Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปะ-2

ศิลปะ-2

Published by tangkwafafa1212, 2020-02-10 03:10:45

Description: รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับศิลปะน่ารู้ เช่น ศิลปะสมัยสุโขทัย ศิลปะสมัยอยุธยา

Search

Read the Text Version

ศลิ ปะน่ารู้ วัฒนธรรมศาสนาทางศลิ ปะ

คานา ศิลปะ หรือ ศิลป์ (สันสกฤต: शिल्प ศิลฺป) ทวั่ ๆไปแลว้ จะหมายถึงการกระทา หรือข้นั ตอนของการสร้างชิ้นงานศิลปะโดยมนุษย์ คาแปลในภาษาองั กฤษที่ตรงท่ีสุด คือ Art ศิลปะเป็นคาที่มีความหมายกวา้ ง แต่ส่วนใหญ่แลว้ จะมีความหมายเกี่ยวกบั การสร้างสรรค,์ สุนทรียภาพ, หรือการสร้างอารมณ์ต่างๆ งานศิลปะ จะรวมถึงชิ้นงานหลายๆชนิดโดยผสู้ ร้างต้งั ใจสร้างชิ้นงานเพ่ือส่ือสาร ,สื่อ อารมณ์,หรือใชส้ ัญลกั ษณ์เพื่อให้ผชู้ มชิ้นงานตีความ ผสู้ ร้างงานศิลปะ มกั เรียก รวมๆ วา่ ศิลปิ น ศิลปะอาจรวมไปถึงงานในรูปแบบต่างๆเช่น งานเขียน บทกวี การเตน้ รา การแสดง ดนตรี งานปฏิมากรรม ภาพวาด-ภาพเขียน การจกั สาน หรือ อื่นๆ อยา่ งไรกต็ ามส่วน ใหญ่แล้วศิลปะจะหมายถึงงานทางทัศนศิลปะพวก ภาพวาด-ภาพเขียน งาน ประติมากรรม งานแกะสลกั รวมถึง conceptual art และ installation art ขอขอบคณุ คณุ ครูประภสั สร ก๋าเขียว ที่ให้แนะนา ปรึกษา และเพื่อนๆ ท่ีช่วยให้คาแนะนาตลอดจนหนงั สือเลม่ นีเ้สร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี หากผิดพลาดประการใดก็ขออภยั ไว้ ณ ท่ีนีด้ ้วย

สารบญั ก ข หนา้ 1 คานา 2 สารบัญ 3 ศิลปะพ้ืนบา้ น 4 ศลิ ปะสมัยอยุธยา 5 ศิลปะสมัยสโุ ขทัย 6 ศลิ ปะสมยั รัตนโกสนิ ทร์ 7 ศิลปะสมัยทวารดี 8 ศลิ ปะสมัยเชยี งแสน 9 ศิลปะสมัยศรีวชิ ยั 10 ศิลปะสมัยลพบุรี ศิลปะสมัยใหม่ ศลิ ปะสมยั กลาง

ศลิ ปะพนื ้ บ้าน ศิลปะพนื้ บ้าน ลกั ษณะของศิลปะพนื้ บ้าน ศลิ ปะพนื้ บา้ น (Folk) หมายถงึ ศลิ ปะทม่ี คี วามงามความเรยี บงา่ ยจากฝี มอื ของชาวบา้ น ทั่วๆ ไปสรา้ งสรรคผ์ ลงานอันมคี ณุ ค่าทางดา้ นความงาม และประโยชน์ใชส้ อยตามสภาพของ ทอ้ งถน่ิ ท่านศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี ไดก้ ลา่ ววา่ หมายถงึ “ศลิ ปะชาวบา้ น” เชน่ การรอ้ งรา ทาเพลง การวาดเขยี น และอน่ื ๆ ซงึ่ มกี าเนดิ มาจากชวี ติ จติ ใจของประชาชน ศลิ ปะชาวบา้ นหรอื ศลิ ปะพ้ืนบา้ นส่วนใหญ่จะเกดิ ควบคู่กับการดาเนินชวี ติ ของชาวบา้ น ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของชวี ติ ความเป็ นอยขู่ นบธรรมเนยี ม ประเพณี ความเชอื่ และความจาเป็ นของสภาพทอ้ งถนิ่ เพอ่ื ใชส้ อย ในชวี ติ ประจาวนั หนังตะลุง มโนราห์ โดยท่ัวไปแล้ว “ศิลปะพืน้ บ้าน” จะเรียกรวมกับ “หัตถกรรม” เป็ น “ศิลปหัตถกรรม” ซ่ึง ศิลปหัตถกรรมนัน้ เกิดจากฝี มอื ของคนในท้องถ่นิ ใดท้องถ่นิ หน่ึง การประดิษฐ์สร้างสรรค์เป็ นไปตามเทคนิคและ รูปแบบท่ีถ่ายทอดกันในครอบครัวโดยตรงจากพ่อ แม่ ป่ ู ย่า ตา ยาย โดยจุดประสงค์หลักคือทาขึน้ เพ่ือใช้สอย ในชีวิตประจาวัน งานศิลปหัตถกรรมได้ถ่ายเทและมีอิทธิพลแก่กันและกัน เช่นเด่ียวกับคติพืน้ บ้านแล้ว ปรับปรุงให้เข้ากบสภาพของท้องถ่นิ จนกลายเป็ นเอกลกั ษณ์เฉพาะของตนเอง

ศลิ ปะสมยั อยุธยา สมยั อยธุ ยา อยธุ ยาเป็ นอาณาจักรทก่ี อ่ ตงั้ ขน้ึ ในบรเิ วณลมุ่ แมน่ ้าเจา้ พระยา ในราวพทุ ธศตวรรษที่ 19-24 ศลิ ปะตา่ งๆ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลมาจากสโุ ขทัย ไดพ้ ัฒนามาเป็ นแบบอยา่ งอยธุ ยาโดยแทม้ ี 3 ระยะ คอื  ศลิ ปะสมัยอยธุ ยาตอนตน้ (พทุ ธศตวรรษท่ี 18-20)  ศลิ ปะสมยั อยธุ ยาตอนกลาง (พทุ ธศตวรรษท่ี 20-21)  ศลิ ปะสมยั อยธุ ยาตอนปลาย (พทุ ธศตวรรษที่ 21-23) สถาปตั ยกรรม ทพ่ี บไดแ้ ก่ เจดยี ท์ รงกลม เจดยี ท์ รงเหลยี่ มยอ่ มมุ โบสถ์ วหิ าร และมศี ลิ ปะตา่ ง แดนเขา้ มามอี ทิ ธพิ ลปะปนอยู่ จงึ มกี ารผสมผสานแนวความคดิ แบบศลิ ปะอยธุ ยากับอทิ ธพิ ลของ ต่างแดน เชน่ โบสถว์ ัดไชยวัฒนารามแบบต่างชาติ และปรางคว์ ัดมหาธาตุแบบลพบุรี ศลิ ปะ เขมร ปรางคว์ ดั มหาธาตุ จังหวดั อยธุ ยา แบบศลิ ปะลพบรุ รี ับอทิ ธพิ ลจากเขมร ประตมิ ากรรม พระพทุ ธรปู ปรากฏมเี ครอ่ื งประดับตกแตง่ มากขน้ึ เป็ นภาพแบบไทย เขยี นสี แบนๆ เลา่ เรอ่ื งดว้ ยการตดั เสน้ และพบวธิ กี ารเรยี กวา่ เทคนคิ Fresco หรอื การเขยี นสบี นปนู เปี ยก

ศลิ ปะสมัยสโุ ขทยั สมยั สโุ ขทยั (เกดิ ขนึ้ ในราวพทุ ธศตวรรษที่ 18-20) เป็ นศลิ ปกรรมทงี่ ดงามมากและจัดเป็ นยคุ สงู สดุ ในดา้ นคณุ คา่ ความงามของศลิ ปะ ไทย ศลิ ปะสมยั สโุ ขทยั นปี้ รกอบดว้ นการพฒั นาการทางศลิ ปะตงั้ แตย่ คุ ขอม ลพบรุ ี ผสมผสานศลิ ปะแบบลงั กาและศรวี ชิ ยั ทางใตข้ องไทยมาเป็ นศลิ ปะสโุ ขทัยโดยแท ้ สถาปตั ยกรรม เป็ นแบบอยา่ งทม่ี แี บบแผนชดั เจนและไดม้ กี ารสรา้ งสรรคร์ ปู แบบ ใหเ้ ป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ ท่เี ห็นชัดเจนเป็ นสุโขทัยแท ้ คอื ทรงดอกบัวตูมหรือ เจดยี ท์ รงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑท์ วี่ ัดมหาธาตุ จังหวดั สโุ ขทัย เจดยี ท์ รงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑแ์ บบสโุ ขทัยแท ้ ทวี่ ดั มหาธาตุ จังหวดั สโุ ขทัย ประตมิ ากรรม พระพทุ ธรปู มรี ปู รา่ งลกั ษณะทง่ี ดงาม ทรวดทรงกริ ยิ าทา่ ทางออ่ นชอ้ ยมี เครอื่ งประดับตกแตง่ ดว้ ยชฎาทง่ี ดงาม ซง่ึ แตกตา่ งจากยคุ สมัยอน่ื ๆ อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะพระ เทศจะมรี ัศมเี ปลวเป็ นเอกลักษณ์ พระพุทธรปู ประทบั ยนื ทม่ี ลี ลี าออ่ นชอ้ ยแบบอยา่ งศลิ ปะสโุ ขทยั

ศลิ ปะสมยั รัตนโกสนิ ทร์ เป็ นยคุ สมยั ทไี่ ดร้ ับอทิ ธพิ ลแบบอยา่ งจากตะวันตกเขา้ มามาก ศลิ ปะเรม่ิ ตงั้ แตส่ มัย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกทรงสถาปนากรงุ เทพฯ ขนึ้ ใน พ.ศ.2325 สถาปตั ยกรรม มกี ารสรา้ งวัดวาอารามขน้ึ เป็ นจานวนมาก ปรากฏมอี ทิ ธพิ ลการ สรา้ งแบบหลงั คาโดมโคง้ ซง่ึ เป็ นการรบั อทิ ธพิ ลจากตะวันตก เชน่ พระทนี่ ั่งอนันต สมาคม เป็ นตน้ แนวศลิ ปะผสมระหว่างไทยกับตะวันตก เช่น พระทน่ี ่ังจักรีมหา ปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง พระทนี่ ั่งจักรมี หาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั ประตมิ ากรรม มกี ารหล่อ การปั้น การแกะสลักพระพุทธรูปและรูปสัตวส์ งิ โต มี ก า รปั้ น รู ป แ บ บ ค น เ หมือ น จ ริง ข้ึน เ ป็ น รูป ปั้ น อ นุ ส า ว รีย์ข อ ง รั ช ก า ล ต่า ง ๆ จติ รกรรม คงรักษารูปแบบของจติ รกรรมไทยไว ้ เชน่ การเขยี นหนังสอื ทโ่ี บสถส์ ดั พระศรรี ัตนศาสดาราม แต่ก็มกี ารรับเอาอทิ ธพิ ลศลิ ปะตะวันตกเขา้ มาผสมผสาน เชน่ เทคนคิ ภาพมองจากทส่ี งู และมกี ารใชท้ องปิดภาพวาด ศลิ ปินไทยทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ ขรัวอนิ โขง่ ทไ่ี ดน้ าเอาอทิ ธพิ ลจติ รกรรมตะวันตก เขา้ มาผสมผสานกบั แบบ จติ รกรรมไทย เป็ นงาน 3 มติ ิ เชน่ โบสถว์ ดั บวรนเิ วศวหิ าร ทกี่ รงุ เทพฯ

ศิลปะสมยั ทวารดี เป็ นชอ่ื ทใี่ ชเ้ รยี กยคุ ทม่ี ศี ลิ ปวตั ถุ โบราณวตั ถทุ ม่ี กี ารสรา้ งขนึ้ ในชว่ งระหวา่ งพทุ ธศตวรรษท่ี 5-16 ไดพ้ บหลกั ฐานวา่ อาณาจักรนน้ี ่าจะมศี นู ยก์ ลางอยทู่ บี่ รเิ วณจังหวดั นครปฐม สถาปัตยกรรม สว่ นมากจะเหลอื ใหเ้ ห็นเพยี งโครงสรา้ งหรอื ฐาน ซงึ่ สรา้ งดว้ ยวัสดุจาพวกอฐิ หนิ ศลิ าแลง โดยโครงสว่ นบนมกั จะทาดว้ ยไม ้ และไดผ้ พุ ังไปตามกาลเวลา เชน่ พระปฐมเจดยี ์ องคเ์ ดมิ ทรงบาตรควา่ รปู ปั้นรปู สลักทฐ่ี านเจดยี ว์ ัดพระประโทน จังหวัดนครปฐม บรเิ วณอทุ ยาน เมอื งศรเี ทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ และทบ่ี รเิ วณอาเภอศรมี หาโพธ์ิ จังหวัดราจีนบุรี รวมทัง้ ประตู หลอกทวี่ ดั พระธาตพุ นม จังหวดั นครพนม แตท่ ย่ี ังคงมสี ภาพดี มคี วามสวยงามจะพบไดท้ เี่ จดยี ก์ ู่ กดุ จังหวดั ลาพนู พระปฐมเจดยี ์ จังหวดั นครปฐม พระธาตพุ นม จังหวดั นครพนม ประตมิ ากรรม ไดแ้ ก่ พระพุทธรูปน่ังหอ้ ยพระบาทปางแสดงปฐมเทศนา พระพุทธรูปศลิ าขาว ปัจจุบันอยู่ดา้ นหลังองคพ์ ระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม และที่วหิ ารหนา้ วัดพระเมรุ จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา นอกจากน้ียังพบธรรมจักรประกอบกวางหมอบ ซง่ึ เป็ นสัญลักษณ์แทนการ แสดงปฐมเทศนา ทจ่ี ังหวดั นครปฐมนอี้ กี ดว้ ย ธรรมจักรประกอบกวางหมอบ สมัยทวารดี

ศลิ ปะสมยั เชียงแสน (เกดิ ขน้ึ ในราวพทุ ธศตวรรษที่ 18-21) เป็ นศลิ ปะภาคเหนือรุ่นแรกๆ กอ่ นสมัยสุโขทัย เป็ นการรับเอาอทิ ธพิ ล แ บ บ อ ย่า ง ศิล ป ะ ม า จ า ก อ า ณ า จั ก ร พุ ก า ม ข อ ง พ ม่า ทั้ง ง า น ด า้ น สถาปัตยกรรมและประตมิ ากรรม สว่ นงานดา้ นจติ รกรรม ในสมัยนี้ยังไม่ ปรากฏหลกั ฐานชดั เจนเชน่ กนั พระธาตหุ รภิ ณุ ชยั จังหวดั ลาพนู ศลิ ปะสมยั เชยี งแสน

ศลิ ปะสมยั ศรีวชิ ยั เป็ นชอ่ื เรยี กกลมุ่ ศลิ ปวตั ถุ โบราณวตั ถทุ ส่ี รา้ งขนึ้ ในชว่ งระหวา่ งพุทธศตวรรษท่ี 12-17 โดยคาด วา่ น่าจะมศี นู ยก์ ลางของอาณาจักรอยบู่ รเิ วณอาเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี จังหวัดสรุ าษฎร์ ธานแี ละทบี่ างสว่ นของจังหวดั นครศรธี รรมราช สถาปัตยกรรม พบสถูปทรงมณฑป ยอดแหลม ภายในประดษิ ฐานพระพุทธรูป เช่น สถูปหา้ ยอดหรอื พระบรมธาตไุ ชยา ซง่ึ ภายในบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระพทุ ธเจา้ พระบรมธาตไุ ชยา จังหวดั นครศรธี รรมราช ประตมิ ากรรม ไดแ้ ก่ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร หลอ่ ดว้ ยสารดิ ปัจจบุ ันอยู่ ทพี่ พิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติ กรงุ เทพมหานคร และรปู พระวษิ ณุ พระหัตถท์ รงหอยสงั ขแ์ บบศลิ ปะ ฮนิ ดู

ศิลปะสมยั ลพบรุ ี เป็ นชอื่ ใชเ้ รียกศลิ ปวัตถุ โบราณทีถ่ ูกสรา้ งขนึ้ ในชว่ งระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14-18 โดยมี ศนู ยก์ ลางอาณาจักรอยทู่ บี่ รเิ วณจังหวดั ลพบรุ ใี นปัจจบุ นั ซงึ่ ในชว่ งเวลานัน้ ลพบรุ อี ยใู่ นชว่ ง สถาปัตยกรรม ไดแ้ ก่ ปรางค์ ปราสาท ที่สรา้ งขนึ้ ดว้ ยหนิ ทราย อฐิ ศิลาแลง จึงเรียกว่า ปราสาทหนิ และปรางค์ เช่นพระปรางคส์ ามยอด จังหวัดลพบุรีในปัจจุบัน ปราสาทหนิ พมิ าย จังหวดั นครราชสมี า ปราสาทพนมรงุ ้ จังหวดั บรุ รี ัมย์ ซงึ่ มที ับหลงั รปู นารายณ์บันทมสนิ ธทุ์ ง่ี ดงาม ป ร า ส า ท เ มื อ ง ต่ า จั ง ห วั ด บุ รี รั ม ย์ แ ล ะ ป ร า ง ค์ ท่ี วั ด น ค ร โ ก ษ า จั ง ห วั ด ล พ บุ รี ประตมิ ากรรม นิยมสรา้ งภาพสลักดว้ ยหิน โดยเฉพาะหินทราย ส่วนมากนิยมสรา้ งเป็ น พระพุทธรูปปางนาคปรก และยังมกี ารสลักรูปเหมอื น เชน่ รูปของพระเจา้ ชัยวรมันท่ี 7 แห่ง อาณาจักรเขมร พระพทุ ธรปู ปางนาคปรก สมยั ลพบรุ ี จติ รกรรม ในสมยั ลพบรุ ยี ังไมป่ รากฏหลักฐานชดั เจน

ศิลปะสมยั ใหม่ ค.ศ. 1800 - ปัจจุบัน ศิลปะสมัยใหม่ (Modern Art) เร่ิมขึ้นตอนปลายศตวรรษที่ 18 ในประเทศ ฝรั่งเศส สืบเน่ืองจากความเจริญทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีผลทาให้เกิดการเปลย่ี นแปลงทางศิลปะ อย่างขนานใหญ่ ท้ังรูปแบบและจุดประสงค์ โดยเฉพาะสร้างสรรค์งานจิตรกรรม ศิลปิ นยุคใหม่ต่างพากัน ปลกี ตัวออกจากการยดึ หลกั วชิ าการ (Academic) ซึ่งเป็ นกฎเกณฑ์ทมี่ รี ากฐานมาจากศิลปะกรีกและโรมัน มา ใช้ความรู้สึกนึกคิดและความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละคนอย่างอิสระ แยกศิลปะออกจากศาสนาโดยสิ้นเชิง ศิลปะจึงเป็ นเรื่องส่วนตัวของบุคคลอย่างแท้จริง ใช้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกอย่างเต็มท่ี จึงทาให้เกิด รูปแบบศิลปะใหม่ ๆ ขึน้ มากมาย ท้งั ในยโุ รปและสหรัฐอเมริกา ดังจะได้กล่าวพอสังเขปดงั นี้ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก (Neo-Classic) ลทั ธิคลาสสิคใหม่มแี นวความคดิ และการปฏิบัตอิ ยู่ทกี่ ารลอกเลยี นศิลปกรรมโบราณแทบทกุ อย่าง โดยเฉพาะศิลปะของกรีกโบราณและอยี ปิ ต์ ชาก - ลุย เดวดิ เป็ นผ้นู าลัทธินี้และ โอกุสต์ โคมนิ ิกแองเกรส์ นีโอคลาสสิกเป็ นรูปแบบศิลปะทอี่ ย่ใู นระยะหวั เลีย้ วหวั ต่อระหว่างสมัยใหม่กบั สมัยเก่า ภาพเขยี น จะสะท้อนเรื่องราวทางอารยธรรม เน้นความสง่างามของรูปร่างทรวดทรงของคนและส่วนประกอบของ ภาพ มีขนาดใหญ่โต แข็งแรง ม่ันคง ใช้สีกลมกลนื มีดุลยภาพของแสง และเงาทง่ี ดงาม ศิลปิ นทส่ี าคัญของ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก ได้แก่ ชาก ลุย ดาวดิ (ค.ศ. 1748-1825) ได้รับการยกย่องว่าเป็ นผ้วู างรากฐานของ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก ผลงานจิตรกรรมทมี่ ีช่ือเสียง เช่น การสาบานของโฮราตี (The Oath of Horatij) การตายของมาราต์ (The Death of Marat) การศึกระหว่างโรมันกบั ซาไบน์ (Battle of the Roman and Sabines) เป็ นต้น

ศลิ ปะสมยั กลาง ประมาณ ค.ศ. 300 – ค.ศ. 1300ความเจริญทางดา้ นศลิ ปะในยคุ กลาง เป็นการสร้างสรรค์ โดยวัดและคริสต์ศาสนิกชน ซ่ึงมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและศิลปวิทยา ศิลปะของคริสต์ ศาสนาจึงเจริญรุ่งเรือง โดยเฉพาะส่ิงก่อสร้างทเ่ี กย่ี วกบั วดั คาทอลกิ มลี กั ษณะแตกต่างกนั ออกไป ตามแต่ละท้องถิ่น แต่ส่วนใหญ่สิ่งก่อสร้างจะมีขนาดเลก็ ลง นิยมสร้างด้วยหินและปูผิวด้วยอิฐ สร้างสุสานด้วยการเจาะหินหน้าผา กลุ่มศิลปะท่ีอยู่ในยุคกลางได้แก่ ศิลปะโกติก สมัยฟื้ นฟู ศิลปวทิ ยา ศิลปะบารอก และรอกโกโก ศิลปะโกธิก (Gothic Art) ศิลปะโกธิกนิยมแสดงเรื่องราวทางศาสนาในแนวเหมือนจริง (Realistic Art) ไม่ใช้สัญลักษณ์ เหมือนศิลปะยุคก่อน งานสถาปัตยกรรมมีโครงสร้างทรงสูง มียอดหอคอยรูปทรงแหลมอยู่ ข้างบน ทาให้ตวั อาคารมีรูปร่างสูงระหงขนึ้ สู่เพดาน ซุ้มประตูหน้าต่างช่องลม มสี ่วนโค้งแปลก กว่าศิลปะแบบใด ๆ สถาปัตยกรรม ใช้โครงสร้างอาร์ชแบบโค้งปลายแหลม (pointed Arch)ใช้เสาคา้ ยันภายนอก อาคาร (flying buttresses) ส่วนช่องโล่งจากประตูถงึ แท่งบูชาวงเก้าอไี้ ว้สองข้างมีทางเดินขนาน ท้งั ซ้ายขวาอาคารสูง ยอดแหลมนิยมประดับกระจกสีทหี่ น้าต่างประตมิ ากรรม ใช้ประดบั ตกแต่ง โบสถ์ ส่ วนสาคัญอยู่เหนือประตูทางเข้ าและเสาใช้ ประดับตกแต่ งสุ สานคนสาคัญเรื่องราวใน คริสตศาสนารูปคนสัดส่วนค่อนข้างยาว เป็ นเส้นตรงรอยยับย่นของเสื้อผ้ามากชอบสร้างรูป ลอยตัวจิตรกรรม การทากระจกสี (Stain Glass)ศิลปะกอธิค พบใน ฝรั่งเศส อังกฤษ สเปน เยอรมนั

ผู้จดั ทา เดก็ หญงิ พชั ราพร กล้าจริง เลขที่37 ม.1/3 เดก็ หญงิ สุชาดา อวดกล้า เลขที่32 ม.1/ เสนอ คุณครู ประภสั สร ก๋าเขยี ว วชิ า การสร้างหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ โรงเรียนแจ้ห่มวทิ ยา อาเภอแจ้ห่ม จงั หวดั ลาปาง สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต35 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2562

แหล่งอ้างองิ ขอบคุณเร่ืองจาก: บ้านจอมยุทธ : สร้างเมอื่ สิงหาคม 2543 | วธิ ีใช้ : อ่านเพอื่ ประเทอื งปัญญา | วตั ถุประสงค์ | ตดิ ต่อ : [email protected] เวบ็ โฮสตงิ้ : Hawk Host (Singaporeserver) เข้นถงึ จาhttps://www.baanjomyut.com/library_2/contemporary_thai_art/07.htm ขอบคุณเรื่องจาก: ชื่อผ้แู ต่ง:สร้างเมื่อ สิงหาคม 2543 หวั ข้อเรื่องศิลปะน่ารู้ เข้าถงึ ได้จาก: Hawk Host (Singapore server)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook