44 คู่มอื นกั เรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School องค์กรส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรยี นการสอน คณะกรรมการมูลนิธิสมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (นวม พุทธสรมหาเถระ) นางสุขุมาลย์ เชาวน์ทวี นางสุขมุ าลย์ เชาวน์ทวี ประธานกรรมการ นายขจติ พนั ธ์ สวุ รรณสริ ิภกั ดิ์ รองประธานกรรมการ นางกรองทอง ดว้ งสงค ์ กรรมการ นางสริ ยิ พุ า ศกุนตะเสฐยี ร กรรมการ นางสุภานี โลหติ านนท์ กรรมการ นางสาวอญั ชลี ประกายเกยี รติ กรรมการ นายพรพงษ์ ช้างสอน กรรมการ นางสาวจันทรา ขจรศลิ ป ์ กรรมการ นางเปรมจติ ร สรรพอดุ ม กรรมการ นางสาวเยาวณี เสมา กรรมการ นางนพมาศ บรสิ ุทธิธ์ รรม กรรมการ นางปนดั ดา มสี มบตั ิงาม กรรมการ นางสาวสุรรี ัตน์ เอ่ยี มกลุ กรรมการ นางนงคราญ ธาราทิพยกลุ กรรมการ นางสาวอมั พร วชิ ยั ศร ี กรรมการ นางสาวมนทริ า เดชชนะขจรสขุ กรรมการ นายมงคล อินทรโชต ิ กรรมการ นางพริ านันท์ ศรปี ระเสริฐ กรรมการ นางสาวธรรมสรณ์ กติ ติธนสมบตั ิ กรรมการ นายอภิเชน เหล่าเจรญิ กรรมการ นางสาวอุชุพร วงศไ์ ชย กรรมการ นางฐติ วิ รรณ หวงั วงศ์สกุล กรรมการและเหรญั ญกิ นางสวรัฐ เรียนเขมะนยิ ม กรรมการและผู้ช่วยเหรญั ญิก นายอิทธิพล ชัยเดโช กรรมการและเลขานกุ าร นางมยุรี ค�ำประเสรฐิ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
โรงเรียนศกึ ษานารี 45 STUDENT HANDBOOK เคร่อื งแบบนกั เรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น คอซอง ม.ต้น ทรงผม ผมสัน้ ผมยาวให้ถกั เปยี 2 ขา้ ง
46 คมู่ อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School เคร่ืองแบบนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทรงผม รองเท้า
โรงเรียนศกึ ษานารี 47 STUDENT HANDBOOK เคร่อื งแบบนกั เรียน ชุดพละ
48 คู่มอื นกั เรียนและผปู้ กครอง Suksanari School เครอ่ื งแบบนกั เรยี น ชดุ เนตรนารี ชุดยุวกาชาด กระเปา๋ นกั เรยี นโรงเรียนศึกษานารี กระเป๋า (ทรงแนวตั้ง) กระเปา๋ (ทรงแนวนอน)
งากนลมุ่ บบรหิคุารคล
50 คมู่ อื นักเรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ือง ผปู้ กครองนกั เรยี น นักศกึ ษา โดยทเี่ ปน็ การสมควรปรบั ปรงุ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง ผปู้ กครองนกั เรยี น ใหเ้ หมาะสมยงิ่ ขึ้น ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามความในข้อ 23 แห่งประกาศของคณะปฏิวัติฉบับท่ี 216 ลงวนั ที่ 29 กนั ยายน 2515 จงึ ไดย้ กเลกิ ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง ผปู้ กครองนกั เรยี น ลงวนั ที่ 19 มกราคม พุทธศกั ราช 2503 และให้ผู้ปกครองนกั เรียนนกั ศกึ ษาท่ีก�ำลงั รับการ ศึกษาระดบั ต�่ำกว่าปริญญาตรใี นสถานศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารปฏิบตั ิดังนี้ 1. “ผปู้ กครอง” หมายความวา่ บคุ คลซง่ึ รบั นกั เรยี นไวใ้ นความปกครองหรอื อปุ การะ เลี้ยงดู หรือบคุ คลที่นกั เรยี นหรอื นักศกึ ษานน้ั อาศัยอยู่ 2. ให้นักเรียน นักศึกษาท่ีก�ำลังรับการศึกษาในหลักสูตรระดับ ปวส., ป.กศ.สูง หรือเทียบเท่า ลงมาในสถานศึกษาสังกัดหรือในความควบคุมดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ เวน้ แลว้ แตก่ ารศกึ ษาผู้ใหญ่ มีผู้ปกครองตลอดระยะเวลาทศ่ี กึ ษาอยู่ 3. ในวันมอบตัวนักเรียน นักศึกษาใหม่ผู้ปกครองมามอบตัวนักเรียน นักศึกษา ทีส่ ถานศกึ ษา พรอ้ มสง่ เอกสารตา่ ง ๆ ตามที่สถานศึกษากำ� หนด ถ้าผู้ปกครองไม่อาจมามอบตัวนักเรียน นักศึกษาได้ตามกำ� หนด ให้ผู้ปกครองตกลง กับหัวหน้าสถานศกึ ษา กำ� หนดวันมอบตัวนักเรียน นักศึกษาใหม่ 4. ผปู้ กครองจะตอ้ งรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษา เพอ่ื ควบคมุ ความประพฤตแิ ละการศกึ ษา เล่าเรียนโดยให้นักเรียน นักศึกษา แต่งกาย แต่งเคร่ืองแบบ และประพฤติตามท่ีกฎหมาย กำ� หนด
โรงเรียนศึกษานารี 51 STUDENT HANDBOOK 5. ผู้ปกครองควรติดต่อกับสถานศึกษาอยู่เสมอ เพ่ือท่ีจะได้ทราบปัญหาต่าง ๆ เก่ยี วกับการศึกษาของนกั เรียน นกั ศึกษา และจะไดช้ ่วยสถานศึกษาแก้ปญั หาน้นั ๆ 6. เมื่อผู้ปกครองย้ายที่อยู่ หรือความเป็นผู้ปกครองสิ้นสุดลงด้วยประการใด ๆ ใหผ้ ูป้ กครองแจ้งสถานศกึ ษาทราบ 7. สำ� หรับนักเรยี น นักศึกษา ทรี่ บั การศึกษาอยู่ในสถานศกึ ษาแล้ว ใหส้ ถานศึกษา ตรวจสอบ ตดิ ตามหลกั ฐานการเปน็ ผปู้ กครองนกั เรยี น นกั ศกึ ษา หากเหน็ วา่ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา คนใดไมม่ ผี ปู้ กครอง หรอื มผี ปู้ กครองไมเ่ หมาะสม กใ็ หส้ ามารถศกึ ษาดำ� เนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตาม ประกาศน้ี ประกาศ ณ วันท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2522 (ลงช่อื ) กอ่ สวสั ดิพาณิชย์ (นายกอ่ สวัสดิพาณิชย์) รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การ ปฏบิ ตั ริ าชการแทน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร
52 คมู่ อื นกั เรยี นและผูป้ กครอง Suksanari School ระเบยี บกรมสามญั ศึกษา วา่ ดว้ ยคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผ้ปู กครอง พ.ศ. 2546 เพ่ือให้การบริหารและการจัดการเกี่ยวกับคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองเป็นไป อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา 9 วรรค (6) แห่งพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 กรมสามญั ศกึ ษา จงึ วางระเบยี บไวด้ ังน้ี ข้อ 1 ระเบียบน้เี รยี กวา่ “ระเบียบกรมสามัญศึกษา ว่าด้วยคณะกรรมการเครอื ข่าย ผูป้ กครอง พ.ศ. 2546” ขอ้ 2 ระเบยี บน้ใี หใ้ ช้บงั คับตง้ั แต่วนั ถัดไปจากวนั ประกาศเป็นตน้ ไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ และค�ำสั่งอ่ืนในส่วนหน่ึงที่ก�ำหนดไว้ใน ระเบียบนีห้ รอื ซ่ึงขัดแย้งกับระเบยี บนี้ ให้ใช้ระเบียบน้แี ทน ขอ้ 4 ในระเบยี บนี้ ค�ำว่า “เครอื ข่าย” (network) หมายความวา่ การเข้ามามบี ทบาทในฐานะ การสร้างความร่วมมือ แนวร่วม และหรือการมีส่วนร่วม โดยเฉพาะอย่างย่ิงในแผนพัฒนา การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระยะท่ี 8 (พ.ศ. 2540-2544) ของกรมสามัญศึกษา ซ่ึงเป็นช่วงของการปฏิรูปการศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มารตรา 9 (6) การมีส่วนรว่ มของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่น ซง่ึ ค�ำว่า “เครือขา่ ย” ได้ถกู น�ำมาใช้ เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อที่จะให้เกิดกลไกความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน รว่ มกันระหว่างผปู้ กครองกบั สถานศึกษา ค�ำว่า “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง ระดบั โรงเรียน
โรงเรียนศกึ ษานารี 53 STUDENT HANDBOOK ขอ้ 5 วัตถปุ ระสงค์ของคณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครอง (1) เพือ่ การด�ำเนินงานสรา้ งความสมั พันธ์อันดรี ะหวา่ งบ้านและสถานศึกษา (2) เพื่อให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรม ผเู้ รยี น (3) ให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์และแนวคิดระหว่าง ผู้ปกครอง ครู และนักเรยี นในสถานศึกษา (4) เป็นการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพ่ือเป็นความรู้ เป็นประสบการณ์ สามารถ ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ ดำ� รงไวซ้ ง่ึ วฒั นธรรมประเพณี และละเวน้ อบายมขุ ทง้ั ปวงกบั เพอ่ื สง่ เสรมิ ความสามคั คีช่วยเหลือเกื้อกูลกันและกัน (5) เพ่ือให้มีการติดต่อส่ือสารกับพ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างรวดเร็ว และมี ประสทิ ธิภาพ ข้อ 6 ระเบยี บและหนา้ ทขี่ องคณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง 6.1 คณะกรรมการเครือข่ายผ้ปู กครอง ประกอบดว้ ย (1) คณะกรรมการระดบั หอ้ งเรยี น มจี ำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน ประกอบดว้ ย ประธาน, รองประธาน, เลขานุการ, เหรัญญิก และนายทะเบียน โดยการคัดเลือกจาก ผู้ปกครองของแต่ละห้องเรยี น (2) คณะกรรมการระดบั ชนั้ เรยี น มจี ำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน ประกอบดว้ ย ประธาน, รองประธาน, เลขานุการ, เหรัญญิก และนายทะเบียน โดยการคัดเลือกจาก คณะกรรมการระดับห้องเรียนของช้ันเรียนน้ัน ๆ ระดับห้องละ 2 คน ผู้แทนของระดับ ชนั้ เรียน ประกอบด้วย ประธานและเลขานกุ ารของกรรมการระดับหอ้ งเรียน (3) คณะกรรมการระดับโรงเรียน ประกอบไปด้วย คณะกรรมการ เครอื ขา่ ย ผูป้ กครองท้งั สิ้นจ�ำนวน 13 คน (4) การได้มาซ่ึงคณะกรรมการระดับโรงเรียน ได้มาโดยการคัดเลือก มาจากประธาน และเลขานกุ ารของแตล่ ะระดบั ชนั้ เรยี น ทงั้ หมดจำ� นวน 12 คน ประกอบดว้ ย ประธาน, รองประธานคนท่ี 1, รองประธานคนที่ 2, เลขานุการ, ผู้ช่วยเลขานุการ, ประชาสัมพันธ์, ผู้ช่วยประชาสัมพันธ์, นายทะเบียน, ปฏิคม และกรรมการที่เหลือ
54 คู่มอื นกั เรยี นและผปู้ กครอง Suksanari School เปน็ กรรมการกลาง กรณที ผ่ี แู้ ทนของระดบั ไดร้ บั การคดั เลอื กเปน็ ประธานเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง ให้เลือกผูแ้ ทนของระดบั น้ีขนึ้ มาแทนตำ� แหนง่ ทว่ี ่างลง เพอ่ื ให้ครบจ�ำนวน 13 คน ตามขอ้ (3) 6.2 คณุ สมบัติของกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง (1) ประกอบอาชพี สุจรติ มที ่อี ย่อู าศัยเป็นหลกั แหล่งแนน่ อน (2) บรรลุนิติภาวะ และมีสถานภาพเป็นผู้ปกครองนักเรียนในปัจจุบัน ในสถานศกึ ษาโดยชอบตามกฎหมาย (3) ไม่เป็นโรคติดต่อรา้ ยแรงหรือโรคที่สังคมรงั เกียจ 6.3 การพ้นจากต�ำแหนง่ ของกรรมการเครือข่ายผูป้ กครอง (1) ตาย (2) ลาออก (3) ขาดคณุ สมบัตติ ามทไ่ี ด้กำ� หนดไวใ้ นขอ้ 6.2 6.4 วาระการดำ� รงตำ� แหนง่ ของคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง คณะกรรมการ เครือข่ายผู้ปกครองทุกระดับมีวาระ 1 ปี นับต้ังแต่ที่ได้รับการคัดเลือกสิ้นสุดลงในวันที่ คณะกรรมการเครอื ข่ายผ้ปู กครองชุดใหมไ่ ดร้ ับการคัดเลือก ข้อ 7 บทบาทและหน้าท่ขี องคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 7.1 รว่ มสนบั สนนุ กจิ กรรมของสถานศกึ ษาโดยผา่ นความเหน็ ชอบจากผบู้ รหิ าร สถานศึกษา 7.2 ร่วมสรา้ งสายใยเชือ่ มสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งครแู ละผ้ปู กครอง 7.3 สนบั สนุนการพัฒนาการเรียนการสอนของสถานศึกษา 7.4 ให้ข้อคิดเห็นและเสนอแนะต่อสถานศึกษาในเร่ืองต่าง ๆ ที่จะเป็น ประโยชน์แกน่ ักเรียนและสถานศึกษา 7.5 จัดการประชุมกรรมการและผู้ปกครองในห้องเรียนตามความเหมาะสม อยา่ งน้อยปีละ 2 ครง้ั
โรงเรยี นศึกษานารี 55 STUDENT HANDBOOK 7.6 จัดท�ำท�ำเนียบนักเรียนและผู้ปกครองโดยละเอียด และส่งมอบส�ำเนา ให้เลขานกุ ารกรรมการเครอื ข่ายผปู้ กครองในระดบั ชน้ั เรียนและระดบั โรงเรียน 7.7 กรรมการเครือข่ายผู้ปกครองในระดับโรงเรียนจะต้องรวบรวมข้อมูล และกจิ กรรมของแตล่ ะระดบั ชัน้ น�ำเสนอโรงเรยี นเพื่อด�ำเนินการต่อไป 7.8 ใหค้ ะแนนกรรมการเครอื ขา่ ยผปู้ กครองระดบั โรงเรยี นจดั การประชมุ ใหญ่ คณะกรรมการเครอื ขา่ ยผู้ปกครองทุกระดับช้นั ตามความเหมาะสมอย่างน้อย 2 คร้งั ตอ่ ปี ข้อ 8 ให้สถานศึกษาแต่งต้ังครูเป็นผู้ประสานงานกับคณะกรรมการเครือข่าย ผูป้ กครองในทุกระดับ ขอ้ 9 ให้ผู้บริหารสถานศึกษารักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และเป็นผู้ลงนาม ในประกาศแตง่ ตง้ั คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองได้ กรณีสิน้ สดุ วาระลง ตามข้อ 6.4 ข้อ 10 คณะกรรมการท่ีโรงเรียนจัดต้ังข้ึนอยู่ก่อนระเบียบน้ีใช้บังคับให้ส้ินสภาพ และใหจ้ ัดการใหม่ตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วนั ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2546 (นายไพฑรู ย์ จัยสิน) อธบิ ดีกรมสามัญศึกษา
56 ค่มู อื นกั เรียนและผู้ปกครอง Suksanari School แผนภมู ิเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง โรงเรียนศกึ ษานารี เครือข่ายผู้ปกครอง เป็นองค์คณะบุคคลที่ประกอบขึ้นด้วยตัวแทนของผู้ปกครอง ในชน้ั เรยี นตา่ ง ๆ ทง้ั แนวนอนและแนวตงั้ ทรี่ วมตวั กนั ขน้ึ เพอื่ รว่ มพฒั นากจิ การของโรงเรยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องนักเรยี น โดยเครือขา่ ยผปู้ กครอง และเกิดขึ้น ใน 3 ระดบั คอื 1. เครอื ข่ายผูป้ กครองระดับห้องเรยี น 2. เครอื ข่ายผู้ปกครองระดับชัน้ เรยี น 3. เครือข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรียน ผังโครงสรา้ งคณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครองโรงเรียนศกึ ษานารี คณะกรรมการเครอื ข่ายผู้ปกครองระดับโรงเรยี น เลอื กตง้ั คณะกรรมการเครือขา่ ยผู้ปกครองระดับช้ันเรียน เลอื กตัง้ คณะกรรมการเครอื ขา่ ยผ้ปู กครองระดบั หอ้ งเรยี น เลือกตงั้ ผู้ปกครองทุกคนในหอ้ งเรยี น
โรงเรียนศึกษานารี 57 STUDENT HANDBOOK ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรียนและนกั ศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติ คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ จึงวางระเบยี บวา่ ดว้ ยการลงโทษนกั เรยี นและนกั ศึกษาไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ระเบยี บนเี้ รยี กวา่ “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ดว้ ยการลงโทษ นักเรียนและนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2548” ข้อ 2 ระเบยี บนใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียน หรือนกั ศกึ ษา พ.ศ. 2543 ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา” หมายความวา่ ครใู หญ่ อาจารยใ์ หญ่ ผู้อำ�นวยการ อธกิ ารบดี หรอื หัวหน้าของโรงเรยี นหรอื สถานศึกษา หรอื ตำ�แหน่ง ทีเ่ รียก ชอื่ อยา่ งอืน่ ของโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษานัน้ “กระทำ�ความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติ ฝ่าฝืนระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของสถานศกึ ษา หรอื ของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎ กระทรวงวา่ ด้วยความประพฤติของนกั เรยี นและนกั ศกึ ษา
58 คู่มอื นักเรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำ� ความผิด โดยมีความมงุ่ หมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ข้อ 5 โทษท่ีจะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาท่ีกระทำ�ความผิด มี 4 สถานดังน ้ี 5.1 วา่ กลา่ วตกั เตอื น 5.2 ทำ�ทัณฑ์บน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 กิจกรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลยี่ นพฤติกรรม ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบ กล่ันแกล้ง หรือลงโทษด้วยความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้คำ�นึงถึงอายุของนักเรียน หรือนักศึกษา และความร้ายแรง ของพฤตกิ ารณป์ ระกอบการลงโทษดว้ ย การลงโทษนักเรียน หรือนักศึกษาให้เป็นไป เพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัย และความประพฤติไม่ดีของนักเรียน หรือนักศึกษาให้รู้สำ�นึกในความผิด และกลบั ประพฤตติ นในทางทด่ี ตี ่อไป ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือ สถานศกึ ษามอบหมายเปน็ ผู้มอี ำ�นาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ขอ้ 7 การวา่ กลา่ วตกั เตอื นใชใ้ นกรณนี กั เรยี น หรอื นกั ศกึ ษากระทำ�ความผดิ ไมร่ า้ ยแรง ขอ้ 8 การทำ�ทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาท่ีประพฤติตน ไม่เหมาะสม กับสภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวง ว่าด้วยความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา หรือได้รับโทษ ว่ากลา่ วตกั เตอื นแลว้ แต่ยังไม่เข็ดหลาบ การทำ�ทัณฑ์บนใหท้ ำ�เปน็
โรงเรียนศกึ ษานารี 59 STUDENT HANDBOOK หนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรบั รองการทำ�ทัณฑบ์ นไว้ดว้ ย ข้อ 9 การตดั คะแนนความประพฤติใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บปฏบิ ตั วิ า่ ดว้ ยการ ตดั คะแนนความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษาของแตล่ ะสถานศกึ ษา กำ�หนด และใหท้ ำ�บันทึกขอ้ มูลไวเ้ ป็นหลักฐาน ข้อ 10 ทำ�กจิ กรรมเพื่อใหป้ รบั เปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณที ่นี ักเรยี น และ นักศึกษากระทำ�ความผิดท่ีสมควร ต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางท่ีกระทรวงศึกษาธิการ กำ�หนด ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี และให้มีอำ�นาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม ระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 (นายอดศิ ัย โพธารามกิ ) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
60 คมู่ อื นกั เรียนและผูป้ กครอง Suksanari School ประกาศโรงเรยี นศึกษานารี ว่าดว้ ยระเบียบการแต่งกายของนกั เรยี น หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ ท่ีสมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ดังน้ัน โรงเรียนศึกษานารีเห็นสมควรก�ำหนดระเบียบและแนวประพฤติปฏิบัติ ของนกั เรยี น เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั การศกึ ษาภาคบงั คบั พทุ ธศกั ราช 2551 การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และหลักสตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โรงเรียนศึกษานารี ดงั ตอ่ ไปนี้ เครือ่ งแบบนักเรียน ม.ตน้ 1. เส้ือ ใช้ผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินสมควร เส้ือแบบคอพับในตัว ไหล่ไม่ตก ปกกะลาสี ลึกพอให้สวมศีรษะได้สะดวก สาบตลบเข้าข้างใน ส่วนบนของสาบให้ใหญ่ พอแบะแล้วไม่เห็นตะเข็บข้างใน ปกมีขนาด 14-15 ซม. ใช้ผ้าสองช้ันเย็บแบบเข้าถ้�ำ แขนใช้ผ้าตรงยาวเพียงเหนือศอก ปลายแขนจีบเล็กน้อยประกอบด้วยสองช้ันกว้าง 3 ซม. ความยาวของตัวเสื้อยาวไล่เล่ียกับกระโปรงท่ีพ้นชายเสื้อออกมา แต่ไม่ให้เส้ือยาวเกินปุ่ม ข้อมือเวลายดื แขนตรง ใต้สุดของชายขอบเส้ือด้านลา่ งมรี อยพับไมเ่ กิน 3 ซม. ขนาดตวั เสื้อ ต้ังแต่ใต้แขนถึงขอบล่างมีความกว้างพอเหมาะกับตัว ไม่รัดเอว ริมขอบด้านหน้าข้างขวา ติดกระเป๋าขนาดกว้าง 9-12 ซม. ยาว 10-15 ซม. ตามส่วนของตัวเสื้อ ปากกระเป๋า พับเปน็ ริมกว้างไมเ่ กิน 2 ซม.(ดูภาพรายละเอยี ดประกอบ)
โรงเรียนศกึ ษานารี 61 STUDENT HANDBOOK โคนแขน ห้ามจับจีบ ปลายแขนใช้จบั จีบ ห้ามรูดย่นดว้ ยเครอื่ งจักร ขอบแขน กวา้ ง 3 ซม. แขนยาวเหนอื ศอก 1 ซม. ความยาว ตัวเส้ือต้องมีความยาวเกินข้อมือ เวลาห้อยแขนตรง ความกวา้ ง โดยการวดั รอบอกพอดแี ลว้ เผอ่ื หลวม อกี พอประมาณ 20-25 ซม. ชายเสือ้ ขอบเสอื้ ดา้ นลา่ งพบั กวา้ งไมเ่ กนิ 3 ซม. ชายกระโปรง วัดจากใต้หัวเข่าลงมา 7 ซม. หรือ ยาวกว่าน้นั ปลายบานไมส่ อบเข้า ถงุ เทา้ ขาวพบั ปลาย 4 ซม. หรอื 1½ นวิ้ ปกเสื้อ กว้าง 14-15 ซม. ปลายปกตรง เม่ือทบแล้วรอยต่อปกคอเสื้อช้ินหน้า ใช้ผ้าตรงดังตัวอย่าง ห้ามตัดโค้ง เวลาเว้าหรือเฉียง และทาบโคนสาบ ด้านบน ไมเ่ กนิ ลาดบ่าบน ลาดบ่าบน ลิ้น ปลายสาบด้านล่างสอบเข้าประมาณ ไมเ่ กนิ ข้างละ ½ น้ิว และเป็นเส้นตรง กระเป๋า กว้าง 9-12 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปากกระเปา๋ พบั ขอบเขา้ ขา้ งในไมเ่ กนิ 2 ซม. ก้นกระเปา๋ ตัดตรง ห้ามท�ำเป็น รปู สามเหลย่ี มหรอื โคง้ มน รอยเยบ็ กน้ กระเป๋าทับบนแนวเดียวกับรอยเย็บ ของชายเสื้อ
62 คมู่ อื นกั เรยี นและผูป้ กครอง Suksanari School 2. กระโปรง ใช้ผ้าสีน�้ำเงินเกลี้ยงไม่มีลวดลาย ด้านหน้าและด้านหลังพับเป็นกลีบ ขา้ งละ 3 กลีบ ความลึกของกลบี ไมต่ ่�ำกวา่ 1 นว้ิ และไม่เกิน 1½ หันกลับออก ด้านนอก เย็บทับบนกลีบขอบล่างลงมาระหว่าง 6-12 ซม. ความยาวของกระโปรงวัดจากใต้หัวเข่า ตอ้ งยาวคลุมเขา่ เลยลงมา 7 ซม. หรือเกนิ กว่าน้ัน เกล็ดกระโปรง เย็บทบั บนกลบี ขอบลา่ ง ลงมาประมาณ 6-12 ซม. 3. เส้ือช้ันใน ใช้แบบแขนเป็นสายตรงธรรมดา ต้องสวมเส้ือทับเต็มตัว สีขาว ไม่มลี วดลาย 4. คอซอง ใช้ผ้าสีน�้ำเงินชายสามเหลี่ยมเช่นเดียวกับสีกระโปรง กว้าง 8-9 ซม. ความยาวต้ังแต่ 80 ซม. ขึน้ ไปไมเ่ กิน 100 ซม. แล้วแต่ความเหมาะสม ใช้แบบผกู เมื่อผกู แล้ว ใหเ้ งอ่ื นกะลาสอี ยตู่ รงระดบั สดุ รอยพบั ของปกเสอื้ และมคี วามยาวคอซอง 13-15 ซม. หรอื ใช้ คอซองแบบสำ� เร็จรปู ขนาดตามที่กำ� หนด ซ้อื ไดท้ ร่ี ้านสหกรณ์โรงเรยี นศกึ ษานารเี ทา่ น้ัน ม.ปลาย 1. เสื้อ ใช้ผ้าขาวเกลี้ยง ไม่บางเกินควร เสื้อแบบคอเช้ิตผ่าอกตลอดไหล่ไม่ตก ทอี่ กเสอ้ื ทำ� เป็นสาบตลบเข้าข้างในกว้าง 3 ซม. มีกระดมุ กลมแบน สขี าวขนาดใหญ่ 3 เมด็ แขนยาวเพียงเหนือศอก ต้นแขนและปลายแขนจีบ (ตามแบบ) ปลายแขนประกอบด้วย ผา้ สองชน้ั กวา้ ง 3 ซม. สอดชายเสอ้ื ในกระโปรง การทับเสอ้ื ใหม้ ลี กั ษณะกระชับห้ามทบั เสือ้ ให้ครอ่ มเข็มขัด 2. กระโปรง ใชผ้ ้าสกี รมท่าเกลี้ยง ไมม่ ลี วดลาย ด้านหนา้ และดา้ นหลังพบั เป็นกลีบ ข้างละ 3 กลีบ ความลึกของกลีบไม่ต่�ำกว่า 1 นิ้ว และไม่เกิน 1½ น้ิว หันกลีบออกด้าน นอกเยบ็ ทับบนกลบั ขอบลา่ งลงมาระหวา่ ง 6-12 ซม. เวน้ ระยะความกวา้ งตรงกลางพองาม กระโปรงยาวปดิ เขา่ ความยาวของชายกระโปรงวดั จากใตห้ วั เขา่ ลงมา 7 ซม. หรอื เกนิ กวา่ นนั้
โรงเรยี นศกึ ษานารี 63 STUDENT HANDBOOK หนั ออกข้างละ 3 จบี ปกเสือ้ โคนแขนจบี จบี บน ล่างตรงกัน ปลายแขนจบี ขอบแขน กวา้ ง 3 ซม. แขนยาวเหนือศอก 1 ซม. กลบี กระโปรง เดินจักรเย็บทับกลีบกระโปรง ข้างละ 3 กลีบ ท้ังด้านหน้า ด้านหลัง ลงมาจากขอบล่าง ประมาณ 6-12 ซม. ชายกระโปรง วดั จากใตห้ ัวเข่าลงมา 7 ซม.หรือ ยาวกวา่ นนั้ ปลายบานไมส่ อบเขา้ ถงุ เทา้ สีขาวพบั ปลาย 4 ซม. หรอื 1½ นว้ิ 3. เสื้อช้ันใน ใช้แบบแขนเป็นสายตรงธรรมดา ต้องสวมเส้ือทับเต็มตัว สีขาว ไม่มลี วดลาย 4. เข็มขัด ใช้เข็มขัดหนังเรียบสีด�ำ กว้างตั้งแต่ 3-4 ซม. ตามส่วนของนักเรียน (ห้ามใช้เข็มขัดหนังยางหรือพลาสติก) หัวเข็มขัดมีลักษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าแบบชนิด หัวกลัด ใช้หนังสีด�ำหุ้มสีปลอกหนังสีเดียวกับเข็มขัด ขนาดกว้าง 1.5 ซม. ส�ำหรับสอด ปลายเข็มขัด เข็มขัดท่ีว่านี้ให้คาดทับขอบกระโปรงในลักษณะกระชับพอดีกับขอบกระโปรง (ห้ามติดรูปลอกหรือเขียนด้วยสตี ่าง ๆ ใหเ้ ขียนรหสั ไว้ดา้ นใน) และห้ามใช้เข็มขดั ที่มลี วดลาย หรือตัวอักษรใด ๆ บนเข็มขัด
64 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School เคร่ืองประกอบการแต่งกายและอื่น ๆ ท้งั มัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย 1. รองเท้า แบบหุ้มสน้ หุม้ ปลายเท้า หวั มน (หา้ มใชร้ องเท้าหวั แหลม) ชนดิ มีสาย รัดหลังเทา้ ตายตัว หนงั สดี ำ� ไม่มีลวดลาย สน้ สงู ไม่เกนิ 3 ซม. รองเทา้ ผ้าใบใหใ้ สเ่ ฉพาะวันทมี่ ี พลศึกษาเทา่ นนั้ เขียนรหัสประจำ� ตัวในรองเทา้ ใหช้ ัดเจน และซักรองเทา้ ให้สะอาดอย่เู สมอ 2. ถงุ เทา้ ใชถ้ งุ เทา้ ลกู ฟกู แถวเดยี วไมใ่ หญ่ สขี าวลว้ น หา้ มใชถ้ งุ เทา้ ไนลอนอยา่ งเรยี บ หรือถุงเทา้ ผา้ ฝ้าย ความยาวพอที่จะพบั กว้าง 1½ นวิ้ 2 ทบเหนือข้อเท้า และไมส่ งู เกินไป 3. เคร่ืองหมาย อกเส้ือเบ้ืองขวาปักเครื่องหมายอักษรย่อของโรงเรียน ศ.น. ตามแบบท่ีใหด้ ว้ ยด้ายหรือไหมสีน้ำ� เงินแก่ ส�ำหรบั นักเรียน ม.2 ม.5 ใหป้ ัก 1 ดาว ส่วน ม.3 และ ม.6 ให้ปัก 2 ดาวใต้อกั ษรยอ่ ของโรงเรียน (ตามแบบที่แนบมา) 4. ทรงผม 4.1 ตัดสั้น ตรงโดยรอบศีรษะ ความยาวจากติ่งหูไม่เกิน 1 นิ้ว หวีแสกข้าง ตดิ กบ๊ิ ธรรมดาสีด�ำด้านขา้ งบริเวณขมบั ) ห้ามดงึ ผมไปติดกบิ๊ กลางศีรษะ 4.2 ผมยาว ให้ยาวเสมอกนั ไม่เกินคร่ึงรักแร้ ม.ตน้ ถกั เปยี 2 ข้าง แลว้ ผกู โบ ทบั ใหเ้ รยี บรอ้ ย สว่ น ม.ปลาย ถกั เปยี เดยี่ วธรรมดาจากกลางศรี ษะ แลว้ ผกู โบทบั ใหเ้ รยี บรอ้ ย หรือหากไม่ถักเปีย สามารถมัดรวบตึงด้วยหนังยางสีด�ำแล้วผูกทับด้วยโบของโรงเรียน ใหเ้ รยี บรอ้ ย ห้ามซอยผมทุกชนิด ห้ามดัดผม ห้ามโกรกหรือย้อมสีผม ห้ามต่อผมแฟชั่น หา้ มตดั ผมดา้ นหน้าสนั้ (ผมม้า) ไม่สไลดผ์ มด้านขา้ งหรอื ปลายผม 5. โบ สีน�้ำตาลอ่อนส�ำหรับ ม.ต้น สีน้�ำตาลเข้มส�ำหรับ ม.ปลาย (ผ้าเรียบ ไม่มี ลวดลาย) ซ้อื ทีโ่ รงเรยี นศึกษานารีเทา่ นัน้ มขี นาดความกว้าง 1½-3 ซม. หรือ ½-1½ น้วิ 6. ท่ีติดผม ติดก๊ิบธรรมดาสีด�ำ ห้ามกิ๊บกระ หรือพลาสติกทุกชนิด ส่วนหนังยาง ทใ่ี ชม้ ดั ผมใหใ้ ชแ้ บบเสน้ เลก็ สดี ำ� เทา่ นน้ั ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ชแ้ บบเกลยี ว และหา้ มไมใ่ หน้ ำ� หนงั ยาง มดั ผมทุกชนิดมาคล้องไว้ที่ข้อมอื
โรงเรยี นศึกษานารี 65 STUDENT HANDBOOK 7. เคร่ืองมอื สือ่ สาร เช่น โทรศพั ท์เคลือ่ นท,ี่ เครื่องเลน่ MP3, MP4, iphone, ipod ipad ฯลฯ อนุญาตให้น�ำมาโรงเรยี นได้ แต่ไม่อนุญาตให้ใช้ในเวลาเรยี นหรือเม่อื ท�ำกิจกรรม ต่าง ๆ ยกเวน้ ไดร้ ับอนญุ าตจากครูผู้สอน/ผดู้ แู ลกจิ กรรม และทางโรงเรยี นจะไมร่ ับผดิ ชอบ ใด ๆ ทั้งสน้ิ ในกรณีเกดิ การชำ� รดุ หรือสญู หาย 8. แว่นตา ขนาดพองาม สีสุภาพ กรอบแว่นตาไม่มีลวดลาย ไม่ใช้สวมใส่ตาม แฟชัน่ ในกรณที ีใ่ สค่ อนแทคเลนส์ อนญุ าตใหใ้ ช้เฉพาะกรณมี ปี ญั หาด้านการมองเห็นเท่านนั้ ไม่อนญุ าตใหใ้ สแ่ บบมีสเี พื่อความสวยงาม หรอื ตามสมยั นยิ ม 9. เครอ่ื งประดบั ตา่ ง ๆ หา้ มใสเ่ ครอ่ื งประดบั ทกุ ชนดิ ไมว่ า่ จะมคี า่ หรอื ไมม่ คี า่ สำ� หรบั เครื่องรางของขลังประเภทสายสิญจน์หรืออ่ืน ๆ ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ให้กลัดไว้ในเส้ือด้านใน หากประสงค์จะแขวนพระเคร่ืองให้ใช้สายสร้อยสแตนเลส ท่ีมีความยาวขนาดเก็บไว้ในเส้ือ ไดม้ ดิ ชดิ 10. กระเป๋านกั เรียน สดี ำ� ไม่มลี วดลาย ไม่ใช้กระเปา๋ ราคาแพง เขยี นรหสั ประจำ� ตัว ใหช้ ัดเจน มีขนาดไมต่ ำ�่ กวา่ 12 x 17 น้ิว 11. กระเปา๋ เคยี ง ให้ใช้กระเปา๋ ของโรงเรียนศึกษานารี และใหใ้ ช้ส�ำหรบั ใสช่ ดุ พละ และอปุ กรณ์เคร่ืองเขียน
66 คมู่ ือนักเรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School เครอ่ื งแบบชุดพละ เสื้อพลศึกษา ใช้ผา้ เนอ้ื เกลยี้ งสีเหลอื ง คอโปโล ปกเสื้อขนาดไม่เกิน 9 ซม. กระดมุ สีขาวพลาสตกิ 3 เมด็ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 1 ซม. แขนเสื้อยาวเหนือศอก ประมาณ 1½ นว้ิ กระเป๋าบนมีปักตราสญั ลักษณข์ องโรงเรยี นศึกษานารี ตัวเสื้อตอ้ งไมย่ าวเกนิ ขอ้ มือ เมอ่ื ห้อยแขนตรง ความกว้างของตัวเสื้อ ตั้งแต่ใต้แขนถึงขอบล่างต้องมี ความกว้างพอเหมาะตัว ไม่รัดเอว ชายเส้อื ดา้ นล่างพบั กวา้ งไมเ่ กิน 2 ซม. ผ่าขา้ งไมเ่ กินข้างละ 12 ซม. บนด้านหน้าข้างซ้ายติดกระเปา๋ ซ่ึงมีตราโรงเรียน กว้างยาวตามส่วนของตวั เสอื้ ตวั เส้ือดา้ นหลงั ต่อหลงั ไม่มจี ีบ กางเกง กางเกงวอร์มสีน้�ำตาลเข้ม ถุงเทา้ ใชส้ ขี าวลว้ น ไมม่ ีลวดลาย รองเทา้ 1. เปน็ ผ้าใบชนดิ ห้มุ ส้น สขี าว แบบผูกเชอื กสขี าว 2. มรี ูรอ้ ยเชือกผูกรองเท้า ไม่เกนิ ขา้ งละ 6 คู่ 3. ไมม่ ลี วดลายเป็นสีอ่ืน 4. ส่วนทีเ่ ป็นขอบหมุ้ พ้ืน ตอ้ งเป็นยางสขี าวลว้ น และหนาไมเ่ กนิ 3 ซม. 5. ส่วนพน้ื รองเท้า ต้องเรียบตลอด ไม่มสี น้ 6. สว่ นหวั รองเทา้ เปน็ ชนดิ หุ้มยางได้
โรงเรยี นศกึ ษานารี 67 STUDENT HANDBOOK ระเบียบการแต่งกาย-เคร่อื งแบบนกั เรียน ผมสั้น ม.ต้น ผมสั้น ม.ปลาย ม.ตน้ ผมยาวใหถ้ กั เปยี 2 ขา้ ง คอซอง ม.ตน้ เก็บใหเ้ รียบร้อย ผกู โบสนี ้�ำตาลอ่อน ม.ตน้ ผมยาวหา้ มเกนิ สะบักหลงั ม.ปลาย ผมยาวเก็บใหเ้ รียบร้อย ผกู โบสีน�้ำตาลออ่ น ห้ามเกนิ สะบักหลัง ติดโบน�้ำตาลเข้ม รองเทา้ นกั เรยี นถูกระเบียบ รองเทา้ พละถกู ระเบียบ
68 คู่มอื นักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School ระเบียบการปฏิบตั เิ ม่ือมาโรงเรยี น 1. นักเรียนต้องดูแลเครื่องแต่งกายและทรงผม ให้ถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียน มีความสะอาด และเรยี บรอ้ ยท้ังในขณะทอ่ี ย่ใู นและนอกบริเวณโรงเรียน 2. นักเรียนต้องถือกระเป๋านักเรียนตามแบบ ท่ีโรงเรียนก�ำหนดมาโรงเรียนอยู่เสมอ ยกเว้นเม่ือโรงเรียน อนญุ าตไม่ให้นำ� กระเป๋ามา 3. ห้ามแต่งเครื่องแบบนักเรียนไปปรากฏ ในสถานที่ไมเ่ หมาะสม อาทิ ร้านเกม สถานเรงิ รมย์ ฯลฯ การมาโรงเรยี นและการออกนอกบริเวณโรงเรียน 1. นักเรียนต้องมาโรงเรียนก่อนเวลา 07.30 น. เพื่อให้ทันเข้าแถว ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง และถือปฏิบัติ อย่างเครง่ ครดั ** เมื่อนักเรียนมาโรงเรียนสายจะด้วยเหตุใด ก็ตาม ต้องมารายงานตัวท่ีห้องกลุ่มบริหารงานบุคคลและ ต้องมีผู้ปกครองมาส่ง กรณีมาสายด้วยการเจ็บป่วยต้องมี หลกั ฐานการพบแพทย์ ครเู วรประจำ� วนั จะจดชอ่ื และอบรม นกั เรยี นตามดลุ พินิจของครู 2. กรณีท่ีนักเรียนมีความประสงค์จะออกนอกบริเวณโรงเรียนก่อนโรงเรียนเลิก ผู้ปกครองตอ้ งมาขออนุญาตด้วยตนเอง 3. ในกรณีท่ีโรงเรียนจัดกิจกรรมนอกสถานท่ี อาทิ ค่ายพักแรม ทัศนศึกษา ชมนิทรรศการ ฯลฯ โรงเรียนจะมีหนังสือแจ้งผู้ปกครองลงชื่อรับทราบ และอนุญาต รว่ มกจิ กรรมทกุ ครง้ั
โรงเรียนศกึ ษานารี 69 STUDENT HANDBOOK ความประพฤติ และวินยั นกั เรียน 1. ไมใ่ ห้นกั เรียนเท่ยี วเตร่ และมัว่ สุมในเรื่องอบายมขุ ตา่ ง ๆ 2. ไม่ใหน้ ักเรียนนำ� สิง่ ของมีคา่ อาทิ เครือ่ งประดบั เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ กล้องถ่ายภาพ เครื่องเล่นต่าง ๆ รวมถึงโทรศัพท์มือถือมาใช้ในโรงเรียน หากน�ำมาโรงเรียนนักเรียนต้อง รับผิดชอบการดแู ลรักษาดว้ ยตนเอง ทางโรงเรยี นจะไมร่ บั ผดิ ชอบหากเกดิ กรณขี องหาย 3. ให้นกั เรียนพกบตั รประจ�ำตวั นกั เรยี นอยูเ่ สมอ 4. ให้นักเรียนประพฤติและปฏิบัติตนแต่ในส่ิงที่ดี ท่ีชอบ อาทิ ไม่เสพสิ่งเสพติด ทุกชนิด ไม่เล่นการพนัน ไม่ทะเลาะวิวาท ใช้ถ้อยค�ำสุภาพในการพูด-คุย ไม่ลงภาพหรือ ขอ้ ความไม่สุภาพในเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต เช่น Facebook, Twitter ฯลฯ 5. การมาติดต่อกับโรงเรียนไม่ว่ากรณีใด โอกาสใด ต้องแต่งเครื่องแบบนักเรียน และพกบตั รประจำ� ตวั นกั เรยี นดว้ ยทกุ ครง้ั ในกรณที มี่ ใี บอนญุ าตจากทางโรงเรยี นใหน้ กั เรยี น มารว่ มกิจกรรมในวนั หยุด “นกั เรยี นตอ้ งแต่งเคร่อื งแบบนกั เรยี น” เทา่ นั้น ในวันหยุดราชการ ถ้านักเรียนจะมาโรงเรียนให้แต่งกายสุภาพ แสดงบัตรนักเรียน เมื่อทางครูเวรหรือยามขอตรวจ สวมกางเกงขายาว ห้ามสวมกางเกงท่ีมีรอยขาด ตามสมัยนิยม กางเกงขาส้ัน หรือกางเกงเล ห้ามใส่เส้ือแขนกุด หรือเส้ือท่ีมีลักษณะ ไมส่ ุภาพ ไมส่ วมรองเทา้ แตะ หรือรองเทา้ ฟองน�้ำ ผู้ปกครองที่ประสงค์จะขอพบนักเรียนในระหว่างคาบเรียน ให้มาติดต่อที่ห้อง กลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล 6. การเข้าเรียนและการขาดเรียน ครูผู้สอนแต่ละวิชาจะแจ้งให้ทราบเรื่องเวลา เรียน ว่าเวลาเรียนท้ังหมดในวิชานั้นมีเท่าใด และนักเรียนจะขาดเรียนได้เป็นเวลาเท่าใด ถ้าขาดเกินท่ีก�ำหนดจะไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น ถ้ามีความประสงค์จะขอสอบต้องยื่นค�ำร้อง และครูผู้สอนจะพิจารณาตามความเหมาะสมต่อไป ตามขั้นตอนและระเบียบการปฏิบัติ ในการขอสอบ ยกเว้นผู้ที่ป่วยเป็นเวลานาน ต้องมีใบรับรองแพทย์ หรือผู้ปกครองติดต่อ แจง้ ใหท้ ราบที่อยู่ตลอดเวลา
70 คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง Suksanari School 7. การหนีเรียนไม่ว่าจะเป็นกรณีใด ๆ ถือเป็นความผิด ฉะน้ันทางโรงเรียน ถอื หลกั ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 7.1 ถา้ นกั เรยี นไมส่ บายในชว่ั โมงทม่ี กี ารเรยี นการสอน จะขอนอนพกั หอ้ งพยาบาล ต้องได้รับอนุญาตจากพยาบาลประจ�ำโรงเรียน และน�ำใบอนุญาตนั้นไปแจ้งต่อครูผู้สอน และแจ้งครูท่ีปรึกษา กรณีนักเรียนป่วยมาก พยาบาลประจ�ำโรงเรียนจะเป็นผู้ติดต่อให้ ผปู้ กครองมารบั โรงเรียนจะไมอ่ นญุ าตให้นกั เรียนโทรศัพท์ตามผู้ปกครองมารับ 7.2 นักเรียนจะออกนอกห้องเรียนในขณะท่ีมีการเรียนการสอนไม่ได้ นอกจาก มีความจ�ำเปน็ จะต้องขออนุญาตครผู ู้สอนทกุ ครัง้ 7.3 ถ้ามีความจ�ำเป็นที่ต้องไปปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ในชั่วโมงท่ีมีการเรียน เช่น การท�ำกิจกรรมอ่ืน ๆ การไปตอบปัญหา หรือการประกวด ต้องแจ้งให้ครูประจ�ำช้ันวิชา นนั้ ทราบ ถ้าไม่ปฏิบัตดิ ังกลา่ วจะถือเป็นการหนีเรยี น 8. นกั เรยี นทม่ี ีความประสงคจ์ ะออกนอกบรเิ วณโรงเรยี น จะตอ้ งมีผู้ปกครองมารับ ทหี่ อ้ งกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล ผปู้ กครองทมี่ ารบั ตอ้ งเปน็ ผปู้ กครองทรี่ ะบชุ อ่ื ไวใ้ นหนงั สอื รบั รอง การเปน็ ผปู้ กครอง 9. ผ้ปู กครองท่ีมาขอพบนกั เรยี น ให้ผ้ปู กครองติดตอ่ ทก่ี ลุ่มบรหิ ารงานบุคคล 10. การกลับบา้ น 10.1 โรงเรยี นไม่อนญุ าตใหน้ ักเรียนอยูใ่ นโรงเรียนเกินเวลา 17.00 น. นอกจาก มีกิจกรรม ซึ่งทางโรงเรยี นจะขออนุญาตผปู้ กครองเป็นคราว ๆ ไป 10.2 การเดินทางจากโรงเรียนกลับบ้าน นักเรียนจะต้องปฏิบัติตามกฎจราจร ในการขา้ มถนน และระมัดระวังการข้ึนลงรถประจ�ำทางใหเ้ ป็นระเบยี บและปลอดภยั 10.3 กรณีเจ็บป่วย การอนุญาตให้นักเรียนกลับบ้านให้อยู่ในดุลพินิจ ของครูพยาบาล โรงเรียนไม่อนุญาตให้นักเรียนท่ีป่วยกลับบ้าน และไม่อนุญาตให้นักเรียน โทรศพั ท์ไปแจ้งให้ผ้ปู กครองมารบั โดยไม่ผ่านครพู ยาบาล
โรงเรยี นศึกษานารี 71 STUDENT HANDBOOK เกณฑ์การตัดคะแนนพฤติกรรมนกั เรียนที่กระท�ำผดิ ระเบยี บโรงเรียน หมวดท่ี 1 ลำ� ดบั พฤติกรรม น้�ำหนกั ที่ คะแนน 1 ไม่รกั ษามารยาทในการเขา้ ห้องประชมุ และหอ้ งสมดุ 5 2 ไมต่ ิดปา้ ยชือ่ ตลอดเวลาทีอ่ ยูใ่ นโรงเรียน 5 5 3 ไมร่ ักษามารยาทในการเข้าแถวเคารพธงชาติ 10 10 4 มาสายแต่ไมม่ ารายงานตวั ท่กี ลุ่มบริหารงานบคุ คล 10 10 5 มาโรงเรยี นสายโดยไมม่ เี หตุผลอนั ควร (เกินกว่า 4 คร้งั ข้นึ ไป) 10 10 6 หลกี เล่ยี งการเข้าแถวเคารพธงชาติและการประชมุ ระดับ 10 10 7 จองทีน่ ัง่ ในโรงอาหาร 10 10 8 ไม่เกบ็ ภาชนะในการรบั ประทานอาหารในโรงอาหาร 10 10 9 น�ำอาหารและเครื่องดม่ื ออกนอกบรเิ วณโรงอาหาร 10 10 นำ� อาหารเข้ามาขายในโรงเรยี นโดยมไิ ด้รับอนญุ าต 11 ไม่นำ� กระเป๋านักเรยี นมาโรงเรยี น 12 ใชก้ ระเป๋านักเรยี นและกระเป๋าเคยี งท่ีโรงเรียนไมอ่ นญุ าต 13 ใช้เครื่องส�ำอาง 14 นำ� เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ทกุ ชนิดมาใชใ้ นโรงเรยี นโดยไม่ได้รบั อนญุ าต 15 ไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมกบั ทางโรงเรยี น 16 ไมข่ า้ มสะพานลอย หมายเหตุ ล�ำดบั ท่ี 5 มาสาย 3 ครงั้ แจง้ ผปู้ กครอง มาสาย 4 ครงั้ เชญิ ผปู้ กครอง มาสายเกินกวา่ 4 ครงั้ ขึน้ ไป ตดั คร้งั ละ 10 คะแนน ถ้านักเรยี นบางคนมาสาย เพราะท�ำกิจกรรมใหโ้ รงเรยี น ใหค้ รทู เี่ ปน็ เจา้ ของกจิ กรรมแนบหลกั ฐานการทำ� กจิ กรรม ใหค้ รเู วร
72 คูม่ อื นกั เรยี นและผูป้ กครอง Suksanari School ล�ำดบั ที่ 7-11 ครง้ั ที่ 1 วา่ กล่าวตักเตือน และใหน้ ักเรียนบนั ทึกพฤตกิ รรม คร้ังท่ี 2 ตดั คะแนน ลำ� ดบั ที่ 13 เครื่องส�ำอางทุกชนิด รวมทั้งน้�ำยาอุทัย ยกเว้นแป้งฝุ่น หรือแปง้ แข็งสขี าว และลปิ มนั ไมม่ สี ี ลำ� ดบั ที่ 14 เครื่องชาร์จแบตเตอรี่ ท่ีหนีบผม เคร่ืองเล่นซีดี เคร่ืองเล่น วิทยเุ ทป * การตัดคะแนนให้อย่ใู นดุลพนิ ิจของคุณครเู จา้ ของกิจกรรมนัน้ ๆ หมวดที่ 2 ลำ� ดบั พฤติกรรม นำ้� หนักคะแนน ที่ 1 แตง่ กายผดิ ระเบยี บ 10 2 หนีคาบเรียน (มาโรงเรียนแล้วไมเ่ ขา้ หอ้ งเรียน) 10 3 ขนึ้ ลิฟตโ์ ดยไม่ไดร้ ับอนุญาต 10 4 จงใจไม่น�ำผู้ปกครองมาพบครูที่โรงเรียน หรือเปล่ียนตัว 20 ผู้ปกครอง 5 หนอี อกนอกบริเวณโรงเรียน/หนโี รงเรยี น 20 6 เขา้ ไปในสถานทที่ ไี่ ม่สมควรส�ำหรับนกั เรียน 20 (สถานบันเทงิ เริงรมย์ ร้านเกม) 7 แต่งกายและมกี ริ ยิ าท่ีไม่เหมาะสมในทส่ี าธารณะ 20 8 ทะเลาะววิ าท/ท�ำร้ายรา่ งกายผู้อืน่ 20-60/ดำ� เนินการ ตามกฎหมาย 9 ทรงผมผิดระเบียบ 30 - ซอยสั้น 20 - หน้ามา้ 15 - ซอยสไลด์ 15 - ท�ำสีผม 10 - ไม่ถกั เปีย
โรงเรียนศกึ ษานารี 73 STUDENT HANDBOOK ล�ำดับ พฤติกรรม นำ�้ หนกั คะแนน ท่ี 30 10 เลน่ การพนนั (พจิ ารณาตามลกั ษณะของความรา้ ยแรง 60 และความเสียหายท่เี กิดข้ึน) 30 11 ทจุ รติ ในการสอบ 30 30 12 แสดงกริ ยิ า วาจา หรอื ขดี เขียน ลบหลู่ดูหมิน่ ไมเ่ คารพ ก้าวร้าวครู บุคลากรในโรงเรยี น โดยทกุ ช่องทางการส่ือสาร 30 13 ทำ� ลายทรัพย์สินอันเป็นประโยชนข์ องส่วนรวม 30 30 14 กระทำ� ความผิดอื่น ๆ ที่มีลกั ษณะอนั ไม่ควรที่นักเรยี น 30 จะพงึ ปฏบิ ตั ิ และมผี ลเสียหายร้ายแรงตอ่ ตนเองและสังคม 6ต0า/มดกำ� ฎเนหินมกาายร เช่น ปลอมแปลงใบมาสาย 6ต0า/มดกำ� ฎเนหนิ มกาายร 15 ชักจูงให้หมคู่ ณะไมป่ ฏิบตั ติ ามระเบยี บหรอื ค�ำสั่งครู หรือผู้อ�ำนวยการโรงเรียน 16 ประพฤตเิ ปน็ อนั ธพาล ขม่ ขู่ รดี ไถ กรรโชกทรพั ย์ 17 นำ� อาวุธเขา้ มาโรงเรยี น โดยไม่มีเหตอุ นั ควร 18 ปลอมแปลง แอบอ้างลายมือช่ือครู และผ้บู รหิ าร 19 ท�ำการลกั ทรัพย์ หรือทรพั ยส์ นิ อืน่ ๆ 20 เสพหรือจำ� หน่ายสารเสพตดิ ทกุ ชนดิ หรอื สารเสพตดิ ใหโ้ ทษ หมายเหต ุ ลำ� ดับท่ี 1 แต่งกายผิดระเบียบ หมายถึง คอซองเล็ก หรือยาวเกินไป, ถงุ เทา้ ผดิ ระเบยี บ, กระโปรงสนั้ , ไมส่ วมเสอื้ ทบั , ผกู ผา้ ผกู คอ ยวุ กาชาด เนตรนารผี ดิ ระเบยี บ, ไวเ้ ลบ็ ยาว * แตล่ ะรายการเตอื น 2 ครง้ั แลว้ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามจงึ ตดั คะแนน ยกเวน้ ในกรณที กี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผล เสยี หายรา้ ยแรง หรอื เปน็ การทำ� ผดิ ซำ�้ ซาก ไมป่ รบั ปรงุ ตนเอง แมจ้ ะไดร้ บั การตกั เตอื น แลว้ ก็ตาม ให้งานวินยั พจิ ารณาดำ� เนนิ การตัดคะแนนได้ทันที
74 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School การพจิ ารณาโทษนักเรยี นที่กระท�ำผิดระเบียบของโรงเรยี น ขอ้ 1 การว่ากล่าวตักเตือน คุณครูผู้พบเห็นการกระท�ำผิดระเบียบของนักเรียน มีสทิ ธ์ิวา่ กลา่ วตกั เตือนนักเรยี น เพอ่ื การปรบั ปรงุ พฤติกรรม ขอ้ 2 การท�ำบันทึกการปรับปรุงพฤติกรรม (ศ.น.ป.21) กรณีท่ีคุณครูว่ากล่าว ตักเตือนแล้วนักเรียนไม่เช่ือฟัง และมีพฤติกรรมไม่อยู่ในระเบียบให้คุณครูบันทึกพฤติกรรม เพ่ือเป็นการท�ำปรับพฤติกรรม โดยแจ้งคุณครูที่ปรึกษา ผู้ปกครองเพื่อเป็นการป้องปราม มิใหน้ กั เรยี นทำ� ผดิ ระเบยี บอีก ขอ้ 3 การตดั คะแนนความประพฤติ 1.1 นักเรียนท่ีกระท�ำผิดระเบียบโรงเรียนให้ตัดคะแนนตามเกณฑ์การ ตัดคะแนนความประพฤตนิ ักเรียน และแจง้ ครูทป่ี รกึ ษา ผปู้ กครองมาลงนามรบั ทราบ 1.2 นักเรียนท่ีถูกตัดคะแนนความประพฤติ 60 คะแนนข้ึนไป ให้คณะกรรมการงานวินัยและความประพฤตินักเรียนเชิญผู้ปกครองมาลงนามท�ำบันทึก การตัดสิทธ์ิและใหส้ ัตยาบัน 1.3 นักเรียนท่ีถูกท�ำบันทึกการตัดสิทธ์ิและให้สัตยาบันมีการประพฤติผิด ระเบยี บของโรงเรยี น ไมว่ า่ กรณใี ดใหป้ ฏบิ ตั ติ ามบนั ทกึ แนบทา้ ยทผี่ ปู้ กครองลงสตั ยาบนั ทนั ที ขอ้ 4 การปรับปรุงและปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม 4.1 นักเรียนท่ีกระท�ำผิดระเบียบโรงเรียน นอกจากถูกตัดคะแนน ความประพฤติแล้ว ต้องเข้าร่วมกิจกรรมปรับปรุงและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคะแนน ความผดิ ดังนี้ ตดั คะแนนพฤตกิ รรม กิจกรรม 10-15 บ�ำเพญ็ ประโยชน์ 3 วัน 20-25 บ�ำเพ็ญประโยชน์ 5 วัน 30-35 บำ� เพ็ญประโยชน์ 10 วัน 40-45 บำ� เพ็ญประโยชน์ 20 วัน (ขดั โตะ๊ นักเรยี น 50 ตัว) 50 ขนึ้ ไป คา่ ยเสรมิ สร้างคุณธรรม-จริยธรรม
โรงเรียนศึกษานารี 75 STUDENT HANDBOOK 4.2 การปรบั ปรุงกรณีความผดิ เครื่องแตง่ กาย-ทรงผม 1) กระโปรงสั้นไม่คลุมเข่า ให้ด�ำเนินการแก้ไขในเบื้องต้นโดยเลาะ ชายกระโปรงให้ยาวลงมาจนคลุมเข่าได้ตามระเบียบ ถ้ากระโปรงสั้นมากเมื่อเลาะลงมา แล้วไม่อาจคลุมเข่าหรือยาวไม่ถึงเกณฑ์ที่ก�ำหนดให้นักเรียนใส่ผ้าถุงตลอดเวลาที่อยู่ใน โรงเรียน และให้ด�ำเนินการแจ้งต่อผู้ปกครองหรือเชิญผู้ปกครองมาเพื่อท�ำการแก้ไข ถ้ายัง ตรวจพบว่ากระโปรงยังสน้ั จะยึดกระโปรงโดยไมค่ ืน 2) ทรงผมซอยสั้นให้นักเรียนต่อผมจนดูหนา หรือสวมวิกในลักษณะ ผมสัน้ 3) ผมดา้ นหนา้ ส้นั และหรือสไลดผ์ ม ไมใ่ หไ้ วผ้ มยาว ใหต้ ดั สนั้ และ ให้เล้ียงผมจนยาวเสมอกัน ระหว่างก�ำลังเลี้ยงผมอยู่ให้ติดก๊ิบ ใหเ้ รียบรอ้ ย ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติในการตดั คะแนนความประพฤตนิ ักเรยี น ขอ้ 5 5.1 เมอ่ื นกั เรยี นกระทำ� ความผดิ ถงึ ขนั้ ทถี่ กู ตดั คะแนน ใหค้ รทู พี่ บการกระทำ� ผิดบันทึกการตัดคะแนนในใบบันทึกการตัดคะแนนพฤติกรรม (ศ.น.ป.30) โดยลงช่ือครู ผตู้ ดั คะแนนใหช้ ดั เจน แลว้ สง่ ผลตอ่ หวั หนา้ ระดบั เพอื่ เชญิ ผปู้ กครองและประสานผเู้ กย่ี วขอ้ ง ลงชื่อในใบตัดคะแนนจนครบทุกรายชื่อ ส�ำเนาใบตัดคะแนนที่สมบูรณ์เก็บไว้ท่ีครูท่ีปรึกษา หัวหน้าระดับ ส่วนฉบับตัวจริงเก็บไว้ที่ส�ำนักงานกลุ่มบริหารงานบุคคลเพ่ือบันทึกในระบบ งานวินัยนกั เรยี น 5.2 นกั เรยี นท่ีถกู ตัดคะแนนความประพฤติ เมอ่ื รวมคะแนนถงึ 60 คะแนน ให้หัวหนา้ ระดับประสานคณะกรรมการงานวินยั และความประพฤติ พรอ้ มทั้งเชญิ ผปู้ กครอง เพอ่ื ดำ� เนินการบนั ทึกตัดสิทธิ์ และลงนามใหส้ ตั ยาบนั 5.3 การพบผู้ปกครองนักเรียนที่กระท�ำความผิดทุกกรณี ให้บันทึกการพบ ผ้ปู กครองทกุ คร้ัง 5.4 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมปรับปรุง-เปล่ียนพฤติกรรม ผู้ปกครอง ต้องรับทราบทุกครั้ง
76 คูม่ ือนกั เรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School ระเบียบการปฏบิ ตั ิเมื่อมาโรงเรยี น นักเรียนโรงเรียนศึกษานารีเป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อยตามแบบอย่างของ วฒั นธรรมไทย คือ 1. การแสดงความเคารพ โรงเรียนมีความประสงค์ท่ีจะฝึกให้นักเรียนเป็นผู้มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม และจรยิ ธรรมอนั ดงี ามทงั้ กายและใจ จงึ ไดม้ งุ่ สง่ เสรมิ การปฏบิ ตั ติ นเกย่ี วกบั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.1 การแสดงความเคารพต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 1) เขา้ แถวเคารพธงชาตใิ นตอนเชา้ ดว้ ยความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย ไมพ่ ดู คยุ ระหว่างการรอ้ งเพลงชาติ และรว่ มรอ้ งเพลงชาติดว้ ยความพร้อมเพรียงกนั 2) ทกุ ครง้ั ที่มกี ารเขา้ หอ้ งประชมุ ต้องเดนิ แถว และยืนประจำ� ท่อี ย่างเป็น ระเบียบเรยี บรอ้ ย มีสมาธใิ นการสวดมนต์ไหว้พระ และการแผเ่ มตตา 3) เมอื่ จบการประชุมแต่ละครัง้ หรอื จบการแสดงกจิ กรรมตา่ ง ๆ นักเรยี น ตอ้ งรว่ มรอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมโี ดยพรอ้ มเพรยี งกนั สำ� หรบั ผทู้ มี่ ไิ ดอ้ ยใู่ นหอ้ งประชมุ เมือ่ ได้ยินเสียงเพลงตอ้ งยนื ขึ้นแสดงความเคารพ เว้นแต่ผูท้ ่ีกำ� ลงั เรียนวิชาต่าง ๆ กลางสนาม หรอื อย่ใู นห้องเรียน 4) ไม่กล่าวถ้อยค�ำ หรือแสดงกิริยาอาการต่าง ๆ อันเป็นการแสดงถึง การหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ พระบรมฉายาลักษณ์และพระฉายาลักษณ์ต้องประดับ หรอื เก็บไวใ้ นท่ีอันควร
โรงเรียนศกึ ษานารี 77 STUDENT HANDBOOK นักเรียน กราบ 1.2 การแสดงความเคารพต่อครู นักเรียนทุกคนต้องกระท�ำความเคารพครูทุกท่าน ทั้งในและนอกโรงเรียน โดยถอื ปฏิบตั ดิ งั นี้ 1) เมอ่ื ครเู ขา้ หอ้ งสอนทกุ ครง้ั หวั หนา้ นกั เรยี นจะเปน็ ผบู้ อกทำ� ความเคารพ โดยใช้ค�ำว่า “นักเรียนเตรียมตัวกราบ” นักเรียนทุกคนจะกราบหนึ่งครั้ง การกราบนี้มิได้ ปฏบิ ตั แิ บบการกราบพระ ใหน้ กั เรยี นพนมมอื ตง้ั บนโตะ๊ กม้ ศรี ษะใหแ้ นบมอื โดยมติ อ้ งแบมอื และใหป้ ลายนวิ้ หวั มอื แมม่ อื จรดปลายจมกู พรอ้ มกบั กลา่ วคำ� วา่ “สวสั ดคี ะ่ ” เมอื่ ครอู อกจาก ห้องใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดยี วกัน เพียงแต่เปล่ียนค�ำแสดงความเคารพมาเปน็ ค�ำวา่ “ขอบคณุ ค่ะ” 2) ส�ำหรับการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศน้ันให้ปฏิบัติตามท่ีครูผู้สอน ก�ำหนด 3) ทุกคร้ังที่เข้าฟังการอบรม ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีใด ผู้อบรมจะเป็นใคร ก็ตาม นักเรียนจะต้องจัดตัวแทนเป็นผู้กล่าวน�ำการแสดงความเคารพ ท้ังในตอนเริ่มต้น และจบการอบรม 4) เมอ่ื พบครนู อกหอ้ งเรยี นใหแ้ สดงความเคารพโดยการไหว้ ถา้ ไมส่ ามารถ ไหว้ได้อาจใช้วิธีการยืนตรงหันหน้าไปทางครู หรือก้มศีรษะ หรือกล่าวทักทายด้วยถ้อยค�ำ สุภาพ สหี นา้ ยม้ิ แยม้ แจ่มใส 5) ทุกคร้ังท่ีเปิดภาคการศึกษาหรือในโอกาสพิเศษ เช่น วันไหว้ครู วนั ขน้ึ ปใี หม่ ควรหาโอกาสไปแสดงความเคารพครู ดว้ ยการไหวแ้ ละทกั ทายดว้ ยถอ้ ยคำ� สภุ าพ ออ่ นน้อม 1.3 การแสดงความเคารพต่อบคุ คลทั่วไป 1) ใหน้ กั เรยี นมสี มั มาคารวะตอ่ ผมู้ อี าวโุ สกวา่ ตามควรแกว่ ยั และฐานะ เชน่ เคารพตอ่ รนุ่ พี่
78 ค่มู อื นกั เรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School 2) เมื่อมแี ขกพเิ ศษมาเยี่ยมโรงเรยี น ให้นกั เรียนแสดงความเคารพต่อผ้นู ั้น เช่นเดียวกบั ครูของตน ถา้ แขกผนู้ ้นั ไปยืนดูการเรยี นการสอนหนา้ หอ้ งเรยี น หัวหน้าห้องควร บอกใหแ้ สดงความเคารพทกุ ครัง้ 1.4 การแสดงความเคารพต่อสถานที่ 1) การเขา้ มาโรงเรยี นทกุ ครงั้ นกั เรยี นตอ้ งเคารพและใหเ้ กยี รตติ อ่ สถานที่ โดยการแต่งเคร่ืองแบบ หรอื แตง่ กายอยา่ งสุภาพ 2) รจู้ ักปฏบิ ัติให้เหมาะสมกบั สถานทนี่ นั้ ๆ ไดแ้ ก่ หอ้ งพกั ครู หรอื โตะ๊ ครู นกั เรยี นไมค่ วรเขา้ ไปใชโ้ ดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ห้องสมุด ไม่ควรพูดคุย ส่งเสียงดัง หรือน่ังนอนในกิริยา ท่ีไมเ่ หมาะสม บริเวณที่ประกอบพิธีการหน้าเสาธง ต้องอยู่ในความสงบส�ำรวม ตลอดเวลา ห้องประชุม เป็นท่ีรวมกลุ่มชนเพ่ือต้องการฟังการประชุม ควรสงบเสงี่ยมท้ังกาย วาจา ใจ หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ ควรรกั ษาความสะอาด ไมน่ ำ� อาหาร ต่าง ๆ เข้าไปรบั ประทาน ห้องพยาบาล เปน็ ท่พี ักผ้ปู ่วยท่ีต้องการความสงบ ไม่ควรถือโอกาส เปน็ ทพ่ี กั ผอ่ น ห้องน้�ำ ควรรักษาความสะอาด ถูกต้องตามสุขลักษณะ และ นักเรยี นไมค่ วรกา้ วกา่ ยไปใช้หอ้ งน้�ำร่วมกบั ครู 2. การใชอ้ าคารสถานทแ่ี ละหอ้ งต่าง ๆ 2.1 หา้ มนกั เรยี นใช้ลฟิ ตเ์ พราะอาจเป็นอันตรายได้ นอกจากในกรณเี จบ็ ป่วย 2.2 การขนึ้ ลงบนั ได และการเดนิ ในบรเิ วณโรงเรียนให้เดนิ ชดิ ดา้ นขวา 2.3 อย่าใช้บันไดเป็นที่กระท�ำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น คุยกัน อ่านหนังสือ หรอื น่งั ขวางบันได 2.4 นักเรียนต้องจัดเวรท�ำความสะอาดห้องเรียน และห้องปฏิบัติการที่ตน รับผิดชอบอยู่ และต้องช่วยกันรักษาความสะอาดสาธารณสมบัติในห้องน้ันให้อยู่ในสภาพดี และใชก้ ารไดเ้ สมอ
โรงเรยี นศึกษานารี 79 STUDENT HANDBOOK 2.5 ไม่สง่ เสยี งดังใหเ้ ปน็ ทรี่ บกวนสมาธิของเพือ่ นห้องขา้ งเคยี ง 2.6 ช่วยกันประหยัดไฟฟ้าและน�้ำประปา เม่ือออกจากห้องน้�ำให้ช่วยกันดูแล ให้เรยี บร้อย 2.7 การใชห้ อ้ งนำ�้ ตอ้ งทำ� ความสะอาดทกุ ครง้ั ไมข่ ดี เขยี นขอ้ ความใด ๆ บนผนงั อาคาร ผา้ อนามยั เม่ือใช้แลว้ หอ่ ให้เรยี บรอ้ ย ท้ิงในถังที่เตรียมไว้ให้ 2.8 ห้องพยาบาลจะเข้าได้ต่อเมื่อเจ็บป่วย และได้รับอนุญาตจากครูพยาบาล เทา่ น้ัน 2.9 ห้องสมุดเข้าได้ตามเวลาท่ีก�ำหนด และปฏิบัติให้ถูกต้องตามระเบียบ กฎขอ้ บังคับของโรงเรียน 2.10 โรงอาหารควรใช้อย่างมีระเบียบ เพื่อความสะดวกและความเหมาะสม การซ้ืออาหารต้องเข้าแถวรับบริการ แบ่งท่ีนั่งให้ผู้อื่นบ้าง เม่ือรับประทานอาหารเรียบร้อย แลว้ เกบ็ ภาชนะ ถ้วย ชาม ถ้วยนำ�้ ไปวางไว้ตามที่ ๆ จดั ไวใ้ ห้ 2.11 บรเิ วณถนน และตามมุมตา่ ง ๆ ไม่สมควรท่จี ะใช้เปน็ ที่เล่น เพราะเปน็ การ รบกวนผู้ใชถ้ นน 2.12 การรับประทานอาหาร ให้กระท�ำในสถานท่ีท่ีโรงเรียนก�ำหนดเท่านั้น หา้ มนกั เรียนนำ� อาหารใด ๆ ไปรับประทานนอกบรเิ วณท่ีก�ำหนด 3. ระเบยี บว่าด้วยการประชุม เพอื่ ฝกึ ใหน้ กั เรยี นอยใู่ นสงั คมประชาธปิ ไตยดว้ ยดี ทางโรงเรยี นจงึ ตระหนกั ถงึ เรอื่ ง การประชมุ เปน็ ขอ้ ใหญ่ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ หมนุ เวยี นเปลย่ี นไปในแตล่ ะวนั แตล่ ะระดบั ชน้ั อย่างน้อยระดับช้นั ละ 1 ครั้ง ตอ่ 1 สัปดาห์ การเข้าห้องประชมุ ปฏบิ ตั ดิ งั นี้ 3.1 นักเรียนแตล่ ะช้นั ตอ้ งรับผดิ ชอบในการประชมุ เพราะเปน็ หนา้ ที่โดยตรงท่ี จะต้องเข้าประชมุ ตามวัน เวลาท่กี �ำหนด ผูใ้ ดฝา่ ฝนื ถอื ว่าไม่ปฏิบตั ติ าม อาจมีการลงโทษ 3.2 เม่ือได้ยนิ สัญญาณใหเ้ ขา้ ห้องประชุม นกั เรยี นชั้นน้ัน ๆ ตอ้ งออกมาเข้าแถว หน้าห้องเรียน พร้อมทั้งเดินแถวอย่างเป็นระเบียบ มายืนประจ�ำท่ีของตนในห้องประชุม อย่างสงบ 3.3 หัวหน้าห้องแต่ละชั้นส�ำรวจนักเรียนในชั้นของตน ผู้ใดขาดการประชุม ตอ้ งแจ้งให้ครูที่ปรึกษาทราบ 3.4 การฟังการอบรม ต้องรู้จักระเบยี บ และรกั ษามารยาทในการเขา้ ประชมุ 3.5 เม่ือเสร็จสิ้นการประชุม เดินแถวออกนอกห้องประชุมอย่างมีระเบียบ เช่นเดียวกบั การเขา้ ประชมุ
80 คู่มือนกั เรียนและผ้ปู กครอง Suksanari School 3.6 การสวดมนต์ไหว้พระ จะจัดเวรแต่ละช้ันเป็นผู้จัดดอกไม้ โต๊ะหมู่บูชา และผู้นำ� การสวดมนต์ 3.7 นักเรียนที่เข้ารว่ มประชุมตอ้ งรว่ มสวดมนตด์ ว้ ยความพรอ้ มเพรยี งกัน 3.8 เมอ่ื เสรจ็ สนิ้ การประชมุ ตอ้ งรว่ มรอ้ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมดี ว้ ยความสงบ และความพร้อมเพรยี ง ถา้ งดการประชุม ทางโรงเรียนจะแจง้ ใหท้ ราบเปน็ ครัง้ คราว 4. การปฏบิ ตั ติ นในการเขา้ บรเิ วณโรงเรยี นในวนั หยดุ ราชการในกรณเี ปน็ นกั เรยี น โรงเรียนศกึ ษานารี 4.1 นักเรยี นตอ้ งแตง่ เครอ่ื งแบบนักเรยี นตามระเบยี บการแตง่ กายของโรงเรยี น หรอื แตง่ กายสภุ าพ สวมรองเทา้ หมุ้ สน้ หา้ มสวมรองเทา้ ฟองนำ้� รองเทา้ แตะ หา้ มสวมกางเกง ขาส้นั หรอื กางเกงเล 4.2 นักเรียนต้องแสดงตัวกับยามที่ปฏิบัติหน้าที่ประจ�ำป้อมยาม โดยใช้ บตั รประจ�ำตวั นักเรียนของโรงเรียนเป็นหลักฐาน 4.3 ในกรณีที่นักเรียนศึกษานารีพาบุคคลภายนอกเข้ามาในโรงเรียน ต้องให้ บคุ คลภายนอกปฏบิ ัติตามระเบียบว่าด้วยบคุ คลภายนอก และหา้ มพาบุคคลภายนอกข้นึ บน อาคารเรยี น 4.4 บคุ คลทีจ่ ะเข้ามาในบริเวณโรงเรียนในวันหยดุ ราชการ ต้องแตง่ กายสภุ าพ ไมส่ วมกางเกงขาส้ัน หรือกางเกงเล 4.5 บคุ คลทจี่ ะเขา้ มา ใหแ้ สดงตวั กบั ยามทปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ทป่ี ระจำ� ทปี่ อ้ มยาม ลงชอ่ื - สกลุ ทอี่ ยไู่ วใ้ นสมดุ เปน็ หลกั ฐาน พรอ้ มแสดงบตั รประจำ� ตวั ประชาชน, บตั รประจำ� ตวั นกั เรยี น, บตั รประจ�ำตวั นกั ศึกษาอยา่ งใดอย่างหนึ่งประกอบดว้ ย 4.6 บคุ คลภายนอกทเ่ี ขา้ มาในโรงเรยี น จะอยไู่ ดเ้ ฉพาะบรเิ วณเรอื นประชาสมั พนั ธ์ สนาม และโรงอาหารเท่าน้ัน ห้ามขึ้นไปบนอาคารเรียนทุกอาคาร (เว้นแต่ได้รับอนุญาต จากครูโรงเรยี นศึกษานารี)
โรงเรยี นศึกษานารี 81 STUDENT HANDBOOK อัตลักษณข์ องนักเรยี นศึกษานารี กลุ สตรไี ทย ทนั สมยั กา้ วไกลในสากล เดนิ แถวคู่เขา้ โรงเรยี น นกั เรยี นเดนิ มาโรงเรยี น ทำ� ความเคารพส่งิ ศักด์สิ ทิ ธ์ิ ผมู้ ีพระคณุ ต่อศึกษานารี “สวสั ดคี ่ะคณุ ครู”
82 คมู่ อื นักเรียนและผู้ปกครอง Suksanari School เตรยี ม อญั ชลี วันทา อภิวาท 12 34 การกราบเบญจางคประดิษฐ์ ซง่ึ ต้องใช้ทุกคร้งั ท่ีทำ� ศาสนพิธี เป็นการกราบพระพทุ ธรูปและพระภิกษสุ งฆ์ การไหวพ้ ระสงฆ์ขณะยนื การไหว้พระสงฆ์ขณะน่ัง “คอ้ มศีรษะมากอยา่ งออ่ นน้อม “หัวแมม่ อื อย่หู ว่างคว้ิ ” หัวแมม่ ืออย่หู วา่ งคิ้ว” ไหว้ครอู ยา่ งถูกตอ้ งตามวัฒนธรรม คอ้ มหลังเก็บมือเมอ่ื สนทนากับครู และการใชช้ วี ติ ประจ�ำวนั
โรงเรยี นศกึ ษานารี 83 STUDENT HANDBOOK นัง่ ต่อหนา้ ครู ก1ราบผอู้ าวโุ ส เชน่ คณุ ตา คณุ 2ยาย 1 2 ไหว้ผู้ใหญ่หัวแมม่ ืออยปู่ ลายจมกู การรบั ของจากผูใ้ หญ่ กา้ วขาขวายอ่ รบั อยา่ งอ่อนนอ้ ม แบบพระราชนิยม แบบสากลนิยม การถวายความเคารพแบบสากลนยิ มในโอกาสพิธีถวายพระพรพระมหากษัตรยิ ์และราชวงศ์
วชิ าการกลุ่มบรหิ าร
โรงเรียนศกึ ษานารี 85 STUDENT HANDBOOK ระเบยี บโรงเรียนศึกษานารี วา่ ด้วยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ............................................................................... โดยที่โรงเรียนศึกษานารี ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามค�ำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 259/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงเป็นการสมควรท่ีก�ำหนดระเบียบโรงเรียนศึกษานารี ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2556 เพื่อให้สามารถด�ำเนินการไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและสอดคลอ้ งกับค�ำสั่งดังกล่าว ฉะนน้ั อาศัยอำ� นาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถาน ศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จึงวางระเบยี บไวด้ ังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนศึกษานารี ว่าด้วยการวัดและประเมิน ผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2556” ข้อ 2 ระเบยี บนีใ้ ห้ใชบ้ ังคับตงั้ แตป่ ีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป ขอ้ 3 ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับ ที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบน้ีแทน ข้อ 4 ระเบียบน้ีให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรโรงเรียนศึกษานารี ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2556 ขอ้ 5 ใหผ้ บู้ ริหารสถานศึกษารกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บน้ี
86 คมู่ อื นักเรยี นและผูป้ กครอง Suksanari School หลักการดำ� เนนิ การหวดัมแวลดะ1ประเมนิ ผลการเรยี น ขอ้ 6 การประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามหลักการด�ำเนนิ การตอ่ ไปน้ี 6.1 โรงเรียนศึกษานารี เป็นผู้รับผิดชอบการวัดประเมินผลการเรียนรู้ ของนกั เรยี น โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝา่ ยที่เก่ยี วข้องมสี ่วนร่วม 6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีก�ำหนดในหลักสูตรมีการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส�ำคัญและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ทุกระดับช้ัน 6.3 การประเมนิ ผเู้ รยี นพจิ ารณาจากพฒั นาการของผเู้ รยี น ความประพฤตสิ งั เกต พฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ 6.4 การวัดและการประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียน การสอน ด�ำเนินการด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับส่ิงที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชาและ ระดับชั้นของผ้เู รยี น โดยตง้ั อยู่พ้ืนฐานความเทีย่ งตรง ยุติธรรมและเชือ่ ถือได้ 6.5 การประเมนิ ผลการเรยี นมจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น พฒั นาการจดั การ เรียนรู้และตัดสนิ 6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ตรวจสอบผลการประเมินผล การเรียนรู้ 6.7 มีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ระหว่างสถานศึกษา เพื่อเป็นหลักฐาน การประเมนิ ผลการเรยี นรรู้ ายงานผลการเรยี น แสดงวฒุ กิ ารศกึ ษา และรบั รองผลการเรยี นของผเู้ รยี น 6.8 มีการจัดท�ำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเป็นหลักฐานการประเมินผล การเรยี นรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวุฒกิ ารศกึ ษา และรับรองผลการเรียนของผเู้ รียน วธิ ีการวัดและหปมรวะเดมิน2ผลการเรยี นรู้ ขอ้ 7 สถานศกึ ษาต้องด�ำเนนิ การวดั และประเมนิ ผลใหค้ รบองคป์ ระกอบท้งั 4 ด้านคอื กล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ข้อ 8 ให้ครูผู้สอนน�ำผลการประเมินแต่ละองค์ประกอบ บันทึกลงในเอกสารบันทึก ผลการประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากำ� หนดและนำ� เสนอผูบ้ ริหารโรงเรยี น
โรงเรียนศึกษานารี 87 STUDENT HANDBOOK ขอ้ 9 ผบู้ ริหารโรงเรียนเป็นผอู้ นุมัตกิ ารประเมิน ข้อ 10 ใหม้ กี ารรายงานความกา้ วหนา้ ผลการพฒั นาองคป์ ระกอบทงั้ 4 ดา้ น ใหผ้ ปู้ กครอง ทราบเปน็ ระยะ ๆ และรายงานสรปุ ผลการเรียนปลายปี/ปลายภาค ขอ้ 11 ผู้บริหารโรงเรียนต้องก�ำหนดวิธีการและมอบหมายผู้รับผิดชอบ ปรับปรุงพัฒนา ผู้เรยี นได้ผลการเรยี นซ�้ำรายวชิ าหรือซ�้ำชน้ั ข้อ 12 ก�ำหนดแนวทางในการก�ำกับ ติดตามบันทึกผลการประเมินในเอกสารหลักฐาน การศึกษา ทงั้ แบบท่กี ระทรวงศกึ ษาและแบบทโ่ี รงเรียนก�ำหนด ข้อ 13 การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ เป็นการ ประเมินความรู้ความสามารถ ทักษะเจตคติ ทักษะการคิดท่ีก�ำหนดอยู่ในตัวช้ีวัดหลักสูตร ซงึ่ จะนำ� ไปสกู่ ารสรปุ ผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ อ่ ไป ภารกจิ ของโรงเรยี น ในการประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรูม้ ีรายละเอียดดังนี้ 1. ก�ำหนดสัดส่วนคะแนนระหว่างเรยี นกบั คะแนนปลายภาค โดยให้ความสำ� คญั ของคะแนนระหวา่ งเรียนมากกว่าคะแนนปลายภาค 2. ก�ำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน โดยพิจารณาความเหมาะสมตามระดับ ชัน้ เรียนโรงเรยี นก�ำหนดเปน็ ระดับผลการเรียน 8 ระดบั 3. ก�ำหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริมระหว่างเรียน กรณีผู้เรียนมีผล การประเมินตัวช้วี ดั /มาตรฐานการเรยี นรไู้ มผ่ ่านตามเกณฑท์ ่ีโรงเรยี นกำ� หนด 4. ก�ำหนดแนวปฏิบัติในการสอนซ่อมเสริม การสอบแก้ตัว กรณีผู้เรียนมีระดับ ผลการเรยี น “0” หรอื มรี ะดบั คณุ ภาพตำ่� กวา่ เกณฑ์ และแนวดำ� เนนิ การกรณผี เู้ รยี นมผี ลการเรยี น ท่ีมีเง่ือนไข คอื “ร” หรอื “มส” 5. ก�ำหนดแนวปฏิบัตใิ นการอนุมตั ผิ ลการเรียน 6. ก�ำหนดแนวทางในการรายงานผลการประเมนิ ตอ่ ผู้เกี่ยวข้อง ขอ้ 14 การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ถอื เปน็ ความสามารถหลกั ที่สำ� คญั ซงึ่ จำ� เปน็ ตอ้ งปลกู ฝงั และพฒั นาใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ผเู้ รยี น ดว้ ยกระบวนการจดั การศกึ ษาตามหลกั สตู ร ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ขณะเดียวกันก็ต้องตรวจสอบว่า ความสามารถดังกล่าวเกิดข้ึนแล้ว หรือยัง เนื่องจากการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนผู้เรียนจะได้รับ การพัฒนาตามล�ำดับอย่างต่อเน่ืองในกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือ กจิ กรรมตา่ ง ๆ กระบวนการตรวจสอบความกา้ วหนา้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ทง้ั ความรคู้ วามเขา้ ใจในการปฏบิ ตั ิ จะดำ� เนนิ การไปด้วยกันในกระบวนการ 1. ประเมินเพื่อการปรับปรุงพัฒนาผู้เรียนและประเมินเพื่อการตัดสิน การเลอ่ื นชัน้ และจบการศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ
88 ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง Suksanari School 2. ใช้วิธีการประเมินท่ีหลากหลาย เพ่ือให้ผู้เรียนมีโอกาสได้แสดงออก ซ่ึงความ สามารถดังกลา่ วอยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพและทำ� ใหผ้ ลการประเมนิ ท่ีไดค้ วามเชอ่ื มัน่ 3. ก�ำหนดภาระงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับขอบเขตและประเด็น การประเมนิ ท่กี ำ� หนด 4. ใช้รูปแบบ วิธีการประเมินและเกณฑ์การประเมินที่ได้จากการมีส่วนร่วม ของผูเ้ กย่ี วขอ้ ง 5. การสรปุ ผลการประเมนิ เพอ่ื รายงาน เนน้ การรายงานคณุ ภาพของความสามารถ ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนเป็น 4 ระดับ คือ ดีเยี่ยม ดี ผา่ น และไมผ่ า่ น แนวทางการแก้ไขผูเ้ รียนกรณีไม่ผา่ นเกณฑ์ ในกรณที ผ่ี เู้ รยี นมผี ลการประเมนิ อา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น อยใู่ นระดบั ไมผ่ า่ นครผู สู้ อน และคณะกรรมการประเมินควรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความก้าวหน้า ในตวั ชว้ี ดั ทมี่ ขี อ้ บกพรอ่ งสมควรไดร้ บั การแกไ้ ขในระยะเวลาพอสมควรทผี่ เู้ รยี นจะเกดิ การเรยี นรู้ และสรา้ งผลงานทส่ี ะทอ้ นความสามารถในตวั ชวี้ ดั ทตี่ อ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ขไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ดว้ ยวธิ กี าร ทหี่ ลากหลาย เชน่ มอบหมายใหผ้ เู้ รยี นไดอ้ า่ น ไดค้ ดิ วเิ คราะหจ์ ากเรอ่ื งทอี่ า่ น และสามารถสอ่ื สาร สาระส�ำคัญจากเรื่องที่อ่าน โดยการเขียนอย่างมีประสิทธิภาพ แล้วน�ำผลงานไปเทียบกับ แนวการใหค้ ะแนนและเกณฑ์การตัดสนิ ทก่ี �ำหนดต้ังแตร่ ะดับดเี ยย่ี ม ดี ผ่าน ข้อ 15 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้ครูผู้สอนด�ำเนินการวัดผล ไปพร้อมกับการประเมนิ ผลระดับช้นั เรยี นตามเกณฑท์ ่กี ำ� หนดดงั นี้ ขนั้ ตอนท่ี 1 : เกณฑท์ พ่ี จิ ารณาสรุปผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ขอ้ ท่ี 1 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ระดับ เกณฑก์ ารพิจารณา ดเี ย่ียม (3) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ยีย่ ม ทุกตวั ชี้วัด หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยี่ยม ตั้งแต่ 2 ตวั ขึน้ ไปและไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี อยา่ งนอ้ ย 1 ตัวชวี้ ดั ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ยี่ยม ทกุ ตวั ช้วี ดั หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินไมต่ ำ�่ กวา่ ระดบั ดี จ�ำนวน 3 ตวั ชว้ี ดั และตวั ชว้ี ัดที่เหลือได้ ผลการประเมินระดับผา่ น 1 ตวั ชวี้ ดั ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ทุกตวั ชี้วดั หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผ่าน จ�ำนวน 2 ตวั ชีว้ ดั และไม่มีผลการประเมนิ ตัวชี้วดั ใด ต่ำ� กว่าระดับผ่าน ไม่ผ่าน (0) มีผลการประเมนิ ตวั ชว้ี ัดข้อใดข้อหนง่ึ ได้ระดับไม่ผ่าน
โรงเรียนศึกษานารี 89 STUDENT HANDBOOK คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ขอ้ ท่ี 2 ซอื่ สตั ย์สุจรติ ระดบั เกณฑก์ ารพิจารณา ดเี ย่ยี ม (3) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเยี่ยม ทุกตัวช้ีวดั หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม และดี ระดับละ 1 ตัวช้วี ัด ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี ทกุ ตวั ชี้วดั หรอื 2. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเย่ียม และระดบั ผ่าน ระดบั ละ 1 ตัวช้วี ัด ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมินระดบั ผา่ น ทกุ ตัวชีว้ ดั หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดับดี และระดับผา่ น ระดับละ 1 ตัวชว้ี ดั ไม่ผ่าน (0) มผี ลการประเมนิ ตวั ชว้ี ดั ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ไดร้ ะดับไมผ่ า่ น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ขอ้ ท่ี 3 มีวนิ ยั ระดับ เกณฑ์การพิจารณา ดีเยี่ยม (3) ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยีย่ ม ดี (2) ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดี ผ่าน (1) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผ่าน ไมผ่ า่ น (0) ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ไม่ผา่ น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อที่ 4 ใฝเ่ รียนรู้ ระดับ เกณฑ์การพิจารณา ดีเยยี่ ม (3) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดับดเี ย่ียม ทุกตัวชี้วัด หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดบั ดเี ยย่ี ม และดี ระดับละ 1 ตวั ชีว้ ดั ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี ทุกตวั ชี้วัด หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยย่ี ม และระดบั ผ่าน ระดับละ 1 ตัวชว้ี ัด ผ่าน (1) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผ่าน ทุกตวั ช้วี ัด หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี และระดบั ผ่าน ระดบั ละ 1 ตัวช้วี ดั ไมผ่ ่าน (0) มีผลการประเมินตัวช้วี ดั ขอ้ ใดข้อหนึ่งได้ ระดบั ไม่ผ่าน
90 คมู่ ือนักเรียนและผูป้ กครอง Suksanari School คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ข้อท่ี 5 อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ระดบั เกณฑ์การพิจารณา ดเี ยย่ี ม (3) 1. ได้ผลการประเมินระดบั ดีเยี่ยม ทกุ ตวั ชีว้ ัด หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยย่ี ม และดี ระดบั ละ 1 ตัวชวี้ ดั ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี ทุกตวั ช้วี ดั หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดเี ยีย่ ม และระดับผ่าน ระดบั ละ 1 ตวั ชีว้ ัด ผ่าน (1) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ผ่าน ทุกตัวชี้วดั หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดบั ดี และระดบั ผา่ น ระดบั ละ 1 ตวั ช้วี ดั ไมผ่ ่าน (0) มีผลการประเมินตวั ช้ีวัดขอ้ ใดขอ้ หนงึ่ ได้ ระดับไมผ่ า่ น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ขอ้ ท่ี 6 มุ่งมนั่ ในการท�ำงาน ระดับ เกณฑ์การพิจารณา ดีเย่ียม (3) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดับดีเยี่ยม ทุกตัวชี้วดั หรอื 2. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเยี่ยม และดี ระดับละ 1 ตัวช้ีวัด ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี ทกุ ตัวช้ีวดั หรือ 2. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเยย่ี ม และระดับผา่ น ระดับละ 1 ตวั ชี้วัด ผา่ น (1) 1. ได้ผลการประเมินระดับผา่ น ทกุ ตัวชีว้ ัด หรอื 2. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี และระดบั ผา่ น ระดับละ 1 ตวั ชว้ี ดั ไม่ผ่าน (0) มีผลการประเมนิ ตวั ชี้วดั ขอ้ ใดข้อหน่งึ ได้ ระดบั ไมผ่ า่ น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ข้อท่ี 7 รกั ความเป็นไทย ระดบั เกณฑ์การพิจารณา ดีเยย่ี ม (3) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดับดีเยี่ยม ทุกตวั ชวี้ ัด หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเยี่ยม จ�ำนวน 2 ตวั ชีว้ ดั และไม่มผี ลการประเมนิ ตัวชีว้ ดั ใดต่�ำกวา่ ระดับผา่ น ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดบั ดี ทุกตวั ชว้ี ดั หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดบั ดีเยย่ี ม จำ� นวน 1 ตัวชี้วดั และไม่มผี ลการประเมนิ ตวั ช้วี ัด ใดตำ�่ กว่าระดับผา่ น ผ่าน (1) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดับผ่าน ทุกตวั ช้ีวดั หรอื 2. ได้ผลการประเมินระดับดี และไมม่ ผี ลการประเมนิ ตัวช้วี ดั ใดต่ำ� กวา่ ระดบั ผา่ น ไม่ผ่าน (0) มผี ลการประเมนิ ตัวชวี้ ดั ขอ้ ใดขอ้ หน่งึ ได้ ระดบั ไมผ่ ่าน
โรงเรยี นศกึ ษานารี 91 STUDENT HANDBOOK คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ข้อท่ี 8 มจี ิตสาธารณะ ระดับ เกณฑ์การพจิ ารณา ดเี ยย่ี ม (3) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดับดเี ย่ยี ม ทกุ ตวั ช้วี ดั หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดีเยี่ยม และดี ระดับละ 1 ตัวชี้วัด ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี ทุกตวั ช้วี ัด หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดเี ยีย่ ม และระดบั ผ่าน ระดับละ 1 ตวั ชี้วดั ผ่าน (1) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ผ่าน ทกุ ตัวชว้ี ัด หรอื 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี และระดบั ผ่าน ระดับละ 1 ตัวชี้วดั ไม่ผา่ น (0) มผี ลการประเมินตัวช้วี ัดข้อใดขอ้ หน่งึ ได้ ระดบั ไม่ผ่าน ขั้นตอนที่ 2 : เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผเู้ รยี นจากคณะกรรมการทุกคนในแตล่ ะคุณลกั ษณะ ระดับ เกณฑ์การพิจารณา ดีเยยี่ ม (3) 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเย่ยี ม มากกวา่ หรอื เท่ากับรอ้ ยละ 60 ของจำ� นวนผู้ประเมนิ และไมไ่ ดผ้ ลการประเมินต่�ำกว่าระดบั ดี ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดบั ดเี ยย่ี ม น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของจ�ำนวนผู้ประเมนิ และไม่ไดผ้ ลการประเมนิ ตำ่� กว่าระดบั ผ่าน หรือ 2. ได้ผลการประเมินรัดบดเี ย่ยี ม เทา่ กบั ร้อยละ 60 ของจำ� นวนผู้ประเมิน และไม่ไดผ้ ลการประเมินตำ�่ กวา่ ระดับผา่ น หรือ 3. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ดี มากกวา่ หรอื เทา่ กบั รอ้ ยละ 60 ของจ�ำนวนผูป้ ระเมนิ และไม่ไดผ้ ลการประเมนิ ตำ�่ กว่าระดับผา่ น ผ่าน (1) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี (3) เทา่ กบั รอ้ ยละ 60 ของจ�ำนวน ผ้ปู ระเมนิ และไม่ไดผ้ ลการประเมินตำ�่ กวา่ ระดับผา่ น ไม่ผา่ น (0) ได้ผลการประเมินระดบั ไมผ่ ่าน ตงั้ แต่ 1 คณุ ลักษณะ ขั้นตอนที่ 3 : เกณฑ์การพิจารณาสรุปผลประเมินรวมทุกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รายภาคของผู้เรยี นรายบคุ คล ระดบั เกณฑก์ ารพจิ ารณา ดเี ยย่ี ม (3) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเยย่ี ม จ�ำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ ผลการประเมนิ ตำ�่ กวา่ ระดบั ดี
92 คมู่ อื นักเรียนและผูป้ กครอง Suksanari School ดี (2) 1. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดีเย่ยี ม จำ� นวน 1-4 คณุ ลกั ษณะและไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดได้ ผลการประเมินตำ่� กว่าระดบั ดี หรือ ผ่าน (1) 2. ได้ผลการประเมินระดบั ดเี ย่ยี ม จ�ำนวน 4 คุณลักษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดได้ ไมผ่ ่าน (0) ผลการประเมินตำ�่ กว่าระดบั ผา่ น หรือ 3. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดี จ�ำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไมม่ คี ุณลกั ษณะใดได้ ผลการประเมินตำ่� กว่าระดบั ผา่ น 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ผ่าน จ�ำนวน 5-8 คณุ ลักษณะ และ ไม่มคี ุณลกั ษณะใดได้ ผลการประเมนิ ตำ่� กวา่ ระดบั ผา่ น หรือ 2. ได้ผลการประเมนิ ระดับดี จำ� นวน 4 คุณลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใดได้ผล การประเมนิ ต่ำ� กว่าระดับผา่ น ไดผ้ ลการประเมนิ ระดบั ไมผ่ า่ น ตั้งแต่ 1 คณุ ลักษณะ ข้ันตอนท่ี 4 : เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินรวมทุกคุณลักษณอันพึงประสงค์ แต่ละระดบั การศึกษา ระดับ เกณฑก์ ารพิจารณา ดเี ยี่ยม (3) 1. ได้ผลการประเมนิ ระดบั ดีเยย่ี ม จำ�นวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไม่มคี ณุ ลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตำ่ �กว่าระดบั ดี ดี (2) 1. ได้ผลการประเมินระดับดเี ยี่ยม จำ� นวน 1-4 คุณลกั ษณะ และไมม่ คี ณุ ลกั ษณะใดได้ ผลการประเมนิ ต�ำ่ กว่าระดับดี หรือ 2. ไดผ้ ลการประเมินระดบั ดี จำ� นวน 5-8 คณุ ลักษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดได้ผล การประเมินตำ่� กวา่ ระดบั ผ่าน หรือ 3. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับดีเย่ียม จำ� นวน 4 คณุ ลักษณะ และไมม่ คี ณุ ลักษณะใดได้ ผลการประเมนิ ต�ำ่ กวา่ ระดบั ผา่ น ผา่ น (1) 1. ไดผ้ ลการประเมนิ ระดับผา่ น จ�ำนวน 5-8 คุณลกั ษณะ และไมม่ ีคณุ ลักษณะใดได้ ผลการประเมนิ ต่�ำกว่าระดบั ผ่าน หรือ 2. ได้ผลการประเมินระดับดี จำ� นวน 4 คณุ ลกั ษณะ และไมม่ คี ุณลกั ษณะใดไดผ้ ล การประเมนิ ต�่ำกวา่ ระดับผา่ น ไม่ผา่ น (0) ไดผ้ ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะใดคณุ ลกั ษณะหน่งึ ไดร้ ะดับไม่ผา่ น
โรงเรียนศกึ ษานารี 93 STUDENT HANDBOOK ข้อ 16 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนให้ประเมินเป็นรายปี โดยสถานศึกษา เป็นผ้กู �ำหนดแนวทางประเมิน ผู้รบั ผิดชอบกจิ กรรมด�ำเนนิ การประเมนิ ตามจดุ ประสงค์ ดังนี้ 16.1 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยร้อยละ 80 ของเวลาการจัดกิจกรรม ตลอดภาคเรียน 16.2 ประเมินจากการปฏิบตั กิ จิ กรรม ผลงานหรือช้นิ งานของผเู้ รียนด้วยวิธีการ ท่ีหลากหลาย และใชใ้ นการประเมนิ ตามสภาพจรงิ 16.3 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพ่ือการตัดสิน หัวหน้ากลุ่มกิจกรรม พฒั นาผเู้ รยี นรวบรวมขอ้ มลู ของผเู้ รยี นทกุ คนตลอดระดบั การศกึ ษา ซงึ่ ผเู้ รยี นจะตอ้ งผา่ นกจิ กรรม 3 กิจกรรม คอื แนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น (เนตรนารี ยวุ กาชาด ชุมนุม) และกิจกรรมเพ่ือสงั คม และสาธารณประโยชน์ โดยมีเกณฑต์ ัดสิน ดงั น้ี 1) เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ รายกจิ กรรม ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมครบตามเกณฑป์ ฏบิ ตั ิ กิจกรรม และมีผลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะ ตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำ� หนด ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมไม่ครบตามเกณฑ์ไม่ผ่านการ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม หรอื มผี ลงาน/ชนิ้ งาน/คณุ ลกั ษณะ ไม่เปน็ ตามเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนด 2) เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายภาค ผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ผ” ในกจิ กรรมสำ� คญั ทงั้ 3 กิจกรรม กจิ กรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรยี น กจิ กรรมเพ่ือสังคม และสาธารณประโยชน์ ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “มผ” ในกิจกรรม สำ� คญั กจิ กรรมใดกจิ กรรมหนงึ่ จาก 3 กจิ กรรม คอื กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อ สังคมและสาธารณประโยชน์ 3) เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อจบระดับ การศกึ ษา ผา่ น หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “ผ” ทุกช้ันปี ในระดบั การศกึ ษานั้น ไมผ่ ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับ “มผ” บางชั้นปี ในระดบั การศึกษาน้ัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176