Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Published by Jiratda, 2021-02-22 08:17:46

Description: หนังสือ

Search

Read the Text Version

แกาผรพนฒั ทน่ีแาหลนะงั เสสือน้ อิเทลก็ าทงรขออนิกงสจม์ดงัิตว้หิ ยเวทดัคโพนรโละยนคี วคารมศจรริงีอเสยริมธุ สยาาม แบบปฏิสมั พนั ธเ์ พอื่ ส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงประวตั ิศาสตร์ ของพระราชวงั หลวงแห่งกรุงศรีอยธุ ยา

คาํ นาํ ปดว้รยะเวทตั คิศโานหสโนตลรงั ย์สเคีพือว่อืเลาใม่มหจนไ้ร้ีจดิงดัเศ้ สทึกราษํิมขาส้ึนหาเาพมคมอื่ วิเตาปมิ ็แนรบสู้ใบน่วปนเรฏหื่อิสนงกมั่ึงาขพรอนัพงธฒัก์เพานร่อืาศหสึก่นงษเงัสาสกรืิอามรอกทิเาล่อรก็ ทงทเ่อทรง่ียอเวทนเ่ียชิกวิงส์ เชิงประวตั ิศาสตร์ ของพระราชวงั หลวงแห่งกรุงศรีอยธุ ยา และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจ เพอ่ื เป็นประโยชนก์ บั การศึกษาต่อไป นกั ศึกษา ผทจู้่ีกดั าํ ทลงัาํ หหาวขงั วอ้ า่มูลหเรน่ืองั งสนือ้ีอเลย่มหู่ นาก้ีจมะีขเปอ้ ็นแปนระะนโาํ ยหชรนือ์กขบั อ้ ผผอู้ดิ ่าพนลหาดรปือรนะกั กเราีรยในด ผจู้ ดั ทาํ ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที่น้ีดว้ ย นายโยนาส ฮอฟฟ์ มนั น์ และคณะ ผจู้ ดั ทาํ

คู่มืออิเลก็ ทรอนิกส์ สาํ หรับผใู้ ชร้ ะบบ IOS สาํ หรับผทู้ ่ีใชร้ ะบบปฎิบตั ิการ ios ท่านสามารถปัดหนา้ จอ จากล่างข้ึนบน มนั จะมีตวั สแกนคิวอาร์โคด้ ติดมากบั ตวั เคร่ือง ท่านสามารถกดเพ่ือสแกนไดเ้ ลย เมื่อสแกนแลว้ มนั จะเขา้ ไปท่ีเวบ็ ไซตแ์ บบ อตั โนมตั ิ

คู่มืออิเลก็ ทรอนิกส์ สาํ หรับผใู้ ชร้ ะบบ ANDROID สาํ หรับผทู้ ่ีใชร้ ะบบปฎิบตั ิการ android ท่านสามารถเขา้ แอพพลิเคชน่ั LINE เพื่อสแกนคิวอาร์โคด้ ตวั น้ีได้ หรือจะใชเ้ ป็นแอพพลิเคชนั่ สาํ หรับการสแกนคิวอาร์โคด้ โดยเฉพาะกไ็ ด้

พระราชวงั หลวงของกรุงศรีอยธุ ยา มีเน้ือที่ราว 150 ไร่ ต้งั อยดู่ า้ นเหนือของเกาะเมือง ติดกบั กาํ แพงเมืองทางทิศเหนือและแม่น้าํ ลพบุรี ปัจจุบนั อาคารต่าง ๆ ในบริเวรพระราชวงั ไดพ้ งั ทลายไปเกือบหมดแลว้ ยงั เหลืออยแู่ คซ่ ากฐานอาคารท่ีก่อดว้ ยอิฐเท่าน้นั พระราชวงั หลวง 1 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

คร้ันเม่ือสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจา้ อูท่ อง) ทรงสถาปนา กรุงศรีอยธุ ยาข้ึนเมื่อ พ.ศ.1893 พระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง พระที่นงั่ สามองค์ ไดแ้ ก่ พระที่นงั่ ไพฑูรยม์ หาปราสาท พระที่นงั่ ไพชยนตม์ หาปราสาท และพระที่นง่ั ไอศวรรยม์ หาปราสาท ในเขตวดั พระศรีสรรเพชญใ์ นปัจจุบนั และยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง พระท่ีนงั่ มงั คลาภิเษกมหาปราสาทและพระท่ีนง่ั ตรีมุขดว้ ย พระราชวงั ระยะแรกน้ี เป็นที่ประทบั ของพระมหากษตั ริย์ 7 พระองค์ เป็นเวลา 98 ปี พระราชวงั หลวง 2 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

คร้ันเม่ือสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจา้ อูท่ อง) ทรงสถาปนา กรุงศรีอยธุ ยาข้ึนเมื่อ พ.ศ.1893 พระองคโ์ ปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง พระที่นงั่ สามองค์ ไดแ้ ก่ พระที่นงั่ ไพฑูรยม์ หาปราสาท พระที่นงั่ ไพชยนตม์ หาปราสาท และพระที่นง่ั ไอศวรรยม์ หาปราสาท ในเขตวดั พระศรีสรรเพชญใ์ นปัจจุบนั และยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้าง พระท่ีนงั่ มงั คลาภิเษกมหาปราสาทและพระท่ีนง่ั ตรีมุขดว้ ย พระราชวงั ระยะแรกน้ี เป็นที่ประทบั ของพระมหากษตั ริย์ 7 พระองค์ เป็นเวลา 98 ปี พระราชวงั หลวง 3 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

มีพระที่นงั่ อีกองคห์ น่ึงซ่ึงสร้างในเขตน้ี แต่ไม่มีหลกั ฐานแน่ชดั วา่ สร้างในรัชสมยั ใด กค็ ือ พระท่ีนงั่ มงั คลาภิเษก หรือ พระที่นง่ั วหิ ารสมเดจ็ พระมหาปราสาทสามองคน์ ้ี เป็นท่ีประทบั ของพระมหากษตั ริย์ 16 พระองคเ์ ป็นเวลา 182 ปี พระราชวงั หลวง 4 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่น่ังสรุ ิยาศนอ มรินทร พระราชวงั หลวง 5 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่ีนง่ั สุริยาศนอ์ มรินทร์ เป็นพระที่นงั่ องคเ์ หนือ ต้งั อยตู่ รงกบั พระที่นงั่ เบญ็ จรัตนมหาปราสาท เป็นพระท่ีนงั่ ที่สนั นิษฐานวา่ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึน มีลกั ษณะเป็นปราสาทจตุรมุข มีพ้ืนสูงกวา่ พระที่นงั่ องคอ์ ื่นๆ คงจะใชเ้ ป็นที่ ประทบั ทอดพระเนตรขา้ มกาํ แพงไปสู่แม่น้าํ ได้ นอกจากน้นั ในสมยั สมเดจ็ พระเพทราชา เมื่อเชิญพระบรมศพของ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช จากเมืองลพบุรี ไดน้ าํ มาประดิษฐานที่พระที่นง่ั องคน์ ้ี ต่อมาในสมยั พระเจา้ บรมโกศ ไดแ้ ปลงนามเป็น “พระท่ีนง่ั สุริยาสนอ์ มรินทร์” เพื่อใหค้ ลอ้ งกบั พระท่ีนงั่ สรรเพช็ ญป์ ราสาท พระราชวงั หลวง 6 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่นี ่ังจักรวรรดไิ พชยนต พระราชวงั หลวง 7 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่นง่ั จกั รวรรด์ิไพชยนต์ สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททองโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึนใน พ.ศ. ๒๑๗๕ แต่เดิมช่ือพระที่นงั่ คีริยโสธรมหาพิมานบรรยงก์ เป็นปราสาทตรีมุข ต้งั อยบู่ นกาํ แพงพระราชวงั ช้นั ใน ดา้ นทิศตะวนั ออกของพระราชวงั สาํ หรับทอดพระเนตรกระบวนแห่ และการฝึกซอ้ มทหาร เพราะท่ีหนา้ พระที่นงั่ ออกไปเป็นสนามหลวง (ทาํ นองเดียวกบั พระท่ีนง่ั สุทไธสวรรยข์ อง พระบรมมหาราชวงั กรุงเทพฯ) พระราชวงั หลวง 8 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่นี ่ังสรรเพชรมหาปราสาท พระราชวงั หลวง 9 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่นง่ั สรรเพช็ ญป์ ราสาท เป็นปราสาทองคก์ ลาง ซ่ึงสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึน เป็นที่เสดจ็ ออกรับแขกเมือง พระท่ีนงั่ องคน์ ้ี สร้างข้ึนคู่กบั “พระท่ีนงั่ เบญ็ จรัตนมหาปราสาท” เมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๙ ที่ขา้ งพระที่นง่ั องคน์ ้ี มีโรงชา้ งเผอื กขนาบอยทู่ ้งั สองขา้ ง พระราชวงั หลวง 10 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่นี ั่งวหิ ารสมเดจ็ พระราชวงั หลวง 11 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่ีนง่ั มงั คลาภิเษกหรือพระท่ีนงั่ วหิ ารสมเดจ็ เป็นปราสาทองคใ์ ต้ เป็นพระที่นงั่ ที่สนั นิษฐานวา่ สร้างข้ึนในสมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เรียกวา่ พระท่ีนงั่ มงั คลาภิเษก ต่อมา ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททองไดถ้ ูกอสนีบาตไฟไหม้ จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึนใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็นพระวหิ ารสมเดจ็ พระท่ีนงั่ องคน์ ้ี ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาเรียกกนั เป็นสามญั วา่ “ปราสาททอง” เพราะเป็นปราสาทปิ ดทององคแ์ รกในสมยั อยธุ ยา มีลกั ษณะเป็นปราสาทยอดปรางค์ มีมุขหนา้ หลงั ยาว และมุขขา้ งส้นั มุขหนา้ มีมุขเดจ็ ต้งั พระท่ีนงั่ บุษบกมาลา มีกาํ แพงแกว้ ลอ้ มรอบ พระที่นงั่ องคน์ ้ีใชเ้ ป็นที่ประกอบพระราชพธิ ี เช่น พิธีราชาภิเษก เป็นตน้ พระราชวงั หลวง 12 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่น่ังบรรยงกร ตั นาสน พระราชวงั หลวง 13 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่นง่ั บรรยงกร์ ัตนาสน์ สมเดจ็ พระเพทราชาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึนใน พ.ศ. ๒๒๓๑ สาํ หรับเป็นท่ีประทบั ทรงพระสาํ ราญ พระท่ีนง่ั องคน์ ้ี เรียกอีกนยั หน่ึงวา่ \"พระท่ีนง่ั ทา้ ยสระ\" ต้งั อยดู่ า้ นหลงั ของพระราชวงั ลกั ษณะเป็นปราสาทจตุรมุข กลางสระมีน้าํ ลอ้ มรอบ ทางดา้ นทิศตะวนั ตก เป็นสระใหญ่ ดา้ นทิศตะวนั ออกเป็นอ่างแกว้ ตรงกลางมีแท่นสูง สาํ หรับเสดจ็ ข้ึนไปทอดพระเนตรปลาใหญ่-นอ้ ย ในสระดงั กล่าว พระราชวงั หลวง 14 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่นงั่ ตรมี ขุ พระราชวงั หลวง 15 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระที่นง่ั ตรีมุข ต้งั อยดู่ า้ นหลงั ของพระที่นงั่ สรรเพช็ ญป์ ราสาท ไม่ปรากฏผสู้ ร้าง สนั นิษฐานวา่ ต้งั อยบู่ นฐานของพระมหามณเฑียร ในสมยั รัชกาลท่ี ๕ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ลูกพลบั พลาโถง เพ่ือเป็นท่ีประทบั เม่ือเสดจ็ มาทอดพระเนตร การขดุ แต่งพระราชวงั หลวง และเป็นท่ีตอ้ นรับแขกเมืองดว้ ย หลงั จากพระราชพิธีรัชมงคลบาํ เพญ็ กศุ ลถวาย พระมหากษตั ริยอ์ งคก์ ่อนๆ แลว้ พลบั พลาน้ียงั สมบูรณ์ อยจู่ นทุกวนั น้ี พระราชวงั หลวง 16 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระทีน่ งั่ ทรงปน พระราชวงั หลวง 17 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

พระท่ีนง่ั ทรงปื น สมเดจ็ พระเพทราชา โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึน เป็นท่ีฝึกเพลงอาวธุ ต่อมาใชเ้ ป็นทอ้ งพระโรงที่เสดจ็ ออก พระที่นงั่ องคน์ ้ี ต้งั อยใู่ กลก้ บั พระที่นง่ั บรรยงกร์ ัตนาสน์ ริมสระดา้ นตะวนั ตก ลกั ษณะเป็นพระที่นงั่ โถงรูปสี่เหลี่ยมผนื ผา้ พระราชวงั หลวง 18 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

วดั พระศรีสรรเพชญ พระราชวงั หลวง 19 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

วดั พระศรีสรรเพชญ์ เป็นวดั สาํ คญั ที่สร้างอยใู่ นพระราชวงั หลวงเทียบไดก้ บั วดั พระศรีรัตนศาสดารามแห่งกรุงเทพมหานคร หรือวดั มหาธาตุแห่งกรุงสุโขทยั ในสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 (พระเจา้ อู่ทอง) ทรงสร้างพระราชมณเฑียรเป็นที่ประทบั ที่บริเวณน้ี ต่อมาสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงยา้ ยพระราชวงั ข้ึนไป ทางเหนือและอุทิศที่ดินเดิมใหส้ ร้างวดั ข้ึนภายใน เขตพระราชวงั และโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้างเขตพทุ ธาวาสข้ึน เพื่อเป็นท่ีสาํ หรับประกอบพิธีสาํ คญั ต่างๆ จึงเป็นวดั ท่ีไม่มีพระสงฆจ์ าํ พรรษา พระราชวงั หลวง 20 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา

บรรณานุกรม พระราชวงั หลวงในกรุงศรีอยธุ ยา // สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 29 ธนั วาคม 2563 จาก http://huexonline.com/knowledge/19/218/ พระราชวงั หลวงแห่งกรุงศรีอยธุ ยา - Pongsagorn45434 // สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 29 ธนั วาคม 2563 จาก https://sites.google.com/site/pongsagorn45434/page1/ page1-1 พระราชวงั ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา - สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนฯ // สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 4 มกราคม 2564 จาก http://saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=14& chap=2&page=t14-2-infodetail03.html พระราชวงั หลวง 21 แห่งกรุงศรีอยธุ ยา




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook