ศธภ.7กลุ่มพัฒนาการศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รายงานผลการดาเนินงาน โครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ก คำนำ เอกสารรายงานผลการดาเนินงานโครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 จัดทาขึ้นเพ่ือรายงานผลการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด้านการศึกษาในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 จานวน 6 แห่ง เพ่ือเป็นแนวทาง แ ก่ ส ถ าน ศึ ก ษ า ที่ ส น ใจ เข้ ารับ ก ารป ระเมิ น ส ถ าน ศึ ก ษ า พ อเพี ย งเป็ น ศู น ย์ กา รเรี ย น รู้ ต าม ห ลั ก ป รั ช ญ า ของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา ในการดาเนินการตามหลักการประเมนิ ของคณะกรรมการฯ ต่อไป สานักงานศึกษาธิการภาค 7 ขอขอบคุณ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน ส่งเสริมบูรณาการการจัดการศึกษา สถานศึกษาที่เข้ารับการประเมิน จานวน 6 แห่ง และหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องที่ให้ความร่วมมือและให้การสนับสนุนการดาเนินการประเมินจ นประสบความสาเร็จ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ุกประการ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 กันยายน 2564
ข สำรบัญ หนำ้ ก คำนำ ข สำรบัญ 1 บทที่ 1 บทนำ 1 2 1. หลักการและเหตุผล 2 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2 3. เป้าหมายโครงการ 3 4. กลุม่ เป้าหมายโครงการ 3 5. ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 4 6. วธิ ีดาเนนิ การ 5 7. ดชั นชี วี้ ัดความสาเร็จ 5 8. ระยะเวลาดาเนินการ 5 9. สถานทีด่ าเนนิ การ/พ้ืนทีด่ าเนนิ การ 5 10. งบประมาณ 6 11. การวเิ คราะห์ความเสย่ี งของโครงการ 7 12. หน่วยงานรับผิดชอบ 7 บทที่ 2 แนวคิด เอกสำรและงำนวจิ ัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 19 1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 25 2. กรอบการประเมินศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา 28 3. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 28 บทที่ 3 ข้นั ตอนกำรดำเนนิ งำนโครงกำร 29 1. แนวทางการดาเนินงาน 29 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 30 3. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 30 บทที่ 4 ผลกำรดำเนินงำน 30 1. ขนั้ เตรยี มการ 56 2. ขั้นตอนการดาเนินงานโครงการ 3. ข้นั สรปุ ผลการดาเนินงาน
ค บทที่ 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ 57 1. สรุปผลการดาเนนิ งาน 57 2.ปญั หาอปุ สรรค 58 3. ข้อเสนอแนะ 58 59 เอกสำรอ้ำงองิ 60 ภำคผนวก 68 คณะผจู้ ดั ทำ
1 บทที่ 1 บทนา 1. หลักการและเหตุผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได๎พระราชทานไว๎ให๎แกํพสกนิกรชาวไทยทุกคน และไดท๎ รงเน๎นยา้ แนวทางการแก๎ไข เพือ่ ให๎รอดพน๎ และสามารถดารงอยูํได๎อยํางม่ันคงและย่ังยืน ภายใต๎กระแส โลกาภิวัตน์ และความเปล่ียนแปลง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวทางการดารงอยูํและปฏิบัติตน ของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตํระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหาร ประเทศใหด๎ าเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่อื ให๎กา๎ วทันตอํ โลกยุคโลกาภิวัตน์ “หลัก พอเพียง คือ หลักพัฒนาคนให๎มคี ณุ ภาพเพื่อการพฒั นาท่ยี ่ังยืน” แนวคิดหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับที่ 8-12 คือ การสร๎าง ภูมิคุ๎มกันในประเทศให๎เข๎มแข็งเพ่ือเตรียมความพร๎อมของคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให๎ สามารถรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโดยให๎ความสาคัญกับการพัฒนาคน เพ่ือเสริมสร๎างทุนทาง ปัญญาอยํางยั่งยืน ศักยภาพในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดสร๎างสรรค์ ใฝุเรียนรู๎ มีคุณธรรม จริยธรรม คํานิยมท่ีดีงาม รู๎จักสิทธิหน๎าท่ีของตนเองและผู๎อื่น ควบคํูกับการเสริมสร๎างและพัฒนาโครงสร๎าง พ้ืนฐานทางปัญญาและแหลํงเรียนรู๎ในระดับชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคนเป็น ศูนยก์ ลางของการพฒั นาประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ มีหน๎าที่หลักในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนของประเทศ จึงให๎ ความสาคญั กับการพัฒนาคน ซึ่งเป็นศูนย์กลางของการพฒั นาตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ และ มีความตระหนักในพระมหากรุณาธิคุณ และจงรักภักดีตํอสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งจะสํงเสริมและเผยแพรํ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพื่อให๎สังคมไทยเป็นสังคมแหํงการร๎ูรักสามัคคีและดาเนินชีวิตอยําง พอเพียง ในการน้ี กระทรวงศึกษาธิการจึงได๎มนี โยบายใหห๎ นวํ ยงานในสังกดั และในกากับ ประสานความรํวมมือ ระหวํางกันในการดาเนินการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา และดาเนินการพัฒนา และขยายเครือขํายสถานศึกษาทเี่ ป็นแบบอยํางในการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ทุกจังหวัดทั่วประเทศ และเพื่อให๎การพัฒนาเป็นไป อยํางมีคุณภาพด๎วยความย่ังยืน และได๎มีการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให๎เป็น “ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยกาหนดแนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา เพื่อสนับสนุนให๎สถานศึกษาพอเพียงมีความเข๎มแข็งและสามารถรักษา สภาพความเป็นแบบอยาํ งได๎อยํางยั่งยืนในบริบทที่มีการเปล่ียนแปลงอยํางรวดเร็วในทุกด๎าน และใช๎เป็นกรอบ การดาเนินรํวมกบั หนวํ ยงานตาํ งๆ อยํางมปี ระสทิ ธิภาพ
2 เพ่ือให๎การดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาที่กาหนด ทุกประการ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได๎มอบหมายให๎สานักงานศึกษาธิการภาค 7 ดาเนินการ ประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่ รบั ผิดชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 7 ซึ่งประกอบ ด๎วยจังหวัด นราธิวาส ปัตตานี และยะลา และรายงาน ผลการดาเนินงานใหห๎ นํวยงานทีเ่ กี่ยวขอ๎ งรบั ทราบตอํ ไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือดาเนินการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียงเปน็ ศูนย์การเรยี นรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา๎ นการศึกษา ในพื้นที่รับผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 2. เพ่ือดาเนินการตดิ ตามสถานศกึ ษาพอเพยี งเป็นศนู ย์การเรียนร๎ตู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา๎ นการศึกษา ในพนื้ ทร่ี ับผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 3. เปา้ หมายโครงการ เชิงปริมาณ 1. สถานศึกษาพอเพยี งท่ีผํานการคัดกรองข๎อมูลในเบอื้ งต๎นไดร๎ บั การประเมนิ เป็นศูนยก์ าร เรียนรูต๎ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา๎ นการศึกษาในพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบของสานกั งานศกึ ษาธิการภาค 7 จานวน 6 แหํง 2. ตดิ ตามสถานศกึ ษาพอเพียงเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรต๎ู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด๎านการศึกษา ในพืน้ ทร่ี ับผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 เชงิ คณุ ภาพ 1) สถานศึกษาพอเพยี งได๎รับการประเมนิ เปน็ ไปตามกรอบและหลกั เกณฑ์ท่วี างไว๎ 2) สถานศึกษาพอเพยี งท่ีผํานการประเมนิ มศี ักยภาพเปน็ แบบอยํางและเป็นพ่ีเล้ยี งใหก๎ ับ สถานศกึ ษาอน่ื ๆ 3) สถานศกึ ษาพอเพยี งท่ีไดร๎ ับการประเมนิ มีความพึงพอใจตํอรูปแบบและวิธกี ารประเมินโดย ไมํมีข๎อร๎องเรยี น 4) การตดิ ตามสถานศึกษาพอเพยี งเป็นศูนย์การเรยี นร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดา๎ นการศึกษาอยํางตํอเนื่อง 4. กล่มุ เป้าหมายโครงการ 1. สถานศึกษาพอเพียงท่ีเข๎ารับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษา ปีการศกึ ษา 2563 2. สถานศึกษาพอเพียงที่เป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษา ในพ้นื ทร่ี ับผดิ ชอบของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 7
3 ตัวชวี้ ดั เปา้ หมายโครงการ คา่ เปา้ หมาย จานวน 6 แหํง ตวั ช้วี ดั เชงิ ปริมาณ จานวน 6 คร้ัง 1.จานวนสถานศกึ ษาพอเพียงในพ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ทผี่ ํานการคดั กรอง ข๎อมลู ในเบือ้ งต๎นจากกระทรวงศึกษาธิการทุกแหํง ได๎รบั การประเมนิ เป็นศนู ย์การเรียนรู๎ตามหลกั 3 ดา๎ น 8 ตัวบํงช้ี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา๎ นการศกึ ษา รอ๎ ยละ 100 2. จานวนการตดิ ตามสถานศกึ ษาพอเพยี งทเ่ี ป็นศูนย์การเรยี นรต๎ู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา๎ นการศกึ ษา ในพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 ไมมํ ีข๎อร๎องเรยี น เชงิ คณุ ภาพ ทุกไตรมาส 1. ความครอบคลมุ ตามหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ เปน็ ไปตามกรอบและหลักเกณฑ์ท่ีวางไว๎ 2. รอ๎ ยละของสถานศกึ ษาพอเพยี งทีผ่ ํานการประเมินมศี ักยภาพเปน็ แบบอยาํ งและเป็นพเ่ี ลย้ี งใหก๎ บั สถานศกึ ษาอืน่ ๆ 3. ความพงึ พอใจตํอรปู แบบและวธิ ีการประเมนิ ของสถานศึกษาพอเพียง 4. การตดิ ตามสถานศึกษาพอเพียงเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรตู๎ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา๎ น การศึกษาอยาํ งตอํ เนอื่ ง 5. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสร๎างเครือขํายที่เข๎มแข็งเป็น แบบอยําง และมีศกั ยภาพในการเป็นพี่เล้ียงให๎กบั สถานศึกษาอ่ืนๆ ท่ีต๎องการน๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช๎จดั การศึกษาหรือพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของบุคลากร ทงั้ ในและนอกสถานศึกษาตอํ ไป 6. วธิ ีดาเนินการ (Activity) – กจิ กรรม กจิ กรรม (หลกั ) ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง 1.จดั ทาโครงการ - มีแนวทางการดาเนินงาน 2.แตงํ ตง้ั คณะกรรมการประเมนิ - มีงบประมาณในการ ดาเนินงาน - มคี าส่งั การปฏบิ ตั งิ าน 3. ประสานผเู๎ ก่ยี วขอ๎ ง แจง๎ - ปฏิทินการประเมนิ กาหนดการประเมนิ แกํสถานศกึ ษา/ - มแี นวปฏบิ ตั กิ ารประเมนิ ผูร๎ บั ผิดชอบ 4. ประชมุ ช้แี จงแนวปฏิบตั กิ าร ประเมิน
4 5. ดาเนินการประเมินสถานศึกษา - ดาเนนิ การตามปฏทิ ินการ พอเพียงเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนรต๎ู ามหลกั ประเมิน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎าน การศึกษา ในพ้นื ท่รี ับผิดชอบของ รายงานผลการตดิ ตาม สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 - มผี ลการประเมิน รายงานผลการประเมนิ 6. ดาเนินการตดิ ตามสถานศกึ ษา ในพ้ืนทรี่ บั ผดิ ชอบ พอเพียงเปน็ ศนู ย์การเรยี นร๎ูตามหลัก - มีสรปุ ผลการประเมิน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษา ในพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบของ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 7.ประมวล วิเคราะห์ และรายงานผล การประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียงเปน็ ศูนย์การเรียนรต๎ู ามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา ใน พนื้ ท่รี ับผิดชอบของสานกั งาน ศึกษาธิการภาค 7 7. ดัชนชี ีว้ ดั ความสาเร็จ เชิงปรมิ าณ 1. สถานศกึ ษาพอเพยี งท่ผี ํานการคัดกรองขอ๎ มลู ในเบอ้ื งตน๎ ทไี่ ดร๎ บั การประเมินเป็นศูนย์การ เรยี นรูต๎ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศกึ ษาในพ้นื ท่ีรับผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 จานวน 6 แหํง 2. จานวนการตดิ ตามสถานศึกษาพอเพยี งเป็นศนู ยก์ ารเรียนรตู๎ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงดา๎ นการศึกษา ในพน้ื ท่ีรับผิดชอบของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 จานวน 6 ครัง้ เชงิ คณุ ภาพ 1) สถานศกึ ษาพอเพียงไดร๎ บั การประเมินมีคุณภาพเหมาะสมในการเปน็ ศูนย์การเรยี นรู๎ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาตามหลกั เกณฑท์ ่วี างไว๎ 3 ด๎าน 8 ตัวบํงชี้ 2) สถานศกึ ษาพอเพียงท่ผี าํ นการประเมินมศี ักยภาพเปน็ แบบอยาํ งและเป็นพ่เี ลย้ี งให๎กับ สถานศกึ ษาอื่นๆ ร๎อยละ 100 3) สถานศึกษาที่ได๎รับการประเมนิ มีความพึงพอใจรูปแบบและวิธกี ารประเมนิ โดยไมํมขี ๎อ ร๎องเรยี น 4) การติดตามสถานศึกษาพอเพียงเปน็ ศนู ย์การเรียนร๎ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษาอยาํ งตํอเน่ือง ทกุ ไตรมาส
5 8. ระยะเวลาดาเนนิ การ (วัน/เดือน/ปี) ระหวํางเดือนกมุ ภาพันธ์ – กันยายน 2564 ณ จงั หวดั นราธวิ าส ปัตตานี และยะลา ในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1 จดั ทาโครงการ 2 แตํงตั้งคณะกรรมการประเมิน 3 ประสานผู๎เกยี่ วขอ๎ ง แจง๎ กาหนดการประเมินแกํ สถานศึกษา/ ผร๎ู บั ผิดชอบ 4 ประชมุ ชแี้ จงแนวปฏิบัตกิ ารประเมิน 5 ดาเนินการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเปน็ ศนู ย์ การเรยี นรูต๎ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งด๎านการศึกษา ในพ้นื ที่รับผดิ ชอบของ สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 7 6 ดาเนนิ การติดตามสถานศกึ ษาพอเพยี งเป็นศนู ย์ การเรยี นร๎ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงดา๎ นการศกึ ษา ในพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบของ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 7 ประมวล วิเคราะห์ และรายงานผลการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพยี งเป็นศนู ยก์ ารเรียนรต๎ู ามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา๎ นการศึกษา ใน พืน้ ท่รี ับผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 9. สถานทด่ี าเนนิ การ/พน้ื ท่ีดาเนินการ สานักงานศึกษาธิการภาค 7 และพืน้ ทจ่ี ังหวัดนราธิวาส จงั หวัดปตั ตานี และจงั หวดั ยะลา 10. งบประมาณ งบประมาณจากสานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ จานวน 30,000 บาท เพื่อเป็นคาํ ใชจ๎ าํ ยในการออกประเมินศูนย์เรียนร๎ูฯ เพ่ือเป็นคาํ เบ้ียเล้ยี ง คาํ ท่ีพักเหมาจาํ ย และคาํ พาหนะเดนิ ทางของคณะกรรมการ เจา๎ หนา๎ ที่ พนกั งานขบั รถยนต์ กรรมการผู๎ทรงคุณวุฒิ และกรรมการ ผูแ๎ ทนสถานศึกษา 11. การวเิ คราะห์ความเสีย่ งของโครงการ ความเสยี่ ง 1. ความไมํปลอดภัยในการเดินทางของคณะกรรมการการประเมินในการลงพืน้ ที่ 2. สถานการณ์การแพรรํ ะบาดของโรคติดเชื้อโคโรนํา (COVID-19) 3. คณะกรรมการประเมินจากหลายภาคสํวนรํวมดาเนนิ การ แนวทางการบรหิ ารความเสี่ยง 1) มีการวางแผนการดาเนนิ การอยํางเปน็ ระบบเพื่อความปลอดภยั ในชีวติ และทรพั ยส์ นิ
6 2) มกี ารดาเนนิ การตามมาตรการควบคุมการแพรํระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนํา (COVID-19) อยาํ งเครงํ ครดั 3) มีการแตํงตั้งคณะกรรมการของสานักงานศึกษาธิการภาคและเครือขํายคณะทางานของ สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัด และหนวํ ยงานภายนอก ตลอดจนมีการปรึกษาหารือ ทาความเข๎าใจในการดาเนิน โครงการอยํางตอํ เนอื่ งเพื่อใหส๎ ามารถแก๎ไขปัญหาทอี่ าจจะเกิดขึ้นได๎ทันทํวงที 12. หน่วยงานรับผิดชอบ กลํมุ พฒั นาการศึกษา สานักงานศึกษาธิการภาค 7 สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
7 บทท่ี 2 แนวคิด เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้อง รายงานการผลการประเมินโครงการประเมนิ สถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงด๎านการศกึ ษาในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 ในครั้งน้ี ได๎ศึกษา เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข๎อง ดงั นี้ 2.1 แนวคิดเกยี่ วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.1.1 ความหมายของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.1.2 สรปุ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1.3 ความสาคญั ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.1.4 การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํสถานศึกษา 2.1.5 ขั้นตอนการดาเนนิ การตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการบริหารจัด การศกึ ษาในสถานศึกษา 2.1.6 ความคาดหวังจากการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสํูสถานศกึ ษา 2.2 กรอบการประเมนิ ศูนย์การเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา 2.3 งานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง 2.4 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา 2.1 แนวคดิ เก่ยี วกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2.1.1 ความหมายของหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดารัสเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตแกํพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด นานกวํา 30 ปี ตั้งแตํกํอนวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได๎ทรงเน๎นย้าแนวทางการแก๎ไขเพื่อให๎ รอดพ๎นและสามารถดารงอยํูไดอ๎ ยํางมั่นคงและยั่งยนื ภายใต๎กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลีย่ นแปลงตาํ งๆ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงมีพระราช ดารัสไว๎วํา “เศรษฐกิจพอเพียง แปลวาํ Sufficiency economy คาวํา Sufficiency economy น้ีไมํมีในตารา เศรษฐกิจ จะมีได๎อยํางไร เพราะวําเป็นทฤษฎีใหมํ Sufficiency economy น้ัน ไมํมีในตารา เพราะ หมายความวําเรามีความคิดใหมํและโดยท่ีทํานผ๎ูเชี่ยวชาญสนใจก็หมายความวําเราก็สามารถที่จะไปปรับปรุง หรอื ไปใช๎หลักการเพ่อื ท่ีจะให๎เศรษฐกจิ ของประเทศและโลกพัฒนาดีขึน้ ” (พระราชดารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา 23 ธนั วาคม 2542) (http://www.moe.go.th/sufficiency/,2554 : 2554 ) จากกระแสพระราชดารัสดังกลําว สะท๎อนชัดเจนวํา เศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ทํานตรัสไว๎ คือ แนวคิดท่ีทรงย้าเตือนให๎พสกนิกรของพระองค์มีจิตสานึกในการดารงชีวิตอยํางมีสติ ตั้งอยํูบนเหตุและผล มีความพอประมาณในความต๎องการ ไมํโลภ ไมํเบียดเบียนตนเองและผู๎อื่น โดยเฉพาะในสภาวะวิกฤตทาง เศรษฐกิจในปัจจุบัน นอกจากน้ี ยังมีหนํวยงานและนักการศึกษาได๎กลําวถึงความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง อกี ดังน้ี สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหํงชาติ (2548 : 8) ได๎ให๎คานิยามเกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียงวํา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยํูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุก
8 ระดับชั้นต้ังแตํระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให๎ดาเนิน ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให๎ก๎าวทันตํอโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต๎องมีระบบภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดีพอสมควร ตํอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังน้ีจะต๎องอาศัยความรอบร๎ู ความรอบคอบ และความระมดั ระวังอยาํ งยิ่งในการนาวชิ าการตาํ ง ๆ มาใช๎ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะต๎องเสริมสร๎างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ๎าหน๎าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับให๎มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให๎มีความรอบร๎ูท่ี เหมาะสม ดาเนินชีวิตด๎วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให๎สมดุลและ พร๎อมตํอการรองรับการเปล่ียนแปลงอยํางรวดเร็วและกว๎างขวาง ท้ังด๎านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล๎อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได๎เป็นอยาํ งดี อภชิ ัย พันธเสน (2549 : 17) ให๎ความหมายหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ แนวคิดในการ ดาเนินชีวิตที่ต๎องประกอบด๎วย ความพอเพียงหรือความพอประมาณ คือ ไมํฟุมเฟือยแตํก็ไมํจาเป็นต๎อง กระเบียดกระเสียรจนเกิดความเดือดร๎อน แตํท่ีสาคัญที่สุดก็จะต๎องมีเหตุผลแตํเป็นเหตุผลในพุทธธรรมหรือ จรยิ ธรรมของทุกศาสนา นัน่ คอื ความไมโํ ลภจนเกินไป ซื่อสัตย์สจุ รติ และไมเํ อารัดเอาเปรยี บผอู๎ ่นื ปรียานุช พิบูลสราวุธ (2549 : 10) ให๎ความหมายหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต๎องมีระบบภูมิค๎ุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตํอการ มผี ลกระทบใด ๆ อนั เกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน จะต๎องอาศัยความรอบรู๎ ความรอบคอบ และความระมัดระวงั กลําวโดยสรุปได๎วํา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวทางการปฏิบัติตนและการ ดาเนนิ ชวี ิตอันพึงประสงค์ ดังนี้ 1. ปฏบิ ตั ติ นให๎มคี วามพอประมาณ รูจ๎ กั การประมาณตน รู๎จักศักยภาพของตนทม่ี ีอยํู 2. ปฏิบัติตนอยํางมีเหตผุ ลปฏบิ ัติสง่ิ ตํางๆบนพื้นฐานของความมีสตปิ ัญญายดึ ทางสายกลางในการปฏบิ ตั ิตน 3. มภี มู คิ ๎ุมกันทีด่ ีในตวั พรอ๎ มรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงในดา๎ นตาํ ง ๆ 4. มคี วามรอบรูใ๎ นเรอ่ื งทเ่ี กี่ยวข๎อง สามารถคิดวิเคราะห์และปฏบิ ตั ิตนดว๎ ยความรอบคอบและระมัดระวงั 5. ปฏิบัติตนและดาเนินชีวิตอยํางมีคุณธรรมตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎วย ความซ่ือสัตย์สุจริต ขยัน อดทน เพียรพยายาม แบํงปัน มีสติปัญญา มีวินัย พ่ึงตนเอง เอ้ืออาทร รับผดิ ชอบ และอยูรํ ํวมกับผูอ๎ นื่ ได๎อยาํ งมคี วามสขุ 2.1.2 สรปุ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มหี ลักพจิ ารณาอยํู 5 สํวน ดงั น้ี (ปรียานชุ พบิ ูลสราวุธ, 2550:10) 1) กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยํูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพน้ื ฐานจากวถิ ีชวี ิตดง้ั เดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยกุ ต์ใช๎ได๎ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลก เชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูํตลอดเวลา มุํงเน๎นการรอดพ๎นจากภัยและวิกฤต เพ่ือความมั่นคงและความ ยัง่ ยนื ของการพฒั นา 2) คณุ ลักษณะ เศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนามาประยกุ ต์ใชก๎ ับการปฏบิ ัติตนไดใ๎ นทุกระดับ โดย เน๎นการปฏิบัติตนบนทางสายกลางและการพฒั นาอยํางเปน็ ขนั้ ตอน 3) คานยิ าม ความพอเพียงจะตอ๎ งประกอบด๎วย 3 คณุ ลกั ษณะ พร๎อม ๆ กัน ดงั นี้ (1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมํน๎อยเกินไปและไมํมากเกินไป โดยไมํ เบียดเบียนตนเองและผ๎ูอ่ืน เชนํ การผลติ และการบรโิ ภคท่อี ยใํู นระดับพอประมาณ
9 (2) ความมีเหตผุ ล หมายถึง การตดั สินใจเก่ยี วกบั ระดบั ของความพอเพียงน้ันจะต๎องเป็นไป อยํางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข๎องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดวําจะเกิดข้ึนจากการกระทา น้นั ๆ อยํางรอบคอบ (3) การมีภูมิค๎ุมกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให๎พร๎อม พร๎อมรับกับผลกระทบและ การเปล่ียนแปลงตาํ ง ๆ ที่จะเกดิ ข้นึ โดยคานงึ ถงึ ความเป็นไปได๎ของสถานการณ์ตําง ๆ ท่ีคาดวําจะเกิดข้ึนใน อนาคตทงั้ ใกลแ๎ ละไกล 4) เงอื่ นไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตาํ ง ๆ ให๎อยํูในระดับพอเพียงน้ัน ต๎องอาศัยทั้ง ความรแู๎ ละคุณธรรมเป็นพน้ื ฐาน กลําวคือ (1) เงื่อนไขความรู๎ ประกอบด๎วย ความรูเ๎ ก่ียวกับวิชาการตําง ๆ ท่ีเกี่ยวข๎องอยํางรอบด๎าน ความรอบคอบท่ีจะนาความรู๎เหลําน้ันมาพิจารณาให๎เช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความ ระมัดระวงั ในข้ันปฏบิ ัติ (2) เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะต๎องเสริมสร๎าง ประกอบด๎วย มีความตระหนักในคุณธรรม มคี วามซ่ือสัตย์สุจริต และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช๎สตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ 5) แนวทางปฏิบัติ/ผลท่ีคาดวําจะได๎รับจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช๎ คือ การพัฒนาที่สมดุลและย่ังยืน พร๎อมรับตํอการเปล่ียนแปลงในทุกด๎าน ท้ังด๎านเศรษฐกิจ สังคม ส่งิ แวดลอ๎ ม ความรูแ๎ ละเทคโนโลยี สรปุ ไดด๎ งั ภาพประกอบท่ี 1 ทางสายกลาง พอประมาณ มีเหตุผล มีภมู คิ ุ้มกนั เง่อื นไขความรู้ เง่อื นไขคณุ ธรรม รอบรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั ในการวางแผนและดาเนินการ ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต ขยนั อดทน สติ ปัญญา แบง่ ปัน ไมเ่ บยี ดเบียน เศรษฐกจิ / สงั คม / ส่งิ แวดล้อม / สมดุล / พร้อมรับต่อการ ภาพประกอบท่ี 1 แผนภมู ิแสดงหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ีมา : สานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงํ ชาติ (2548 : 17)
10 จากแผนภาพสรุปได๎วํา หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ ปรัชญาท่ียึดหลักทางสายกลาง ที่ชี้แนว ทางการดารงอยูํและปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตํระดับครอบครัวไปจนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนา และบริหารประเทศ ใหด๎ าเนนิ ไปในทางสายกลาง มีความพอเพียงและมีความพร๎อมท่ีจะจัดการตํอผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ซึ่งจะต๎องอาศัยความรอบร๎ู รอบคอบ และระมัดระวัง ในการ วางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน เศรษฐกิจพอเพียงไมํใชํเพียงการประหยัด แตํเป็นการดาเนินชีวิตอยําง สมดุลและยง่ั ยนื เพอ่ื ใหส๎ ามารถอยูํได๎แมใ๎ นโลกโลกาภวิ ัฒน์ที่มีการแขงํ ขันสูง 2.1.3 ความสาคญั ของหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 3) ได๎ให๎ความสาคัญของหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ดงั นี้ 1. เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาทีม่ ีความสาคัญยิง่ สาหรับการขจดั ความยากจนและการลดความ เส่ียงทางเศรษฐกิจ 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นพื้นฐานของการสร๎างพลังอานาจของชุมชนและการพัฒนา ศักยภาพชุมชนให๎เขม๎ แข็ง เพ่ือเป็นฐานรากของการพัฒนาประเทศ 3. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชํวยยกระดับความรับผิดชอบตํอสังคมและส่ิงแวดล๎อมของ องคก์ รตําง ๆ ดว๎ ยการสร๎างข๎อปฏบิ ตั ิในการดาเนินงานบนรากฐานของความพอเพียง 4. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะมีความสาคัญยิ่งตํอการปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภิบาล ในการบริหารงานภาครฐั 5. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถเป็นแนวทางในการกาหนดนโยบายของชาติ เพื่อสร๎าง ภมู คิ มุ๎ กันตอํ สถานการณ์ที่เข๎ามากระทบโดยฉับพลัน และเพอื่ ปรับปรงุ นโยบายตาํ ง ๆ ใหเ๎ หมาะสม 6. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชํวยการพัฒนาคนให๎พออยูํพอกินและอยํูดีมีสุข พ่ึงตนเองได๎ ระดับหนึ่ง มศี ักยภาพ มีทางเลือก ทั้งดา๎ นสขุ ภาพ ความร๎ู ทักษะ อาชพี เสรภี าพ 7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชํวยให๎มนุษย์อยํูรํวมกับผู๎อ่ืนในสังคมได๎อยํางสันติสุข ไมเํ บยี ดเบยี น ไมํเอารัดเอาเปรียบ แบํงปัน เอ้อื เฟือ้ เผอื่ แผํ มีจิตเมตตา และจติ สาธารณะ จากความสาคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่กลําวข๎างต๎น สรุปได๎วํา ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งเปน็ หลักแนวคิดและหลกั ปฏบิ ตั ใิ นการดาเนินชวี ติ ใหอ๎ ยํูรอดในสภาวการณ์ของโลกยุคโลภาภิวัตน์ และ สภาวะวิกฤตทางเศรษฐกจิ ในปัจจุบัน โดยมีหลกั คุณธรรมเปน็ ท่ียดึ เหนย่ี วควบคํูกับการดาเนินชีวิต ตลอดจนใช๎ เปน็ แนวคดิ ในการกาหนดนโยบายเพอื่ การบรหิ ารตง้ั แตรํ ะดบั บคุ คล ชุมชน หนํวยงานองค์การตําง ๆ สถาบัน จนถงึ ระดับรฐั บาลท่มี หี น๎าท่บี ริหารประเทศ 2.1.4 การนาปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศกึ ษา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดที่พระบาทสมเด็จพระเจ๎าอยูํหัวฯ ทรงมีพระราชดารัส ชี้แนะแกํพสกนิกรชาวไทยมานานกวํา 30 ปี โดยเฉพาะการให๎ความสาคัญกับการให๎การศึกษาเป็นตัว ขับเคลื่อนการพฒั นา ดังพระบรมราโชวาทท่ีพระราชทานแกํคณะครูและนักเรียนที่ได๎รับพระราชทานรางวัลฯ เมื่อวนั จนั ทรท์ ี่ 27 กรกฎาคม พ.ศ.2524 ความตอนหนึ่งวํา “การศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการสร๎างและ พัฒนาความรู๎ ความคิด ความประพฤตดิ ี และคุณธรรมของบุคคล สังคมและบ๎านเมืองใดให๎การศึกษาท่ีดีแกํ เยาวชนได๎อยํางครบถ๎วน ล๎วนพอเหมาะกับทุก ๆ ด๎าน สังคมและบ๎านเมืองนั้นก็จะมีพลเมืองที่มีคุณภาพ ซ่ึงสามารถธารงรักษาความเจริญม่ันคงของประเทศชาติไว๎ และพัฒนาให๎ก๎าวหน๎าตํอไปได๎โดยตลอด” (ปรียานชุ พิบูลยส์ ราวุธ, 2550 : 1)
11 กระทัง่ ประเทศไทยได๎ประสบกับภาวะวกิ ฤตทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 พระบาทสมเด็จพระ เจ๎าอยหูํ วั ได๎มีกระแสพระราชดารัส เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540 ท่ีเก่ียวกับการพัฒนาเศรษฐกิจแบบ พอเพียง ความตอนหนึ่งวํา “การจะเป็นเสือน้ันไมํสาคัญ สาคัญอยูํท่ีเราพออยํูพอกินและมีเศรษฐกิจการ เป็นอยํูอยาํ งพอมพี อกนิ แบบพอมพี อกินหมายความวาํ อ๎ุมชตู วั เองได๎ ให๎มพี อเพยี งกับตนเอง” จากกระแส พระราชดารัสดังกลําวจะเห็นได๎วํา พระองค์ทรงชี้แนะแนวทางสาหรับการฟื้นฟูเศรษฐกิจในสภาวะวิกฤตทาง เศรษฐกจิ ได๎ทรงคณุ คาํ ยงิ่ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2550 : คานา) กระแสพระราชดารัสดังกลําว นาไปสูํการกาหนดเป็นหลักการและนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนา ประเทศของรัฐดังปรากฏอยูํในเอกสารสาคัญ เชํน รัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 78 รัฐต๎องดาเนินการตามแนวนโยบายด๎านการบริหารราชการแผํนดิน (1) บริหารราชการแผํนดิน ให๎เป็นไปเพ่ือพฒั นาสงั คม เศรษฐกจิ และความม่นั คงของประเทศอยํางย่งั ยืน โดยตอ๎ งสํงเสริมการดาเนินการ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสาคัญ และมาตรา 83 รัฐต๎องสํงเสริมและสนับสนุนให๎มีการดาเนินการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในพระราชบัญญัติ การศึกษาแหํงชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 6 การจัดการศึกษาต๎องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให๎เป็นมนุษย์ท่ี สมบูรณ์ทั้งรํางกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู๎ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยํูรํวมกับผ๎ูอื่นได๎อยํางมีความสุข และในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) ท่ียังคงนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวปฏิบัติควบคํูกับการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็นองค์รวมที่มีคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาอยํางจริงจัง เพื่อให๎เกิดการพัฒนาประเทศท่ีสมดุล เป็นธรรม และยั่งยนื ดังจะเหน็ ไดช๎ ัดเจนจากพนั ธกิจของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหํงชาติ ฉบับท่ี 10 ท่ีระบุส่ิง ทตี่ อ๎ งดาเนนิ การไวว๎ าํ เพอื่ ให๎การพฒั นาประเทศในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 10 มุํงสํู “สังคมอยํูเย็นเป็นสุข รํวมกัน” ภายใต๎แนวปฏิบัติของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เห็นควรกาหนดพันธกิจของการพัฒนา ประเทศ ดงั น้ี 1. พัฒนาคนใหม๎ คี ณุ ภาพ คุณธรรม นาความรอบรอ๎ู ยํางเทําทนั 2. เสรมิ สร๎างเศรษฐกิจให๎มคี ณุ ภาพ เสถียรภาพ และเป็นธรรม 3. ดารงความหลากหลายทางชีวภาพ และสร๎างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ คณุ ภาพส่งิ แวดลอ๎ ม 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการประเทศให๎เกิดธรรมาภิบาล ภายใต๎ระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คณะทางานสังเคราะห์ถอดบทเรียนองค์ความร๎ูแนวทางการบริหาร สถานศึกษาพอเพยี ง สานกั งานทรัพยส์ นิ สํวนพระมหากษตั ริย์และกระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551 : 2–5) กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหนํวยงานหลักในการพัฒนาคนและสร๎างเยาวชนให๎มีคุณภาพของ ประเทศ ได๎ตระหนักถึงความสาคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดังท่ีปรากฏในนโยบายของรัฐดังกลําว โดยเฉพาะการให๎ความสาคัญกับการพัฒนาคนซ่ึงเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 10 มุํงเน๎นนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาประเทศ จึงจัดทายุทธศาสตร์เพื่อดาเนินโครงการ ขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปลูกฝังให๎เด็กและเยาวชนรู๎จักการใช๎ชีวิตท่ีพอเพียง เห็นคุณคํา ของทรัพยากรตําง ๆ ฝึกการอยํูรํวมกับผ๎ูอ่ืนอยํางเอื้อเฟ้ือเผื่อแผํและแบํงปัน มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล๎อมและ เห็นคุณคําของวัฒนธรรม คํานิยม และเอกลักษณ์ของความเป็นไทย โดยมีหนํวยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการรํวมกันรับผิดชอบ เพื่อให๎มีความตํอเนื่องและยั่งยืนนาสูํวิถีชีวิตของประชาชน สามารถ พฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมได๎ตามแนวพระราชดารัสและนโยบายรัฐบาล รวมทั้งเป็นจุดเร่ิมต๎นของการผลักดัน
12 ใหป๎ ระเทศชาติโดยรวมพฒั นาตอํ ไปอยํางเต็มศักยภาพ โดยใช๎รูปแบบการจัดการศึกษาบนพื้นฐานปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : คานา) ซ่ึงในการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะใช๎คุณธรรมเป็นพ้ืนฐานของ กระบวนการเรียนรู๎ท่ีเช่ือมโยงความรํวมมือระหวํางสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทาง ศาสนา ให๎มีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาเพ่ือให๎ผ๎ูเรียนเกิดความร๎ู ทักษะ และเจตคติ สามารถนาไป ประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวันได๎อยํางสมดุลและย่ังยืน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 2) ซ่ึงมีรายละเอียด ในการดาเนนิ การขบั เคลอื่ น ดงั น้ี 2.1.4.1 การขับเคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูํสถานศึกษา ปรยี านุช พบิ ูลสราวธุ (2550 : 4–5) ได๎กลําวถึงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสูํสถานศึกษา ดงั น้ี 1) วัตถุประสงค์ เพ่ือให๎สถานศึกษานาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช๎ในการ จดั การเรยี นการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียน และการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อให๎เกิดผลในทาง ปฏบิ ัตใิ นทุกระดับได๎อยาํ งมีประสทิ ธิภาพและมปี ระสิทธผิ ล เกดิ การปรบั เปล่ยี นกระบวนทัศน์ในการดาเนินชีวิต บนพนื้ ฐานของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยาํ งตํอเนือ่ ง 2) วิสยั ทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการมํุงพัฒนาสถานศึกษาในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปจัดการศึกษาอยํางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สํงผลสํูการดาเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงของผเู๎ รยี น ผ๎ูบรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาอยํางตํอเน่อื ง 3) เป้าหมาย ระยะที่ 1 ปี 2550 กาหนดให๎มีสถานศึกษาท่ีสามารถเป็นแบบอยํางในการจัด กระบวนการเรยี นการสอนและการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมตํ า่ กวาํ 80 แหงํ ระยะที่ 2 ปี 2551 – 2552 พัฒนาและขยายเครือขํายสถานศึกษาที่เป็น แบบอยํางในการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทกุ จังหวดั 800 แหํง ระยะที่ 3 ปี 2553 – 2554 พัฒนาให๎สถานศึกษาสามารถนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ๎ นการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการท่ีเหมาะสมกับบริบทของแตํ ละสถานศกึ ษาได๎ครบทกุ แหงํ ทั่วประเทศ 4) ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่สถานศึกษา พ.ศ. 2550 – 2554 ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง
13 แนวทางการขบั เคลือ่ น 1.1 ศึกษา วิเคราะห์ วจิ ยั แนวทางการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป จดั การศกึ ษา 1.2 จดั ทาแนวทางการจัดการเรียนรู๎ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํการเรียนการ สอนทกุ ระดบั การศกึ ษา โดยสอดแทรกสาระเศรษฐกจิ พอเพยี งไวใ๎ นสาระการเรียนรู๎และกจิ กรรมพัฒนาผ๎เู รียน เพื่อให๎เกิดการพัฒนาตามลาดับ โดยเร่ิมให๎เกิดการพัฒนาการเรียนร๎ูระดับบุคคลและครอบครัว รู๎จักนาไป ประยกุ ตใ์ ช๎ นาไปขยายผลในครอบครวั และชุมชน เพอื่ ให๎เกิดประโยชน์ตอํ สังคมและประเทศ 1.3 จัดทาแนวทางการจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาบุคลากร แนวทางการขบั เคลอ่ื น 2.1 อบรมสัมมนาผู๎บริหารการศึกษาให๎เกิดความรู๎ ความเข๎าใจในหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.2 ฝกึ อบรมและพฒั นาผูบ๎ รหิ ารสถานศึกษา ข๎าราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาในสถานศึกษา กลํุมเปูาหมาย ให๎สามารถนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการสํูการเรียน การสอนและการบรหิ ารจดั การ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การขยายผลและพฒั นาเครอื ขาํ ย แนวทางการขับเคล่ือน 3.1 ใหส๎ ถานศึกษาทีเ่ ปน็ แบบอยาํ งเข๎าไปชํวยเหลอื พฒั นาสถานศกึ ษาที่เขา๎ รํวม โครงการ 1:10 แหํง ในการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช๎ในการจดั การเรียนการสอน และการบรหิ ารจดั การ 3.2 ให๎มีระบบการแลกเปล่ียนเรียนร๎ูและสํงเสริม สนับสนุน ประสานการ ดาเนนิ งานของเครือขําย 3.3 จดั ทาระบบข๎อมูลสารสนเทศและเช่อื มโยงเครือขาํ ยกบั หนํวยงานท่ีเกีย่ วข๎อง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การเผยแพรปํ ระชาสมั พันธ์ แนวทางการขบั เคลื่อน 4.1 เผยแพรํการประยุกต์ใช๎หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด การศึกษาโดยจัดทาสอื่ รปู แบบตําง ๆ 4.2 เผยแพรํข๎อมูลขําวสาร ความก๎าวหน๎าของการจัดการศึกษาตามปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การพัฒนากระบวนการตดิ ตามและประเมนิ ผล แนวทางการขบั เคลื่อน ในการติดตามและประเมนิ ผลเพ่อื ทราบการดาเนนิ งานดา๎ นการจัดการเรยี นการ สอน การบรหิ ารจัดการ และการพัฒนาเครือขาํ ยโดยมีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้ 5.1 จดั ใหม๎ คี ณะกรรมการติดตามประเมนิ ผลระดบั กระทรวง ระดบั ภมู ภิ าค และ ระดับสถานศึกษา โดยใหค๎ ณะกรรมการมหี นา๎ ท่ีตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดาเนนิ งานในภาพรวม ระดบั ภมู ภิ าคและสถานศึกษา 5.2 กาหนดรปู แบบ แนวทาง เครื่องมือ และคมํู ือในการติดตามและประเมนิ ผล
14 5.3 ดาเนนิ การตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผล 5) ภาพความสาเรจ็ ภาพความสาเร็จการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกาหนดไว๎ ดังน้ี 5.1 สถานศึกษาข้ันพื้นฐานนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในการ บรหิ ารจดั การ 5.2 ผูบ๎ ริหาร ครูและบุคลากรทางศึกษาท่ีเก่ยี วขอ๎ ง มีความร๎ูความเข๎าใจ และปฏิบัติ ตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.3 นักเรียนปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมนาความร๎ูและมีวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 5.4 ผป๎ู กครอง ชุมชน มวี ิถชี ีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1.4.2 แนวทางพฒั นาคนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการฝึกให๎คิด พูด ทา อยํางพอดี พอเหมาะ พอควร บนหลักเหตุผล ไมํประมาท โดยใชส๎ ตแิ ละปัญญาในทางทถ่ี กู ต๎อง เพ่ือเพิ่มทางเลือกและพัฒนาศักยภาพของแตํละคนให๎สามารถอุ๎มชูตัวเอง และครอบครัวได๎ โดยไมํเบียดเบียนตัวเองและผ๎ูอื่น และอยูํรํวมกับผ๎ูอ่ืนในสังคมได๎อยํางสงบสุข รู๎รักสามัคคี อยูํรํวมกับธรรมชาติได๎อยํางสมดุลและยั่งยืน และมีคํานิยมที่ดีงาม รํวมรักษาคุณคําของความเป็นไทย (ปรียานชุ พิบลู สราวธุ , 2550 : 2) 2.1.4.3 การจัดการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได๎กาหนดการจดั การศึกษาไว๎ ดงั น้ี (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2550 : 3) 1) เปูาหมายสาคัญของการขับเคล่ือน คือ การปลูกฝังให๎เด็กและเยาวชนรู๎จักการใช๎ ชีวิตที่พอเพียง เห็นคุณคําของทรัพยากรตําง ๆ ฝึกการอยํูรํวมกับผู๎อื่นอยํางเอื้อเฟื้อเผื่อแผํและแบํงปัน มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล๎อม และเห็นคุณคําของวัฒนธรรม คํานิยม เอกลักษณ์/ความเป็นไทย การจัดการ ศึกษาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง 2) การจัดการศึกษาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ดาเนนิ การไดใ๎ น 2 สวํ น (1) การบริหารสถานศึกษาในดา๎ นตําง ๆ (2) การจัดการเรยี นรู๎ของผ๎ูเรียน ซ่งึ ประกอบดว๎ ย 2.1 การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงในหลักสูตรและสาระการเรียนร๎ู ในห๎องเรยี น 2.2 การประยกุ ตห์ ลักเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนนอก หอ๎ งเรียน การบรรลเุ ปูาหมายดังกลําวข๎างต๎น ครูเป็นบุคลากรที่สาคัญในการถํายทอดความร๎ูและ ปลกู ฝังหลกั คิดตําง ๆ ใหแ๎ กํเด็ก โดยครูต๎องเข๎าใจอยํางถูกต๎อง สามารถวิเคราะห์ความพอเพียง ไมํพอเพียง ของตนเองได๎ และทาตวั เป็นแบบอยํางท่ดี ใี นการดาเนินชีวิตแบบพอเพยี ง
15 2.1.5 ขัน้ ตอนการดาเนินการตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการบรหิ ารจัดการศึกษา ในสถานศึกษา 2.1.5.1 ขน้ั ตอนในการดาเนนิ งาน การดาเนินการตามแนวทางการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาใน สถานศกึ ษา มขี ัน้ ตอนในการดาเนนิ การ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2550 : 24) 1. กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น นโยบายสาคัญของสถานศึกษา 2. พัฒนาความร๎ูความเข๎าใจแกํบุคลากรทั้งผู๎บริหาร ครู และคณะกรรมการ สถานศึกษา และสํงเสริมใหป๎ ฏบิ ัติตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ประชาสมั พันธเ์ ผยแพรคํ วามรูค๎ วามเขา๎ ใจแกผํ เ๎ู ก่ียวข๎องอนื่ ๆ 4. ทบทวนหรือปรับปรุงโครงสร๎างและพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 5. จัดทา ปรับปรุง หรือเพ่ิมเติมโครงการ กิจกรรม และปรับแผน กลยุทธ์ และ แผนปฏบิ ัตกิ ารของสถานศกึ ษา 6. ปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษา 7. จัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา 8. เสริมสรา๎ งบรรยากาศและสภาพแวดลอ๎ มใหเ๎ อ้ือตอํ การจัดการเรียนรู๎ 9. จัดระบบนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนินการ 10. ให๎ผ๎ูปกครองและชุมชนเข๎ามามีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาในขั้นตอนสาคัญทุก ข้นั ตอนการดาเนินการ ดงั แผนภาพประกอบที่ 2 ดังน้ี
16 สถานศึกษา กาหนดแนวนโยบายการจดั การศกึ ษาเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ นโยบายสาคญั ของสถานศกึ ษา พฒั นาความรู้ความเข้าใจแกบ่ ุคลากรและสง่ เสรมิ การ ปฏบิ ัตติ น ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเขา้ ใจ แก่ผเู้ กย่ี วขอ้ งคนอ่นื ๆ สง่ เสรมิ ปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการให้เป็นไป นิเทศ การมสี ว่ นรว่ ม ตาม ติดตาม ของผปู้ กครอง ประเมนิ แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ และชมุ ชน รายงานผล จัดทาหรอื เพ่ิมเตมิ โครงการ กิจกรรม และปรบั แผนกลยทุ ธ์และแผนปฏบิ ัตกิ ารของ ปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา เสรมิ สรา้ งบรรยากาศและ จัดกา1รเ7รียนการสอน สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา ภาพประกอบท่ี 2 แผนภูมแิ สดงข้นั ตอนการดาเนินการตามแนวทางการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการบริหารจดั การศกึ ษาในสถานศกึ ษา ที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ (2550 : 25) 2.1.6 ความคาดหวงั จากการนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงส่สู ถานศึกษา ภาพความสาเร็จท่ีคาดหวังของการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสํสู ถานศึกษาทจ่ี ะเกิดข้นึ กับ บคุ คลทม่ี ีสวํ นเกย่ี วข๎อง ดังนี้ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2550 : 30) 2.1.6.1 ผูบ๎ รหิ ารสถานศึกษา 1) มีความรู๎ความเขา๎ ใจเกีย่ วกับหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) นาหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ในการบริหารจัด การศกึ ษา 3) ปฏบิ ัตติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเป็นแบบอยาํ งทีด่ ี 4) เผยแพรหํ ลักการ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
17 2.1.6.2 ครผู ๎สู อน 1) มีความร๎คู วามเขา๎ ในเกีย่ วกับหลกั การ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) นาหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ๎ นการจดั การเรียนรู๎ และ พฒั นาผู๎เรยี น 3) ปฏบิ ัติตนตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเป็นแบบอยํางที่ดี 4) เผยแพรํหลักการ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.1.6.3 บุคลากรทางการศึกษา 1) มคี วามรู๎ความเข๎าใจเก่ยี วกับหลักการ แนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2) นาหลกั การ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ๎ นการปฏิบตั ิหน๎าท่ี 3) ปฏบิ ตั ติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเป็นแบบอยาํ งที่ดี 4) เผยแพรหํ ลักการ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.1.6.4 ผปู๎ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน และชมุ ชน 1) มีความรค๎ู วามเขา๎ ใจเกีย่ วกบั หลักการ แนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ปฏบิ ัติตนตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเปน็ แบบอยํางท่ดี ี 3) เผยแพรหํ ลักการ แนวคิด ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4) สํงเสรมิ สนับสนุนการขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสํู ถานศึกษา 2.1.6.5 นักเรยี น 1) มคี วามรู๎ความเข๎าใจเก่ียวกับหลักการ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ปฏิบัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) เผยแพรํหลักการ แนวคิด ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สรุปตามแผนภาพประกอบที่ 3 ดังนี้
18 ภาพความสาเรจ็ ทค่ี าดหวังของการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งส่สู ถานศกึ ษา ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง กรรมการ สถานศกึ ษา ชุมชน - มีความรู้ความเขา้ ใจ - มีความรูค้ วามเขา้ ใจ - มีความรคู้ วามเขา้ ใจ เกย่ี วกบั หลักการ แนวคดิ เก่ยี วกบั หลักการ เกีย่ วกับหลกั การ - มคี วามรู้ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจ แนวคดิ ปรชั ญาของ แนวคดิ ปรชั ญาของ เกีย่ วกบั หลกั การ พอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง แนวคิด ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง - นาหลกั การ แนวคดิ - นาหลกั การ แนวคดิ - นาหลักการ แนวคิด ปรัชญาของเศรษฐกิจ ปรัชญาของเศรษฐกจิ ปรัชญาของเศรษฐกิจ - ปฏิบัติตนตามแนวทาง พอเพยี งไปใชใ้ นการ พอเพียงไปใชใ้ นการ พอเพียงไปใช้ในการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจ บริหารจดั การศึกษา จัดการเรยี นรู้ และ ปฏบิ ัติหน้าท่ี พอเพยี ง และเป็น พฒั นาผเู้ รียน แบบอยา่ งทีด่ ี - ปฏิบัติตนตามแนวทาง - ปฏิบตั ิตนตามแนวทาง ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง - ปฏิบตั ิตนตามแนวทาง ปรัชญาของเศรษฐกิจ - เผยแพร่หลักการ และเป็นแบบอย่างท่ดี ี ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และเปน็ แนวคิด ปรชั ญาของ พอเพียง และเป็น แบบอยา่ งท่ีดี เศรษฐกิจพอเพียง - เผยแพรห่ ลักการ แบบอยา่ งท่ีดี แนวคิด ปรัชญาของ - เผยแพร่หลกั การ - ส่งเสรมิ สนับสนุนการ เศรษฐกิจพอเพยี ง - เผยแพรห่ ลกั การ แนวคิด ปรัชญาของ ขับเคลอ่ื นปรชั ญาของ แนวคิด ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ เศรษฐกิจพอเพยี ง สถานศกึ ษา นักเรียน - มีความรคู้ วามเข้าในเก่ียวกบั หลกั การ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ปฏิบัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - เผยแพรห่ ลกั การ แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเยง ภาพประกอบที่ 3 ภาพความสาเรจ็ ที่คาดหวังของการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสสํู ถานศึกษา ท่ีมา: กระทรวงศึกษาธิการ (2550 : 30) จากความคาดหวังเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปประยุกต์ใช๎ได๎อยําง เหมาะสม และปลูกฝัง ปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ในการดารงชีวิตให๎อยูํบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนนาไปสูํการปรับแนวทางการพัฒนา ด๎วยการกาหนดนโยบายด๎านการศึกษา โดยนาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ใช๎คุณธรรมเป็น
19 พ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรู๎ท่ีเช่ือมโยงความรํวมมือระหวํางสถาบันการศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันทางศาสนา ให๎มีสํวนรํวมในการจัดการศึกษาเพ่ือให๎ผ๎ูเรียนเกิดความรู๎ ทักษะ และเจตคติ สามารถ นาไปประยกุ ตใ์ ช๎ในชวี ติ ประจาวนั ไดอ๎ ยาํ งสมดุลและยง่ั ยนื (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550 : 4) ในการนาแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการบริหารจัดการศึกษาน้ัน จะเห็น ได๎วําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสัมพันธ์กับมาตรฐานของหนํวยงานตําง ๆ ท่ีเก่ียวข๎องในการจัด การศกึ ษา และการประเมนิ คุณภาพการจดั การศกึ ษา ตอ๎ งมีการศึกษามาตรฐานการศกึ ษาให๎ละเอยี ด 2.2 กรอบการประเมนิ ศูนยก์ ารเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา การประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปเพ่ือให๎สถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ เพ่ือให๎การพัฒนาเป็นไปอยํางมีคุณภาพด๎วยความย่ังยืน ซึ่งการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให๎เป็นศูนย์การ เรียนรตู๎ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการขยายผลการขับเคลื่อน สถานศึกษาพอเพียง โดยได๎กาหนดแนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา ดังนี้ 2.2.1 แนวทางการพัฒนา 1) สถานศึกษาท่ีจะพัฒนาเป็น “ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษา” ตอ๎ งเป็นสถานศกึ ษาทไ่ี ด๎รบั ประกาศเปน็ “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 2) การพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให๎เป็น “ศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา เปน็ บทบาทของหนวํ ยงานต๎นสังกัด โดยอาจรํวมมือกับหนํวยงานอื่นๆ ในการ ดาเนนิ งานตามความเหมาะสม 3) การพัฒนา “ศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา” ให๎ เปน็ ไปเพอื่ เสรมิ สร๎างศกั ยภาพในการขยายผล “สถานศกึ ษาพอเพยี ง” 2.2.2 การขอรบั การประเมินของสถานศกึ ษา ดาเนนิ การดังนี้ 1) จดั ทาแบบประเมนิ ตนเอง พรอ้ มรายละเอียดข้อมูลประกอบการคดั กรอง ความยาว ไมเ่ กิน 20 หน้า กระดาษเอ4 2) จัดทาภาคผนวก โดยให๎บันทึกภาพความสาเร็จของการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง ให๎เป็นศูนย์ การเรียนร๎ูฯ บริบทสถานศึกษา แหลํง/ฐานการเรียนรู๎ วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให๎เป็น ศูนย์การ เรียนรู๎ เร่ืองเลําของครูเก่ียวกับเร่ืองการออกแบบการเรียนรู๎ เพื่อเสริมสร๎างอุปนิสัยพอเพียง และ เรือ่ งเลาํ ของ นักเรยี นแกนนาที่มีการประยกุ ตใ์ ชป๎ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในวถิ ีชีวติ ประจาวัน พรอ๎ มทงั้ คาบรรยาย ประกอบลงในแผํน CD ความยาวไมํเกิน 15 นาที 3) จดั สง่ แบบประเมนิ ตนเองและภาคผนวก ดังนี้ 3.1) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํงไป ยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาต๎นสังกัด (สพป.) / (สพม.) /หรือสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) แลว๎ แตํ กรณี 3.2) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานสํงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัย สํงไปยังสานักงาน กศน. จังหวัด
20 3.3) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการสํงเสริมการศึกษาเอกชน สงํ ไปยัง หนวํ ยงานตน๎ สังกดั สวํ นกลาง 3.4) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา สํงไปยัง หนํวยงานต๎น สงั กดั สํวนกลาง 3.5) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดกรมสํงเสริมการปกครองท๎องถ่ิน สํงไปยัง องค์กร ปกครองสวํ นทอ๎ งถ่นิ (เทศบาล/อบต./อบจ.) 3.6) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน สํงไปยัง กองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน 3.7) สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดกรุงเทพมหานคร สํงไปยัง สานักการศึกษา กรงุ เทพมหานคร 4) หน่วยงานตน้ สงั กดั ดาเนนิ การดงั น้ี 4.1) หนํวยงานต๎นสังกัดตามข๎อ 3.1) ตรวจพิจารณาคัดกรองข๎อมูลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาและรายงานพร๎อมท้ังเอกสารหลักฐานการประเมิน สํงไปยังศูนย์ขับเคล่ือนการพัฒนา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สพฐ. เพื่อรวบรวมนาสํงศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ 4.2) หนํวยงานต๎นสังกัดตามข๎อ 3.2) ตรวจพิจารณาคัดกรองข๎อมูลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษาและรายงานพร๎อมท้ังเอกสารหลกั ฐานการประเมนิ สงํ ไปยังสานักงานสํงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เพื่อรวบรวมนาสํงศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ 4.3) หนํวยงานต๎นสังกัดตามข๎อ 3.3, 3.4, 3.6 และ 3.7 ตรวจพิจารณาคัดกรอง ข๎อมูลการประเมินตนเองของสถานศึกษา พร๎อมทั้งจัดสํงเอกสารหลักฐานการประเมิน รวบรวมนาสํงศูนย์ ขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ พอเพยี งกระทรวงศึกษาธกิ าร 4.4) หนํวยงานต๎นสังกัดตามข๎อ 3.5 ตรวจพิจารณาคัดกรองข๎อมูลการประเมิน ตนเองของสถานศกึ ษาและรายงานความพร๎อมท้งั เอกสารหลักฐานการประเมิน สํงไปยังสานักงานสํงเสริมการ ปกครองท๎องถิ่นจังหวัด เพื่อนาสํงกรมสํงเสริมการปกครองท๎องถิ่น (กถ.) รวบรวมนาสํงศูนย์ขับเคล่ือน เศรษฐกจิ พอเพียง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5) เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการประเมนิ เบ้ืองตน้ และคัดกรอง ประกอบด้วย 5.1) แบบประเมินตนเอง (ศรร.01) 5.2) ข๎อมลู ประกอบการคัดกรองศูนยก์ ารเรียนร๎ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษา (ศรร.02) 5.3) เกณฑ์การประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงต๎องได๎คะแนนระดับคุณภาพต้ังแตํ 4 ขึ้นไป ในแตํละด๎าน ครบทุกด๎าน ซึ่งเกณฑก์ ารประเมินฯ เปน็ เกณฑก์ า๎ วหนา๎ มี 3 ด๎าน 8 ตวั บงํ ชี้ ดงั น้ี
21 1. ดา้ นบุคลากร ตัวบง่ ช้ี ระดับ รายละเอยี ดระดับคณุ ภาพ 1.1 ผูบ๎ รหิ าร คุณภาพ 1.2 ครู 1 - มคี วามร๎ู ความเข๎าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ปศพพ.) อยําง ถกู ต๎อง 2 - ตามระดบั ๑ และ - ปฏบิ ัตติ นตาม ปศพพ. และ - นาปศพพ. มาใชใ๎ นการบริหารจดั การสถานศึกษา 3 - ตามระดบั ๒ และ - สามารถถาํ ยทอด ประสบการณก์ ารนา ปศพพ. มาใชใ๎ นสถานศึกษา และ - มุํงมนั่ ในการขับเคลื่อน ปศพพ. ในสถานศึกษา 4 - ตามระดบั ๓ และ - ขยายผลการขบั เคลื่อน ปศพพ. สภํู ายนอกสถานศึกษา เชํน ชุมชน สถานศึกษาอนื่ ฯลฯ 5 - ตามระดบั ๔ และ - ชุมชนหรอื หนํวยงานภายนอก เห็นคณุ คํา ยอมรับ และให๎ความรํวมมือ ในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ. สูภํ ายนอกสถานศึกษา 1 - รอ๎ ยละ ๒๕ ของจานวนครูในสถานศึกษา มีความร๎ู ความเขา๎ ใจ มสี ่อื และ/ หรือ นวัตกรรมการเรียนรู๎เกยี่ วกับ ปศพพ. และอธบิ าย ปศพพ. ไดอ๎ ยําง ถกู ต๎อง 2 - ตามระดบั ๑ และ - ปฏิบตั ติ นตาม ปศพพ. และ - ครูนา ปศพพ. มาใช๎ออกแบบและจดั กิจกรรมการเรยี นรทู๎ ี่รบั ผิดชอบ จน เหน็ ผล และ - ครใู ชส๎ ่ือ และ/หรือนวตั กรรม การเรยี นร๎เู กยี่ วกับ ปศพพ. ใน การจัด กจิ กรรมการเรยี นรู๎จนเห็นผล
22 ตัวบ่งชี้ ระดบั รายละเอียดระดับคณุ ภาพ คุณภาพ 1.2 ครู (ตํอ) 3 - ตามระดับ ๒ และ - ครูถํายทอดประสบการณ์ให๎เพือ่ นครูในสถานศึกษา จนมีครูทุกระดับชนั้ และทกุ กลํุมสาระการเรียนรูจ๎ ัดกิจกรรม การเรยี นรู๎ตาม ปศพพ. จนเหน็ ผล 4 - ตามระดบั ๓ และ - มคี รูแกนนานาบทเรียนความสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นรตู๎ าม ปศพพ. จาก การถอดบทเรยี นของตนมาจดทาเป็นส่ือขยายผลสํูภายนอก สถานศกึ ษาจน เห็นผล 5 - ตามระดบั ๔ และ - ครูมากกวํากึง่ หนง่ึ จดั กิจกรรมการเรยี นรูต๎ าม ปศพพ. อยาํ งตอํ เน่ือง และ - ครูในสถานศกึ ษารํวมมือในการขยายผลการขับเคล่ือนสํูภายนอก สถานศกึ ษาอยาํ งสมา่ เสมอ - ครูนาสอ่ื และ/หรอื นวัตกรรมท่พี ฒั นาตามระดบั ๔ มาใช๎ขยายผลสํู ภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล 1.3 นกั เรยี น 1 มนี ักเรยี นแกนนาท่ีมีความรู๎ ความเข๎าใจ และอธิบาย ปศพพ. ได๎อยําง ถูกต๎อง 2 - ตามระดับ ๑ และ - นกั เรยี นแกนนาเกดิ การเรยี นรู๎ และปฏิบตั ติ นตาม ปศพพ. จนเหน็ ผล เหน็ คณุ คํา และเกิดศรัทธา 3 - ตามระดับ ๒ และ - นกั เรยี นแกนนามสี วํ นรวํ มในการขบั เคลอ่ื น ปศพพ. ในสถานศกึ ษา จนมี นกั เรียนที่มีคณุ สมบัติอยูํอยํางพอเพยี ง จานวนเพิ่มขึน้ 4 - ตามระดับ ๓ และ - นกั เรยี นแกนนามีสวํ นรํวมในการขบั เคล่ือน ปศพพ. สูภํ ายนอก สถานศึกษา และ - นกั เรียนแกนนาไดน๎ า ปศพพ. มาพฒั นาตนเองอยาํ งตํอเนอ่ื ง 5 - ตามระดับ ๔ และ - นักเรยี นแกนนาเป็นหลักในการจัดกิจกรรมขบั เคล่ือน ปศพพ. ภายใน สถานศึกษา และ/หรือ จัดกิจกรรมขยายผล ปศพพ. สภํู ายนอกสถานศึกษา 1.4 คณะกรรมการ 1 รบั ร๎กู ารขบั เคลื่อน ปศพพ. ของ สถานศึกษา สถานศึกษา
23 ตวั บง่ ชี้ ระดับ รายละเอียดระดับคุณภาพ คณุ ภาพ 1.4 2 - ตามระดับ ๑ และ - มคี วามสนใจและมีสวํ นรวํ มในการขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษา คณะกรรมการ สถานศกึ ษา (ตํอ) 3 - ตามระดบั ๒ และ - เห็นคุณคาํ และศรัทธาในการขับเคล่ือน ปศพพ. ของ สถานศกึ ษา 4 - ตามระดับ ๓ และ - สนบั สนนุ กิจกรรมการขับเคลื่อน ปศพพ.ของ สถานศึกษาจนเห็นผล 5 - ตามระดับ ๔ และ - สนบั สนุนกจิ กรรมการขยายผลการขบั เคลอ่ื น ปศพพ. สภํู ายนอก จนเห็น ผล 2. การจดั การสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ตวั บ่งช้ี ระดบั รายละเอียดระดบั คณุ ภาพ คุณภาพ 2.1 อาคาร สถานที่ และสง่ิ แวดลอ๎ ม 1 มผี ูร๎ ับผิดชอบการใช๎ ปรบั ปรงุ ดแู ล รกั ษา อาคารสถานที่ และ จัดการ สภาพแวดลอ๎ มสาหรับการเรียนร๎ูอยาํ งเหมาะสม 2 - ตามระดบั 1 และ - มีแผนงาน/โครงการ งบประมาณ และผร๎ู บั ผิดชอบในการปรับใช๎ อาคารสถานที่ สภาพแวดล๎อมใหเ๎ ปน็ ไปตาม ปศพพ. 3 - ตามระดบั 2 และ - มศี ูนย์รวมข๎อมลู การขับเคลื่อน ปศพพ. ของสถานศึกษา และ - มแี ผนผังแสดงแหลงํ เรียนรู๎/ ฐานกิจกรรมการเรียนร๎ู ปศพพ. ใน สถานศึกษา และ - มสี ภาพแวดลอ๎ มทีเ่ อ้ือตอํ การเรยี นรตู๎ าม ปศพพ. เชนํ สะอาด รํมรน่ื ปลอดภัย ฯลฯ 4 - ตามระดับ 3 และ - ครูและนักเรียนมีสํวนรํวมในการดูแลรักษาส่งิ แวดล๎อม อาคาร สถานที่ ใหเ๎ อื้อตํอการเรยี นรูต๎ าม ปศพพ. 5 - ตามระดบั ๔ และ - ชุมชน หรือหนวํ ยงานอืน่ ไดใ๎ ช๎ประโยชน์ และมีสํวนรวํ มในการสงํ เสรมิ สนบั สนุน การดแู ลรักษา และพัฒนาอาคารสถานที่ สภาพแวดล๎อมของ สถานศึกษาอยํางสมา่ เสมอ
24 2.2 แหลงํ เรียนร๎ู/ 1 มีแหลงํ เรยี นร๎ู หรือฐานเรียนร๎ู หรอื กจิ กรรมการเรยี นรเู๎ พื่อเสริมสร๎าง ฐานการเรียนรู๎ และ/ อุปนิสยั อยูํอยาํ งพอเพยี งภายใน และ/หรือ ภายนอกสถานศึกษาท่ี หรือ กจิ กรรม การ สอดคล๎องกบั ภมู สิ ังคมของ สถานศึกษาและมีการจัดการอยาํ ง เรยี นรู๎เพ่ือ เสริมสรา๎ ง พอเพียง อปุ นสิ ัยอยํู อยําง พอเพยี ง 2 - ตามระดับ ๑ และ - มสี ่อื ประกอบการเรยี นรู๎ ประจาแหลงํ /ฐาน/กิจกรรมการเรียนรู๎ ปศพพ. ท่ีสามารถสือ่ ความได๎ถูกต๎อง 3 - ตามระดบั ๒ และ - มีวทิ ยากรรับผดิ ชอบฐานการเรียนร๎ู ปศพพ.ท่ีสามารถอธบิ ายความ ได๎ อยํางถูกต๎อง ชัดเจน และ - มแี ผนการจดั การเรยี นร๎ูของ แหลํง/ฐาน/กจิ กรรมการเรียนรู๎ ปศพพ. ได๎อยาํ งถูกต๎อง และชัดเจน 4 - ตามระดบั ๓ และ บคุ ลากรในสถานศึกษาสามารถเปน็ วิทยากรอธิบายการใชป๎ ระโยชน์จาก แหลํง/ ฐาน/กจิ กรรม การเรยี นร๎ู ปศพพ. ในการเสรมิ สร๎างอปุ นิสัย อยูํอยํางพอเพียงได๎อยําง ถกู ต๎อง และชดั เจน 5 - ตามระดบั ๔ และ - มีการประเมนิ ผลการใชแ๎ หลํง/ ฐาน/กิจกรรมการเรยี นรู๎ ปศพพ. อยาํ งเป็นรปู ธรรม และ - มกี ารพฒั นาแหลงํ /ฐาน/ กิจกรรมการเรยี นร๎ู ปศพพ. อยํางตํอเนื่อง 3. ความสมั พันธก์ ับหน่วยงานภายนอก ตัวบง่ ชี้ ระดบั รายละเอียดระดบั คณุ ภาพ คุณภาพ 3.1 ความสมั พันธ์กับ 1 มเี ครอื ขาํ ยการเรยี นร๎ู ปศพพ. สถานศึกษาอน่ื ในการ 2 - ตามระดบั ๑ และ ขยายผลการขบั เคล่ือน - มีประสบการณ์ในการรบั สถานศึกษาอน่ื มาศึกษาดูงาน ปศพพ. - ตามระดับ ๒ และ 3 - สามารถบรหิ ารจดั การเพ่ือรองรับการขอศกึ ษาดูงานจาก สถานศึกษาอืน่ โดยไมํกระทบภารกจิ หลักของสถานศึกษา 4 - ตามระดับ ๓ และ - เป็นสถานศกึ ษาแกนนาของเครือขํายขบั เคลื่อน ปศพพ. - ตามระดบั ๔ และ 5 - สามารถเปน็ พี่เลยี้ งในการพัฒนาสถานศึกษาอื่นใหเ๎ ปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี งได๎อยําง นอ๎ ย ๑ แหํง
25 3.2 ความสัมพันธ์กบั 1 มีความสัมพนั ธอ์ นั ดีกบั หนํวยงานตาํ ง ๆ หนํวยงานท่สี ังกัดและ/ หรือหนวํ ยงานภายนอก - ตามระดับ ๑ และ (ภาครัฐ ภาคเอกชน และ 2 - ประสานความรํวมมือกับ หนํวยงานตําง ๆ เพื่อให๎ และ/หรอื รบั ชุมชน) การสนบั สนนุ เพ่ือการขบั เคล่ือน ปศพพ. - ตามระดับ ๒ และ 3 - สามารถบริหารจดั การความสมั พันธ์กบั หนํวยงานตาํ ง ๆ ในการ ขบั เคล่อื น ปศพพ. ได๎อยาํ งเหมาะสม และมีประสิทธภิ าพ - ตามระดับ ๓ และ 4 - ได๎รบั การยอมรบั และความรํวมมอื จากหนํวยงานตําง ๆ ในการ ขยายผลการขับเคลอื่ น ปศพพ. สหํู นวํ ยงานภายนอก - ตามระดับ ๔ และ 5 - ประสานความรวํ มมือกับหนํวยงานตาํ ง ๆ จนสามารถพัฒนา สถานศึกษาอนื่ ใหเ๎ ปน็ สถานศึกษาพอเพียงได๎อยํางน๎อย ๑ แหํง 6) คณะกรรมการประเมนิ ศูนยก์ ารเรยี นร้ฯู ศูนย์ขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ แจ๎งรายช่ือสถานศึกษาพอเพียงที่ ผํานการคัดกรองข๎อมูลเบื้องต๎น ไปยังฝุายเลขานุการคณะกรรมการประเมินสํวนภูมิภาค เพ่ือจัดทาคาส่ัง คณะกรรมการ ประเมินฯ ดาเนินการออกประเมินสถานศึกษาพอเพียง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.3 งานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง กานต์ชนิต ต๏ะนัย (2551) วิจัยเร่ือง การน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติ ใน โรงเรียนบ๎านเทอดไทย อาเภอแมํฟูาหลวง จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการน๎อมนาแนวคิด เศรษฐกจิ พอเพยี งสกํู ารปฏิบัตใิ นโรงเรียน ศึกษาผลการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสํูการปฏิบัติในโรงเรียน และศึกษาข๎อเสนอแนะในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียนเทอดไทย อาเภอแมํฟูา หลวง จังหวัดเชียงราย ปีการศึกษา 2550 เก็บข๎อมูลจากประชากรจานวน 62 คน มีเน้ือหาในการศึกษา 4 ด๎าน คอื ด๎านการวางแผน การลงมือปฏิบตั ิ การตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ านและการแก๎ไข ปรับปรุง และ ศึกษาผลการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียน โดยเครื่องมือท่ีใช๎เป็นแบบสอบถามแบบ มาตราสํวนประมาณคํา และแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข๎อมูลโดยการหาคําร๎อยละ คําเฉล่ีย และสํวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศกึ ษา พบวํา การน๎อมนาแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียนบ๎านเทอดไทย อาเภอแมํฟูาหลวง จังหวัดเชียงราย ทั้ง 4 ด๎าน พบวําด๎านการวางแผน การลงมือปฏิบัติ การตรวจสอบผลการ ปฏบิ ัติงาน และการแกไ๎ ข ปรับปรุง ในภาพรวมอยูํในระดับปานกลาง ผลการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียนบ๎านเทอดไทย อาเภอแมํฟูา หลวง จังหวดั เชยี งราย ในภาพรวมอยใูํ นระดบั ปานกลาง ข๎อเสนอแนะในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียนบ๎านเทอดไทย อาเภอแมํฟูาหลวง จังหวัดเชียงราย พบวําควรให๎มีการปลูกฝังคํานิยมตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให๎เกิดกับ นักเรียนมากท่ีสุด รองลงมาคือการจัดอบรม สัมมนาหรือศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตาม
26 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให๎กับคณะครู บุคลากรในสถานศึกษาและการให๎ครูตระหนัก ถึงความสาคัญของการ ปฏบิ ตั ิตนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามลาดับ สัญญา จารุจินดา (2551) วิจัยเร่ือง แนวทางการบริหารจัดการในการน๎อมนาแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงสํูการปฏิบัติในโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอขุนยวม จังหวัดแมํฮํองสอน มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติในโรงเรียนประถมศึกษา และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาครูในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูํการปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศึกษาในอาเภอขุนยวม จังหวัดแมํฮํองสอน ประชากรที่ใช๎ในการศึกษา ได๎แกํ ผู๎บริหารโรงเรียน ประถมศึกษา จานวน 30 คน และประธานกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน จานวน 30 คน รวม 60 คน เคร่ืองมือท่ีใช๎เป็นแบบสอบถามแบบมาตราสํวนประมาณคําและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข๎อมูลโดยการ หาคาํ รอ๎ ยละ คาํ เฉลี่ย และสํวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบวํา แนวทางการบริหารจัดการในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สํู การปฏิบัติของโรงเรียนประถมศึกษา อาเภอขุนยวม จังหวัดแมํฮํองสอน ท้ัง 4 ด๎าน คือ ด๎านบริหารงาน วิชาการ ด๎านบรหิ ารงบประมาณ ด๎านบริหารงานบุคคล และด๎านบริหารทั่วไปในภาพรวมอยใํู นระดับมาก แนวทางการพัฒนาครูในการน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสํูการปฏิบัติของโรงเรียน ประถมศกึ ษาอาเภอขุนยวม จังหวัดแมํฮํองสอน ด๎านบริหารงานวิชาการ คือ จัดประชุมทางวิชาการทุกเดือน เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู๎เก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านบริหารงบประมาณ คือ สํงเสริมให๎ครูมีการวางแผนใน การใชง๎ บประมาณให๎สอดคลอ๎ งกับแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง ดา๎ นบริหารงานบุคคล คือ จัดอบรม ให๎ความร๎ูแกํ ครใู นโรงเรยี น ดา๎ นบริหารทว่ั ไป คอื สงํ เสริมใหค๎ รูทางานรวํ มกับชมุ ชนและหนํวยงานราชการอืน่ ท่ีเกย่ี วข๎อง วชริ าวธุ ปานพรม (2551) วิจยั เร่อื ง ประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในโรงเรยี นคุณธรรมชัน้ นา สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศกึ ษาสภาพและประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนคุณธรรมชั้น นา สงั กดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 1 กลํุมตัวอยํางที่ใช๎ในการวิจัย คือ ผู๎บริหาร หัวหน๎ากลํุม สาระการเรียนร๎ู และครูผู๎สอนในโรงเรียนคุณธรรมช้ันนา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 1 จานวน 288 คน เครอ่ื งมอื ท่ีใช๎ในการเก็บรวมรวมข๎อมูล เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราสํวนประมาณคํา มีความ เช่ือมั่นด๎านสภาพ .99 และด๎านประสิทธิผล .98 การวิเคราะห์ข๎อมูลใช๎วิธีการหาคําเฉลี่ย (X ) คําเบี่ยงเบน มาตรฐาน ( S.D.) คําเอฟ ( F-test ) ชนิด One Way ANOVA และหาคําเฉลี่ยรายคูํโดยวิธีของเชฟเฟุ ( Scheffe’s Method ) ผลการวิจัย พบวํา 1) สภาพและประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงตามความคิดเห็นของผู๎บริหาร หัวหน๎ากลํุมสาระการเรียนร๎ู และครูผ๎ูสอน ในโรงเรียน คุณธรรมชนั้ นา สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยรวมและรายด๎าน อยํูในระดับมาก 2) สภาพและประสิทธิผลการจดั การศึกษาตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามความคิดเห็นของผู๎บริหาร หัวหน๎ากลุํมสาระการเรียนรู๎ และครูผ๎ูสอน ในโรงเรียนคุณธรรมช้ันนา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สกลนคร เขต 1 โดยรวมและรายด๎านไมํแตกตํางกัน 3) สภาพการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงตามความคิดเห็นของผ๎ูบริหาร หัวหน๎ากลํุมสาระการเรียนรู๎ และครูผู๎สอน ในโรงเรียน คุณธรรมช้ันนา ท่ีมีลักษณะการเปิดสอนตํางกัน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยรวม แตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เม่ือพิจารณารายด๎าน พบวํามีความคิดเห็นแตกตํางกัน อยํางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ในด๎านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด๎านหลักสูตรและการจัดการ เรียนการสอน และด๎านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนและแตกตํางกันอยํางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ใน ดา๎ นการพฒั นาบคุ ลากร สํวนประสทิ ธผิ ล มีความแตกตํางกันอยาํ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01 ทุกดา๎ น
27 การวิจัยน้ี ได๎ให๎ข๎อเสนอแนะเพ่ือยกระดับประสิทธิผลการจัดการศึกษาตามแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งในโรงเรยี นคุณธรรมชั้นนา ดา๎ นการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาและด๎านหลักสูตรและการ จัดการเรยี นการสอน จากแนวคิด และเอกสารทเ่ี กี่ยวข๎องที่กลําวมาแล๎ว จะเห็นได๎วํา การน๎อมนาแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพยี งสกูํ ารปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษา ดาเนินการพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพียง เป็นเปูาหมายท่ีกระทรวงศึกษาธิการ ตอ๎ งดาเนนิ การใหบ๎ รรลผุ ล จึงได๎มีนโยบายให๎หนํวยงานในสังกัดและในกากับ ประสานความรํวมมือระหวํางกัน ในการดาเนินการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสํูสถานศึกษา และดาเนินการพัฒนาและขยาย เครือขํายสถานศึกษาท่ีเป็นแบบอยํางในการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง” ทุกจังหวัดท่ัวประเทศ และเพ่ือให๎การพัฒนาเป็นไปอยํางมี คณุ ภาพด๎วยความยัง่ ยืน และไดม๎ ีการพัฒนา “สถานศึกษาพอเพียง” ให๎เป็น “ศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยกาหนดแนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษา เพื่อสนับสนุนให๎สถานศึกษาพอเพียงมีความเข๎มแข็งและสามารถรักษาสภาพ ความเป็นแบบอยํางได๎อยํางย่ังยืนในบริบทท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยํางรวดเร็วในทุกด๎าน และใช๎เป็นกรอบการ ดาเนินรวํ มกับหนํวยงานตํางๆ อยาํ งมีประสทิ ธิภาพ
28 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการ โครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 มีวัตถุประสงค์เพ่ือดาเนินการ ประเมนิ สถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนท่ี รับผิดชอบ และเพื่อดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ได๎ดาเนินกิจกรรมตามโครงการ โดยมวี ธิ ีดาเนินการ ดังนี้ 1. แนวทางการดาเนนิ งาน 1.1 ขน้ั เตรยี มการ 1.1.1 จัดทาโครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เพื่อขออนุมัติและขอรับ การสนบั สนนุ งบประมาณดาเนินงาน 1.2 ขน้ั ตอนดาเนนิ งานโครงการ 1.2.1 แตํงต้งั คณะกรรมการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศนู ย์การเรียนรู๎ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา๎ นการศึกษา ในพนื้ ที่รับผิดชอบของสานกั งานศึกษาธิการภาค 7 1.2.2 ประสานผ๎เู กี่ยวขอ๎ ง แจง๎ กาหนดการประเมินแกสํ ถานศกึ ษา/ผ๎ูรับผิดชอบ 1.2.3 ประชุมชี้แจงแนวปฏิบตั กิ ารประเมนิ สถานศึกษาพอเพยี งเป็นศนู ย์การเรยี นรู๎ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษา 1.2.4 ดาเนินการประเมินสถานศกึ ษาพอเพยี งเปน็ ศูนย์การเรียนรต๎ู ามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งด๎านการศึกษา ตามรายชือ่ สถานศึกษาพอเพยี งท่ีผาํ นการคดั กรองข๎อมูลในเบอ้ื งต๎นของ กระทรวงศกึ ษาธิการ 1.2.5 ดาเนนิ การติดตามสถานศึกษาพอเพยี งเป็นศูนย์การเรยี นร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงดา๎ นการศึกษา ในพนื้ ท่รี บั ผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 1.3. ขั้นสรปุ ผลการดาเนนิ งาน 1.3.1 ประมวล วเิ คราะห์ และรายงานผลการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพียงเปน็ ศูนย์การ เรียนร๎ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา ในพื้นที่รบั ผดิ ชอบของสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 7 ใหส๎ านักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ และผ๎ูเก่ยี วข๎องทราบ 1.3.2. จดั ทารายงานผลโครงการและนาเสนอผูบ๎ ริหารทราบ
29 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล 2.1 นาแบบประเมนิ โรงเรียนศนู ย์การเรียนรตู๎ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ด๎านการศกึ ษา สาหรบั คณะกรรมการ – รายบคุ คล (ศรร.03) แจกจาํ ยให๎กับคณะกรรมการเพ่ือทาการประเมนิ รายบุคคล 2.2 ผ๎ูรับผิดชอบตามคาสั่งคณะทางานเป็นผู๎เก็บรวบรวมแบบประเมินโรงเรียนศูนย์การเรียนร๎ู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา สาหรับคณะกรรมการ – รายบุคคล (ศรร.03) เพ่ือนามาคานวณคะแนนการประเมนิ สถานศกึ ษาพอเพยี ง 3. วิเคราะห์ขอ้ มูล 3.1 ผ๎ูรบั ผดิ ชอบตามคาส่ังคณะทางานเป็นผ๎ูนาแบบประเมินโรงเรียนศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา สาหรับคณะกรรมการ – รายบุคคล (ศรร.03) มาคานวณคะแนนการ ประเมนิ เพอื่ นามาสรุปในแบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา (ศรร.04) เพ่ือจัดทาสรุปคะแนนการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาและจัดสํงรายงานผลคะแนนการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด๎านการศึกษา ไปยงั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาตามระยะเวลาทกี่ าหนด
30 บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน โครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษาในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 มีวัตถุประสงค์เพ่ือดาเนินการ ประเมินสถานศกึ ษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนท่ี รบั ผิดชอบของสานักงานศกึ ษาธิการภาค 7 และเพื่อดาเนินการติดตามสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 นาเสนอผลการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. ขัน้ เตรยี มการ 1.1 จัดทาโครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เพื่อขออนุมัติและขอรับการ สนบั สนุนงบประมาณดาเนนิ งาน ได๎จัดทาและขออนุมัติโครงการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เม่ือวันที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2564 เพ่ือเป็นแนวทางการดาเนินงาน และการบริหารจัดการงบประมาณในการดาเนนิ งาน 2. ขั้นตอนดาเนินงานโครงการ 2.1 แตงํ ตงั้ คณะกรรมการประเมินสถานศกึ ษาพอเพียงเป็นศนู ยก์ ารเรยี นรูต๎ ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งด๎านการศึกษา ในพืน้ ทีร่ ับผดิ ชอบของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ได๎แตงํ ตัง้ คณะกรรมการประเมนิ สถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 ตามคาส่ังสานักงาน ศึกษาธกิ ารภาค 7 ท่ี 013/2564 ลงวันท่ี 11 มีนาคม 2564 โดยแบํงหนา๎ ท่คี ณะกรรมการฯ ดงั นี้ 2.1.1 ที่ปรึกษาคณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 มีหน๎าท่ีให๎ คาปรึกษา แนะนา สนับสนุนและชํวยเหลือเพื่อให๎การดาเนินการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การ เรยี นรู๎ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา เปน็ ไปด๎วยความเรียบรอ๎ ย 2.1.2 คณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา ปีการศึกษา 2563 ในพื้นท่ีรับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 มีหน๎าที่ ดาเนินการ ประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 ให๎เป็นไปดว๎ ยความเรยี บรอ๎ ย บรสิ ทุ ธ์ิ ยตุ ธิ รรม เปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวัตถุประสงค์ของ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2.2 ประสานผู๎เก่ยี วข๎อง แจ๎งกาหนดการประเมินแกสํ ถานศึกษา/ผร๎ู ับผิดชอบ
31 ได๎ประสานและแจ๎งกาหนดการประเมินไปยังหนํวยงานต๎นสังกัดและสถานศึกษาที่เข๎ารับการ ประเมิน เพื่อเตรยี มความพรอ๎ มรับการประเมนิ 2.3 ประชุมชี้แจงแนวปฏบิ ัตกิ ารประเมินสถานศกึ ษาพอเพยี งเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งดา๎ นการศกึ ษา ได๎จัดประชุมช้ีแจงแนวปฏิบัติการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานศึกษาธิการภาค 7 เม่ือวันท่ี 15 มีนาคม 2564 ณ พนื้ ทจี่ งั หวดั นราธิวาส สาหรบั การประชุมคร้ังน้ี ได๎ช้ีแจงแนวปฏิบัติการประเมินสถานศึกษา พอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบของ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 7 ให๎กบั คณะกรรมการประเมนิ โดยชีแ้ จงถึงรายละเอียดเกณฑ์การประเมิน โดยแบํง เปน็ 3 ดา๎ น ดังนี้ 1) ด๎านบคุ ลากร ประกอบดว๎ ย ผูบ๎ รหิ าร ครู นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษา 2) การ จดั การสภาพแวดล๎อมทางกายภาพ ประกอบด๎วย อาคาร สถานท่ีและสิ่งแวดล๎อม ฐานการเรียนรู๎ ปศพ.และ/ หรือกิจกรรมการเรียนร๎ู ปศพพ. 3) ด๎านความสัมพันธ์กับหนํวยงานภายนอก ประกอบด๎วย ความสัมพันธ์กับ สถานศึกษาอื่นในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพ. ความสัมพันธ์กับหนํวยงานที่สังกัดและ/หรือหนํวยงาน ภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน) โดยประธานคณะกรรมการประเมิน เน๎นย้าถึงการประเมิน ต๎อง เป็นไปดว๎ ยความเรียบรอ๎ ย บริสทุ ธ์ิ ยตุ ธิ รรม เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวัตถปุ ระสงค์ของกระทรวงศึกษาธิการ 2.4 ดาเนินการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ตามรายชื่อสถานศึกษาพอเพียงท่ีผํานการคัดกร องข๎อมูลในเบื้องต๎นของ กระทรวงศึกษาธกิ าร ได๎ดาเนินการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงด๎านการศึกษา ทีผ่ าํ นการคัดกรองขอ๎ มูลเบอ้ื งต๎น ปีการศึกษา 2562 ในพื้นที่รับผิดชอบของสานักงาน ศึกษาธิการภาค 7 จานวน 6 แหํง โดยคณะกรรมการการประเมินศูนย์การเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ได๎ประเมินตามรูปแบบประเมินท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ในภาพรวม สรปุ รายละเอียดดงั น้ี 1. โรงเรียนมะนังกาหยี สงั กัด สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เข๎ารบั การประเมนิ เม่ือวันที่ 16 มีนาคม 2564 โดยการประเมินแบํงออกเปน็ 3 ดา๎ น ดังน้ี 1.1 ด้านบคุ ลากร โดยแบง่ เป็น 4 ดา้ นดังน้ี 1) ด้านผู้บริหาร พบวํา ผ๎ูบริหารมีการน๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุ ต์ใช๎ในการดาเนนิ ชวี ติ มีการสร๎างฐานคดิ ฐานความเป็นอยํู ฐานการบริหารท่ียึดหลักการพัฒนาอยําง ยั่งยืน มีการนาความร๎ูความเข๎าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาถํายทอดความร๎ูให๎กับคณะครู นักเรียน ได๎เรียนร๎ูและใช๎กิจกรรม “เศรษฐกิจพอเพียง” ตลอดจนการสร๎างแบบอยํางท่ีดีผํานผ๎ูบริหาร ครู นักเรียน ใหม๎ ีการยึดมนั่ ในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและการปฏิบัติอยํางจริงจังเพื่อให๎เกิดเป็นลักษณะ นสิ ยั ท่ีดีอยาํ งยงั่ ยืน 2) ด้านครู พบวํา ครูมีความรู๎ความเข๎าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถอธบิ ายและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช๎ในการเรียนการสอนและการดาเนินชีวิตได๎ อยํางถูกต๎องเหมาะสมตามสภาพบริบทของชุมชน มีการจัดการเรียนการสอนท่ีเน๎นการเรียนร๎ูควบคํูกับการ ปฏิบัตจิ ริง การปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยํางทดี่ ใี นด๎านความพอเพียงให๎แกํนักเรียน
32 3) ด้านนักเรียน พบวํา นักเรียนมีความเข๎าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถถอดบทเรียนตํางๆได๎ตามมาตรฐานการเรียนร๎ูของแตํละระดับชั้นแตํละปีการศึกษา และ ปฏิบัติตนให๎ดาเนินชีวิตได๎อยํางสมดุล พร๎อมรับตํอการเปลี่ยนแปลงในด๎านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล๎อม และ วัฒนธรรม ทั้งน้ีนักเรียนได๎เรียนรู๎ฐานกิจกรรมตํางๆ เชํน ฐานปลาดุก ไกํ สวนครัวพอเพียง ฐานขนมพ้ืนบ๎าน รวมท้ังมีสํวนรํวมในการดูแลการใช๎ประโยชน์สาธารณสมบัติอยํางประหยัดและคุ๎มคํา ผู๎เรียนมีอุปนิสัย เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผํกับผ๎ูอ่ืน นักเรียนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช๎ในการทากิจกรรม จนกิจกรรม ประสบความสาเร็จเป็น best practice กิจกรรมการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ คือ กิจกรรมออมทรัพย์กับออมสิน เป็นต๎น 4) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษา พบวํา คณะกรรมการสถานศึกษา มีความรู๎ ความเข๎าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสนใจเห็นคุณคํา ศรัทธาและได๎เข๎ามามีสํวนรํวม ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา มีการสนับสนุนโครงการกิจกรรมตํางๆท่ี เกี่ยวข๎องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการประชุมวางแผนในการรํวมกันพัฒนาสถานศึกษาให๎มีสํวน รวํ มทกุ ภาคสวํ น ซงึ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาสํวนใหญํเป็นบุคคลทไี่ ด๎รบั การยกยํองให๎เป็นบุคคลต๎นแบบความ พอเพยี งเป็นแบบอยํางท่ีดีในการใช๎ชีวิตอยํางพอเพียง คณะกรรมการสถานศึกษาจึงมีบทบาทมีสํวนรํวมในการ ขบั เคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 การจดั การสภาพแวดล้อมทางกายภาพ จานวน 2 ดา๎ น ดงั น้ี 1) ด้านอาคาร สถานท่ีและส่ิงแวดล้อม พบวํา มีความพร๎อมของอาคารสถานที่ที่ เอื้อตํออานวยการตํอการจัดการเรียนรู๎และกิจกรรมพัฒนาผ๎ูเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีผ๎ูรับผิดชอบการใช๎ ปรับปรุง พัฒนา ดูแลรักษาอาคารสถานท่ีอยํางชัดเจน มีแผนการปฏิบัติงาน โครงการ งบประมาณตํางๆที่สํงเสริมการจัดการเรียนรู๎ในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการพัฒนาให๎เป็น แหลํงเรยี นร๎ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและโรงเรียนมีการจัดสรรพื้นที่ท่ีมีอยํูจากัดให๎เกิดประโยชน์ และคมุ๎ คํามากท่สี ุด 2) ด้านแหลง่ เรียนร/ู้ ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง อปุ นิสัยอย่อู ยา่ งพอเพียง พบวํา แหลํงเรียนร๎ูท่ีจัดให๎กับผู๎เรียนและให๎บริการแกํชุมชน มีฐานการเรียนรู๎ ท่ีเป็น ฐานการเสริมสรา๎ งคณุ ลักษณะความพอเพยี ง มสี ่ือประกอบการเรยี นร๎ู มีวิทยากรซง่ึ เป็นคณะครู นักเรียน ท่ีรํวม เป็นผ๎ูรับผิดชอบแหลํงเรียนรู๎ตํางๆสามารถท่ีจะอธิบายความร๎ูแกํผ๎ูท่ีสนใจได๎อยํางชัดเจน ใช๎แหลํงเรียนร๎ูตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางเป็นรูปธรรม และมีการพัฒนาแหลํงเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงอยาํ งตํอเนอื่ ง แหลงํ เรียนรท๎ู กุ แหลงํ เรยี นร๎ูล๎วนเป็นแหลํงเรียนร๎ูท่ีเอื้อตํอการสร๎างคุณลักษณะ ความพอเพียง 1.3 ความสมั พันธ์กับหนว่ ยงานภายนอก 2 ด้าน ดังน้ี 1) ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ. พบวํา สถานศึกษา ได๎รับความรํวมมือจากคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นอยํางดี มีการประชุมคณะกรรมการ สถานศึกษาทุกภาคเรียน มีการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการสํงเสริมกิจกรรมตํางๆ เพ่ือ
33 เป็นการยกระดับคุณภาพผ๎ูเรียน ให๎ดี เกํง และมีความสุข คณะกรรมการสถานศึกษาบางทํานมาเป็นปราชญ์ ชาวบ๎าน รํวมถํายทอดความร๎ู แกํนักเรียนและผู๎ที่สนใจ และมีโรงเรียนบ๎านสุไหงบาลา โรงเรียนบ๎านโต๏ะนอ โรงเรียนบ๎านจูดแดง โรงเรียนบ๎านจะแลเกาะ โรงเรียนบ๎านโคกแมแน โรงเรียนบ๎านโต๏ะเว๏าะ และโรงเรียนบ๎าน น้าตกปาโจ (วันครู 2051) มาศึกษาดูงานในเรื่องการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษา พร๎อมท้ังโรงเรียนบ๎านมะนังกาหยีได๎เป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนายกระดับโรงเรียนบ๎านโต๏ะเว๏าะ และโรงเรยี นบ๎านนา้ ตกปาโจ (วนั ครู 2051) ใหเ๎ ปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี ง 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน) พบวํา มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและหนํวยงานภายนอก สามารถบริหารจัดการ ความสัมพันธ์กับหนํวยงานตํางๆ ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงได๎อยํางเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพทาให๎ชุมชนให๎ความไว๎วางใจ ให๎การสนับสนุน สํงเสริม และมีสํวนรํวมในการขับเคล่ือนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงสสูํ ถานศึกษาอยํางตอํ เนื่อง ข๎อสังเกตจากคณะกรรมการ สาหรับโรงเรียนบ๎านมะนังกาหยี สังกัดสพฐ./สพป. นราธวิ าส เขต 1 โดยภาพรวม ขอช่ืนชมโรงเรียนท่ีได๎ดาเนินการขับเคล่ือนงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งดา๎ นการศึกษา มีความตั้งใจสูง การนาเสนอในภาพรวมเห็นถึงความตั้งใจ ท้ังผู๎บริหาร ครู นักเรียน แตํ โรงเรียนต๎องเน๎นในการถอดบทเรียน เพราะจะทาให๎นักเรียนเข๎าใจในทุกๆเรื่อง โรงเรียนท่ีจะเป็นศูนย์การ เรียนร๎ูควรมีห๎องหรือพื้นที่ท่ีจะแสดงให๎คนภายนอกได๎รับรู๎ เข๎าใจ ผําน เอกสาร สื่อ ตํางๆ รวมถึงปูายท่ีแสดง แหลงํ เรยี นรู๎ควรเพมิ่ เติม
34
35 2. โรงเรยี นบ้านเปล สงั กัด สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 เข๎ารบั การประเมนิ เมือ่ วันที่ 17 มนี าคม 2564 โดยการประเมนิ แบํงออกเปน็ 3 ดา๎ น ดังน้ี 2.1 ด้านบคุ ลากร โดยแบ่งเป็น 4 ดา้ นดังนี้ 1) ด้านผู้บริหาร พบวํา ผู๎บริหารมีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง โดยเห็นประโยชน์และตระหนักในความสาคัญของการดาเนินชีวิต ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพ่อื การพฒั นาตนเอง พฒั นากลมํุ โรงเรียน ชุมชน และพัฒนาสังคมโดยรวม ทั้งน้ี ผู๎บริหารได๎นาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาพัฒนาระบบการบริหารและการจัดการศึกษาตามนโยบายและแผนปฏิบัติ งานประจาปี ได๎อยํางมีประสิทธิภาพ สามารถเป็นแบบแอยํางแกํสถานศึกษาและหนํวยงานอื่นได๎ อีกทั้ง ผู๎บรหิ ารได๎มีการสร๎างความสัมพันธ์กับบุคลากรครู นักเรียน ผ๎ูปกครอง และได๎มีการประสานสัมพันธ์กับชุมชน ให๎มีสํวนรํวมในการสงํ เสรมิ การเรยี นร๎ูเพื่อการอยูอํ ยาํ งพอเพียง 2) ด้านครู พบวํา ครูและบุคลกรทางการศึกษา มีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และตระหนักในคุณคําของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถขยายผลผลการ ดาเนินชวี ิตและปฏบิ ตั ิหน๎าที่ของบคุ ลากรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง อีกทั้งเป็นการพัฒนาศักยภาพ ของตนเองเพื่อนาไปสูํการพัฒนางานด๎านการเรียนการสอนตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ครูแกนนาได๎ ขยายผลหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูํผป๎ู กครอง ชุมชน โดยประสานสัมพันธ์กับชุมชน มีสํวนรํวมในการ สํงเสริมการเรียนร็เพ่ือการอยูํอยํางพอเพียง โดยได๎ดาเนินกิจกรรมตํางๆ ของโรงเรียน ครู นักเรียน ผ๎ูปกครอง และชุมชน ทุกคนให๎ความรํวมมืออยํางเต็มท่ี ครูได๎เรียนร๎ูเก่ียวกับ การทางานที่ต๎องเข๎าถึงชุมชน การเป็น ผู๎ประสานงานท่ีดี เสียสละเวลาให๎เกียรติผู๎อ่ืน รํวมทางานเป็นทีมกับเพ่ือนครู สํงผลให๎ความสัมพันธ์กับเพื่อน ครู นักเรียน ผ๎ปู กครองและชุม ดียิ่งขน้ึ 3) ด้านนักเรียน พบวํา นักเรียนแกนนามีความร๎ูความเข๎าใจในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีสํวนรํวมในการขับเคลื่อนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถถํายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสํูภายนอกสถานศึกษา ได๎ มีสํวนรํวมในการขับเคลอื่ นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสํภู ายนอกสถานศึกษาได๎ นักเรียนแกนนาเป็น หลกั ในการขับเคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสํภู ายนอกสถานศึกษา 4) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษา พบวํา มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพ่ือสร๎างความรู๎ความเข๎าใจและได๎นาคณะกรรมการสถานศึกษาไปศึกษา ดูงาน เพื่อสร๎างความตระหนัก ในคุณคําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถขยายผล ผลการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสํูสถานศึกษาและชุมชน อีกท้ัง มีสํวนรํวมในการแก๎ปัญหา พัฒนา สถานศึกษา ชุมชน ส่ิงแวดลอ๎ ม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมท้ังใหค๎ าปรึกษา แนะนา แกํบุคลากร นักเรียน เกี่ยวกับการ ดาเนินงานตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรยี น
36 2.2 ด้านการจดั การสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ดังนี้ 1) อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม พบวํา สถานศึกษาได๎จัดบรรยากาศและ สภาพแวดล๎อมภายในสถานศึกษาให๎เป็นแหลํงเรียนร๎ู กระบวนการเรียนรู๎ ปลูกฝัง หลํอหลอม คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ และเอ้ือตํอกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรสถานศึกษา และสถานศึกษาได๎ มีการจัดอาคารสถานที่ และสิ่งแวดล๎อมในโรงเรียนท่ีเน๎นความรํมร่ืน ประโยชน์ใช๎สอย เป็นแหลํงเรียนร๎ู และ อนุรกั ษส์ ืบสานทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล๎อม ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย โดยได๎แตํงต้ังผู๎รับผิดชอบ การใช๎ ดูแล รักษา ปรับปรุงอาคารสถานที่ และจัดแหลํงเรียนรู๎ในสถานศึกษาอยํางเหมาะสม อีกท้ัง ผ๎ูเรียน บุคลากร ผูเ๎ ก่ียวข๎องของสถานศกึ ษา มสี ํวนรวํ มในการใช๎ ดูแล รักษา ปรบั ปรุงอาคารสถานที่ อกี ด๎วย 2) ด้านแหล่งเรยี นร/ู้ ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือเสริมสร้าง อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง พบวํา มีแหลํงเรียนรู๎ที่หลากหลาย และเพียงพอกับจานวนนักเรียนโดยจัดทาแหลํง เรียนร๎ู เพ่ือสํงเสริมให๎นักเรียนได๎ศึกษาหาความรู๎เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสร๎างอุปนิสัย อยํูอยํางพอเพียงอยํางเหมาะสม และสํงเสริมการแสวงหาความร๎ูและเผยแพรํความรู๎เกี่ยวกับปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เชํน การจัดนิทรรศการ การจัดประกวดในรูปแบบตํางๆ การหาความรู๎ผํานสื่อเทคโนโลยี อ่ืนๆ โดยมฐี านการเรียนรู๎ ได๎แกํ ฐานสํงเสริมวัฒนธรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (กิจกรรมการ ขบั ร๎องเพลงอานาซีด กจิ กรรมการละเลํนปันจักสีลัต และกิจกรรมการแสดงดีเกฮูลู) ฐานสืบสานภูมิปัญญาไทย ใสํใจความพอเพียง (กิจกรรมการนวดแผนไทย) ฐานสร๎างสรรค์ผลิตภัณฑ์อยํางพอเพียง (กิจกรรมการ ผลิตภัณฑ์จากถุงน้ายาปรับผ๎านํุม) ฐานบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํการจัดการเรียนรู๎ ( กิจกรรมการจัดการเรียนรู๎ 8 กลํุมสาระการเรียนรู๎ บูรณการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฐานตาม รอยพํอ พํออยูํอยํางพอเพียง (กิจกรรมการเล้ียงไกํไขํ กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกในบํอซีเมนต์ กิจกรรมการปลูก พืชผักปลอดสารพิษ กิจกรรมการเพาะเห็ดนางฟูา กิจกรรมการปลูกพืชสมุนไพร กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน) ฐานเศรษฐกจิ พอเพียงเล้ียงชพี (กิจกรรมแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรและสมนุ ไพร) 2.3 ความสัมพนั ธก์ ับหน่วยงานภายนอก 2 ดา้ น ดังน้ี 1) ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาทั่วไปในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพพ. พบวํา มีการขยายผลสร๎างเครือขําย เป็นแหลํงเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ไดเ๎ ปน็ อยํางดี มคี วามตระหนักเห็นความสาคัญของการขับเคล่อื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จึงได๎มีการ พฒั นาแหลงํ เรียนรู๎เพื่อศึกษาดูงานของผ๎ูสนใจและโรงเรียนเครือขําย ได๎แกํ โรงเรียนบ๎านคําย และสวนมะนาว บังมะ หมํูบ๎านบ๎านเปล ท้ังนี้เพ่ือให๎เกิดความเข๎มแข็งและย่ังยืน โดยการสร๎างเครือขํายและการมีสํวนรํวมของ ภาคี อีกท้ัง ชุมชนได๎เข๎ามามีสํวนรํวม ทาให๎เกิดความสามัคคี ระหวํางบุคลากรโรงเรียนกับชุมชน มีผ๎ูนา กลมํุ องค์กร ทด่ี ีและเข๎มแข็ง ชมุ ชนใหค๎ วามไวว๎ างใจ ให๎การสนับสนุน สํงเสริม และมีสํวนรํวมในการขับเคล่ือน ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูํสถานศกึ ษาประสบผลสาเร็จ 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน) พบวํา สถานศึกษาให๎ความสาคัญ พร๎อมให๎การสนับสนุนกิจกรรมตํางๆท่ีชุมชนและ หนวํ ยงานอ่นื ๆจัดข้นึ ให๎บริการ แลกเปล่ียนเรียนรู๎ ประชาสัมพันธ์ เผยแพรํ ความร๎ู ความเข๎าใจ แกํผู๎เกี่ยวข๎อง
37 คนอ่ืนๆ และ จากการท่ีสถานศึกษาได๎น๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการบริหาร จัดการศึกษา และให๎ชุมชนได๎เข๎ามามีสํวนรํวมในการวางแผน จัดระบบริหารจัดการศึกษา ในการจัดการเรียน การสอนครู จะนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการท้ัง 8 กลุํมสาระ โดยเน๎นให๎ผ๎ูเรียนมีความร๎ู ความเข๎าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยํางแท๎จริง และสามารถนามาประยุกต์ใช๎ในการ ดารงชีวิตประจาวันของตนเองได๎ การจัดระบบบริหารจัดการศึกษานี้สํงผลให๎นักเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นที่ยอมรับของชุมชนและหนํวยงานภายนอก จนสามารถเป็นแบบอยําง แกํสถานศึกษาและหนวํ ยงานอ่ืนได๎ ข๎อสังเกตจากคณะกรรมการ สาหรับ โรงเรียนบ๎านเปล สังกัดสพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 1 โดยภาพรวม ขอช่ืนชมโรงเรียนได๎ดาเนินการขับเคล่ือนงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎าน การศึกษาได๎เปน็ อยาํ งดี ผ๎ูบรหิ าร ครู นกั เรียน มีความต้ังใจสูง โรงเรียนมีทุนทางการเกษตรเป็นฐานในการเป็น ศรร. แตํ การนาหลัก ปศพพ. ควรให๎ปรากฏในวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของโรงเรียนด๎วย และควรมีห๎องที่เป็นมุม การเรียนรู๎ ปศพพ. ไวเ๎ ปน็ ถาวร เพ่อื สะดวกในการใหศ๎ กึ ษาดงู าน แลกเปลย่ี นเรียนรแู๎ กํโรงเรียนผู๎สนใจ สํวนการ ถอดบทเรียนน้ันดีแล๎ว คุณครูและนักเรียน ควรร๎ูถึงความสมดุลและเตรียมรับการเปล่ียนแปลง เพื่อการ เตรียมพร๎อมในการเปน็ ศูนยก์ ารเรยี นร๎ูตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด๎านการศึกษาจากหนวํ ยงานอ่ืนๆ
38
39 3. โรงเรียนบ้านสะปอม สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 เข๎ารับการประเมิน เมือ่ วนั ที่ 18 มนี าคม 2564 โดยการประเมนิ แบงํ ออกเปน็ 3 ดา๎ น ดังนี้ 3.1 ดา้ นบคุ ลากร โดยแบํงเปน็ 4 ดา๎ นดังน้ี 1) ด้านผูบ้ รหิ าร พบวาํ ผบู๎ ริหารผาํ นการอบรมและศึกษาดูงาน ตลอดจนการศึกษา เอกสารที่เกี่ยวข๎องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนมีความรู๎ ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและได๎มีนโยบายน๎อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลื่อนในสถานศึกษา และเห็น ประโยชน์และตระหนักในความสาคัญของการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ พฒั นาตนเอง โรงเรียน ชุมชน และพัฒนาสงั คมโดยรวมจนเป็นแบบอยํางได๎ รํวมจัดนิทรรศการเผยแพรํผลการ ดาเนินงานในระดับตํางๆ อยํางสม่าเสมอ ทั้งน้ี ผู๎บริหารได๎นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาพัฒนา ระบบบริหารและการจัดการศึกษาตามนโยบายและแผนปฏิบัติงานประจาปีได๎อยํางมีประสิทธิภาพ สามารถ เปน็ แบบอยาํ งแกํสถานศึกษาและหนํวยงานอื่นได๎ โดยใช๎กระบวนการ SAPOM MODEL รํวมกับวงจรคุณภาพ PDCA ในการขับเคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจนประสบผลสาเร็จเป็นที่ยอมรับและเป็นแบบอยําง ได๎ 2) ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา พบวํา มีแผนงานโครงการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา เพ่ือสร๎างความร๎ูความเข๎าใจ และตระหนักในคุณคําของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถขยายผล ผลการดาเนินชีวิตและปฏิบัติหน๎าท่ีของบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อกี ท้งั ยงั มกี ารจัดอบรมครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให๎มีความร๎ูความเข๎าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเป็นการพัฒนาศักยภาพของตนเองเพื่อนาไปสํูการพัฒนางานด๎านการเรียนการสอนตามแนวทาง ของเศรษฐกิจพอเพียง ได๎มีเครือขํายทั้งท่ีเป็นสถานศึกษาและชุมชน ทั้งนี้ครูยังจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกลุํมสาระการเรียนร๎ูตํางๆโดยผู๎เรียนมีสํวนรํวมในการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนที่บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงจัดหา ผลิตสื่อการเรียนรู๎ เพื่อ บูรณการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจดั การเรยี นการสอน 3) ด้านนักเรียน พบวํา นักเรียนมีความรู๎ความเข๎าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถอธิบายหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได๎อยํางถูกต๎อง สามารถถอดบทเรียนตามหลัก 2-3-4 และความเช่ือมโยงของระบบเศรษฐกิจทั่วไปได๎ ผ๎ูเรียนมีสํวนรํวมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สํงเสริมให๎มีการจัดตั้งกลุํมยุวเกษตรกรในการขับเคล่ือน กิจกรรมตามฐานการเรียนรู๎ตํางๆตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยได๎รับรางวัลจากการประกวด สมาชิกยุวเกษตรกรดีเดํน การประกวดกิจกรรม “ครัวโรงเรียน สูํครัวบ๎าน” เป็นประจาทุกปีมาอยํางตํอเนื่อง จากการทากิจกรรมทางการเกษตรทั้งท่ีโรงเรียนและท่ีบ๎านของตนเอง สามารถเป็นแบบอยํางท่ีดีและขยายผล ให๎กับผอ๎ู น่ื ได๎ 4) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษา พบวํา คณะกรรมการสถานศึกษามีสํวนรํวม อยํางสม่าเสมอในการแกไ๎ ขปญั หาและพฒั นาสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
40 3.2 ด้านการจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ดังนี้ 1) อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม พบวํา โรงเรียนมีความพร๎อมของสถานท่ีท่ีเอ้ือ อานวยการจํอการจัดการเรียนรู๎ลกิจกรรมพัฒนาผู๎เรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีสภาพ ภูมิทัศน์ที่สวยงาม รํมรื่น มีบรรยากาศและสภาพแวดล๎อมที่เอ้ือตํอการเรียนร๎ู และเอ้ือตํอกระบวนการจัดการ เรียนการสอน โดยมีการจัดแหลํงเรียนในสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยแตํงต้ัง ผ๎ูรับผดิ ชอบการใช๎ ดูแล รักษา ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี และจัดการแหลํงเรยี นรู๎ในสถานศึกษาอยาํ งเหมาะสม 2) ด้านแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือเสริมสร้าง อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง พบวํา โรงเรียนได๎จัดทาแหลํงเรียนร๎ูที่หลากหลาย และเพียงพอกับจานวนนักเรียน โดยจัดทาแหลํงเรียนรู๎ เพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนได๎ศึกษาหาความร๎ูเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ สร๎างอุปนิสัยอยูํอยํางพอเพียงอยํางเหมาะสม โดยมีแหลํงเรียนร๎ู จานวน 15 ฐานการเรียนร๎ู ได๎แกํ ฐานการ เรียนร๎ูการเล้ยี งไกํเนื้อ ฐานการเรียนร๎ูการทาชุดโต๏ะเฟอร์นิเจอร์งานศิลป์ ฐานการเรียนรู๎การเล้ียงเป็ดไกํ ฐาน การเรียนร๎ูการเลี้ยงไกํไขํ ฐานการเรียนร๎ูการเลี้ยงปลาดุก ฐานการเรียนร๎ูการเพาะเห็ด ฐานการเรียนรู๎ อารักขาพืช ฐานการเรียนร๎ูการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ ฐานการเรียนรู๎การปลูกผักยกแครํ (แปลงโต๏ะ) ฐานการ เรียนรู๎การปลูกฝังในดิน/ภาชนะ ฐานการเรียนรู๎การปลูกผักอุโมงค์ ฐานการเรียนร๎ูการเพาะและขยายพันธุ์พืช ฐานการเรียนรู๎การผลิตปุ๋ยอินทรีย์สูตรโรงเรียนบ๎านสะปอม ฐานการเรียนร๎ูห๎องสมุด ฐานการเรียนร๎ู หอ๎ งละหมาด 3.3 ดา้ นความสมั พันธ์กบั หนว่ ยงานภายนอก ดงั นี้ 1) ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาท่ัวไปในการขยายผลการขับเคล่ือน ปศพพ. พบวาํ โรงเรียนสะปอมให๎ผู๎ปกครองและชุมชนเข๎ามามีสํวนรํวมในการดาเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในการรํวมกาหนดนโยบายและการวางแผน รํวมให๎ข๎อคิดเห็น ข๎อเสนอแนะในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ตลอดจนรวํ มกิจกรรมการเรียนการสอนและจดั สภาพและบรรยากาศภายในสถานศึกษา สํงเสริมการเรียนรู๎และ การปฏิบัติของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จากการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ได๎นาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารจัดการ ทาให๎มีโรงเรียนเครือขํายท่ีสนใจ ได๎แกํ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 44 (วัดฉัททันต์สนาน) โรงเรียนบ๎านปูลาเจะมูดอ โรงเรียนบ๎านไพรวัน โรงเรียนบ๎านโคกยามู เข๎ามาศึกษา ดูงาน และสามารถขยายผลการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหก๎ ับสถานศึกษาอ่ืนได๎ 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานท่ีสังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชมุ ชน) พบวาํ โรงเรยี นสะปอมได๎ประสานความรํวมมือกับหนํวยงานในสังกัด ได๎แกํ สานักงาน เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 2 และหนวํ ยงานภายนอก ได๎แกํ ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัด ชายแดนภาคใต๎ (ศอ.บต) สานักงานเกษตรจังหวัด/อาเภอ สถานีพัฒนาท่ีดินนราธิวาส เป็นต๎น เพื่อให๎การ สนับสนุนในการขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสูโํ รงเรยี น ครอบครัว และชุมชน ขอ๎ สังเกตของคณะกรรมการ สาหรบั โรงเรียนบา๎ นสะปอม สงั กดั สพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 2 โดยภาพรวม ขอช่ืนชมโรงเรียนที่ได๎ดาเ นินการขับเคล่ือนงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด๎านการศึกษา แตํขอให๎อธิบายการนาเสนอ หลักคิด ให๎ครบทุกประเด็น โดยเฉพาะ ความสมดุลและพร๎อมรับ การเปลี่ยนแปลง
41
42 4. โรงเรียนน้าตกปาโจ(วนั ครู 2501) สงั กัด สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 1 เข๎ารับการประเมิน เม่ือวันที่ 19 มีนาคม 2564 โดยการประเมินแบํงออกเป็น 3 ด๎าน ดงั น้ี 4.1 ด้านบุคลากร โดยแบงํ เปน็ 4 ด๎านดงั นี้ 1) ด้านผู้บริหาร พบวํา มีความรู๎ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบริหาร จัดการศกึ ษา สามารถถํายทอดประสบการณก์ ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช๎ในสถานศึกษา และ ขยายผลสํูสถานศึกษาอ่ืนและชุมชนได๎ อีกท้ังชุมชนและหนํวยงานภายนอกยอมรับเห็นคุณคําและให๎ความ รวํ มมอื เป็นอยํางดี 2) ด้านครู พบวํา ครูมีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการ พฒั นาศกั ยภาพของตนเองเพอื่ นาไปสํูการพัฒนางานด๎านการเรียนการสอนตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถจัดกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได๎อยํางตํอเนื่อง มีสื่อนวัตกรรมจนสามารถ ขยายผลในการขับเคล่ือนสํูภายนอกสถานศึกษาอยํางสม่าเสมอ 3) ด้านนักเรียน พบวํา นักเรียนมีความรู๎ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง และนักเรยี นยังมีสวํ นรํวมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีกิจกรรมเพื่อสํงเสริมสนับสนุนให๎ผู๎เรียนเกิดจิตอาสา และมีสํวนรํวมในกิจกรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อีกท้ังนักเรียนแกนนาได๎นาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือมาพัฒนาตนเองอยํางตํอเนื่องเป็นหลักในการขับเคล่ือน จัดกิจกรรมขยายผลสํูภายนอก สถานศกึ ษา 4) ดา้ นคณะกรรมการสถานศึกษา พบวาํ คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู๎ความ เขา๎ ใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีสํวนรํวมในการกาหนดกิจกรรมประชุมวางแผน ประเมินผล และ สรุปผลการปรับปรุงและพัฒนารํวมแก๎ปัญหา พัฒนา สถานศึกษา ชุมชน ส่ิงแวดล๎อมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง รวํ มชน่ื ชมในความสาเร็จและใหก๎ ารสนับสนนุ เป็นพลังขบั เคลื่อนขยายผลการดาเนินกิจกรรม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสํูภายนอกสถานศึกษาและชุมชนจนเหน็ ผล 4.2 ด้านการจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ ดงั นี้ 1) อาคารสถานท่ี และสิ่งแวดล้อม พบวํา มีความพร๎อมของอาคารสถานที่ ที่เอ้อื อานวยตํอการจัดการเรยี นรู๎และกิจกรรมพัฒนาผเู๎ รียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2) ดา้ นแหล่งเรียนรู้/ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง พบวํา มีแหลํงเรียนรู๎ที่หลากหลายและเพียงพอกับจานวนนักเรียนโดยจัดทาแหลํง เรียนรู๎ เพื่อสํงเสริมให๎นักเรียนได๎ศึกษาหาความรู๎เก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสร๎างอุปนิสัย อยํูอยํางพอเพียงอยํางเหมาะสม แหลํงเรียนรู๎เศรษฐกิจพอเพียง เป็นแหลํงเสริมสร๎างความรู๎แกํนักเรียน เยาวชน เพื่อเสริมสร๎างการดาเนินชีวิต คุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม โดยได๎ดาเนินการจัดทาแหลํงเรียนร๎ูที่ หลากหลาย ที่เอ้ือตํอการจัดกิจกรรมตํางๆเพ่ือสํงเสริมการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสูํสถานศึกษาและชุมชนด๎วยความรํวมมือของนักเรียน ครู บุคลากร และภาคีเครือขําย และมีการ
43 ประเมินการใช๎แหลํงเรียนร๎ูเพื่อพัฒนาแหลํงเรียนรู๎อยํางตํอเน่ือง โดยมีฐานการเรียนรู๎ ได๎แกํ ฐานเล้ียงไกํไขํ อารมณ์ดี ฐานเลี้ยงปลาสุขหรรษา ฐานส๎วมสุขสันต์(การทาความสะอาด) ฐานปุ๋ยหมักรักษ์โลก ฐานการทา กรอบรูปใบไม๎สีทอง ฐานดุอานาชีวิต ฐานฟันดี สุขสันต์ ฐานมัคคุเทศก์น๎อย ฐานเคหกิจเกษตร ฐานพืชผัก สมุนไพร(ตะไคร๎) ฐานปลกู ผักพอเพยี ง(ผักคะน๎า) 4.3 ด้านความสัมพนั ธ์กับหน่วยงานภายนอก ดงั น้ี 1) ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาทั่วไปในการขยายผลการขับเคล่ือน ปศพพ. พบวํา มีการขยายผลสร๎างเครือขําย เป็นแหลํงเรียนรู๎ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ได๎เป็นอยาํ งดี มคี วามตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการขับเคล่อื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงได๎ มีการพัฒนาแหลํงเรียนร๎ูเพ่ือศึกษาดุงานของผู๎สนใจและโรงเรียนเครือขําย ได๎แกํ โรงเรียนบ๎านกาเยาะมาตี โรงเรียนบ๎านบือเจา๏ ะ โรงเรยี นบา๎ นดกู ู และโรงเรียนบ๎านปะลุกานากอ ท้ังน้ีเพื่อให๎เกิดความเข๎มแข็งและยั่งยืน โดยการสร๎างเครอื ขํายและการมีสวํ นรวํ มของภาคี 2) ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก (ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชน) พบวํา มีความสัมพันธ์อันดีกับหนํวยงานในสังกัดได๎แกํ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 อีกทั้งได๎นาเสนอผลงานเข๎ารํวมรับเสด็จ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม บรมราชกุมารีในงานลองกองจังหวัดนราธิวาสในปี 2559 และในปี 2562 ทางโรงเรียนได๎รํวมกับวิทยาลัย ชมุ ชนนราธิวาสจัดแสดงนิทรรศการผลิตภณั ฑ์ใบไม๎สีทอง ณ จงั หวัดกรงุ เทพฯ ข๎อสังเกตของคณะกรรมการ สาหรับ โรงเรียนน้าตกปาโจ(วันครู 2501) สังกัด สพฐ./สพป.นราธิวาส เขต 1 โดยภาพรวม ขอชื่นชมโรงเรียนที่ได๎ดาเนินการขบั เคลื่อนงานตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด๎านการศึกษา ควรเพิ่มเติมในเร่ืองทักษะ การนาเสนอ ของนักเรียน การถอดบทเรียน ควร ใหเ๎ ดก็ ทาความเข๎าใจเพราะเด็กต๎องเป็นผ๎ูนาเสนอแกํหนํวยงานท่ีมาศึกษาดูงาน และเน๎นย้า 4 มิติที่สมดุลและ พรอ๎ มรบั การเปลยี่ นแปลง
44
45 5. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเบตง จังหวัดยะลา สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดยะลา เข๎ารับการประเมิน เม่ือ วันท่ี 22 มีนาคม 2564 โดยการประเมินแบงํ ออกเปน็ 3 ด๎าน 5.1 ด้านบุคลากร โดยแบ่งเปน็ 4 ดา้ นดงั น้ี 1) ด้านผบู้ ริหาร พบวาํ มคี วามรู๎ความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การ ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยได๎นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ และ นามาใช๎ในการบริหารจัดการสถานศึกษา และได๎นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติตนอยํางเป็น เหตเุ ปน็ ผล พอประมาณกบั ศกั ยภาพของตน และสอดคล๎องกบั ภมู ิสงั คม รวมถงึ มีการสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดี ตํอการ เปล่ียนแปลงตํางๆ ให๎กบั ตนเอง อีกทั้งยังนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช๎ในการบริหารสถานศึกษา ตลอดจนเป็นแบบอยํางที่ดีในการใช๎ความร๎ูควบคํูคุณธรรมในการดาเนินชีวิต ให๎กับคณะครู บุคลากรทางการ ศกึ ษาและนกั ศกึ ษาอกี ดว๎ ย 2) ด้านครู พบวํา ครูมีความร๎ูความเข๎าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูได๎นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช๎ในการ ออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรียนร๎ูทต่ี นเองรับผดิ ชอบ โดยคุณครูมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนร๎ูในรายวิชา เศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับช้ัน เพ่ือที่จะพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ให๎ผ๎ูเรียนมีความรู๎ความเข๎าใจ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนาความรู๎ไปประยุกต์ใช๎ในการดาเนินชีวิตได๎อยํางเหมาะสม ผ๎ูเรียน สามารถสร๎างองค์ความรไู๎ ด๎ด๎วยตนเอง โดยนาหลกั คิดหลักปฏิบัตไิ ปสํูนักศึกษาด๎วย 5 กระบวนการ คือ 1) การ เรียนรู๎ด๎วยหลักสูตรโดยใช๎รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนร๎ูแบบ ONIE MODEL ในทุกระดับชั้น ครอบคลุม ทุกกลมํุ สาระ เพื่อสร๎างองค์ความร๎ใู หมแํ ละการหลกั นาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ปฏิบัติ 2) การเรียนรู๎ แบบโครงงานและให๎นักศึกษานาเสนอผลงานแลกเปล่ียนเรียนรู๎ 3) การเรียนรู๎ผํานโครงการเพ่ือบูรณาการ การเรียนร๎ูตามสาะการเรียนรู๎ 4) กิจกรรมคํายเสริมทักษะกระบวนการคิดด๎วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5) การฝึกทักษะการคิด อีกทั้ง ครูแกนนายังสามารถถํายทอดประสบการณ์ให๎กับเพื่อนครู ในสถานศึกษา จนทาให๎ครูในทุกระดับช้ันทุกกลํุมสาระการเรียนร๎ู สามารถนาความรู๎ในหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาบูรณาการเข๎ากับรายวชิ าตํางๆ ครูแกนนามกี ารจดั ทาเน้ือหารูปแบบ QR Cord เพ่ือใช๎เป็น ส่ือให๎กับเพื่อนครูในการจัดการเรียนการสอน หรือการอบรมให๎กับผู๎รับบริการ รวมถึงมีการถอดบทเรียนของ การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรม มาทาเป็นสื่อ เพื่อขยายผลสูํภายนอกสถานศึกษา ผํานสื่อ TKP อีกด๎วย 3) ด้านนักเรียน นกั ศกึ ษา พบวาํ นักศึกษามีความรค๎ู วามเขา๎ ใจเก่ียวกบั หลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถปฏิบัติอยูํอยํางพอเพียง ปฏิบัติตนให๎ดาเนินชีวิตอยูํอยํางสมดุล พร๎อมรับ การเปลี่ยนแปลงในด๎านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล๎อม และวัฒนธรรม นักศึกษาแกนนา สามารถอธิบายหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงได๎อยํางถูกต๎อง ซึ่งได๎เห็นจากการปฏิบัติตนอยูํอยํางพอเพียง รวมถึงสามารถถํายทอด ให๎กับผ๎ูอ่ืนได๎ อีกท้ัง นักศึกษาแกนนามีสํวนในการดูแลรับผิดชอบในการพัฒนาฐานการเรียนรู๎ ของ กศน. อ.เบตง ฐานเรียนร๎ูละ 3 – 4 คนและในสํวนของศูนย์การเรียนร๎ูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
46 เกษตรทฤษฎีใหมํประจาตาบล ครู กศน.ตาบล ดาเนินการแตํงต้ังผู๎รับผิดชอบในการขับเคล่ือนศูนย์การเรียนรู๎ ในสํวนของนักศึกษาแกนนามีสํวนในการจัดกิจกรรมการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูํภายใน สถานศึกษาอกี ด๎วย 4) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษา พบวํา มีความร๎ูความเข๎าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีความสนใจ เห็นคุณคํา ศรัทธาและมีสํวนรํวมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งคณะกรรมการสถานศึกษา สํวนใหญํเป็นบุคคลที่ได๎รับการยกยํองให๎เป็นบุคคลต๎นแบบ ความพอเพียงเป็น แบบอยํางท่ีดีในการชีวิตอยํางพอเพียง อีกทั้งยังสนับสนุน สํงเสริม สถานศึกษาในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูํภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล ให๎ความเห็นชอบในการอนุมัติโครงการตามแผนปฏิบัติราชการของ สถานศึกษา รวมถึงมีสํวนรํวมในการนิเทศ ติดตาม และประชุมสรุปผลการดาเนินงาน เพ่ือขับเคล่ือนหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทาให๎โครงการตาํ งๆ สาเรจ็ ลลุ ํวงตามวตั ถปุ ระสงค์ 5.2 ดา้ นการจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ดงั นี้ 1) อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม พบวํา มีการบริหารจัดการด๎านอาคารสถานที่ และแหลํงเรียนร๎ูภายในและภายนอก สถานศึกษา โดยให๎ชุมชนเข๎ามามีสํวนรํวม เพื่อสํงเสริมการเรียนรู๎ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มกี ารประสานสัมพันธ์ชุมชน เผยแพรํขําวสารและหลักการตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จนทาให๎ชุมชน หนํวยงานอ่ืนๆ ได๎ใช๎ประโยชน์ มีสํวนรํวมในการสํงเสริมสนับสนุนการดูแล รักษา และพฒั นาอาคาร สถานที่ สภาพแวดลอ๎ มของสถานศกึ ษาอยาํ งสม่าเสมอ โดยต้ังผ๎ูรับผิดชอบในการปรับ ใช๎อาคารสถานท่ีสภาพแวดล๎อม มีศูนย์รวมการขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ สถานศึกษา มีแผนผังแสดงแหลํงเรียนรู๎/ฐานกิจกรรมการเรียนร๎ูในสถานศึกษา มีสภาพแวดล๎อมท่ีเอ้ือตํอการ เรียนร๎ู ครู และนกั ศกึ ษามสี ํวนรํวมในการดูแลรักษาส่งิ แวดลอ๎ ม อาคารสถานท่ี ให๎เอ้ือตํอการเรียนร๎ู และชุมชน หนํวยงานอื่นได๎ใช๎ประโยชน์และมีสํวนรํวมในการสํงเสริม สนับสนุน การดูแลรักษา และพัฒนาอาคารสถานท่ี สภาพแวดลอ๎ มของสถานศึกษาอยาํ งสมา่ เสมอ 2) ด้านแหลง่ เรยี นร/ู้ ฐานการเรียนรู้ และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้าง อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง พบวํา มีแหลํงเรียนร๎ูและฐานการเรียนร๎ู หรือกิจกรรมการเรียนร๎ูเพ่ือเสริมสร๎าง อปุ นสิ ยั อยูอํ ยาํ งพอเพยี งภายในและภายนอกสถานศกึ ษาท่ีสอดคล๎องกับภูมิสังคมของสถานศึกษา มีการจัดการ อยํางพอเพียง มีสื่อประกอบการเรียนรู๎ประจา ฐานเรียนรู๎/กิจกรรมการเรียนรู๎ ที่สามารถส่ือความหมาย ได๎ถูกต๎อง และมีวิทยากรรับผิดชอบฐานการเรียนรู๎ ที่สามารถอธิบายความได๎อยํางถูกต๎องชัดเจน แผนการ จดั การเรียนรู๎ของฐานการเรียนร๎ู/กิจกรรมการเรียนรู๎ ครูและบุคลากรสามารถเป็นวิทยากรได๎ มีฐานการเรียนรู๎ ได๎แกํ ฐานเรียนรู๎คัดแยกขยะ ฐานเรียนรู๎ถังน้าหมักรักษ์โลก ฐานเรียนรู๎การเล้ียงปลาดุกในบํอเซีเมนต์ ฐาน เรียนรู๎การเล้ียงหอยขมในบํอซีเมนต์ ฐานเรียนรู๎การผลิตกาแฟโบราณเบตง ฐานเรียนร๎ูการเพราะเห็ดนางฟูา ภูฏาน ฐานเรียนรูก๎ ารทาโครงงงานเคร่อื งตดั เฉากว๏ ย นิทรรศการเกี่ยวกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง นิทรรศการเกี่ยวกับ รัชกาลที่ 9 และโครงการพระราชดาริ ส่ือ หนังสือ วารสารเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง ฐานเรียนร๎ู ส่ือการ เรียนรู๎ กิจกรรมการเรียนรู๎ที่กลําวมาข๎างต๎นมีจานวนเพียงพอตํอการจัดการเรียนรู๎ให๎กับนักศึกษาของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเบตง จังหวัดยะลา
Search