุด – คะแนนตํ่าสดุ จํานวนระดบั = 5-1 5 ดังนั้น ชวงคะแนน = 0.8 โดยแบง เปนชวงคะแนนดังนี้ มคี วามพึงพอใจอยูในระดับนอ ยทีส่ ดุ 1.00 – 1.80 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยูในระดับนอย 1.81 – 2.60 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดับปานกลาง 2.61 – 3.40 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยูใ นระดบั มาก 3.41 – 4.20 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู นระดับมากที่สุด 4.21 – 5.00 หมายถงึ ผลการวเิ คราะหขอมลู 1) ขอ มูลท่วั ไปของผรู ับบรกิ าร จากการเก็บรวบรวมขอมูลของผูเขารวมงาน “เปดกรุคุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ี กับเรื่องราวดี ๆ ท่ีแบงปน” ซึ่งมีผูตอบแบบประเมิน จํานวน 100 ราย มีรายละเอียดขอมูลเบือ้ งตน ของผเู ขารว มงานตามตารางที่ 1 - 5 ดังน้ี

20 ตารางท่ี 1 แสดงคาความถ่ี/รอยละ (Frequency/Percentage) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามเพศ เพศ จํานวน รอยละ ชาย 21 21.00 หญิง 79 79.00 รวม 100 100.00 จากตารางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถามเปนเพศชาย จาํ นวน 21 คน คดิ เปน รอ ยละ 21.00 และเพศหญิง จาํ นวน 79 คน คดิ เปน รอ ยละ 79.00 ตารางท่ี 2 แสดงคาความถ่ี/รอยละ (Frequency/Percentage) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามชว งอายุ ชว งอายุ จาํ นวน รอ ยละ ไมเกนิ 30 ป 42 42.00 31 – 40 ป 36 36.00 41 – 50 ป 15 15.00 51 – 60 ป 7 7.00 100 100.00 รวม จากตารางที่ 2 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญมีอายุไมเกิน 30 ป จํานวน 42 คน คิดเปน รอ ยละ 42.00 รองลงมามีอายุระหวาง 31 – 40 ป จาํ นวน 36 คน คิดเปน รอยละ 36.00 ตารางที่ 3 แสดงคาความถี่/รอยละ (Frequency/Percentage) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามระดับการศกึ ษา ระดับการศกึ ษา จาํ นวน รอยละ ต่าํ กวาปริญญาตรี 4 4.00 78 78.00 ปรญิ ญาตรี 18 18.00 ปรญิ ญาโท 100 100.00 รวม จากตารางท่ี 3 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จํานวน 78 คน คิดเปนรอยละ 78.00 รองลงมาสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จํานวน 18 คน คิดเปน รอยละ 18.00

21 ตารางที่ 4 แสดงคาความถี่/รอยละ (Frequency/Percentage) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ตําแหนง จํานวน รอยละ ศธภ. 1 1.00 ศธจ. 1 1.00 สพป. 14 14.00 สพม. 3 3.00 สอศ. 1 1.00 สช. 21 21.00 กศน. 25 25.00 อ่นื ๆ 34 34.00 รวม 100 100.00 จากตารางที่ 4 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญสังกัดอื่น ๆ (มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา และมหาวิทยาลัยฟาฏอนี) จํานวน 34 คน คิดเปนรอยละ 34.00 รองลงมาสังกัด กศน. จํานวน 25 คน คิดเปน รอยละ 25.00 ตารางที่ 5 แสดงคาความถี่/รอยละ (Frequency/Percentage) สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม จาํ แนกตามประเภทผรู บั บรกิ าร ตาํ แหนง จํานวน รอยละ ผบู ริหารสถานศึกษา 6 6.00 ผูบรหิ ารการศกึ ษา 0 0.00 ขา ราชการพลเรือน 2 2.00 คร/ู บุคลากรทางการศึกษา 59 59.00 นกั เรยี น/นักศึกษา 33 33.00 100 100.00 รวม จากตารางท่ี 5 พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนครู/บุคลากรทางการศึกษา จํานวน 59 คน คิดเปนรอยละ 59.00 รองลงมาเปนนักเรียน/นักศึกษา จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 33.00 2) ผลการประเมินความพึงพอใจการใหบริการดา นตาง ๆ จากการสอบถามความพึงพอใจของผูเขารวมงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันนี้ กับเร่ืองราวดี ๆ ท่ีแบงปน” ซึ่งมีผูตอบแบบประเมิน จํานวน 100 ราย ไดใหความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความพึงพอใจการใหบรกิ ารดา นตา ง ๆ ตามตางรางที่ 6-8 ดังน้ี

22 ตารางที่ 6 แสดงคา เฉลีย่ คา เบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจการใหบ ริการดา นตาง ๆ รายการ X S.D. แปลผล 1. การติดตอ ประสานงานกบั หนวยงานทเ่ี กยี่ วของ 3.94 0.547 มาก 2. การประชาสมั พนั ธกิจกรรม/โครงการ 3.96 0.618 มาก 3. รูปแบบการจดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.26 0.579 มากทส่ี ดุ 4. สิง่ อํานวยความสะดวกมีความเหมาะสม 4.32 0.634 มากทีส่ ุด 5. ระยะเวลาทใี่ ชใ นการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.28 0.637 มากทสี่ ุด 6. สถานทจ่ี ัดงานมคี วามเหมาะสม 4.31 0.615 มากทีส่ ดุ รวม 4.18 0.605 มาก จากตารางที่ 6 พบวา ความพึงพอใจการใหบริการดานตาง ๆ โดยภาพรวมทั้ง 6 ขอ อยูในระดับมาก ( X = 4.18) เม่ือพิจารณาเปนรายขอเรียงลําดับจากมากไปหานอย 3 อันดับแรก พบวา ประเด็นส่ิงอํานวยความสะดวกมีความเหมาะสมมีผลการประเมินสูงสุด อยูในระดับมากที่สุด ( X = 4.32) รองลงมาสถานที่จัดงานมีความเหมาะสมอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.31) โดยท่ี การติดตอประสานงานกบั หนวยงานทเ่ี กี่ยวของมรี ะดบั คะแนนนอยทีส่ ดุ อยูในระดบั มาก ( X = 3.94) ตารางที่ 7 แสดงคาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจผลที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรม/ โครงการ รายการ X S.D. แปลผล 1. ความรู ความคิด 4.48 0.522 มากทสี่ ดุ 2. จติ สํานัก ทศั นคติ ความตระหนัก 4.32 0.601 มากที่สดุ 3. ทักษะในการปฏบิ ัติ 4.32 0.601 มากท่ีสดุ 4. สอื่ นวตั กรรม 4.48 0.643 มากที่สดุ 5. การมสี ว นรวมในการทาํ งานเปนทมี 4.28 0.712 มากท่สี ดุ 6. ความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความบนั เทงิ 4.28 0.792 มากที่สดุ รวม 4.36 0.645 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 7 พบวา ความพึงพอใจผลที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรม/โครงการ โดยภาพรวมทั้ง 6 ขอ อยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.36) เมื่อพิจารณาเปนรายขอเรียงลําดับจาก มากไปหานอย 3 อันดับแรก พบวา ประเด็นความรู ความคิด และการใหค ําอธบิ ายและส่อื นวัตกรรม มีผลการประเมินสูงสุด อยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.48) รองลงมา จิตสํานึก ทัศนคติ ความตระหนัก และทักษะในการปฏิบัติอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.32) โดยที่การมีสวนรวม

23 ในการทํางานเปนทีม และความสนุกสนานเพลิดเพลินความบันเทิง มีระดับคะแนนนอยที่สุด อยใู นระดบั มากท่ีสุด ( X = 4.28) ตารางท่ี 8 แสดงคา เฉลยี่ คาเบยี่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจโดยรวมในการเขารว มงานคร้ังน้ี รายการ X S.D. แปลผล ความพงึ พอใจโดยรวมในการเขา รวมงานครั้งน้ี 4.49 0.577 มากที่สุด รวม 4.49 0.577 มากทส่ี ดุ จากตารางท่ี 8 พบวา ความพึงพอใจความพงึ พอใจโดยรวมในการเขา รวมงานคร้งั น้ี มีผลการประเมินอยใู นระดับมากท่สี ุด ( X = 4.49) 3) ปญหาและขอเสนอแนะ 3.1 สถานท่ีคบั แคบ ควรจัดหาสถานทใ่ี หกวางข้นึ 3.2 การประชาสมั พันธยังไมครอบคลุมมากเทา ท่ีควร ควรมกี ารประชาสมั พนั ธท่ีหลากหลาย ชอ งทาง 3.3 ไมคใ นหอ งประชมุ เสยี งไมค อยชัด 3.3 สรปุ การจัดงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันนี้กับเรื่องราวดี ๆ ท่ีแบงปน” ระหวาง วันท่ี 6 – 7 สิงหาคม 2562 ณ สํานักงานศึกษาธิการภาค 7 อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา เปนการจัดกิจกรรมภายใตโครงการในความรับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 จํานวน 3 โครงการ คือ โครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาการจดั การศึกษาปฐมวัยในระดับพืน้ ที่ และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีวัตถุประสงคหลักเพ่ือ 1) คัดเลือกและนําเสนอผลงาน ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โครงการขบั เคลื่อนการ พัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดบั พื้นที่ และโครงการ Coaching Teams เพือ่ ยกระดับคุณภาพ การศึกษา เพ่ือรายงานตอหนวยงานตนสังกัด 2) ดําเนินการแลกเปลี่ยนเรียนรูและตอยอด องคความตอสูครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดนําไปพัฒนาการศึกษาในพื้นทจี่ ังหวัดภายใตชายแดน ตอไป และ 3) เปนการเผยแพรผลงานทางวิชาการ รวมถึงผลการดําเนินงานโครงการที่สําคัญ ตลอดจนเปนการประชาสัมพันธหนวยงานใหนักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษาและประชาชน ในพน้ื ทีจ่ งั หวดั ภาคใตชายแดนไดร บั รู กิจกรรมภายในงานประกอบไปดวย 3 สวน คือ กิจกรรมการคัดเลือกและนําเสนอผลงาน กจิ กรรมการจัดนทิ รรศการ และกจิ กรรมการเสวนาทางวชิ าการ สามารถสรปุ ไดดงั นี้ กิจกรรมการคัดเลือกและนําเสนอผลงาน ประกอบไปดวย 1) การคัดเลือกสถานศึกษา นํารองท่ีมีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู ระดับภาค ตามโครงการ TFE : Teams For Education เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยปรากฏผลการคัดเลือก รางวัลชนะเลิศ ไดแก

24 สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดยะลา รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 1 สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดนราธิวาส และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี 2) การคัดเลือกจังหวัด ที่นําผลงานหรือนวัตกรรมขยายผลอยางมีประสิทธิภาพ ระดับภาค ตามโครงการขับเคลื่อน การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนที่ โดยปรากฏผลการคัดเลือก รางวัลชนะเลิศ ไดแก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส โดยผูชนะเลิศ จากทั้ง 2 รายการจะไดนําเสนอผลงานบนเวที และพรอมกันนี้ มีการนําเสนอผลการดําเนินงาน โครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดนราธิวาส จงั หวดั ปต ตานี และจงั หวัดยะลา กิจกรรมการจัดนิทรรศการ จากหนวยงานและสถานศึกษาในพ้ืนท่ี ประกอบไปดวย นิทรรศการแสดงประวัติความเปนมา บทบาทภารกิจ ตลอดจนผลการดําเนินงานของสํานักงาน ศึกษาธิการภาค 7 นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนราธิวาส นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปตตานี นิทรรศการแสดง ผลการดําเนินงานของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดยะลา นิทรรศการแสดงผลการดําเนินงาน ของ กศน.อาํ เภอระโนด และนทิ รรศการของวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีประมงปต ตานี กจิ กรรมการเสวนาทางวชิ าการ จดั ขึ้น 2 หวั ขอ ประกอบไปดว ย 1) การเสวนาทางวิชาการ เร่ือง “นวัตกรรมทางการศึกษา กับการพัฒนาเชิงสรางสรรค” โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ ดร.มัฮดี แวดราแม อาจารยม หาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปต ตานี ดร.ลัลนลลิต สบื ประดิษฐ อาจารยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา นายสุเทพ เทงประกิจ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนบานคลอง นํ้าใส สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 มีกลุมเปาหมายผูเขารวมรับฟง การเสวนาเปนครูในโรงเรียนของรัฐสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาท้ัง 3 จังหวัด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาและสังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชนท้ัง 3 จังหวัด จํานวน 200 คน 2) การเสวนาทางวิชาการ เร่ือง “การศึกษาชายแดนใต บริบท บริการกับการบริหาร ความทาทาย” โดยวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ ดร.วีระกุล อรัณยะนาค หัวหนาผูตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการ นายมาโนช บุญญานุวัตร นักวิชาการอาวุโส นายสันติ แสงระวี ศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการภาค ๗ มีกลุมเปาหมายผูเขารวมรับฟงการเสวนาเปนผูบริหารโรงเรียนของรัฐ สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาท้ัง 3 จังหวัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษาและสังกดั สาํ นกั งานการศกึ ษาเอกชนทง้ั 3 จงั หวดั จาํ นวน 200 คน ทั้งนี้เม่ือเสร็จสิ้นการดําเนินงาน คณะทํางานไดจัดทําแบบประเมินผลความพึงพอใจ ของผูเขารวมงาน ผลปรากฏวา มีผูตอบแบบประเมิน จํานวน 100 ราย สวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอ ยละ 21.00 และเพศหญงิ คิดเปน รอยละ 79.00 ผูตอบแบบสอบถามสว นใหญมีอายุไมเกิน 30 ป คิดเปนรอยละ 42.00 รองลงมามีอายุระหวาง 31 – 40 ป คิดเปนรอยละ 36.00 สวนใหญสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ 78.00 รองลงมาสําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาโท คิดเปนรอยละ 18.00 สวนใหญสังกัดประเภทอ่ืน ๆ อาทิเชน มหาวิทยาราชภัฏ ยะลาและมหาวิทยาลัยฟาฏอนี คิดเปนรอ ยละ 34.00 รองลงมา สงั กัด กศน. คิดเปน รอยละ 25.00 โดยเปนเปนครู/บุคลากรทางการศึกษา คิดเปนรอยละ 59.00 รองลงมาเปนนักเรียน/นักศึกษา

25 คิดเปนรอยละ 33.00 สําหรับผลการประเมินความพึงพอใจการใหบริการดานตาง ๆ พบวา มีความพึงพอใจการใหบริการดานตาง ๆ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย 3 อันดับแรก พบวา ประเด็นส่ิงอํานวยความสะดวกมีความเหมาะสม มีผลการประเมินสูงสุด อยูในระดับมากที่สุด รองลงมาสถานท่ีจัดงานมีความเหมาะสมอยูในระดับ มากทส่ี ุด และการติดตอ ประสานงานกับหนวยงานทเี่ กีย่ วของมรี ะดับคะแนนนอ ยที่สุดอยใู นระดับมาก ในสวนของความพึงพอใจผลท่ีไดรับจากการเขารวมกิจกรรม/โครงการโดยภาพรวม อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอเรียงลําดับจากมากไปหานอย 3 อันดับแรก พบวา ประเด็นความรู ความคิด และการใหคําอธิบายและสื่อ นวัตกรรม มีผลการประเมินสูงสุด อยูในระดับมากท่ีสุด รองลงมา จิตสํานึก ทัศนคติ ความตระหนัก และทักษะในการปฏิบัติอยูในระดับมากที่สุด โดยที่การมีสวนรวม ในการทํางานเปนทีม และความสนุกสนานเพลิดเพลินความบันเทิง มีระดับคะแนนนอยที่สุด อยูในระดับมากที่สุด ซึ่งจากผลการประมินความพึงพอใจโดยรวมในการเขารวมงานคร้ังน้ี พบวา มีผลการประเมินอยูในระดับมากที่สุด ในสว นของขอเสนอแนะเพ่ิมเติมในการจัดงานครั้งตอไป ผตู อบ แบบประเมินไดระบุไววา ควรจัดหาสถานที่ใหมีความกวางขวาง มีระบบเสียงชัดเจนและเหมาะสม กวาน้ี ตลอดจนควรมีการประชาสัมพันธการจัดงานใหครอบคลุมและทั่วถึง เพื่อจะไดมีผูเขารวมงาน และไดร บั ประโยชนจ ากการจดั งานมากข้ึน จากการจัดงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันน้ีกับเร่ืองราวดี ๆ ที่แบงปน” ระหวา งวนั ท่ี 6 – 7 สงิ หาคม 2562 ณ สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 อําเภอเมอื งยะลา จังหวัดยะลา กอใหเกิดการบูรณาการการทํางานระหวางกันของสํานักงานศึกษาธิการภาค สํานักงานศึกษาธิการ จังหวัด สถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต ทําใหเกิด การแลกเปลี่ยนแนวคิด ตอยอดองคความรู เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรูแนวปฏิบัติใหม ๆ จากหนวยงานอื่นที่จะสามารถนําไปพัฒนาและปรับปรุงการบริหารและการจัดการศึกษา รวมไปถึง การจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางการศึกษาในหนวยงานและพ้ืนท่ีของตนเอง นอกจากนี้ ก า ร ทํ า ง า น เ ชิ ง บู ร ณ า ก า ร ดั ง ก ล า ว ยั ง เ ป น ก า ร ส ร า ง ใ ห เ กิ ด เ ค รื อ ข า ย ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น พื้ น ท่ี และชวยกระชับความสัมพันธของหนวยงานตาง ๆ ใหแนนแฟนมากยิ่งข้ึน ซึ่งจะเปนผลดีตอ การปฏิบตั งิ านในอนาคต สิ่งที่ไดรับจากการจัดงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันนี้กับเรื่องราวดี ๆ ที่แบงปน” นอกจากจะชวยใหเกิดการพัฒนาดานการศึกษาแลว ยังชวยสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบ ในการทํางานระหวางกัน ซ่ึงจะตองมีการรวมมือรวมใจกันคิดและวางแผนการทํางาน ทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รูจักคาดการณถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการทํางานและหาแนวทางรับมือท้ังในเรื่อง ของงบประมาณ การบรหิ ารจัดการ และการประสานงาน

ภาคผนวก







































ธ คําสง่ั สํานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ที่ 76/2562 เรือ่ ง แตงต้ังคณะทาํ งานการจัดงาน “เปด กรุ ครุ ุสมั มนาคาร จากวันวานสูว นั นกี้ บั เรือ่ งราวดี ๆ ที่แบง ปน ” ……………………………………. ดวยสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 ไดรับมอบหมายจากสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ใหดําเนินโครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต โดยไดจัดใหมีงาน “เปดกรุ คุรุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันนี้ กับเร่ืองราวดี ๆ ท่ีแบงปน” ข้ึนเพ่ือคัดเลือกสถานศึกษานํารองที่มีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการจัดการ เรียนรูระดับภาค โครงการ TFE : Teams For Education เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ประจําป งบประมาณ พ.ศ. 2562 และแสดงผลงานทางวิชาการของสํานักงานศึกษาธิการภาค 7 และหนวยงาน ทางการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ ตลอดจนเปดโอกาสใหมีเวทีในการเสวนาทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา คุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต ซ่ึงจะจัดขึ้นในระหวางวันที่ 6-7 สิงหาคม 2562 ณ สํานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 อาํ เภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา เพื่อใหการจัดงาน “เปดกรุ ครุ ุสัมมนาคาร จากวันวานสูวันนี้กับเรื่องราวดี ๆ ท่ีตองแบงปน” เปน ไปดวยความเรยี บรอย จึงแตงตั้งบุคลากรเปนคณะทํางานดาํ เนนิ งานในฝายตา ง ๆ ดังตอไปนี้ 1. ที่ปรึกษาคณะทํางาน มีหนาที่ อํานวยความสะดวก ใหคําปรึกษา แนะนํา สนับสนุน การดําเนนิ งาน ประกอบดว ย 1.1 นายพีรศักดิ์ รัตนะ ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานทปี่ รึกษา 1.2 นายสันติ แสงระวี ศกึ ษาธิการภาค 7 ทปี่ รกึ ษา 1.3 นายศุภมิตร ธมั มกิ ะกุล นักวชิ าการศกึ ษาเชย่ี วชาญ ทป่ี รกึ ษา 2. คณะทํางานฝายอํานวยการ มีหนาที่ กําหนดแนวทางการดําเนินงานและแกปญหา รวมกนั กบั คณะทํางาน และตดิ ตามความกาวหนา การดําเนินงาน ประกอบดว ย 2.1 นายสนั ติ แสงระวี ศกึ ษาธิการภาค 7 ประธานคณะทาํ งาน 2.2 ศึกษาธิการจงั หวัดนราธิวาส คณะทาํ งาน 2.3 ศึกษาธิการจงั หวดั ปตตานี คณะทํางาน 2.4 ศึกษาธิการจังหวดั ยะลา คณะทาํ งาน 2.5 นายศภุ มติ ร ธัมมกิ ะกลุ นกั วชิ าการศกึ ษาเชี่ยวชาญ คณะทาํ งาน 2.6 นายธนรชั พรหมเลข ผูอ าํ นวยการกลุมอาํ นวยการ คณะทาํ งาน 2.7 นางสาวพชิ ญา ชูเพชร ผูอาํ นวยการกลมุ ตรวจราชการ ตดิ ตามและประเมนิ ผล คณะทํางาน 2.8 นางสัสุรี โอรามหลง ผอู าํ นวยการกลมุ ยุทธศาสตรการศกึ ษา คณะทาํ งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook