Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไดอารี่ตำบลมะขามเตี้ย

ไดอารี่ตำบลมะขามเตี้ย

Published by เบญจมาศ วัฒนชัย, 2021-11-30 03:30:57

Description: ไดอารี่ตำบลมะขามเตี้ย

Search

Read the Text Version

DIARY ตำ บ ล ม ะ ข า ม เ ตี้ ย อำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ 2564

DIARY ตำ บ ล ม ะ ข า ม เ ตี้ ย อำ เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี

พระบรมราโชวาท 'การทำดีนั้นทำยากและเห็นผลช้า แต่ก็จำเป็นต้องทำเพราะหาไม่ความชั่ว ซึ่งทำได้ ง่ายจะเข้ามาแทนที่ และจะพอกพูนขึ้นอย่างรวดเร็วโดยไม่ทันรู้สึกตัว แต่ละคนจึง ต้องตั้งใจและเพียพยายามให้สุดกำลังในการสร้างเสริมและสะสมความดี’ พระบรมราโชวา ทพระราชทาน แก่ผู้สำเร็จการศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยตำรวจ สวนอัมพร ๑๔ สิงหาคม ๒๕๒๕

คำนำผู้เขียน หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อการสำเร็จการศึกษาของนักศึกษาปริญาตรี สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ในรายวิชประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ โดยมี จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งหนังสือเล่มนี้มีเนื้อหา ที่ประกอบไปด้วย ข้อมูลพื้นฐาน ของตำบล โครงสร้างของตำบล โครงสร้างทางเศรษฐกิจและอาชีพสถานที่สำคัญ ในตำบล และการวิเคราะห์ศักยภาพชุมชน ผู้จัดทำได้รวบรวมเนื้อหาและเรื่องที่น่าสนใจ รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความ สำคัญของวัฒนธรรมและเรื่องต่าง ๆ ในพื้นที่ ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณอาจารย์และ ผู้ให้ความรู้ทำให้หนังสือเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ และแนวทางการศึกษานี้หวังว่า หนังสือเล่มนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน หากมีข้อเสนอ แนะประการใด ผู้จัดทำขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยิ่ง คณะผู้จัดทำ

01 ส่ ว น ที่ 1 ข้ อ มู ล พื้ น ฐ า น 23 ส่ ว น ที่ 4 ส ถ า น ที่ สำ คั ญ 24 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว 02 ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ตำ บ ล 31 โ บ ร า ณ ส ถ า น 03 ข น า ด ที่ ตั้ ง ข อ ง ตำ บ ล 34 ส่ ว น ที่ 5 ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ 04 ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ที่ สำ คั ญ 05 ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ / ภู มิ อ า ก า ศ ศั ก ย ภ า พ ชุ ม ช น 07 ก า ร เ ดิ น ท า ง ก า ร ค ม น า ค ม 37 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม 10 ส่ ว น ที่ 2 โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ชุ ม ช น 38 ผู้ จั ด ทำ 11 ด้ า น ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง 11 ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร 12 ด้ า น ก ร ศึ ก ษ า / ศ า ส น า / วั ฒ น ธ ร ร ม 14 บ ริ บ ท สั ง ค ม / ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ 16 ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต 17 ก ลุ่ จั ด ตั้ ง ม ว ล ช น 18 ส่ ว น ที่ 3 โ ค ร ง ส ร้ า ง ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ อ า ชี พ 19 ส ภ า พ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ 20 ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อ า ชี พ ข อ ง ชุ ม ช น 21 สิ น ค้ า ชุ ม ช น

03 ภ า พ ที่ 1 ที่ ตั้ ง ข อ ง ตำ บ ล 20 ภ า พ ที่ 2 ก า ร เ ลี้ ย ง ผึ้ ง 20 ภ า พ ที่ 3 ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ส า ย ห น้ า ก า ก 21 ภ า พ ที่ 4 น้ำ มั น ม ะ พ ร้ า ว ส กั ด เ ย็ น 22 ภ า พ ที่ 5 ห ม ว ก จ า ก ก ล่ อ ง น ม 22 ภ า พ ที่ 6 ก ลุ่ ม เ ลี้ ย ง ผึ้ ง 24 ภ า พ ที่ 7 เ ก า ะ ก ล า ง บ า ง ท ะ ลุ 25 ภ า พ ที่ 8 ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร 26 ภ า พ ที่ 9 ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร 27 ภ า พ ที่ 1 0 สั ต ว์ ป่ า ที่ พ บ เ จ อ 28 ภ า พ ที่ 1 1 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม 29 ภ า พ ที่ 1 2 วั ด ส า ว น า ร า ม 29 ภ า พ ที่ 1 3 วั ด ส า ว น า ร า ม 30 ภ า พ ที่ 1 4 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ 31 ภ า พ ที่ 1 5 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม 333243 ภ า พ ที่ 1 6 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ ภ า พ ที่ 1 7 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม ภ า พ ที่ 1 8 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม

ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน

02. 1.1 ประวัติความเป็นมา ก่อนจะมาเป็นตำบลมะขามเตี้ยที่เจริญอย่างทุกวันนี้นั้นมีประวัติการเล่าขานต่อกัน จากสมัยก่อนถึงความเป็นมาของตำบลแห่งนี้ไว้ว่า ประมาณกว่าร้อยปีที่ผ่านมา มีประชาชนอพยพมาจากจังหวัดชุมพรเข้ามาตั้งรกราก เป็นครอบครัวแรกในหมู่บ้านท่าเพชร และต่อมาได้มีชาวเมืองนครศรีธรรมราช ได้เข้ามาปลูก สร้างบ้านเรือนเพิ่มขึ้นอีก ต่อจากนั้นก็มีผู้อพยพเข้ามาเพิ่มอีกเรื่อย ๆ ทำให้การบริหารการ ปกครองดูแลไม่ทั่วถึง จึงได้มีการแยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้นเป็น 7 หมู่บ้าน จากนั้นเทศบาลเมือง สุราษฎร์ธานี ได้ขยายเขตเทศบาล โดยตัดเขตหมู่บ้านหมู่ที่ 1-4 และหมู่ที่ 5 บางส่วน หมู่ที่ 6 บางส่วน ไปอยู่ในความรับผิดชอบของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี (เทศบาลเมืองในสมัยนั้น) ทำให้ ตำบล มะขามเตี้ยเหลือพื้นที่เพียง 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 5 บางส่วน หมู่ที่ 6 บางส่วน และหมู่ที่ 7 ซึ่งแต่เดิมนั้นเป็นสภาตำบล ต่อมาได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลตามพระราช บัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2538 ปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย มีพื้นที่รับผิดชอบ 4 หมู่บ้าน โดยแยกหมู่ที่ 7 จัดตั้งเป็นหมู่ ที่ 8 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2544 ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

03. 1.2 ขนาดที่ตั้งของตำบล ภาพที่ 1 ที่ตั้งของตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอำเภอ เมืองสุราษฎร์ธานีระยะทางห่างจากตัวอำเภอ ประมาณ 10 กิโลเมตร พื้นที่ทั้งหมดอยู่ เขตชานเมือง ปัจจุบันสำนักงานตั้งอยู่เลขที่ หมู่ที่ 7 ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี (แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

04. 1.3 ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลมะขาม เตี้ย มีทรัพยากรธรรมชาติทั้งภูเขาและป่าไม้ ซึ่งเป็นพื้นที่อนุรักษ์บริเวณเขาท่าเพชร พื้นที่ 2,906 ไร่ แหล่งน้าลาคลอง และพื้นที่ป่าชาย เลนบางส่วนบริเวณริมคลองท่าสน ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) แหล่งน้ำธรรมชาติ มีลำคลอง 4 แห่งคือ คลองท่าสน, คลองบางทะลุ, คลองบางด้วน, คลองบางปริง แหล่งน้ำที่ สร้างขึ้น ได้แก่ ฝาย จำนวน 1 แห่ง บ่อน้าตื้น จำนวน 58 แห่ง บ่อบาดาล จำนวน 16 แห่ง สระน้ำ จำนวน 2 แห่ง ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

05. 1.4 ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ ตำบลมะขามเตี้ยประกอบ ด้วยที่ราบเนินเขาและที่ราบลุ่ม มีเขาท่าเพชรเป็น เขตป่าสงวนแห่งชาติ มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ คือ คลองท่าสน พื้นที่เกือบทั้งหมด เป็นพื้นที่ถือ ครองการเกษตร ประมาณ 4,278 ไร่ ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) พื้นที่ทำการเกษตรประมาณ 2,808 ไร่ ประกอบด้วย 1.ยางพารา 1,226 ไร่ 2.ปาล์มน้ำมัน 1,238 ไร่ 3.มะพร้าวแก่ 200 ไร่ 4.ทุเรียน 144 ไร่ ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

06. 1.5 อาณาเขต องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ยมีพื้นที่รวม 20.144 ตารางกิโลเมตร หรือ 12,590.00 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ 1.ทิศเหนือ จดเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี 2.ทิศใต้ จดตำบลขุนทะเล อำเภอเมืองฯ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3.ทิศตะวันออก จดตำบลทุ่งรัง อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

07. 1.6 การคมนาคม มีถนนสายต่างๆสาหรับให้ประชาชนใช้สัญจรไปมาภายในหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และจังหวัด ประกอบด้วย ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก มี 16 สาย ดังนี้ 1) สายวัดสารวนาราม หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.575 กม. 2) สายท่าเพชรป่าไม้ หมู่ที่ 5 ระยะทาง 2.236 กม. 3) สายซอยนายเอื้อน หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.290 กม. 4) สายซอยถนอม หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.325 กม. 5) สายบ้านนางสุดจิต หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.417 กม. 6) ซอยข้างโรงเรียนวังเพชร หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.148 กม. 7) สายวัดนิคมธรรมาราม หมู่ที่ 6 ระยะทาง 0.028 กม. 8) สายอนามัย 1 หมู่ที่ 7 ระยะทาง 1.130 กม. 9) สายหน้าสานักงาน อบต.มะขามเตี้ย หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.050 กม. 10) สายหมู่บ้านอิสลาม หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.200 กม. 11) สายซอยบางทะลุ หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.270 กม. 12) สายโยธาธิการ 2 หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.450 กม. 13) สายซอยเสงี่ยม หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.490 กม. 14) สายซอยรุ่งนภา หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.505 กม. 15) สายซอยเพชรไสว หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.370 กม. 16) สายซอยบางรักษ์ หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.400 กม ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

08. ถนนลาดยางมี 15 สายดังนี้ 1) สายบ้านท่าเพชร นิคม หมู่ที่ 5 ระยะทาง 5.078 กม. 2) สายโรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 หมู่ที่ 5 ระยะทาง 1.642 กม. 3) สายซอยเพชรนครินทร์ หมู่ที่ 6 ระยะทาง 1.300 กม. 4) สายเขาท่าเพชร หมู่ที่ 6 ระยะทาง 2.000 กม. 5) สายซอยตาอ่วม หมู่ที่ 6 ระยะทาง 0.175 กม. 6) สายถนนแยกช่อง 9 อสมท.เขาท่าเพชร หมู่ที่ 6 ระยะทาง 0.250 กม. 7) สายบ้านบนควน หมู่ที่ 7 ระยะทาง 1.458 กม. 8) สายบางทะลุ หมู่ที่ 7 ระยะทาง 1.182 กม. 9) สายท่าสน หมู่ที่ 7 ระยะทาง 1.070 กม. 10) สายอนามัย 1 หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.100 กม. 11) สายโยธาธิการ 1 หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.150 กม. 12) สายโยธาธิการ 2 หมู่ที่ 8 ระยะทาง 0.120 กม. 13) สายโยธาธิการ 3 หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.620 กม. 14) สายอนามัย 2 หมู่ที่ 8 ระยะทาง 3.000 กม. 15) สายเขื่อนบางทรายทอง หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.320 กม. ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

09. ถนนหินคลุกมี 11 สายดังนี้ 1) สายซอยบ้านนายซ้าย หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.479 กม. 2) สายซอยข้างโรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 หมู่ที่ 5 ระยะทาง 0.382 กม. 3) สายบ่อบาดาล หมู่ที่ 6 ระยะทาง 0.500 กม. 4) สายซอยข้างสานักสงฆ์นิคามธรรมาวาส (ยายบัว) หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.220 กม. 5) สายซอยบ้านนายสมปอง หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.814 กม. 6) สายซอยหนองข่า หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.774 กม. 7) สายบ้านทุ่งล่าง หมู่ที่ 7 ระยะทาง 1.600 กม. 8) สายซอยบ้านยายแข หมู่ที่ 7 ระยะทาง 0.325 กม. 9) สายซอยบ้านนางสังวาลย์ หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.500 กม. 10) สายซอยร่วมใจ หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.000 กม. 11) สายซอยโรงเลี้ยงเป็ด หมู่ที่ 8 ระยะทาง 1.500 กม. ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

ส่วนที่ 2 โครงสร้างของชุมชน

11. 2.1 ด้านการเมืองการปกครอง เขตการปกครองของตำบลมะขามเตี้ย หมู่ที่ 5 บ้านท่าเพชร ผู้ดูแล นายทิวา คณาวิทยา กำนันตำบลมะขามเตี้ย หมู่ที่ 6 บ้านบางใหญ่ ผู้ดูแล นางสาวจอมขวัญ กองประดิษฐ์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านท่าสน ผู้ดูแล นายบุญเลิศ วิชัยดิษฐ์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ 8 บ้านทรายทอง นายสุเทพ นวมนิ่ม ผู้ใหญ่บ้าน ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) 2.2 ข้อมูลประชากร ประชากรทั้งสิ้น 3,001 คน ยกเป็น ประชากรชาย 1,484 คน ประชากรหญิง 1,517 คนความหนาแน่นเฉลี่ย 148.88 คน / ตารางกิโลเมตร จำนวน ครัวเรือน 1,720 ครัวเรือน ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

12. 2.3 ด้านการศึกษา/ศาสนา/วัฒนธรรม การศึกษา 1.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 1 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 2.โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านท่าเพชร ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 3.โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนสุราษฎร์ธานี 2 ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 4.โรงเรียน/สถาบันชั้นสูง 1 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 5.ศูนย์การเรียนรู้ตำบล 1 แห่ง คือ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลมะขามเตี้ย ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) สาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล 1 แห่ง คือ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบลมะขามเตี้ย ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 สถานพยาบาลเอกชน (คลินิก) 3 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 มี อสม.ครบทุกหมู่บ้านตามเกณฑ์ของ กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 61 คน ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

13. ศาสนา/วัฒนธรรม ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ ศ า ส น พิ ธี ท า ง ศ า ส น า พุ ท ธ 1 ) วั ด ส า ร ว น า ร า ม ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 5 2 ) วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 6 3 ) สำ นั ก ส ง ฆ์ นิ ค า ม ธ ร ร ม า ว า ส ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 7 4 ) วั ด จ ตุ ร ว า ส ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 8 ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 ) ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ ศ า ส น พิ ธี ท า ง ศ า ส น า อิ ส ล า ม จำ น ว น 1 แ ห่ ง คื อ มั ส ยิ ด รี ย า ดุ น มุ มี มี น ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 1 ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ ศ า ส น พิ ธี ท า ง ศ า ส น า ค ริ ส ต์ จำ น ว น 1 แ ห่ ง ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 5 ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 )

14. 2.4 บริบทความเป็นอยู่ ส ภ า พ ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า ชี พ ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร ใ น เ ข ต อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตำ บ ล ป ร ะ ช า ก ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ป ศุ สั ต ว์ ค้ า ข า ย รั บ จ้ า ง แ ล ะ รั บ ร า ช ก า ร โ ด ย แ ย ก เ ป็ น 1 . ป ศุ สั ต ว์ ไ ด้ แ ก่ เ ลี้ ย ง สุ ก ร เ ลี้ ย ง โ ค เ ลี้ ย ง ไ ก่ เ ลี้ ย ง แ พ ะ แ ล ะ เ ลี้ ย ง เ ป็ ด 2 . รั บ จ้ า ง ไ ด้ แ ก่ รั บ จ้ า ง ทำ ง า น ต า ม โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ต่ า ง ๆ ทั้ ง ใ น แ ล ะ น อ ก พื้ น ที่ ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 )

15. 3 . ก า ร เ ก ษ ต ร ไ ด้ แ ก่ ส ว น ย า ง พ า ร า ป า ล์ ม น้ำ มั น ส ว น ผ ล ไ ม้ 4 . พื้ น ที่ ค้ า ข า ย ไ ด้ แ ก่ ข า ย ข อ ง ชำ ข า ย อ า ห า ร อ า ห า ร ต า ม สั่ ง เ ป็ น ต้ น ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 )

16. 2.5 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 1 . มี เ จ้ า ห น้ า ที่ รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ ป ร ะ จำ ห มู่ บ้ า น ทุ ก ห มู่ บ้ า น ( ส ร บ . ) 2 . มี ศู น ย์ อ า ส า ส มั ค ร ป้ อ ง กั น ภั ย ฝ่ า ย พ ล เ รื อ น ( อ ป พ ร . ) อ บ ต . ม ะ ข า ม เ ตี้ ย มี จำ น ว น ส ม า ชิ ก ร ว ม 5 1 น า ย แ ย ก ต า ม ห มู่ บ้ า น ดั ง นี้ 1 . ห มู่ ที่ 5 ส ม า ชิ ก จำ น ว น 1 5 น า ย 2 . ห มู่ ที่ 5 ส ม า ชิ ก จำ น ว น 1 0 น า ย 3 . ห มู่ ที่ 7 ส ม า ชิ ก จำ น ว น 1 3 น า ย 4 . ห มู่ ที่ 8 ส ม า ชิ ก จำ น ว น 1 3 น า ย ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 )

17. 2.6 กลุ่มมวลชนจัดตั้ง 1 . ก ลุ่ ม ลู ก เ สื อ ช า ว บ้ า น 2 . ก ลุ่ ม เ ก ษ ต ร ก ร ทำ ส ว น 3 . ก ลุ่ ม อ า ส า พั ฒ น า ส ต รี ร ะ ดั บ ห มู่ บ้ า น 4 . ก ลุ่ ม อ า ส า ส มั ค ร ส า ธ า ร ณ สุ ข 5 . ก ลุ่ ม อ า ส า ส มั ค ร ป้ อ ง กั น ภั ย ฝ่ า ย พ ล เ รื อ น 6 . ก ลุ่ ม ช ม ร ม ผู้ สู ง อ า ยุ 7 . ก ลุ่ ม อ า ส า ส มั ค ร รั ก ษ า ค ว า ม ส ง บ ภ า ย ใ น ห มู่ บ้ า น 8 . ก ลุ่ ม สั จ จ ะ อ อ ม ท รั พ ย์ เ พื่ อ ก า ร ผ ลิ ต 9 . ก ลุ่ ม ก ร ะ ตุ้ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ชุ ม ช น 1 0 . ก ลุ่ ม ก อ ง ทุ น ห มู่ บ้ า น 1 1 . ก ลุ่ ม ฌ า ป น กิ จ ส ง เ ค ร า ะ ห์ บ้ า น ท ร า ย ท อ ง ( แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น , 2 5 6 1 )

ส่วนที่ 3 โครงสร้างเศรษฐกิจและอาชีพ

19. 3 . 1 ส ภ า พ ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อาชีพของประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ยประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางการเกษตร ปศุสัตว์ ค้าขาย รับจ้าง และรับราชการ โดยแยกเป็น 1.การเกษตร ได้แก่ สวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน สวนผลไม้ เช่น ทุเรียน มังคุด ลองกอง 2.ปศุสัตว์ ได้แก่ เลี้ยงสุกร เลี้ยงโค เลี้ยงไก่ เลี้ยงแพะ และเลี้ยงเป็ด 3.รับจ้าง ได้แก่ รับจ้างทำงานตามโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้งในและนอกพื้นที่ 4.ค้าขาย ได้แก่ ขายของชำ ขายอาหาร อาหารตามสั่ง เป็นต้น 5.รับราชการ หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล 1.ปั้มน้ำมัน (หลอดแก้ว) 4 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 , 6 , 8 2.โรงงานอุตสาหกรรม 5 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 , 7 3.บริษัท / ห้างร้าน 2 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 4.บ้านเช่า/ห้องพัก 24 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 , 6 , 7 , 8, 5.โครงการบ้านจัดสรร 1 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 6.โรงแรมม่านรูด 1 แห่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 7.ร้านค้า/ ร้านขายอาหาร 33 แห่ง 8.อื่นๆ เช่น ร้านเชื่อมเหล็ก , อู่ซ่อมรถ ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

20. ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม อ า ชี พ ข อ ง ช า ว บ้ า น ใ น ชุ ม ช น ภาพที่ 2 โครงการเลี้ยงผึ้ง 1. องค์การบริหารส่วนตำบล 2. สำนักงานปลัด องค์การบริหาร มะขามเตี้ยได้ดำเนินการจัดโครงการ ส่วนตำบลมะขามเตี้ย ได้ดำเนินการจัด ส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โครงการส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน อบต.มะขามเตี้ยกิจกรรมอบรมให้ ในพื้นที่ อบต.มะขามเตี้ย “กิจกรรม ความรู้การเลี้ยงผึ้ง และทดสอบเลี้ยง การประดิษฐ์สายหน้ากากอนามัย” ผึ้งทำการกลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรงและพืช ประจำปีงบประมาณ 2564ในวันที่ 30 ผักสมุนไพร โดยกิจกรรมครั้งนี้ได้รับ กรกฎาคม 2564 ความร่วมมือจากผู้เข้าร่วมโครงการฯ ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) เป็นอย่างดี ภาพที่ 3 ประดิษฐ์สายหน้ากากอนามัย

21. 3 . 2 สิ น ค้ า ชุ ม ช น ตำ บ ล ม ะ ข า ม เ ตี้ ย ภาพที่ 4 น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น 1.น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น เป็นการสร้างรายได้และอาชีพให้กับชุมชนได้อย่างดี เนื่องจากมะพร้าวเป็นพืช ผลหลักทางเศรษฐกิจน้ำมันมะพร้าวสกัดเย็นที่ได้จากการสกัดแยกน้ำมันจากเนื้อผล ของมะพร้าวโดยองค์ประกอบหลักของน้ำมันมะพร้าวคือกรดไขมันอิ่มตัวเกิน 90% ของปริมาณกรดไขมันทั้งหมดช่วยในการชะลอความเสื่อมของร่างกาย เพราะน้ำมัน มะพร้าว มีบทบาทในการช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระได้เป็นอย่างดี ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

22. 2.หมวกจากกล่องนม ซองน้ำยาปรับผ้านุ่ม และกล่องกระดาษเหลือใช้ ผลิตภัณฑ์จากของเหลือใช้ในชุมชน เช่นกล่องนม กล่องเครื่องดื่ม ถุงน้ำยาปรับ ผ้านุ่ม โดยกลุ่มแม่บ้าน อสม.กลุ่มสตรี ในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย ภาพที่ 5 หมวกจากกล่องนม 3. เลี้ยงผึ้งทำการกลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง สำหรับเหตุผลชาวบ้านในชุมชนที่มาเลี้ยงผึ้งนั้น เริ่มจากการที่ชาวบ้านในชุมชน เกิดการว่างงานและอยากหารายได้ ทั้งนี้การเลี้ยงผึ้งนั้นเป็นอาชีพที่ใช้ต้นทุนต่ำแต่ เห็นผลในระยะยาวที่จะยึดเป็นอาชีพทำให้ชาวบ้านมีรายได้เลี้ยงครอบครัวจากการ ขายน้ำผึ้ง ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 ) ภาพที่ 6 กลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง

ส่วนที่ 4 สถานที่สำคัญ

24. 4 . 1 แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ภ า พ ที่ 7 ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ เ ก า ะ ก ล า ง บ า ง ท ะ ลุ 4 . 1 . 1 ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ เ ก า ะ ก ล า ง บ า ง ท ะ ลุ เป็นการรวมกลุ่มของชาวบ้านในชื่อ “กลุ่มรักษ์เกาะกลางบางทะลุ” เพื่ออนุรักษ์ ระบบนิเวศไว้โดยมีแนวคิดว่าชุมชนต้องได้ประโยชน์ร่วมกันในรูปแบบของสิทธิชุมชนที่ จะนำไปสู่การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนและรวมถึงชุมชนเกาะกลางบาง ทะลุมีความเข้มแข็งจึงเป็นปัจจัยหนุนเสริมที่สำคัญต่อการสร้างความร่วมมือของชุมชน โดยให้ความสำคัญกับกระบวนการการมีส่วนร่วมภายในชุมชนอย่างสอดคล้องกับความ ต้องการของสมาชิกในชุมชนเพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ พร้อมการดำรงอยู่ของความหลากหลายทางชีวภาพของเกาะกลางบางทะลุ จึงเกิดเป็น สถานที่ท่องเที่ยวที่มีการพัฒนาอยู่ ณ ตอนนี้ ( แผนพัฒนาท้องถิ่น,2561 )

25. 4 . 1 . 2 ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร ภ า พ ที่ 8 ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ตั้ ง ขึ้ น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2 5 1 9 อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ เ ข ต ห้ า ม ล่ า สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร ที่ ต . ม ะ ข า ม เ ตี้ ย อ . เ มื อ ง จ . สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี มี เ นื้ อ ที่ 2 , 9 0 6 ไ ร่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ภู เ ข า ข น า ด ย่ อ ม ติ ด ต่ อ กั น 3 ลู ก ท อ ด ตั ว ใ น แ น ว เ ห นื อ - ใ ต้ ย า ว ป ร ะ ม า ณ 8 กิ โ ล เ ม ต ร ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ มี ห น้ า ผ า สู ง ชั น ม า ก บ ริ เ ว ณ เ ชิ ง เ ข า โ ด ย ร อ บ เ ป็ น ที่ ร า บ แ ล ะ มี พื้ น ที่ ร า บ แ ค บ ๆ บ น สั น เ ข า บ า ง ต อ น ย อ ด เ ข า ลู ก ก ล า ง สู ง ที่ สุ ด สู ง จ า ก ร ะ ดั บ น้ำ ท ะ เ ล ป า น ก ล า ง ป ร ะ ม า ณ 2 1 0 เ ม ต ร

26. ป ร ะ วั ติ ค ว า ม เ ป็ น ม า ป่ า ไ ม้ แ ล ะ พั น ธุ์ ไ ม้ / สั ต ว์ ป่ า อ ดี ต ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร เ ป็ น ป่ า ด ง ดิ บ ชื้ น แ ต่ ไ ด้ ผ่ า น ก า ร ทำ ไ ม้ ม า แ ล้ ว ภ า พ ที่ 9 ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ ป ร ะ ก อ บ กั บ ก า ร บุ ก รุ ก พื้ น ที่ ข อ ง แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร ร า ษ ฎ ร บ ริ เ ว ณ ที่ ร า บ เ ชิ ง เ ข า เ พื่ อ ทำ ก า ร ป ลู ก พื ช ส ว น ต่ า ง ๆ จึ ง ทำ ใ ห้ ตั้ ง ขึ้ น เ มื่ อ ปี พ . ศ . 2 5 1 9 อ ยู่ เ กิ ด ไ ฟ ป่ า ขึ้ น ทุ ก ปี ส ภ า พ ป่ า ใ น ใ น พื้ น ที่ เ ข ต ห้ า ม ล่ า สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร ที่ ต . ม ะ ข า ม เ ตี้ ย อ . เ มื อ ง ปั จ จุ บั น จึ ง เ ป ลี่ ย น ไ ป มี ป่ า ด ง ดิ บ จ . สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี มี เ นื้ อ ที่ 2 , 9 0 6 แ ล้ ง ร้ อ ย ล ะ 7 5 พั น ธุ์ ไ ม้ ไ ด้ แ ก่ เ คี่ ย ม ไ ร่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ภู เ ข า ข น า ด ย่ อ ม ต ะ เ คี ย น ท ร า ย ย า ง เ ท พ ท า โ ร ติ ด ต่ อ กั น 3 ลู ก ท อ ด ตั ว ใ น แ น ว เ ป็ น ต้ น ป่ า เ บ ญ จ พ ร ร ณ ป ร ะ ม า ณ เ ห นื อ - ใ ต้ ย า ว ป ร ะ ม า ณ 8 ร้ อ ย ล ะ 2 5 พั น ธุ์ ไ ม้ ไ ด้ แ ก่ ก ร ะ บ ก กิ โ ล เ ม ต ร ด้ า น ทิ ศ ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ค อ แ ล น ม ะ ห า ด ข นุ น น ก เ ป็ น ต้ น เ ห นื อ มี ห น้ า ผ า สู ง ชั น ม า ก บ ริ เ ว ณ แ ล ะ ป่ า ห ญ้ า ค า อ ยู่ ใ น พื้ น ที่ ร า บ เ ชิ ง เ ชิ ง เ ข า โ ด ย ร อ บ เ ป็ น ที่ ร า บ แ ล ะ มี เขา พื้ น ที่ ร า บ แ ค บ ๆ บ น สั น เ ข า บ า ง ต อ น ย อ ด เ ข า ลู ก ก ล า ง สู ง ที่ สุ ด สู ง จ า ก ร ะ ดั บ น้ำ ท ะ เ ล ป า น ก ล า ง ประมาณ 210 เมตร

27. ภ า พ ที่ 1 0 สั ต ว์ ป่ า ที่ พ บ เ จ อ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ อ า ก า ศ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ภ า ค ใ ต้ โ ด ย ทั่ ว ไ ป คื อ ค่ อ น ข้ า ง อ บ อุ่ น ชื้ น เ กื อ บ ต ล อ ด ปี อุ ณ ห ภู มิ เ ฉ ลี่ ย ต ล อ ด ทั้ ง ปี ป ร ะ ม า ณ สั ต ว์ ป่ า ที่ พ บ เ จ อ 2 5 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส สู ง สุ ด ป ร ะ ม า ณ 3 0 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า ที่ พ บ เ ห็ น โ ด ย ทั่ ว ไ ป เ ฉ ลี่ ย ต่ำ สุ ด ป ร ะ ม า ณ 1 8 อ ง ศ า บ ริ เ ว ณ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร คื อ ห มู ป่ า เ ซ ล เ ซี ย ส ฤ ดู ก า ล แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ก ร ะ จ ง ห นู ไ ก่ ป่ า ช ะ ม ด อี เ ห็ น ฤ ดู คื อ ฤ ดู ร้ อ น ตั้ ง แ ต่ เ ดื อ น พั ง พ อ น พ ร ะ ย า ก ร ะ ร อ ก บิ น เ ม่ น ม ก ร า ค ม - เ ดื อ น เ ม ษ า ย น ฤ ดู ฝ น ลิ ง ค่ า ง ต ะ ก ว ด กิ้ ง ก่ า บิ น งู ตั้ ง แ ต่ เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม - เ ดื อ น แ ล ะ น ก ช นิ ด ต่ า ง ๆ เ ช่ น น ก ธั น ว า ค ม ป ริ ม า ณ น้ำ ฝ น เ ฉ ลี่ ย ก า ง เ ข น ด ง น ก เ ข า เ ป ล้ า น ก 1 , 6 3 6 . 8 มิ ล ลิ เ ม ต ร ต่ อ ปี จำ น ว น แ ซ ง แ ซ ว น ก ต บ ยุ ง น ก หั ว ข ว า น วั น ที่ ฝ น ต ก เ ฉ ลี่ ย 1 6 3 . 2 วั น แ ล ะ น ก ก ร ะ ปู ด น ก กิ น ป ลี เ ป็ น ต้ น ใ น จ า ก ส ภ า พ ก า ร ณ์ ใ น ปั จ จุ บั น อ า ก า ศ ร ะ ห ว่ า ง เ ดื อ น ตุ ล า ค ม - เ ดื อ น แ ป ร ป ร ว น มั ก จ ะ มี ล ม พ า ยุ แ ล ะ ฝ น ม ก ร า ค ม ข อ ง ทุ ก ปี จ ะ มี น ก เ งื อ ก ต ก ห นั ก ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น ตุ ล า ค ม - เ ดื อ น ป ร ะ ม า ณ 5 - 1 0 ตั ว บิ น ม า จ า ก พ ฤ ศ จิ ก า ย น ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ ม า แ ว ะ พั ก ที่ เ ข า ท่ า เ พ ช ร 3 - 5 วั น

28. ภ า พ ที่ 1 1 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม 4 . 1 . 3 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม วัดนิคมธรรมาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2522 เริ่มทำการก่อสร้างประมาณะ พ.ศ. 2494 บริเวณหัวเขาท่าเพชรเดิมชาวบ้านเรียกชื่อตามที่ตั้งว่าว่า “วัดหัวเขา” ต่อมา ในปี พ.ศ. 2499 ได้ตั้งชื่อวัดให้เป็นทางการว่า“วัดนิคมธรรมาราม”เนื่องจากอยู่ใกล้ บริเวณเขตนิคมสร้างตนเอง ขุนทะเล วัดนี้เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใกล้นห่วยงานราชการ จึง เป็นแหล่งบำเพ็ญบุญของข้าราชการผู้ใหญ่ รวมถึงการใช้พื้นที่วัดในการจัดกิจกรรม ต่างๆ ของทางราชการ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่27 ธันวาคม พ.ศ. 2526 (www.makhamtia.go.th )

29. ภ า พ ที่ 1 2 วั ด ส า ร ว น า ร า ม ( วั ด ท่ า เ พ ช ร ) 4 . 1 . 4 วั ด ส า ร ว น า ร า ม ( วั ด ท่ า เ พ ช ร ) วัดสารวนาราม หรือ วัดท่าเพชร ภ า พ ที่ 1 3 วั ด ส า ร ว น า ร า ม ตั้งอยู่เลขที่ 16 หมู่ที่ 5 ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานที่ตั้ง วัดอยู่บนที่เนินติดกับทางหลวงชนบทไม่ไกล จากถนนสายเลี่ยงเมือง ผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ คือ พระธรรมวิโรจนเถร หรือ หลวงพ่อพลับ ฐิติก โร ซึ่งเป็นเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่ง ของภาคใต้อภายในบริเวณวัดมีความร่มรื่น ด้วยต้นไม้น้อยใหญ่ อากาศเย็นสบาย และมี ความเงียบสงบ เหมาะแก่การศึกษาธรรมะ ฝึกสมาธิ และการพักผ่อนเป็นอย่างยิ่ง (www.makhamtia.go.th )

30. ภ า พ ที่ 1 4 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ 4 . 1 . 5 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ ห รื อ พ ร ะ ธ า ตุ เ ข า ท่ า เ พ ช ร เขาท่าเพชร ในอดีตป่าเขาท่าเพชรเป็นป่าดงดิบชื้น แต่ถูกทำไม้มาแล้ว และยังมีราษฎรบุกรุกพื้นที่อีกปัจจุบันกรมป่าไม้ได้ปลูกสวนป่าขึ้นทดแทนไม้ที่ถูก ทำลายในบางส่วน และจัดการพื้นที่เพื่อการศึกษาให้ความรู้ด้านป่าไม้ สัตว์ป่า รวมทั้งระบบนิเวศในผืนป่า ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป บนเขา ท่าเพชร เป็นที่ประดิษฐานขององค์พระธาตุศรีสุราษฎร์ พระธาตุเจดีย์รูปลำเทียน ที่สวยงาม ปูชนีสถานแห่งแรกของชาวบ้านดอนที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจ ของพี่น้อง ชาวบ้านดอน และบนยอดเขายังร่มรื่น มีศาลาชมวิวซึ่งเป็นจุดชมวิวที่ มองเห็นตัวเมืองทั้งเมืองไปจนสุดสายตาถึงทะเลอ่าวบ้านดอน (www.makhamtia.go.th )

31. 4.2 โบราณสถาน 4 . 2 . 1 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม วัดนิคมธรรมาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2522 เริ่มทำการก่อสร้างประมาณ พ.ศ. 2494 บริเวณหัวเขาท่าเพชรเดิมชาวบ้านเรียกชื่อตามที่ตั้งว่าว่า “วัดหัวเขา” ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 ได้ตั้งชื่อวัดให้เป็นทางการว่า“วัดนิคมธร รมาราม”เนื่องจากอยู่ใกล้บริเวณเขตนิคมสร้างตนเอง ขุนทะเล วัดนี้เป็นวัดที่ตั้ง อยู่ใกล้นห่วยงานราชการ จึงเป็นแหล่งบำเพ็ญบุญของข้าราชการผู้ใหญ่ รวมถึง การใช้พื้นที่วัดในการจัดกิจกรรมต่างๆ ของทางราชการ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่27 ธันวาคม พ.ศ. 2526 (www.makhamtia.go.th ) ภ า พ ที่ 1 5 วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม

32. 4 . 2 . 2 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ ห รื อ พ ร ะ ธ า ตุ เ ข า ท่ า เ พ ช ร เขาท่าเพชร ในอดีตป่าเขาท่าเพชรเป็นป่าดงดิบชื้น แต่ถูกทำไม้มาแล้วและ ยังมีราษฎรบุกรุกพื้นที่อีกปัจจุบันกรมป่าไม้ได้ปลูกสวนป่าขึ้นทดแทนไม้ที่ถูกทำลาย ในบางส่วน และจัดการพื้นที่เพื่อการศึกษาให้ความรู้ด้านป่าไม้ สัตว์ป่า รวมทั้ง ระบบนิเวศในผืนป่า ให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป บนเขาท่าเพชร เป็นที่ประดิษฐานขององค์พระธาตุศรีสุราษฎร์ พระธาตุเจดีย์รูปลำเทียนที่สวยงาม ปูชนีสถานแห่งแรกของชาวบ้านดอนที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจของพี่น้อง ชาวบ้านดอน และบนยอดเขายังร่มรื่น มีศาลาชมวิวซึ่งเป็นจุดชมวิวที่มองเห็นตัว เมืองทั้งเมืองไปจนสุดสายตาถึงทะเลอ่าวบ้านดอน (www.makhamtia.go.th ) ภ า พ ที่ 1 6 พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์

33. 4 . 2 . 3 วั ด ส า ร ว น า ร า ม ( วั ด ท่ า เ พ ช ร ) ภ า พ ที่ 1 7 วั ด ส า ร ว น า ร า ม ( วั ด ท่ า เ พ ช ร ) ภ า พ ที่ 1 8 วั ด ส า ร ว น า ร า ม วัดสารวนาราม หรือ วัดท่าเพชร ตั้งอยู่เลขที่ 16 หมู่ที่ 5 ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานที่ตั้ง วัดอยู่บนที่เนินติดกับทางหลวงชนบทไม่ไกล จากถนนสายเลี่ยงเมือง ผู้ก่อตั้งวัดแห่งนี้ คือ พระธรรมวิโรจนเถร หรือ หลวงพ่อพลับ ฐิติก โร ซึ่งเป็นเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่ง ของภาคใต้อภายในบริเวณวัดมีความร่มรื่น ด้วยต้นไม้น้อยใหญ่ อากาศเย็นสบาย และมี ความเงียบสงบ เหมาะแก่การศึกษาธรรมะ ฝึกสมาธิ และการพักผ่อนเป็นอย่างยิ่ง (www.makhamtia.go.th )

ส่วนที่ 5 การวิเคราะห์ ศักยภาพของชุมชน

35. การวิเคราะห์ SWOT จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) จุดแข็งหรือข้อได้เปรียบ จุดอ่อนหรือข้อเสียเปรียบ ตำบลมะขามเตี้ย ให้ความสำคัญด้านการศึกษา ตำบลมะขามเตี้ยขาดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ของเด็กในพื้นที่เป็นอย่างมาก เพื่อเป็นการพัฒนาส่ง ไม่ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ และพบว่าถนนบาง เสริมเด็กให้มีคุณภาพที่ดีในอนาคต โดยได้ดำเนินการ สายยังไม่ได้รับการพัฒนา ทำให้การคมนาคมไม่สะดวก ส่งเสริมด้านการศึกษาในหลายๆด้าน เช่น ได้ดำเนิน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน ถนนบางสายมีน้ำท่วมขังใน การจัดตั้งกองทุนอาหารกลางวัน มีการจัดกิจกรรมงาน ช่วงฝนตกและมีสภาพเป็นหลุมเป็นบ่อเป็นอุปสรรคต่อ วันสำคัญ งานรัฐพิธีต่าง ๆ เช่น วันเฉลิมพระชน การสัญจรไปมารวมไปถึงสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า พรรษา จัดกิจกรรมส่งเสริมประเพณีทางศาสนา เช่น ประปา สัญญาณโทรศัพท์ด้วยเหตุที่องค์การบริหารส่วน วันผู้สูงอายุนอกจากนี้ยังมีการอุดหนุนงบประมาณเพื่อ ตำบลมะขามเตี้ย เป็นพื้นที่กึ่งเมืองกึ่งชนบท ทำให้บาง ส่งเสริมประเพณีสำคัญของท้องถิ่นและของจังหวัดให้ พื้นที่การขยายเขตไฟฟ้าและประปาไม่ทั่วถึงทำให้ คงอยู่สืบต่อไป รวมทั้งมีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ประชาชนมีความเดือดร้อนมากที่สุด พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มี ได้แก่ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ เกาะกลางบาง สัญญาณโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสาร และรองรับการ ทะลุ พระธาตุศรีสุราษฎร์ หรือพระธาตุเขาท่าเพชร ติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย เช่น ระบบอินเตอร์เน็ต สื่อ เป็นแหล่งดึงดูดผู้ที่ให้ความสนใจในการพักผ่อนหย่อน โทรทัศน์ สื่อวิทยุ เป็นต้น ใจและเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน

36. โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats) โอกาสที่จะดำเนินการได้ อุปสรรค ข้อจำกัด ตำบลมะขามเตี้ยประชาชนสามารถเข้ารับการ ตำบลมะขามเตี้ยขาดงบประมาณการจัดหาสถาน รักษาพยาบาลในโรงพยาบาลได้ง่ายเนื่องจากเป็นพื้นที่ ที่พักผ่อนหย่อนใจเนื่องจากต้องใช้งบการลงทุนเป็น ไม่ห่างไกลจากตัวเมือง มีหน่วยงานภาครัฐกระตุ้นการ จำนวนมาก จึงได้มีการประสานงานจากภาครัฐ ทำให้ ตื่นตัวของผู้บริโภคสู่การบริโภคอาหารปลอดภัยอาหาร เกิดความล่าช้า หน่วยงานภาคเอกชนซึ่งไม่เข้ามามีส่วน เพื่อสุขภาพอย่างต่อเนื่องโดยมีการตรวจสอบความ ร่วมในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล สะอาดร้านอาหาร ต่าง ๆในตำบลมะขามเตี้ยและได้รมี สินค้าทางการเกษตรไม่ค่อยได้ผลกำไรเนื่องจากต้นทุน การจัดงบประมาณสนับสนุนในการดูแลผู้ด้อยโอกาส การผลิตราคาสูงและบริบทประชาชนไม่เอื่ออำอวยทำให้ คนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง คนยากจน โดยรัฐบาลมีนโย ประชาชนไม่ค่อยเสี่ยงต่อการลงทุน บายส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนหรือเชื่อมโยงเครือข่าย และมีนโยบายกองทุนหมู่บ้าน ทำให้ชุมชนมีความเข้ม แข็งในภาพรวมเพิ่มขึ้นและมีการประชาสัมพันธ์เผย แพร่สถานที่ท่องเที่ยวของตำบลมะขามเตี้ยมากขึ้น

บรรณานุกรม นิ วั ฒ น์ แ ก้ ว ป ร ะ เ ส ริ ฐ . ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ . 2 9 กั น ย า ย น 2 5 6 4 พ ง ศ์ ศั ก ดิ์ แ ส ง จั น ท ร์ . ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ . 2 9 กั น ย า ย น 2 5 6 4 นิ ส า ก ร ห า ญ แ ท้ . ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ . 2 9 กั น ย า ย น 2 5 6 4 ท อ ง ท วี ที ป ะ ป า ล . ผู้ ใ ห้ สั ม ภ า ษ ณ์ . 2 9 กั น ย า ย น 2 5 6 4 ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ เ ก า ะ ก ล า ง บ า ง ท ะ ลุ ตำ บ ล ม ะ ข า ม เ ตี้ ย . ( อ อ น ไ ล น์ ) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 9 ตุ ล า ค ม ศู น ย์ ศึ ก ษ า ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สั ต ว์ ป่ า เ ข า ท่ า เ พ ช ร จ . สุ ร า ษ ฏ ร์ ธ า นี . ( อ อ น ไ ล น์ ) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 9 ตุ ล า ค ม . h t t p : / / p o r t a l . d n p . g o . t h วั ด นิ ค ม ธ ร ร ม า ร า ม . ( อ อ น ไ ล น์ ) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 9 ตุ ล า ค ม 2564.จากhttps://templeinsurat.blogspot.com วั ด ส า ร ว น า ร า ม . ( อ อ น ไ ล น์ ) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 9 ตุ ล า ค ม 2564.จากhttps://th.worldorgs.com/ พ ร ะ ธ า ตุ ศ รี สุ ร า ษ ฎ ร์ ห รื อ พ ร ะ ธ า ตุ เ ข า ท่ า เ พ ช ร . ( อ อ น ไ ล น์ ) . สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 9 ตุ ล า ค ม 2564.จากhttps://www.suratthanitourism.com/

ผู้จัดทำ นางสาวรัตนากร อ่ำใหญ่ รหัสนักศึกษา 6004307001019 กลุ่มเรียน 60017.071 นางสาวเบญจมาศ วัฒนชัย รหัสนักศึกษา 6004307001028 กลุ่มเรียน 60017.071 นายอภินัทธ์ ชูอนนท์ รหัสนักศึกษา 6107203001037 กลุ่มเรียน 61036.164



186 หมู่ 7 ตำบลมะขามเตี้ย อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์: 0-7735-5047 E- mail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook