47 5.3 ด้านความสมั พนั ธ์กับหนว่ ยงานภายนอก ดงั นี้ 1) ความสัมพันธ์กับสถานศกึ ษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพ. พบวํา ได๎ดาเนินการจัดทาแผนการปฏิบัติงานและดาเนินการสร๎างเครือขํายการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของสถานศึกษาโดยใช๎ กศน.ตาบลเป็นฐานการจัดกิจกรรม รํวมกับแหลํงเรียนร๎ูเศรษฐกิจพอเพียง ในหมํูบ๎าน/ตาบล รํวมกันขับเคล่ือนภารกิจงาน ของ กศน. โดย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอเบตง เป็นแหลํงรวบรวมข๎อมูล ติดตํอประสานงาน การให๎บริการส่ือ ความรู๎ การจัด นิทรรศการเก่ยี วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการประชาสัมพันธ์การดาเนินงานอีกด๎วย อีกท้ัง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเบตง สามารถบริหารจัดการเพื่อการรองรับ การขอศึกษาดูงานจากสถานศึกษาอื่น อาทิเชํน กศน.อาเภอปะนาเระ กศน.อาเภอควนโดน กศน.อาเภอ ศรีสาคร เป็นต๎น โดยไมสํ งํ ผลตอํ การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานท่ีสังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน) พบวํา มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและหนํวยงานภายนอก สามารถบริหารจัดการ ความสัมพันธ์กับหนํวยงานตํางๆ ในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได๎อยํางเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ ข๎อสังเกตของคณะกรรมการ สาหรับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา สังกดั กศน.จ.ยะลา โดยภาพรวม ขอชนื่ ชมสถานศึกษาท่ีได๎ดาเนินการขับเคลื่อนงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา แตํ ครูแกนนา นักศึกษา ต๎องมีความชัดเจน เพ่ือเป็น ผู๎ถาํ ยทอด อธบิ าย และขยายผลตํอไป
48
49 6. โรงเรียนยะหร่ิง สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปัตตานี เขต 1 เข๎ารบั การประเมิน เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 โดยการประเมินแบํงออกเปน็ 3 ด๎าน 6.1 ดา้ นบคุ ลากร โดยแบง่ เปน็ 4 ดา้ นดงั นี้ 1) ด้านผู้บริหาร พบวํา มีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อยํางถูกต๎อง และได๎มีนโยบายน๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคล่ือนในสถานศึกษา อีกท้ัง ยังเห็นประโยชน์และตระหนักในความสาคัญของการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การพฒั นาตนเอง พัฒนากลุํมโรงเรียน ชุมชน และพัฒนาสังคมโดยรวม อีกท้ัง สามารถนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มาพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาตามนโยบายและแผนปฏิบัติงานประจาปี ได๎อยํางมีประสิทธิภาพ สามารถเป็นแบบอยํางแกํสถานศึกษาและหนํวยงานอ่ืนได๎ ทั้งน้ี ผ๎ูบริหารยังมีวิสันย ทัศน์ในการบริหาจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีมุํงพัฒนาผู๎เรียนและบุคลากรทางการ ศึกษาทุกคน สามารถ นาความรแ๎ู ละมีคณุ ลักษณะอยํูอยํางพอเพยี งตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ มีสํวนรํวมในการพัฒนาสถานศึกษาและชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนผู๎บริหารได๎มี การสร๎างสัมพันธ์กับบุคลากร นักเรียน ผ๎ูปกครอง และได๎มีการประสานสัมพันธ์กับชุมชนให๎มีสํวนรํวมในการ สงํ เสรมิ การเรยี นรูเ๎ พื่อการอยูอํ ยํางพอเพยี ง 2) ด้านครู พบวํา มีความรู๎ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ เป็นการพฒั นาศกั ยภาพของตนเองเพื่อนาไปสํูการพัฒนางานด๎านการเรียนการสอนตามแนวทางของเศรษฐกิจ พอเพียง และสามารถขยายผลผลการดาเนินชีวิตและปฏิบัติหน๎าท่ีของบุคลากรตามมีความรู๎ความเข๎าใจหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3) ด้านนักเรียน พบวํา นักเรียนมีความรู๎และเข๎าใจในการดาเนินชีวิตตาม แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง นักเรียนมีสํวนรํวมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมนักเรียนที่สอดคล๎องกับมีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง สงํ เสริมให๎มกี ารจัดตัง้ ชุมนุม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรมเพ่ือสํงเสริม สนับสนุนใหผ๎ ๎เู รียนเกดิ จิตอาสาและมีสวํ นรํวมในกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ นักเรียนสามารถถอดบทเรียน ตามหลัก 2-3-4 ได๎อยํางถูกต๎อง อีกทั้งสามารถขยาย ผลไปยงั เพอื่ นนักเรียนได๎อีกดว๎ ย 4) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษา พบวํา คณะกรรมการสถานศึกษามีความร๎ู ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง และมีสํวนรํวมในการแก๎ปัญหา พัฒนา สถานศึกษา ชุมชน ส่ิงแวดล๎อมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อีกท้ังยังให๎คาปรึกษา แนะนา แกํบุคลากร นักเรียน เกย่ี วกับการดาเนนิ งานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของโรงเรียน 6.2 ด้านการจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ดังนี้ 1) อาคารสถานท่ี และสิ่งแวดล้อม พบวํา โรงเรียนยะหริ่งได๎จัดบรรยากาศและ สภาพแวดล๎อมภายในสถานศึกษาให๎เป็นแหลํงเรียนรู๎กระบวนการเรียนรู๎ ปลูกฝัง หลํอหลอม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และเอ้ือตํอกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และยังได๎มีการ จัดสถานท่ี และส่ิงแวดล๎อมในโรงเรียนเน๎นความรํมร่ืนเน๎นประโยชน์ใช๎สอย เป็นแหลํงเรียนรู๎ และอนุรักษ์
50 สบื สานทรัพยากร สง่ิ แวดลอ๎ ม ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย โดยได๎แตํงต้ังผ๎ูรับผิดชอบ การใช๎ ดูแล รักษา ปรับปรุงอาคารสถานท่ี และจัดการแหลํงเรียนร๎ูในสถานศึกษาอยํางเหมาะสม ผู๎เรียน บุคลากร ผู๎เก่ียวข๎อง ของสถานศึกษา มีสํวนรํวม ในการใช๎ ดูแล รักษา ปรับปรุง อาคารสถานที่ และจัดแหลํงเรียนรู๎ในสถานศึกษา ใช๎ประโยชน์อาคารสถานท่ี สภาพแวดล๎อม แหลํงเรียนร๎ูในสถานศึกษาอยํางคุ๎มคําและเกิดประโยชน์ตํอการ เรียนรู๎ ท่ีจะอยํูอยํางพอเพียง มีการบารุงอาคารสถานท่ี สภาพแวดล๎อม แหลํงเรียนในสถานศึกษา อยาํ งสมา่ เสมอ เพ่ือใชป๎ ระโยชนไ์ ดน๎ าน 2) ด้านแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง พบวํา ได๎จัดทาแหลํงเรียนร๎ูที่หลาหลายและเพียงพอกับจานวนนักเรียนโดยจัดทา แหลํงเรียนรู๎ เพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนได๎ศึกษาหาความร๎ูเกี่ยวกับหลักปรัชญของเศรษฐกิจพอเพียงและสร๎าง อุปนิสัยอยูอํ ยาํ งเหมาะสม และมีฐานการเรยี นรู๎ ไดแ๎ กํ ฐานการเรียนรู๎ห๎องสมุด ฐานการเรียนร๎ูการเล้ียงปลาดุก ในบํอซีเมนต์ ฐานการเรียนรู๎การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ฐาน 5 ห๎องชีวิตเนรมิตนิสัยพอเพียง ฐานการเรียนรู๎ ยาสระผม ฐานการเรียนรู๎กระดาษรีไซเคิล ฐานการเรียนรู๎ปุ๋ยหมัก ฐานการเรียนร๎ูขนมพ้ืนบ๎าน ฐานการเรียนรู๎ โรงเรียนธนาคาร 6.3 ด้านความสมั พันธ์กับหน่วยงานภายนอก ดังน้ี 1) ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคล่ือน ปศพพ. พบวํา โรงเรียนยะหริ่งได๎น๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช๎ในการบริหารจัดการศึกษาและให๎ ชุมชนได๎เข๎ามามีสํวนรํวมในการวางแผน จัดระบบบริหารจัดการศึกษา ในการจัดการเรียนการสอน ครูจะนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณการทั้ง 8 กลุํมสาระการเรียนรู๎ และกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน โดยเน๎น ให๎ผ๎ูเรียนมีความรู๎ความเข๎าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางแท๎จริง และสามาถนา มาประยุกต์ใช๎ในการดารงชีวิตประจาวันของตนเองได๎ การจัดระบบบริหารจัดการศึกษาน่ีสํงผลให๎นักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นที่ยอมรับของชุมชนและหนํวยงานภายนอก จนสามารถเป็นแบบอยํางแกํสถานศึกษาในเครือขํายจานวน 4 โรง ได๎แกํ 1) โรงเรียนบ๎านบือเจาะ ได๎รํวมกัน พัฒนาในเร่ืองการจัดทาแผนการเรียนร๎ูเพ่ือบํมเพาะอุปนิสัยพอเพียงแกํครูและบุคลากรโรงเรียน 2) โรงเรียน บ๎านทําพง ได๎รํวมกันพัฒนาการจัดกิจกรรมฝึกนักเรียนถอดบทเรียน 3) โรงเรียนบ๎านตาแกะ ได๎รํวมกัน พัฒนาการจัดกิจกรรมฝึกนักเรียนถอดบทเรียน 4) โรงเรียนบ๎านฝาง ได๎รํวมกันจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ 5 ห๎อง ชีวติ เนรมิตพอเพียง 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน) พบวํา มีความสัมพันธ์กับหนํวยงานการศึกษานอกระบบ คือ ศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนอาเภอยะหร่ิง โดยได๎นานักเรียนเข๎ารํวมจัดฐานการเรียนรู๎และถอดบทเรียนกิจกรรมการปลูกผัก ไฮโดรโปนกิ ส์และเข๎ามาสงํ เสรมิ การเรียนร๎ูหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข๎อสังเกตของคณะกรรมการ สาหรับโรงเรียนยะหร่ิง สังกัดสพฐ./สพป.ปัตตานี เขต 1 โดยภาพรวม ขอชื่นชมสถานศึกษาท่ีได๎ดาเนินการขับเคลื่อนงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา แตํขอเพ่ิมเติม ในเรื่องฐานการเรียนร๎ูทุกฐาน ต๎องมีการถอดบทเรียนให๎ชัดเจน และให๎มีแผํน
51 ปาู ยทกุ ฐานการเรยี นรู๎ และควรเพมิ่ เติมในเรอื่ งการนาเสนอให๎กับนกั เรียน เพื่อนกั เรียนไดถ๎ ํายทอดและขยายผล ตํอไป
52 2.5 ดาเนนิ การติดตามสถานศึกษาพอเพยี งเปน็ ศูนยก์ ารเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด้านการศึกษา ในพ้นื ทร่ี ับผิดชอบของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 2.5.1 ได๎ดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ได๎แกํ โรงเรียนชํองแมว สังกัด สพป.ปตั ตานี เขต 3 เม่อื วนั ท่ี 31 มีนาคม 2564 โดยไดต๎ ดิ ตามความกา๎ วหน๎าในการขับเคลื่อนงานของ สถานศึกษาในการขบั เคลื่อนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศึกษา โดยภาพรวม สถานศึกษาได๎ ดาเนินการอยํางตํอเนื่อง ขอช่ืนชมท้ังผ๎ูบริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนนักเรียน ท่ีได๎มีการ ขับเคลอ่ื นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษาอยํางตอํ เนื่อง
53 2.5.2 ได๎ดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 ได๎แกํ ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอกะพ๎อ อาเภอกะพ๎อ จังหวัดปัตตานี สังกัด กศน.จังหวัดปัตตานี โดยติดตามการดาเนินงานทางออนไลน์ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2564 เป็นการติดตามการดาเนินงาน ขบั เคลื่อนศูนย์การเรยี นร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาในสถานศึกษา ซ่ึงได๎ดาเนินการ อยํางตํอเนอ่ื ง และไดจ๎ ดั กจิ กรรมสํงเสริมการเรียนร๎หู ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตรสมุนไพรต๎านภัย โควิท – 19 เม่ือวันท่ี 7 กันยายน 2564 ณ ห๎องประชุม กศน.อาเภอกะพ๎อ จังหวัดปัตตานี โดยภาพรวม สถานศึกษา ได๎ดาเนินการอยํางตํอเนื่อง ขอช่ืนชมทั้งผู๎บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนนักเรียน นักศกึ ษา ทไ่ี ด๎มกี ารขับเคลื่อนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศกึ ษาอยํางตํอเน่ือง
54 2.5.3 ได๎ดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงด๎านการศึกษา ในพนื้ ที่รบั ผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ได๎แกํ ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอจะแนะ อาเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส สังกัด กศน.จังหวัดนราธิวาส โดยติดตามการดาเนินงานทางออนไลน์ เม่ือวันที่ 29 กันยายน 2564 เป็นการติดตามการดาเนินงาน ขับเคลอ่ื นศูนยก์ ารเรยี นรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาในสถานศึกษา ซ่ึงได๎ดาเนินการ อยาํ งตอํ เนอื่ ง โดยภาพรวม สถานศกึ ษา ได๎ดาเนนิ การอยํางตํอเนื่อง ขอชื่นชมท้ังผู๎บริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษา ตลอดจนนักเรียน นักศึกษา ที่ได๎มีการขับเคล่ือนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา อยํางตอํ เนือ่ ง
55 2.5.4 ได๎ดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งด๎านการศึกษา ในพ้นื ท่รี ับผิดชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 7 ได๎แกํ ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอปะนาเระ อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี สังกัด กศน.จังหวัดปัตตานี โดยติดตามการดาเนินงานทางออนไลน์ เม่ือวันท่ี 30 กันยายน 2564 เป็นการติดตามการดาเนินงาน ขับเคล่อื นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาในสถานศึกษา ซ่ึงได๎ดาเนินการ อยํางตํอเนอ่ื ง โดยภาพรวม สถานศึกษา ได๎ดาเนนิ การอยาํ งตอํ เนื่อง ขอช่ืนชมทั้งผู๎บริหาร ครู บุคลากรทางการ ศึกษา ตลอดจนนักเรียน นักศึกษา ที่ได๎มีการขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา อยํางตอํ เนือ่ ง
56 3. ขั้นสรปุ ผลการดาเนนิ งาน 3.1 ประมวล วเิ คราะห์ และรายงานผลการประเมนิ สถานศึกษาพอเพียงเป็นศนู ย์การเรียนรู๎ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศึกษา ในพื้นท่รี บั ผิดชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 ให๎สานักงาน ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และผ๎ูเกย่ี วข๎องทราบ จากคณะกรรมการตามประกาศสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เร่ือง แตํงตั้งท่ีปรึกษาและ คณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษาปีการศึกษา 2563 ในพน้ื ทรี่ บั ผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2564 ซ่ึงมีกรรมการ 6 ราย จากผทู๎ รงคณุ วฒุ ิ ผู๎แทนกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และผ๎ูแทนโรงเรยี น/ศูนย์การเรียนร๎ูฯ และได๎ดาเนินการประเมิน สถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ท่ีผํานการคัด กรองข๎อมูลเบื้องต๎น ปีการศึกษา 2563 ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 จานวน 6 แหํง และได๎ผํานการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ท้ังน้ี ได๎รายงานไปยงั กระทรวงศึกษาธกิ ารเพ่ือพจิ ารณาประกาศเปน็ ศนู ย์การเรียนรูฯ๎ ตํอไป 3.2 จดั ทารายงานผลโครงการและนาเสนอผ๎บู รหิ ารทราบ
57 บทท่ี 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ โครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 มีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินการ ประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพื้นที่ รับผิดชอบ และเพ่ือดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ซึ่งสถานศึกษาพอเพียงในพื้นที่ รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ท่ีผํานการคัดกรองข๎อมูลในเบื้องต๎นจากกระทรวงศึกษาธิการทุก แหํง ได๎รับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา จานวน 6 แหํง จึงขอสรุปผลและขอ๎ เสนอแนะ ดงั นี้ 1. สรปุ ผล คณะกรรมการตามประกาศสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เร่ือง แตํงต้ังที่ปรึกษาและ คณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ในพื้นทร่ี ับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2564 ซึ่งมีกรรมการ 6 ราย จากผ๎ูทรงคณุ วุฒิ ผแู๎ ทนกระทรวงศึกษาธกิ าร และผูแ๎ ทนโรงเรยี น/ศนู ย์การเรียนรู๎ฯ และได๎ดาเนินการประเมิน สถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ที่ผํานการคัด กรองข๎อมูลเบื้องต๎น ปีการศึกษา 2563 ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 จานวน 6 แหํง เรยี บร๎อยแล๎ว ดังนี้ 1. โรงเรียนบา๎ นมะนังกาหยี สงั กดั สพฐ./สพป.นราธวิ าส เขต 1 เม่ือวนั ที่ 16 มีนาคม 2564 2. โรงเรยี นบ๎านเปล สังกัดสพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 1 เม่ือวนั ท่ี 17 มนี าคม 2564 3. โรงเรยี นบา๎ นสะปอม สงั กัดสพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 2 เมื่อวนั ท่ี 18 มีนาคม 2564 4. โรงเรียนน้าตกปาโจ(วันครู 2501) สังกัดสพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 1 เม่ือวันที่ 19 มีนาคม 2564 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเบตง จังหวัดยะลา สังกัด กศน.จ.ยะลา เมือ่ วันที่ 22 มีนาคม 2564 6. โรงเรยี นยะหร่ิง สังกัดสพฐ./สพป.ปตั ตานี เขต 1 เมอื่ วันท่ี 23 มนี าคม 2564 และได้ผ่านการประเมนิ เปน็ ศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา ทง้ั น้ี ได้รายงานไปยังกระทรวงศึกษาธิการเพื่อพิจารณาประกาศเป็นศูนย์การเรียนรู้ฯ ต่อไป โดยในภาพรวมสรุป จุดเดน่ ดังน้ี 1. ผ๎ูบริหารโรงเรียน ผ๎ูบริหารสถานศึกษา มีความต้ังใจที่จะดาเนินการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีความตระหนกั มคี วามมํุงมน่ั เปน็ ท่ีนาํ ประทบั ใจ 2. รปู แบบการจดั การต๎อนรับ โดยมีภาคีเครือขาํ ย เข๎ามามีสํวนรํวม
58 3. โรงเรียนและสถานศกึ ษาที่เข๎ารับการประเมนิ ทกุ ทม่ี ีการจัดสภาพแวดล๎อม สะอาด รํมร่ืน สวยงาม เป็นระเบยี บ ปลอดภยั ดีมาก มบี รรยากาศเอื้อตอํ การบํมเพาะอปุ นสิ ยั พอเพยี ง 4. มหี ๎องสมุดทเี่ หมาะสม เออ้ื ตอํ การเรยี นรู๎ ทกุ แหํง 5. การต๎อนรับ การมีมนุษย์สัมพันธ์ดีเย่ียม ทุกหนํวยงานที่มารํวมให๎ความรํวมมือเป็นอยํางดียิ่ง ผ๎ูบังคับบญั ชาทุกหนวํ ยงานในพื้นทใ่ี ห๎ความสาคญั การขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขยายผลได๎ มากขึน้ ถา๎ โรงเรียนและสถานศึกษาทุกแหํงในประเทศลงมาทาเร่ืองนี้อยํางจริงจัง ประชาชนได๎รับผลประโยชน์ มีทั้งเงินออม อาหารปลอดภัยมีความคงทางอาหาร ลดรายจําย เพิ่มรายได๎ ทาให๎ชีวิตความเป็นอยูํของ ประชาชนดีขึ้น ทุกคนมีความรักสามัคคี เอ้ือเฟื้อเผื่อแผํกัน ทาให๎สังคม ครอบครัวมีความสุขอยํางแท๎จริงตาม เปูาประสงค์ของในหลวงรชั กาลท่ี 9 ต๎องการให๎ราษฎรของพระองค์มีความสุขในการใชช๎ ีวติ 2. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม สถานการณ์การแพรํระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนํา (COVID-19) สํงผลตํอการดาเนินงานโครงการ ทาให๎ต๎องมีการปรับแผน/ปฏิทินกิจกรรม 3. แนวทางแกไ้ ข/เสนอแนะ 1. สถานศึกษา ควรได๎รับการชี้แจงและคาแนะนาการเตรียมความพร๎อมรับการประเมินจาก ผ๎รู ับผิดชอบในระดับจงั หวัด 2. ควรจัดอบรมผู๎บริหาร ครูแกนนา นักเรียนแกนนา เพ่ือฝึกถอดบทเรียน โดยการนาฐานเดิมท่ี ไดร๎ ับคาแนะนาและปรบั ใชแ๎ ล๎ว 3. ควรมีการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู๎พร๎อมจัดทาแบบประเมินการใช๎ฐาน โดยการพาทา กับครู แกนนา
59 อ้างอิง กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2550). แนวทางปฏริ ูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. กรงเทพฯ : ที.เอส.บี. โปรดกั ส. กานต์ชนิต ต๏ะนัย.2551. การน้อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบัติในโรงเรียนบ้านเทิดไทย. อาเภอแมํฟูาหลวง จังหวดเชียงราย. การศึกษาอิสระครุศาสตร์มหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย. ปรยี านุช พบิ ูลสราวุธ. (2549). เศรษฐกจิ พอเพียงและการประยุกต์ใชด้ ้านการศึกษา. กรุงเทพฯ : โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานทรัพย์สินสํวนพระมหากษัตริย์. ปรยี านุช พบิ ูลสราวุธ.(2550).การขับเคล่อื นเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศึกษา.กรุงเทพฯ: สานักงานทรัพยส์ ิน สํวนพระมหากษตั รยิ ์ วชิราวธุ ปานพรหม. (2551). ศึกษาสภาพและประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียงในโรงเรยี นคุณธรรมชั้นนา สังกัดสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา สกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (การบรหิ ารการศึกษา). สกลนคร: บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยสกลนคร. สญั ญา จารุจินดา. (2551). แนวทางการบรหิ ารจัดการในการน้อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติ. ในโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอขุนยวม จงหวดั แมํฮอํ งสอน. การศึกษาอิสระ. ครศุ าสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
60 ภาคผนวก
61
62
63
64
65
66
67
68 ทปี่ รกึ ษา คณะผู้จดั ทา นายชัยณรงค์ ปอู งบ๎านเรอื ศึกษาธิการภาค สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 นายศุภมิตร ธัมมกิ ะกุล ผู๎เชย่ี วชาญเฉพาะดา๎ นการศึกษา สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 คณะทางาน 1. นางอภญิ ญา แพทย์ศรี นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 2. นางไซหนบั เอส เอ นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการพิเศษ สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 3. นายราชนั ย์ สันตวิ งศ์ววิ ฒั น์ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 4. นางนูรีดา มุกดาสวสั ด์ิ นักวิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 5. นางสาวดวิษา สังคหะ นักวิชาการศึกษาชานาญการ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ผศู้ ึกษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจดั ทารายงาน 1. นางอภญิ ญา แพทย์ศรี นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการพเิ ศษ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 2. นางนูรดี า มุกดาสวสั ดิ์ นักวชิ าการศกึ ษาชานาญการพิเศษ สานกั งานศึกษาธิการภาค 7 ออกแบบปก นกั วชิ าการศึกษาชานาญการ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 นางสาวดวษิ า สังคหะ เอกสารเลขที่ 2/2565
Search