Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2รายงานอบรมฯทักษะการคิดEFตามแนวทางBBL8-9ก.ย.60

2รายงานอบรมฯทักษะการคิดEFตามแนวทางBBL8-9ก.ย.60

Published by bonus2549, 2019-05-21 05:23:22

Description: 2รายงานอบรมฯทักษะการคิดEFตามแนวทางBBL8-9ก.ย.60

Search

Read the Text Version

ก บทสรปุ สาํ หรับผบู รหิ าร สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 ไดด ําเนินการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การออกแบบการเรียนรูพัฒนาทักษะการคิด (EF) เพอื่ สง เสรมิ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL โดยมีเปาหมายคอื ครูผูสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 3 และครผู ูสอนชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 และศึกษานเิ ทศก จํานวนทงั้ หมด 100 คน โดยมีวัตถุประสงค 1. เพ่อื ใหครผู ูสอนมคี วามรู ความเขา ใจในการจัดการเรยี นรทู ี่พัฒนาทักษะการคิด (EF) เพ่ือสงเสรมิ ความสามารถดา นภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. เพอื่ ใหครผู สู อนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรเู พอ่ื พฒั นาทักษะ การคิด(EF)เพือ่ สง เสริมความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. เพอ่ื นเิ ทศ ตดิ ตาม ดูแลชวยเหลอื โรงเรียนในการปองกนั และแกไ ขปญ หาการอา น ภาษาไทยของนกั เรยี นอยางใกลช ดิ โดยใช เทคนิคการนเิ ทศอยางหลากหลาย สรปุ ผลการดําเนนิ การอบรมฯ ดังน้ี 1. ผเู ขา รับการอบรม มีความรูพน้ื ฐานอยูในระดบั มาก มคี าเฉล่ีย 3.00 สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 1.14 2. ความพงึ พอใจของผูเขารับการอบรมฯ โดยภาพรวม อยใู นระดบั มาก มีคา เฉลยี่ 4.41 สว น เบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.56 เมอื่ พจิ ารณาเปนรายขอ สามลําดับแรก พบวา การถายทอดของวิทยากรทาํ ให เกิดการเรียนรู อยูในระดบั มากที่สดุ คาเฉลย่ี 4.76 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.43 รองลงมา คอื ความ คมุ คา ทีไ่ ดเขา รับการอบรม อยูในระดบั มากท่ีสดุ คาเฉลย่ี 4.67 สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.47 และ เน้ือหาสาระทีไ่ ดร ับจากการฝกอบรมสามารถนําไปประยกุ ตใ ชไดจรงิ อยใู นระดบั มากทส่ี ุด คาเฉล่ยี 4.65 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.51 การเรียนรูท ีเ่ กิดขึ้นจากการฝกอบรมฯ ครูผูสอนสามารถออกแบบการจัดการเรยี นรเู พ่อื พัฒนาทักษะการคิด ตามแนวทาง BBL สามารถนําทักษะกระบวนการการเรยี นรตู า งๆ เปน แนวทางใน การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนได นําความรทู ่ไี ดไ ปประยกุ ตใชใ นการจัดการเรียนการสอนในสาระ อื่นๆ ไดแ ละสามารถนําไปพฒั นาผเู รยี นไดจ รงิ เพอื่ ใหผเู รยี นไดร บั การพฒั นาทักษะการคิด (EF) และ สงเสริมความสามารถดานภาษา (Literacy) ของผูเรยี นไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดประสทิ ธิผลอยา ง แทจ ริง ในการนี้ ขอขอบคุณศึกษานเิ ทศกท ่ีรบั ผิดชอบ และคณะกรรมการดาํ เนนิ การทกุ ทาน ที่มีสว น รว มในการดาํ เนินโครงการต้ังแตเ ตรยี มการ ประสานงาน และดูแลผูเขารวมอบรมฯ จนบรรลุ วตั ถุประสงคทว่ี างไว (นายสวุ ิทย มกุ ดาภริ มย) ผอู ํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พูน เขต 2

ข คาํ นํา รายงานฉบบั นี้ เปนสรปุ รายงานผลการดําเนินการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการออกแบบการเรียนรู พฒั นาทกั ษะการคิด (EF) เพอ่ื สงเสริมความสามารถดา นภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL จดั ข้ึน ระหวางวนั ที่ 8–9 กนั ยายน 2560 ณ หองประชุม 1 สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 มเี นือ้ หาประกอบดว ย หลกั การและเหตุผล วัตถุประสงคของโครงการ วิธีการดาํ เนนิ โครงการ ผลทไ่ี ดจากโครงการ ขอเสนอแนะ รายงานฉบบั นี้ สาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดวยดี ดวยความชว ยเหลือจากทานผูอํานวยการสํานกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 ทา นรองผูอ ํานวยการสํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 ศึกษานเิ ทศกแ ละบุคลากรในสังกดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2 ทกุ ทา น ทีใ่ หก ารสงเสรมิ สนบั สนุน เสนอแนะใหกาํ ลังใจ และใหความรวมมอื ในการดําเนินโครงการ ผรู ายงานมีความคาดหวงั วา สรปุ รายงานผลดาํ เนนิ การอบรมเชงิ ปฏิบัติการ การออกแบบการ เรียนรพู ัฒนาทกั ษะการคิด (EF) เพื่อสง เสรมิ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL จะเปน ประโยชนตอผทู ีส่ นใจ นาํ ไปประยกุ ตใ ชใ นการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาตอ ไป (นางจิราพร ไกรพล) ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลําพูน เขต 2

สารบัญ ค บทสรุปสาํ หรับผบู ริหาร หนา คํานํา สารบญั ก สารบัญตาราง ข บทท่ี 1 บทนํา ค ง หลกั การและเหตุผล 1 วตั ถปุ ระสงค 1 เปาหมาย 1 ตัวชวี้ ัดความสําเร็จ 2 บทที่ 2 วิธดี าํ เนนิ งาน 2 บทที่ 3 ผลการประเมนิ การอบรม 3 บทท่ี 4 สรุปและอภิปรายผล 6 10 ภาคผนวก ก หนังสอื ตา งๆ ท่เี กีย่ วขอ ง 12 - บนั ทึกขอความขออนมุ ัตโิ ครงการและงบประมาณการดาํ เนนิ การ 13 - หนงั สอื แจง โรงเรียนสง รายช่ืออบรมฯ 14 - หนงั สือแจงโรงเรียนแจง รายชือ่ อบรมฯ 19 - หนงั สือแจงวิทยากรวิทยากร 21 - คําสงั่ แตง ตัง้ คณะกรรมการดาํ เนินงาน 22 ข เครือ่ งมอื ทใี่ ชประเมินการอบรม 25 - แบบสอบถามความพงึ พอใจหลงั การอบรบ 26 ค ผลการประเมินการอบรม 30 - ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจหลงั การอบรม 31 ง รายชื่อผผู านการอบรม 35 จ ภาพกิจกรรมการอบรม 40 42 คณะผจู ัดทาํ

สารบัญตาราง ง ตาราง หนา ตารางท่ี 1 แสดงระดับความรูพืน้ ฐานของผเู ขารับการอบรม 6 ตารางท่ี 2 แสดงระดับความพึงพอใจของผูเขารับการอบรม 7

1 บทท่ี 1 บทนาํ หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธกิ าร เลง็ เห็นความสาํ คญั ของการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา โดยมนี โยบายใหทกุ หนวยงาน ท่เี กยี่ วของใหค วามสําคญั กบั การจดั การศกึ ษาท่มี รี ะบบเพอ่ื การพฒั นาเดก็ และเยาวชนไปสูความเปน พลเมืองทีส่ มบรู ณ สามารถดํารงตนในสังคมอยางปกตสิ ุขและตามแผนพัฒนาของกระทรวงศึกษาธกิ าร ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผล กล ยทุ ธท ่ี 1 พัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่มี คี ณุ ภาพ และจดั กิจกรรมเสริมทักษะพฒั นาผูเ รียนในรปู แบบที่ หลากหลายสอดคลองกับทกั ษะท่ีจําเปน ในศตวรรษที่ 21 และจากนโยบายอา นออกเขียนไดของสาํ นักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ทใี่ หนักเรียนเมอื่ จบช้ัน ป.1 ทุกคนสามารถอานออกเขียนได ชั้น ป.2 ขึ้นไป อานคลอ งเขียนคลอง การอานและการเขียน เปน ทักษะหนึง่ ทจ่ี ําเปนอยางยง่ิ สาํ หรบั การเรียนรู และการพัฒนาชวี ิต สูความสําเรจ็ เพราะจะนํามาซ่งึ ความรูและสง เสรมิ ใหเ กิดการคิดวเิ คราะห มวี จิ ารณญาณ แยกแยะ และ ประยกุ ตใ ชข อมูลทีเ่ ปนประโยชนตอชวี ติ พรอมทั้งสามารถถายทอดสือ่ สารความรู ความคดิ ใหผูอ่นื ทราบและ เขา ใจได ซ่งึ เปนทกั ษะท่ีสาํ คัญในศตวรรษท่ี 21 หากผูเรียนบกพรอ งหรือขาดความสามารถในการอา นการเขียน จะสง ผล ใหก ารเรียนรูไ มอ าจกา วหนาได จงึ เปนหนา ทข่ี องหนว ยงาน ที่เกีย่ วของกบั การจัดการศกึ ษาทจ่ี ะตอง พัฒนาความสามารถในการอานออกเขยี นได อานคลอ งเขียนคลอง สง เสริมการคิดวเิ คราะห และการส่ือสาร ใหแกผเู รียน เพอ่ื ใหสามารถเรยี นรูในระดับทซี่ บั ซอนขึน้ เมื่อเติบใหญ และนําไป สกู ารเปน ผเู รียนรตู ลอด ชีวติ และเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธก์ิ ารประเมนิ ระดบั NT ใหม คี าเฉลีย่ สงู กวา ระดับประเทศ อยา งนอ ยรอ ยละ 3 สํานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 จึงไดม โี ครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ พชิ ิตการ อา นและการเขียน นาํ ผเู รียนสศู ตวรรษที่ 21 โดยจดั ใหม ีอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาทักษะการคดิ (EF) เพ่อื สง เสรมิ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL เพ่อื ใหครูมีความรู ความเขา ใจและสามารถ ออกแบบการจัดการเรยี นรูเพือ่ พัฒนาทกั ษะการคดิ (EF) เพอื่ สงเสรมิ ความสามารถดา นภาษา (Literacy) ของ นกั เรียนใหส ามารถใชความสามารถดานภาษาทัง้ การอาน การเขยี นและคดิ วิเคราะหไ ดอ ยางมวี จิ ารณญาณ ซงึ่ เปนทกั ษะทส่ี าํ คัญในศตวรรษที่ 21 วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหครูผูสอนมคี วามรู ความเขาใจในการจดั การเรยี นรทู ี่พัฒนาทักษะการคดิ (EF) เพ่ือสง เสรมิ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. เพ่ือใหครูผูสอนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรเู พอื่ พัฒนาทกั ษะการคดิ (EF)เพือ่ สงเสริม ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. เพอ่ื นิเทศ ติดตาม ดูแลชวยเหลอื โรงเรยี นในการปองกนั และแกไ ขปญหาการอาน ภาษาไทยของ นกั เรยี นอยางใกลช ิด โดยใชเ ทคนคิ การนเิ ทศอยางหลากหลาย

2 เปา หมาย ครแู ละศึกษานิเทศก จาํ นวน 100 คน เชิงปรมิ าณ 1. ครูผูส อน ชัน้ ป.3 โรงเรยี นสงั กดั สาํ นกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ พูนเขต 2 ที่เขารับการอบรมจํานวน 90 คน มคี วามรู ความเขาใจในการจัดการเรียนรทู ี่พัฒนาทกั ษะการคิด (EF) เพอ่ื สง เสริมความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. ครผู ูสอน ชัน้ ป.3 โรงเรยี นสงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลําพูนเขต 2 ทเ่ี ขารบั การอบรมจํานวน 90 คน สามารถออกแบบการจัดการเรยี นรพู ัฒนาทักษะการคดิ (EF) เพอ่ื สง เสริม ความสามารถดา นภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. ครผู ูสอนช้ัน ป.1 ร.ร.ทีม่ ีปญ หานกั เรียนอานไมอ อกเขียนไมไ ดแ ละศึกษานิเทศกจ าํ นวน 10 คน มีความรู ความเขา ใจ ในเร่ืองการจดั การเรียนรเู พอื่ พฒั นาการอานการเขยี นและทกั ษะการคดิ ตามแนวทาง BBL เชิงคณุ ภาพ 1. ครูผสู อน ชน้ั ป.3 โรงเรียนสงั กดั สํานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พนู เขต 2 ทเี่ ขา รบั การอบรม มีความรู ความเขา ใจในการจัดการเรยี นรูทพ่ี ฒั นาทกั ษะการคดิ (EF) เพือ่ สงเสริม ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. ครผู ูสอน ชน้ั ป.3 โรงเรยี นสงั กัด สํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พูนเขต 2 ที่เขารบั การอบรม สามารถออกแบบการจดั การเรียนรูพฒั นาทกั ษะการคิด (EF) เพอ่ื สงเสรมิ ความสามารถดาน ภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. ครูผูสอนชัน้ ป.1 ร.ร.ทมี่ ีปญ หานักเรียนอา นไมอ อกเขยี นไมไ ดและศกึ ษานิเทศกทีม่ คี วามรู ความ เขา ใจ ในเรอื่ งการจดั การเรยี นรเู พอ่ื พัฒนาการอา นการเขยี นและทักษะการคิด ตามแนวทาง BBL ตัวชีว้ ัดความสําเร็จ 1. รอ ยละ 100 ของครผู ูสอนท่ีเขารบั การอบรมฯมีความรู ความเขา ใจในการจดั การเรยี นรูท่พี ัฒนา ทักษะการคดิ (EF) เพื่อสงเสรมิ ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. รอยละ 100 ของครผู ูสอนทเ่ี ขา รบั การอบรมฯสามารถออกแบบการจัดการเรียนรเู พื่อพัฒนาทักษะ การคิด (EF) เพ่อื สง เสริมความสามารถดา นภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. ผลสัมฤทธขิ์ องการประเมนิ ผลนักเรียนระดบั ชาติ NT มีคา เฉลีย่ สูงกวา ปท ี่ผานมา

3 บทที่ 2 วธิ ดี ําเนนิ งาน การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติ การออกแบบการเรยี นรพู ัฒนาทกั ษะการคิด (EF) เพ่ือสงเสรมิ ความสามารถดาน ภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL จัดขน้ึ ระหวา งวนั ที่ 8–9 กนั ยายน 2560 ณ หอ งประชุม 1 สํานักงานเขต พ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลําพนู เขต 2 มีขั้นตอนในการดาํ เนินงาน คอื 1. กลมุ เปาหมาย 2. คณะวทิ ยากร 3. ขอบเขตการอบรม 4. ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การ 5. การประเมนิ ผลโครงการฝก อบรม 6. การวิเคราะหผ ล กลมุ เปาหมาย 1. ครผู ูสอน ชั้น ป.3 โรงเรียนสงั กัด สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาํ พนู เขต 2 ที่เขา รับการอบรมจํานวน 90 คน 2. ครผู ูสอนชัน้ ป.1 ร.ร. ที่มีปญหานักเรยี นอานไมอ อกเขยี นไมไ ดแ ละศกึ ษานเิ ทศก จํานวน 10 คน คณะวทิ ยากร 1. นางจิราพร ไกรพล ศกึ ษานิเทศกชํานาญการพเิ ศษ สพป.ลําพูน เขต 2 1 2. นางสาวชลุ กี ร ใหมเขยี ว ศกึ ษานิเทศกชํานาญการพเิ ศษ 1สพป.ลาํ พนู เขต 2 13. นางไพวรรณ ศรีบัวนํา ครูชาํ นาญการพเิ ศษ 1 ร.ร.บานหวยหละ 1 สพป.ลาํ พูน เขต 2 14. นางสาวจันศรี วงศศรใี ส ครูชํานาญการพิเศษ 1ร.ร.บา นฮอ มตอ 1สพป.ลาํ พูน เขต 2 ขอบเขตการอบรม เนือ้ หาทใ่ี ชในการอบรม - Update ทฤษฎี BBL - เทคนิคการจัดการเรยี นรู การอา น-เขียนเพ่อื การสื่อสาร - เทคนิคการจัดการเรียนรู การสรา งนงั่ รา น Scaffolding เพ่ือใหเด็กเรยี นรูท ลี ะขัน้ - การนํา Graphic Organizer มาใชใ นกระบวนการเรียนรู เพ่ือใหส มองเรยี นรไู ดงาย - การพฒั นาทักษะการคดิ EF (Executive Function) - เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ การใชเ หตุผล และการประมวลขอ มูล

4 วธิ ีการอบรม ฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ประกอบดวย การบรรยาย กจิ กรรมกลุมยอย ฝก ปฏบิ ัติ การอภิปรายผล และแลกเปล่ยี นเรยี นรู ข้ันตอนการดําเนินการ ผรู ับผดิ ชอบ 1. ขั้นตอนการเตรยี มการอบรม นางจิราพร ไกรพล ท่ี กิจกรรมทด่ี ําเนนิ การ นางจริ าพร ไกรพล 1 จัดทาํ /เสนอโครงการ/กจิ กรรม อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารออกแบบการ นางจิราพร ไกรพล นางจิราพร ไกรพล เรยี นรพู ฒั นาทักษะการคดิ (EF) เพอื่ สงเสรมิ ความสามารถดานภาษา นางจริ าพร ไกรพล (Literacy) ตามแนวทางBBL นางกรัณฑา อัมพุธ 2 เสนอขออนมุ ตั งิ บประมาณในการดําเนินงาน 1นางไพวรรณ ศรบี วั นาํ ขออนมุ ัตงิ บประมาณในการดําเนินงาน 1นางสาวจันศรี วงศศ รีใส นางสกุ นั ดา สารแสง 3 จัดทาํ รา งคําส่ังคณะกรรมการดําเนินการอบรม/เสนอคําสั่งแตง ตงั้ นายเกียรตศิ ักดิ์ ชมภกู า คณะกรรมการ นางจิราพร ไกรพล 4 ทําหนงั สือแจงโรงเรียน/หนงั สือเชิญวิทยากร นางกรัณฑา อัมพุธ 5 จดั เตรยี มกอนการอบรม 6.1 ตดิ ตอประสานงานสถานท่ีอบรม/อาหาร/อาหารวา งและทพ่ี กั สาํ หรับผูเขา รับการอบรม 6.2 ยืมเงนิ สาํ รองจา ย 6.3 จดั ทาํ คมู อื เตรยี มวัสดแุ ละอุปกรณท ่ีใชใ นการอบรมฯ 6.4 รวบรวมรายชือ่ ผูเ ขา รับการอบรม 6.7 จัดทาํ บญั ชลี งเวลา 6.8 จัดทาํ แบบประเมินความพึงพอใจของผเู ขารับการอบรม 7 จัดเตรียมความพรอ มของสถานทใี่ ชอบรม/ส่อื /อปุ กรณท ่ีใชใน การอบรม 2. ขัน้ ตอนระหวา งการดาํ เนนิ การอบรม ผรู ับผิดชอบ ท่ี กจิ กรรมที่ดาํ เนนิ การ คณะศกึ ษานเิ ทศก 1 รับลงทะเบียนผเู ขา รับการอบรม/แจกเอกสารประกอบการอบรมฯ นางสุกันดา สารแสง นายเกียรตศิ กั ดิ์ ชมภูกา 2 จดั เก็บภาพกจิ กรรมตลอดการอบรม นายเกียรติศักดิ์ ชมภกู า 3 ดําเนนิ กจิ กรรมการอบรมตามตารางการอบรมฯ นางจริ าพร ไกรพล 4 เกบ็ รวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจของผเู ขารับการอบรม นางจิราพร ไกรพล 5 พธิ เี ปด /ปด การอบรม นางจริ าพร ไกรพล นางกรัณฑา อมั พธุ

5 3. ขน้ั ตอนหลงั การดําเนินการอบรม ผูรบั ผดิ ชอบ ที่ กิจกรรมท่ดี าํ เนินการ นางจิราพร ไกรพล 1 บนั ทึกขอ ความสงใชเ งินยืม นางจิราพร ไกรพล 2 ทาํ การวเิ คราะหและประมวลผลการอบรมจากแบบสอบถาม นางกรัณฑา อัมพุธ นางสกุ ันดา สารแสง 3 รวบรวมหลกั ฐานเอกสารตางๆ ท่ีเก่ียวของในการอบรมเพอื่ จดั ทํา นางจิราพร ไกรพล รายงานโครงการ นางสกุ นั ดา สารแสง นางจริ าพร ไกรพล 4 จดั ทาํ รายงานผลการดําเนนิ การอบรมฯ การประเมนิ ผลโครงการฝก อบรม 1. การสงั เกตพฤตกิ รรมผูเขา รับการอบรม เชน ความสนใจ, การรว มกิจกรรม, การฝก ปฏิบตั งิ านตามที่ มอบหมาย 2. แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผเู ขา รับการอบรม การวเิ คราะหผล สถติ ิทใ่ี ชใ นการวเิ คราะหข อมลู 1. คาเฉลย่ี (Arithmetic mean) (ลวน สายยศและอังคณา สายยศ, 2540 : 54) ใชสูตรตอ ไปน้ี Χ= ∑Χ คาเฉล่ยี ผลรวมของคะแนนท้ังหมด เม่อื Χ Ν จาํ นวนคนท้งั หมด ∑Χ แทน แทน N แทน 2. วิเคราะหค ณุ ภาพ โดยการหาคาเฉลย่ี (Arithmetic mean) แลวนําคาเฉล่ยี มาแปล ความหมายโดยเทียบกบั เกณฑ ดงั นี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2535 : 99 - 100) คาเฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจมากทีส่ ดุ คา เฉล่ยี 3.50 – 4.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจมาก คา เฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจปานกลาง คา เฉล่ยี 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจนอ ย คาเฉลย่ี 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจนอ ยท่ีสดุ

6 บทที่ 3 ผลการประเมนิ การอบรม การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การออกแบบการเรยี นรพู ัฒนาทกั ษะการคิด (EF) เพื่อสงเสริมความสามารถ ดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL จัดขนึ้ ระหวางวนั ที่ 8–9 กนั ยายน 2560 ณ หองประชุม 1 สํานักงาน เขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลําพนู เขต 2 ผูเขารบั การอบรมทงั้ หมด 100 คน มีผตู อบสอบถาม จาํ นวน 82 คน คิดเปนรอ ยละ 82.00 มีผลการประเมนิ ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ มลู ท่วั ไป อายขุ องผเู ขารบั การอบรมฯ สว นใหญอ ายุ 51-60 ป จาํ นวน 30 คน คิดเปน รอยละ 36.59 รองลงมา คอื 11-40 ป จํานวน 26 คน คิดเปนรอ ยละ 31.70 , 20-30 ป จาํ นวน 16 คน คิดเปน รอ ยละ 19.51 และ 41- 50 ป จํานวน 10 คน คดิ เปนรอยละ 12.20 ตอนที่ 2 ระดบั ความคิดเหน็ ของผเู ขารบั การอบรมฯ ตาราง 1 แสดงระดับความรูพ นื้ ฐานของผูเขารบั การอบรม ประเด็น คาเฉล่ยี สว นเบี่ยงเบน การแปล มาตรฐาน ความหมาย ความรพู นื้ ฐานในเร่อื งทีอ่ บรม 3.00 1.14 ปานกลาง จากตาราง 1 แสดงใหเ หน็ วา ผูเ ขา รบั การอบรม มีความรูพน้ื ฐานอยใู นระดบั ปานกลาง มีคา เฉลยี่ 3.00 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 1.14

7 ตาราง 2 แสดงระดับความพงึ พอใจของผเู ขา รับการอบรม ขอ ประเด็น คา เฉลย่ี สว น การแปล เบ่ียงเบน ความหมาย มาตรฐาน 1 เนือ้ หาทอ่ี บรมสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ 4.52 0.61 มากทส่ี ดุ 2 เน้ือหาสาระท่ีไดร ับจากการฝกอบรมสามารถนําไป 4.65 0.51 มากท่ีสุด ประยกุ ตใชไดจริง 4.61 0.52 มากทส่ี ดุ 4.60 0.52 มากที่สดุ 3 การฝก อบรมพัฒนาชว ยสรางความรแู ละมมุ มองใหมได 4.76 0.43 มากท่ีสุด 4 กิจกรรมอบรมทาํ ใหเขาใจเนือ้ หาทอ่ี บรม 4.40 0.58 มาก 4.40 0.70 มาก 5 การถายทอดของวิทยากรทําใหเ กิดการเรยี นรู 6 สภาพบรรยากาศของการอบรมเอ้ือตอ การเรียนรู 4.48 0.59 มาก 4.33 0.74 มาก 7 เอกสารทีแ่ จกในการอบรมมคี วามเหมาะสมตอ เนื้อหาการ 4.38 0.64 มาก ฝกอบรม 4.67 0.47 มากท่ีสุด 4.32 0.49 มาก 8 สอื่ เทคโนโลยีทใี่ ชใ นการนําเสนอทาํ ใหเขาใจไดง า ย 4.05 0.52 มาก 9 ระยะเวลาท่ใี ชในการอบรมเหมาะสม 4.12 0.51 มาก 10 ความเหมาะสมของสถานทใ่ี นการอบรม 4.27 0.55 มาก 11 ความคมุ คาทไ่ี ดเ ขารบั การอบรม 4.09 0.59 มาก 12 ความสามารถในการพัฒนาขดี สมรรถนะหลงั จากฝก อบรม 4.41 0.56 มาก 13 ความสามารถในการสรางเครือขา ยหลังจากฝกอบรม 15 นําความรูทไี่ ดรับไปขยายผลใหครูและผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ทราบ 16 วางแผนพัฒนางานเพอ่ื ใหการจัดการเรียนการสอนมี คุณภาพ 17 สรางเครือขา ยในการพฒั นางาน รวมเฉลีย่ จากตารางที่ 2 พบวา ความพึงพอใจของผูเขารับการอบรมฯ โดยภาพรวม อยูใ นระดับมาก มคี าเฉลย่ี 4.41 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.56 เม่ือพิจารณาเปน รายขอ สามลาํ ดับแรก พบวา การถายทอดของวิทยากรทาํ ใหเ กิดการเรยี นรู อยใู นระดับมากท่สี ุด คาเฉลี่ย 4.76 สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.43 รองลงมา คือ ความคมุ คาท่ี ไดเขา รับการอบรม อยใู นระดบั มากท่ีสดุ คาเฉลย่ี 4.67 สวนเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.47 และเนื้อหาสาระทไ่ี ดรบั จากการฝก อบรมสามารถนําไปประยุกตใ ชไ ดจริง อยใู นระดบั มากทสี่ ดุ คา เฉลีย่ 4.65 สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 0.51

8 ตอนที่ 3 ขอคิดเห็นอ่นื ๆ 1. สอนผลิตส่อื ใหมากๆ 2. ถา มกี ารจดั อบรมคร้งั ตอ ไปกจ็ ะดมี ากคะ 3. จดั การอบรมลักษณะนีบ้ อยๆคะ 4. การจัดอบรมควรใชสถานที่ที่กวา งขวางกวา น้ี 5. รสู กึ วาไดความรูมากเลย เปนการอบรมท่ีลมื เวลาเลย 6. คร้ังตอไปเปด รบั สมัครผเู ขารบั การอบรมทสี่ นใจจะเรียนรจู รงิ ๆ 7. ในการเขา รบั การอบรมในครัง้ นีส้ ามารถนําทักษะกระบวนการการเรียนรูตางๆเปนแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนได 8. สถานท่ีควรกวา งขวางเพ่อื สะดวกในการจัดกิจกรรม 9. อยากใหมีการอบรมพัฒนาอยา งตอเนื่อง 10. อยากไดใ บงานใหมากที่สุด 11. เนื้อหาสาระในการอบรมครั้งนมี้ ปี ระโยชนต อ ผเู ขา รับการอบรมมาก และสามารถนําไปพัฒนา ผเู รยี นไดจ ริง 12. จดั ตอ เน่อื งรนุ ตอๆไปทุกปน ะคะ 14. จัดใหมกี ารอบรมเพิ่มเติมอกี ครัง้ เพอ่ื พัฒนาการสอนBBLอยา งเตม็ รูปแบบ 15. ควรใหครูทุกคนเขารบั การอบรมจะไดม ีแนวคิดและปฏบิ ตั ิไปทิศทางเดยี วกนั 16. เปน การจดั การอบรมท่ีสอดคลองกับวตั ถุประสงคสามารถนําไปใชจ ัดการเรยี นการสอนได 17. การอบรมBBL ควรมกี ารอบรมทุกปเ พ่ือทบทวนความรูเดิมและเพิม่ เตมิ ความรูใหม เพ่ือใหไ ด ความรูและเทคนิคใหมๆหรือมุมมองใหมๆจากวิทยากร และคณะครูผูเขา รับการอบรม 18. เปนประโยชนแ ละสามารถนาํ ไปประยุกตใชใ นการเรยี นการสอนไดจริง 19. ระยะการอบรมนอ ย ควรเพมิ่ เวลาในการอบรม 20. อยากใหม ีการจัดทาํ ส่อื ประดิษฐสอ่ื เพ่ิมเตมิ และสามารถไปประยุกตใชก ับทกุ สาระการเรียนรู 21. ผูเ ขา อบรมสนใจและกระตือรือรน ทุกคนคะ 22. เปน การอบรมทส่ี นุกไมเ ครียด ไดร ับมุมมองใหมๆ ทีจ่ ะนาํ ไปใชใ นการจัดการเรยี นการสอน 23. เปนการฝกอบรมทม่ี ีประโยชนม ากใชไ ดจริง 24. เปน การอบรบท่ีทาํ ใหไดร ับความรูสามารถนําไปใชใ นชั้นเรยี นทีโ่ รงเรียนได 25. เพิม่ เวลาในการอบรมเปน 3 วัน 26. ขอใหจ ัดอบรมผลิตสอ่ื bbl 27. สนุกดี อยากใหจดั การอบรมอีก 28. เปน การอบรมทีใ่ หความรทู ี่เหมาะสมมาก สามารถนําไปพฒั นาการเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาการ เรยี นรขู องเด็กไดเ ปนอยา งดี

9 29. เปน การอบรมที่สามารถนําไปใชในการจดั กระบวนการเรียนการสอน เพือ่ พฒั นากระบวนการ เรยี นรูข องผูเรยี น 30. เปนการอบรมท่เี พ่มิ ความเขาใจในการจดั การเรียนการสอนดีมาก 31. ควรมีการจัดอบรมในคร้ังตอ ไป 32. เปนกิจกรรมท่อี บรมแลวสนุก นาํ ไปใชจดั การเรียนการสอนเปน อยา งดี 33. อยากใหม ี BBL ระดับ ป.4 ถึง ป.6 บาง 34. ควรมกี ารจัดอบรมการทําสื่อการสอน 35. สามารถนาํ ความรูท่ไี ดร บั ไปใชพ ัฒนาการเรียนการสอนไดจ รงิ

10 บทที่ 4 สรุป และอภปิ รายผล การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การออกแบบการเรียนรพู ฒั นาทักษะการคิด (EF) เพอ่ื สง เสริมความสามารถ ดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL จดั ขึ้นระหวา งวนั ที่ 8–9 กันยายน 2560 ณ หอ งประชุม 1 สาํ นกั งาน เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พูน เขต 2 ผเู ขา รับการอบรมทั้งหมด 100 คน มีแนวทางการดาํ เนนิ งาน ดังน้ี วัตถุประสงค 1. เพือ่ ใหครูผูส อนมคี วามรู ความเขาใจในการจัดการเรียนรทู ่พี ฒั นาทกั ษะการคิด (EF) เพ่อื สง เสริม ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 2. เพอ่ื ใหค รูผสู อนสามารถออกแบบการจัดการเรียนรเู พ่ือพฒั นาทักษะการคิด(EF)เพอ่ื สงเสริม ความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL 3. เพือ่ นิเทศ ตดิ ตาม ดแู ลชว ยเหลอื โรงเรียนในการปองกันและแกไ ขปญหาการอาน ภาษาไทยของ นกั เรียนอยางใกลชดิ โดยใชเทคนิคการนิเทศอยา งหลากหลาย เปาหมาย ครูจํานวน 95 คน และศึกษานเิ ทศก จาํ นวน 5 คน รวมทัง้ หมด 100 คน ข้ันตอนการดําเนนิ การ การดาํ เนนิ การแบงเปน 3 ขัน้ ตอนคือ 1. ขน้ั ตอนการเตรียมการอบรม 2. ขน้ั ตอนระหวา งการดาํ เนินการอบรม 3. ขน้ั ตอนหลงั การดาํ เนนิ การอบรม สรุปและอภิปรายผลการดําเนนิ การอบรม สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลําพูน เขต 2 ไดด ําเนนิ การจัดการอบรมเชิง ปฏบิ ัตกิ าร การออกแบบการเรยี นรพู ัฒนาทกั ษะการคิด (EF) เพือ่ สง เสริมความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL สรุปผลการดาํ เนินการอบรมฯ ดังน้ี ตอนท่ี 1 ขอ มลู ท่ัวไป อายขุ องผเู ขา รบั การอบรมฯ สวนใหญอ ายุ 51-60 ป จํานวน 30 คน คดิ เปนรอ ยละ 36.59 รองลงมา คือ 11-40 ป จาํ นวน 26 คน คิดเปนรอ ยละ 31.70 , 20-30 ป จาํ นวน 16 คน คิดเปนรอ ยละ 19.51 และ 41-50 ป จํานวน 10 คน คดิ เปนรอยละ 12.20

11 ตอนท่ี 2 ระดบั ความคดิ เห็นของผูเขารบั การอบรมฯ 2.1 ความรูพืน้ ฐานของผูเ ขารบั การอบรม ผูเขารับการอบรม มีความรพู ืน้ ฐานอยใู นระดบั มาก มคี า เฉลีย่ 3.00 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.14 2.2 ความพึงพอใจของผูเ ขา รบั การอบรม ความพึงพอใจของผเู ขา รบั การอบรมฯ โดยภาพรวม อยูในระดบั มาก มีคาเฉล่ยี 4.41 สว น เบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.56 เมือ่ พจิ ารณาเปน รายขอ สามลาํ ดบั แรก พบวา การถายทอดของวิทยากรทาํ ใหเ กิดการ เรยี นรู อยูในระดบั มากทีส่ ุด คาเฉลยี่ 4.76 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.43 รองลงมา คือ ความคุมคาที่ไดเขา รับ การอบรม อยูในระดบั มากที่สุด คาเฉลย่ี 4.67 สวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.47 และเน้อื หาสาระทไ่ี ดร บั จากการ ฝก อบรมสามารถนาํ ไปประยุกตใชไ ดจริง อยูใ นระดบั มากท่ีสุด คาเฉลยี่ 4.65 สว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 0.51 ตอนที่ 3 ขอ คดิ เหน็ อ่นื ๆ ของผเู ขา รบั การอบรม สรุปไดดังนี้ ดา นเนือ้ หาการอบรม 1. ครผู ูส อนสามารถนาํ ทักษะกระบวนการการเรียนรตู า งๆ เปนแนวทางในการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนได 2. ครผู ูสอนสามารถออกแบบการจัดการเรยี นรูเพ่ือพัฒนาทกั ษะการคิด ตามแนวทาง BBL 3. ครผู ูสอนสามารถนําความรูทีไ่ ดไ ปประยุกตใชใ นการจัดการเรยี นการสอนในสาระอนื่ ๆ ได 4. เนือ้ หาสาระในการอบรมคร้งั นีม้ ปี ระโยชนตอ ผเู ขารับการอบรมมาก และสามารถนําไป พฒั นาผูเรียนไดจ รงิ ดา นวทิ ยากร วิทยากรถายทอดความรไู ดด ีและเขาใจ สามารถนาํ ไปปฏิบตั ไิ ดจริงในช้ันเรียน ดานระยะเวลาการอบรม 1. ใหม ีการจัดการอบรมพฒั นาอยางตอเนอ่ื ง 2. ใชเวลาในการอบรม 3 วัน ดา นสถานที่ สถานทีค่ ับแคบ ไมสะดวกตอ การปฏิบตั กิ ิจกรรม ขอเสนอแนะอ่นื ๆ 1. จดั ใหม กี ารอบรมเพิม่ เติมอีกคร้ังเพ่ือพัฒนาการสอนBBLอยา งเตม็ รูปแบบ 2. ควรใหค รทู ุกคนเขา รับการอบรมจะไดมแี นวคดิ และปฏิบัติไปทิศทางเดยี วกนั 3. เปนการจดั การอบรมท่ีสอดคลองกับวตั ถุประสงคสามารถนาํ ไปใชจดั การเรยี นการสอนได 4. การอบรมBBL ควรมกี ารอบรมทกุ ป เพอื่ ทบทวนความรูเ ดมิ และเพิม่ เตมิ ความรใู หม เพื่อให ไดค วามรูและเทคนิคใหมๆ หรอื มุมมองใหมๆ จากวิทยากร และคณะครผู ูเขารับการอบรม

12 ภาคผนวก ก หนงั สือตา งๆ ทีเ่ ก่ยี วของ - บันทกึ ขอ ความขออนมุ ตั ิโครงการและงบประมาณการดาํ เนนิ การ - หนังสอื แจงโรงเรยี น - หนังสอื เชญิ วทิ ยากร - คําส่ังแตงตั้งคณะกรรมการดาํ เนนิ งาน

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25 ภาคผนวก ข เคร่อื งมอื ทใ่ี ชประเมินความพงึ พอใจ

26

27 ภาคผนวก ค - ผลการประเมนิ ความพึงพอใจหลงั การอบรม

28

29

30 ภาคผนวก ค ผลการวิเคราะหข อมูล

ความรู เน้ือหาท่ี เนอ้ื หา การ กจิ กรรม การ สภาพ เอกส พ้ืนฐานใน อบรม สาระที่ ฝกอบรม อบรมทาํ ถายทอด บรรยากา แจกใ เรอ่ื งท่ี สอดคลอ ง ไดรบั จาก พฒั นา ใหเขา ใจ ของ ศของการ การอ อบรม กับ การ ชว ยสราง เน้อื หาที่ วิทยากร อบรมเอื้อ มคี วา คนที่ วัตถปุ ระส ฝกอบรม ความรู อบรม ทาํ ใหเกดิ ตอ การ เหมา งคของ สามารถ และ การเรยี นรู เรียนรู ตอ เน โครงการ นําไป มมุ มอง การ ประยุกตใ ใหมไ ด ฝก อบ ชไดจ รงิ 1 55555445 2 34444544 3 55555555 4 35555555 5 35454444 6 15555555 7 44555554 8 55554445 9 55555555 10 4 4 5 5 5 5 4 5 11 4 5 5 5 5 5 4 4 12 2 5 5 5 4 4 3 4 13 3 4 4 4 4 4 4 4 14 2 3 4 4 4 5 4 3 15 5 4 4 4 4 4 4 4 16 4 4 5 4 4 5 5 5 17 3 5 5 5 5 4 4 5 18 3 5 5 5 4 4 4 4 19 3 5 5 5 5 5 5 4 20 4 5 4 5 5 4 5 5 21 4 4 5 5 4 4 4 5 22 2 4 5 4 5 4 4 4 23 1 5 5 5 5 5 4 4 24 3 5 5 5 5 5 5 5 25 3 5 5 5 5 5 5 5 26 4 4 5 4 4 4 4 4

31 สารที่ สื่อ ระยะเวลา ความ ความคมุ ความสาม ความสาม นําความรู วางแผน สราง ใน เทคโนโลยี ท่ีใชใน เหมาะสม คาทไ่ี ดเขา ารถในการ ารถในการ ที่ไดร บั ไป พัฒนา เครอื ขาย อบรม ทีใ่ ชใน การอบรม ของ รบั การ พฒั นาขดี สรา ง ขยายผล งาน ในการ าม การ เหมาะสม สถานที่ใน อบรม สมรรถนะ เครือขาย ใหค รแู ละ เพื่อให พัฒนา าะสม นาํ เสนอ การอบรม หลงั จาก หลงั จาก ผูบ ริหาร การ งาน นื้อหา ทาํ ให ฝกอบรม ฝกอบรม สถานศึกษ จัดการ เขา ใจได าทราบ เรยี นการ 5 บรม งาย สอนมี 4 คณุ ภาพ 4 4 554455545 4 4 444454444 4 4 555554445 5 5 554455444 4 4 444445444 4 3 555555455 4 4 444555444 5 4 544454444 4 5 555555555 3 4 555555555 4 4 445455445 4 4 445444444 443444444 344444334 443444444 545554444 544455555 455454444 454554444 544455455 554444344 444544444 454444444 555554444 555454445 443344444

ความรู เนอ้ื หาที่ เน้อื หา การ กจิ กรรม การ สภาพ เอกส พืน้ ฐานใน อบรม สาระที่ ฝกอบรม อบรมทาํ ถา ยทอด บรรยากา แจกใ เรื่องที่ สอดคลอง ไดร ับจาก พฒั นา ใหเ ขา ใจ ของ ศของการ การอ อบรม กับ การ ชว ยสราง เนือ้ หาที่ วทิ ยากร อบรมเอ้ือ มีควา คนที่ วัตถปุ ระส ฝกอบรม ความรู อบรม ทําใหเกิด ตอ การ เหมา งคของ สามารถ และ การเรียนรู เรียนรู ตอเน โครงการ นาํ ไป มุมมอง การ ประยกุ ตใ ใหมไ ด ฝก อบ ชไ ดจ ริง 27 4 4 5 4 5 5 5 5 28 4 4 5 4 5 5 5 5 29 2 4 4 4 5 5 4 5 30 3 4 4 4 5 5 4 3 31 2 5 3 4 3 5 5 3 32 2 5 4 3 4 5 5 5 33 3 5 5 5 5 5 5 5 34 2 4 4 5 4 5 5 5 35 4 4 5 5 5 5 5 5 36 1 5 4 5 5 5 4 5 37 3 5 5 5 5 5 5 5 38 2 3 5 5 5 5 4 4 39 3 4 4 4 4 4 4 4 40 3 5 4 5 4 5 4 4 41 4 5 5 5 5 5 4 4 42 3 5 5 5 5 5 5 5 43 2 5 5 5 5 5 5 5 44 4 5 5 5 5 5 4 4 45 3 4 5 5 4 5 4 4 46 2 5 4 5 4 5 4 5 47 5 5 5 5 5 5 5 5 48 4 3 4 4 4 4 4 4 49 2 3 4 4 4 5 4 4 50 3 4 4 4 4 4 4 3 51 3 4 5 4 5 5 4 4

32 สารที่ ส่อื ระยะเวลา ความ ความคมุ ความสาม ความสาม นําความรู วางแผน สราง ใน เทคโนโลยี ที่ใชใน เหมาะสม คาทไ่ี ดเขา ารถในการ ารถในการ ที่ไดรบั ไป พฒั นา เครือขาย อบรม ที่ใชใน การอบรม ของ รบั การ พัฒนาขดี สรา ง ขยายผล งาน ในการ าม การ เหมาะสม สถานทีใ่ น อบรม สมรรถนะ เครอื ขา ย ใหครแู ละ เพื่อให พัฒนา าะสม นาํ เสนอ การอบรม หลังจาก หลงั จาก ผูบรหิ าร การ งาน นอื้ หา ทําให ฝก อบรม ฝก อบรม สถานศึกษ จัดการ เขาใจได าทราบ เรียนการ 4 บรม งาย สอนมี 4 คุณภาพ 3 4 554554444 3 4 554554444 4 4 544444444 5 4 343454444 4 4 345553343 4 4 553444444 3 4 555554444 4 4 554554444 4 4 555555555 5 3 544544444 4 3 554554445 5 455455545 444444444 445544444 453454444 554444444 555554444 443354444 455545444 555554444 555555555 442454333 444554444 335554333 445444444

ความรู เนอ้ื หาที่ เน้อื หา การ กจิ กรรม การ สภาพ เอกส พืน้ ฐานใน อบรม สาระที่ ฝกอบรม อบรมทาํ ถา ยทอด บรรยากา แจกใ เรื่องที่ สอดคลอง ไดร ับจาก พฒั นา ใหเ ขา ใจ ของ ศของการ การอ อบรม กับ การ ชว ยสราง เนือ้ หาที่ วทิ ยากร อบรมเอ้ือ มีควา คนที่ วัตถปุ ระส ฝกอบรม ความรู อบรม ทําใหเกิด ตอ การ เหมา งคของ สามารถ และ การเรียนรู เรียนรู ตอเน โครงการ นาํ ไป มุมมอง การ ประยกุ ตใ ใหมไ ด ฝก อบ ชไ ดจ ริง 52 3 4 4 4 4 4 2 4 53 5 5 5 4 5 5 5 4 54 3 5 5 5 5 5 4 4 55 4 5 5 5 5 5 5 5 56 3 4 5 5 4 5 5 5 57 2 4 5 5 5 4 4 4 58 2 5 5 5 5 5 5 5 59 1 4 5 5 5 5 5 5 60 3 4 5 4 5 5 4 5 61 2 4 4 4 4 5 5 4 62 3 3 4 4 4 4 4 3 63 3 5 5 5 5 5 4 5 64 1 5 5 5 4 4 4 2 65 2 5 5 5 5 5 5 5 66 2 5 5 5 5 5 5 5 67 4 5 5 5 5 5 5 5 68 2 4 4 4 5 5 4 4 69 2 4 4 4 5 5 4 4 70 5 5 5 5 5 5 4 4 71 2 5 5 5 5 5 4 5 72 3 5 5 5 5 5 5 5 73 2 5 4 4 4 5 5 4 74 5 5 5 5 5 5 5 3 75 3 5 4 4 5 5 5 5 76 4 5 5 5 4 5 4 5

33 สารที่ ส่อื ระยะเวลา ความ ความคมุ ความสาม ความสาม นําความรู วางแผน สราง ใน เทคโนโลยี ที่ใชใน เหมาะสม คา ทไ่ี ดเขา ารถในการ ารถในการ ที่ไดรบั ไป พฒั นา เครือขาย อบรม ที่ใชใน การอบรม ของ รับการ พัฒนาขดี สรา ง ขยายผล งาน ในการ าม การ เหมาะสม สถานทใ่ี น อบรม สมรรถนะ เครอื ขา ย ใหครแู ละ เพื่อให พัฒนา าะสม นาํ เสนอ การอบรม หลังจาก หลงั จาก ผูบรหิ าร การ งาน นอื้ หา ทําให ฝก อบรม ฝก อบรม สถานศึกษ จัดการ เขาใจได าทราบ เรียนการ 4 บรม งาย สอนมี 4 คุณภาพ 4 5 435444444 4 4 444554444 5 4 445544444 4 3 555555555 4 5 544454444 4 5 444444444 5 5 555555445 4 4 555554444 5 3 554455445 5 4 455554334 5 4 333344444 4 555555555 233344444 555555555 555555455 555555555 444444444 444444444 454455455 555454344 555345455 444454444 355355555 554554444 555554444

คนท่ี ความรู เน้ือหาที่ เน้อื หา การ กจิ กรรม การ สภาพ เอกส พน้ื ฐานใน อบรม สาระท่ี ฝกอบรม อบรมทาํ ถา ยทอด บรรยากา แจกใ 77 เรอ่ื งท่ี สอดคลอ ง ไดร ับจาก พฒั นา ใหเ ขาใจ ของ ศของการ การอ 78 อบรม กับ การ ชวยสรา ง เนือ้ หาที่ วทิ ยากร อบรมเอื้อ มีควา 79 วตั ถปุ ระส ฝก อบรม ความรู อบรม ทําใหเกิด ตอการ เหมา 80 4 งคข อง สามารถ และ การเรยี นรู เรียนรู ตอเน 81 1 โครงการ นาํ ไป มุมมอง 4 การ 82 1 ประยุกตใ ใหมได 5 55 ฝกอบ คาเฉลี่ย 1 5 ชไดจ ริง 4 55 สว นเบ่ียงเบนมฐ. 4 5 4 4 54 5 3 4 4 5 4 5 3.00 5 5 4 5 54 3 1.14 5 4 4 4.60 54 4 4 4 0.52 44 4 4.52 4 5 4.76 4.40 5 0.61 5 4.61 0.43 0.58 4. 5 0.52 0. 4.65 0.51

34 สารท่ี สื่อ ระยะเวลา ความ ความคมุ ความสาม ความสาม นําความรู วางแผน สรา ง ใน เทคโนโลยี ท่ใี ชใ น เหมาะสม คาทไี่ ดเ ขา ารถในการ ารถในการ ทไ่ี ดรบั ไป พัฒนา เครือขาย อบรม ที่ใชใน การอบรม ของ รบั การ พัฒนาขดี สรา ง ขยายผล งาน ในการ าม การ เหมาะสม สถานที่ใน อบรม สมรรถนะ เครือขาย ใหค รูและ เพ่อื ให พัฒนา าะสม นาํ เสนอ การอบรม หลงั จาก หลงั จาก ผูบ ริหาร การ งาน นื้อหา ทาํ ให ฝกอบรม ฝกอบรม สถานศกึ ษ จดั การ เขาใจได าทราบ เรียนการ 4 บรม งาย สอนมี 5 คณุ ภาพ 3 3 555554444 4 4 555555455 4.09 0.59 343444333 444444334 445455445 545355545 .40 4.48 4.33 4.38 4.67 4.32 4.05 4.12 4.27 .70 0.59 0.74 0.64 0.47 0.49 0.52 0.51 0.55

35 ภาคผนวก ง รายชือ่ ผูผา นการอบรม

36 การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การออกแบบการเรยี นรพู ัฒนาทกั ษะการคดิ (EF) เพือ่ สง เสริมความสามารถดานภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL\" วันท่ี ๘-๙ เดอื น กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ หองประชุม ๑ สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาํ พนู เขต ๒ เลขที่ ท่ี ชือ่ - นามสกุล โรงเรียน เกยี รติบัตร หมายเหตุ ๑ นางสาวนงลักษณ จันทวาลย ร.ร.บานโฮงศีลาภรณ ๔๙๒๓ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๙๒๔ ผูเขารบั การอบรมฯ ๒ นางสาวกัญญภา ศรชี ยั ตัน ร.ร.บานหวยกาน ๔๙๒๕ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๓ นางเครือวลั ย นาคนาม ร.ร.บา นหวยหา ๔๙๒๖ ผูเขารบั การอบรมฯ ๔ นางรตั ติยา ทะสุใจ ร.ร.บา นหว ยนํ้าดิบ ๔๙๒๗ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๕ นายเกียรติพงษ มณีทอง ร.ร.บานหว ยแพง ๔๙๒๘ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๖ นางทองพนู อน่ิ แกว ร.ร.วัดวังหลวง ๔๙๒๙ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๗ นางอํานวยพร วารีวหาเดช ร.ร.บา นปา พลู ๔๙๓๐ ผูเขารบั การอบรมฯ ๘ นางสาวสพุ รรษา อนุ นนั กาศ ร.ร.บา นหวยหละ ๔๙๓๑ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๙ นางสาวอญั ชลี ติดทะ ร.ร.บานหว ยแทง ๔๙๓๒ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๑๐ นางบุญศรี ไชยพรม ร.ร.บานเหลายาว ๔๙๓๓ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๑๑ นางธณัฎฐา ทองวเิ ชยี ร ร.ร.บานมวงโตน ๔๙๓๔ ผเู ขารับการอบรมฯ ๑๒ นายมตั ตัญู แสงเงินชัย ร.ร.ไทยรฐั วิทยา 48 ๔๙๓๕ ผเู ขารับการอบรมฯ ๑๓ นางจันทรจิรา บญุ สุ ร.ร.บานดอยแดน ๔๙๓๖ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๑๔ นางลัดดา คําปกุ ร.ร.บานศรเี ต้ยี ๔๙๓๗ ผูเขารบั การอบรมฯ ๑๕ นายวสิ ุทธิ์ เดชะบญุ ร.ร.บา นสนั ปเู ลย ๔๙๓๘ ผูเขารับการอบรมฯ ๑๖ นางอรพนิ ทร ปารมี ร.ร.บานหนองปลาสะวาย ๔๙๓๙ ผูเขา รับการอบรมฯ ๑๗ นางยพุ นิ ฉางกันทา ร.ร.บา นหนองสูน ๔๙๔๐ ผูเขา รับการอบรมฯ ๑๘ นางสาวชนิกานต กนั ทาทรัพย ร.ร.ชุมชนบานแมต ืน ๔๙๔๑ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๑๙ นางผองศรี รตั นปญ ญา ร.ร.บานแมปอ ก ๔๙๔๒ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๒๐ นางสาวรชั นีกร แกวกา ร.ร.บา นหวยบง ๔๙๔๓ ผูเขารบั การอบรมฯ ๒๑ นางกาญจนา ยิ้มทองหลาง ร.ร.บานปาง ๔๙๔๔ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๒๒ นางจิราวรรณ พจมานเลิศพร ร.ร.บา นแมป อ กใน ๔๙๔๕ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๒๓ นายอรรถพล คําศรแี กว ร.ร.บา นวงั มน ๔๙๔๖ ผูเขารบั การอบรมฯ ๒๔ นายบดนิ ทร สภุ าวงค ร.ร.บานสันปา สกั ๔๙๔๗ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๒๕ นางวัฒนา สินธบุ ญุ ร.ร.บา นสันวิไล ๔๙๔๘ ผูเขารบั การอบรมฯ ๒๖ นางวภิ าวรรณ ชลชวลิต ร.ร.บานแมแ นต ๔๙๔๙ ผูเขารบั การอบรมฯ ๒๗ นางทานตะวัน กามะแพ ร.ร.บานวงศษ าพฒั นา ๔๙๕๐ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๒๘ นางนงคราญ ปญญา ร.ร.บา นแมเ ทย

37 ท่ี ชอ่ื - นามสกุล โรงเรยี น เลขท่ี หมายเหตุ เกียรติบัตร ๒๙ นางแอว เชียงแขก ร.ร.ชมุ ชนบานปา ไผ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๓๐ นางสาวพชิ ชาภา พงคตนั ร.ร.บา นหลายทา ๔๙๕๑ ผูเขารับการอบรมฯ ๓๑ นายสวิง สรอ ยญานะ ร.ร.บา นหวยแหน ๔๙๕๒ ผูเ ขา รับการอบรมฯ ๓๒ นางสนุ ันท ศรสี วุ รรณ ร.ร.บานดงสักงาม ๔๙๕๓ ผูเขา รับการอบรมฯ ๓๓ นางแสงเดอื น สามภศู รี ร.ร.บานปา จี้ ๔๙๕๔ ผูเขารับการอบรมฯ ๓๔ นางสาวรวิวรรณ เรอื งทารินทร ร.ร.อนุบาลวังดนิ ๔๙๕๕ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๓๕ นางสาวสาวิตรี โชคดี ร.ร.อนบุ าลวงั ดิน ๔๙๕๖ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๓๖ นางฉวีวรรณ แสนลี ร.ร.บา นฮอมตอ ๔๙๕๗ ผูเขา รับการอบรมฯ ๓๗ นายพนมกร ไพบูลยก จิ ร.ร.บา นปวงคํา(ประชาอุทศิ ) ๔๙๕๘ ผูเขารับการอบรมฯ ๓๘ นางสาวโสรยา แดงชัย ร.ร.บา นโฮง ๔๙๕๙ ผูเขา รับการอบรมฯ ๓๙ นางสาววราภรณ ยาวลิ ะ ร.ร.บานนากลาง ๔๙๖๐ ผูเขา รับการอบรมฯ ๔๐ นายณฐั ภาส รุงศิรริ ตั นชัย ร.ร.บา นมว งสามป ๔๙๖๑ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๑ นายณัฐพงษ คําปา ร.ร.บานมวงสามป ๔๙๖๒ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๒ นางอาํ ภาพร รินปญ โญ ร.ร.บานมว งสามป ๔๙๖๓ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๔๓ นายตาล ณ เชยี งใหม ร.ร.บานปางสา น ๔๙๖๔ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๔๔ นายสบุ นิ ตาสยุ ะ ร.ร.บา นบวก ๔๙๖๕ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๔๕ นางสาวกติ ติยา แกวคําตา ร.ร.บานปาคา ๔๙๖๖ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๔๖ นางณิศารตั น วฒุ ิศลิ ป ร.ร.บา นหว ยหญา ไซ ๔๙๖๗ ผูเขา รับการอบรมฯ ๔๗ นางสาวรงุ นภา กุยคาํ ร.ร.บา นหวยตม ฯ ๔๙๖๘ ผเู ขารับการอบรมฯ ๔๘ นายสมบูรณ ทิศหลา ร.ร.บานหว ยตม ฯ ๔๙๖๙ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๙ นางวาสนา เหลืองออ น ร.ร.บานหว ยตม ฯ ๔๙๗๐ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๕๐ นางอมุ าพร ธาดาสนั ติพงศ ร.ร.บานหวยตมฯ ๔๙๗๑ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๕๑ นางสาวรัชภรณ สงิ หช ยั ร.ร.บา นหว ยตม ฯ ๔๙๗๒ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๕๒ นายอดศิ ร กาวิเปง ร.ร.บา นหวยตม ฯ ๔๙๗๓ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๕๓ นายตรีเนตร ทพิ ยพฤกษ ร.ร.บานนาเล่ียง ๔๙๗๔ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๕๔ นางสาวโยษิตา กญั ญเทพ ร.ร.บา นผาลาด ๔๙๗๕ ผูเขา รับการอบรมฯ ๕๕ นางเจนจิรา มาถา ร.ร.บา นฮั่ว ๔๙๗๖ ผเู ขารับการอบรมฯ ๕๖ นางสาวสายสวาท แซต ้ัง ร.ร.บานนาทราย ๔๙๗๗ ผเู ขารับการอบรมฯ ๕๗ นางสาวมลฤดี กัณทวงค ร.ร.บานแมห วาง ๔๙๗๘ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๕๘ นางนํ้าฝน กันทะอศั วะ ร.ร.บา นผาตาย ๔๙๗๙ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๕๙ นายนริ ุตต์ิ อนิ ตะจนั ทร ร.ร.บานหนองมะลอ หวยทรายขาว ๔๙๘๐ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๙๘๑

38 ที่ ชื่อ- นามสกลุ โรงเรยี น เลขท่ี หมายเหตุ เกียรตบิ ตั ร ๖๐ นางศภุ ลักษณ พรมเสน ร.ร.บา นแมล าน ผเู ขารบั การอบรมฯ ๔๙๘๒ ผเู ขารับการอบรมฯ ๖๑ นางอลิษา จาสวาง ร.ร.บานแมก องวะ ๔๙๘๓ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๔๙๘๔ ผูเขา รับการอบรมฯ ๖๒ นางสาวอุลัยพร เอ่ียมสะอาด ร.ร.บา นกอจดั สรร ๔๙๘๕ ผูเขา รับการอบรมฯ ๔๙๘๖ ผูเขา รับการอบรมฯ ๖๓ นางสาวอาํ ภา เทดิ พงษพ ร ร.ร.บา นหวยไร ๔๙๘๗ ผูเขา รับการอบรมฯ ๔๙๘๘ ผูเขารับการอบรมฯ ๖๔ วา ที่รอ ยตรีหญงิ กรรณกิ าร หลา แกว ร.ร.บา นหว ยหาง ๔๙๘๙ ผูเขารับการอบรมฯ ๔๙๙๐ ผูเขารับการอบรมฯ ๖๕ นางอารี เลศิ สวุ รรณ ร.ร.บา นไมต ะเคยี น ๔๙๙๑ ผูเขา รับการอบรมฯ ๔๙๙๒ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๖๖ นางจริ าภรณ ชยั นนั ท ร.ร.บา นทุง ขา วหาง ๔๙๙๓ ผเู ขารับการอบรมฯ ๔๙๙๔ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๖๗ นายเอกนรนิ ทร ไชยสทิ ธิ์ ร.ร.บา นหว ยงูสิงห ๔๙๙๕ ผเู ขา รบั การอบรมฯ ๔๙๙๖ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๖๘ นางสาวประภสั สร สินธุบุญ ร.ร.บา นหนองหลกั ๔๙๙๗ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๔๙๙๘ ผเู ขารับการอบรมฯ ๖๙ นางน้ําฝน สีสงิ ห ร.ร.บานไมสลี ๔๙๙๙ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๕๐๐๐ ผูเขา รับการอบรมฯ ๗๐ นางสาวแพรวพรรณ จ๋แี ควะ ร.ร.บา นแมแสม ๕๐๐๑ ผูเขารบั การอบรมฯ ๕๐๐๒ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๗๑ นางสาวอาํ พา ฤทธเ์ิ รอื นคาํ ร.ร.สามคั คีศรีวชิ ยั ๕๐๐๓ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๕๐๐๔ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๗๒ นางสังวรณ รงั นอย ร.ร.บา นทุงหัวชา ง ๕๐๐๕ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๕๐๐๖ ผูเ ขา รับการอบรมฯ ๗๓ นาสาวณัฎฐรินทร อภิวงคง าม ร.ร.บานดง ๕๐๐๗ ผเู ขา รับการอบรมฯ ๕๐๐๘ ผูเขา รับการอบรมฯ ๗๔ นายพรี พล จันทวุ รรณ ร.ร.บานโปงแดง ๕๐๐๙ ผูเขารบั การอบรมฯ ๕๐๑๐ ผเู ขารบั การอบรมฯ ๗๕ นางสาวผกามาศ ปญญาคาํ ร.ร.บา นแมป น เดง ๕๐๑๑ ผูเขารับการอบรมฯ ๕๐๑๒ ๗๖ นางสพุ ิศ กรแกว ร.ร.บา นดอนมลู ๗๗ นางสาวพรพมิ ล พงษก ลาง ร.ร.บานหว ยปง ๗๘ นายสันติ ซาวบญุ ตนั ร.ร.บา นหวยโปง ๗๙ นางสวุ รรณี หวนั ฮอ ร.ร.บานแมบอน ๘๐ นางพมิ พน ภิ า แยม วฒั นพานิช ร.ร.บา นปวง ๘๑ นางลาํ เจยี ก รณุ ผาบ ร.ร.วดั บา นดง ๘๒ นางวนิดา พรมฝาย ร.ร.บานตนผ้ึง ๘๓ นางรงุ อรุณ กาบบวั ร.ร.วัดวังสะแกง ๘๔ นางสาวสาลินี ปญญาเมอื ง ร.ร.บา นทาหลุก ๘๕ นางสาวจรรยาพร ใฝนนั ตา ร.ร.วัดบา นเวียงหนองลอ ง ๘๖ นางคณิตา ณ นาน ร.ร.บา นทาชา ง ๘๗ นางสาวองั คณา วรรณภริ ะ ร.ร.วดั รองธาร ๘๘ นางพัชนี อนิ ตะ ร.ร.บานหวยปนจอ ย ๘๙ วา ที่ ร.ต.หญิงพชั รนิ ทร อุปนันท ร.ร.วดั หนองยวง ๙๐ นางปารฉิ ตั ร อินกองงาม ร.ร.บานลอ งเครอื กวาว

39 ท่ี ชอื่ - นามสกุล โรงเรยี น เลขที่ หมายเหตุ เกียรติบัตร ๙๑ นายไกรวชิ ญ ทาเงนิ ร.ร.บานโปงแดง ผูเขารบั การอบรมฯ ๙๒ นางสาวจัราพตั ร ภปู ระเสริฐ ครู ร.ร.บา นตน ผ้งึ ๕๐๑๓ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๙๓ นางอัจฉริยา ปอ กเช้อื ครู ร.ร.บานมวงโตน ๕๐๑๔ ผูเขา รบั การอบรมฯ ๙๔ นางไพวรรณ ศรีบวั นํา ร.ร.บา นหวยหละ ๕๐๑๕ วทิ ยากร ๙๕ นางสาวจนั ศรี วงศศ รใี ส ร.ร.บา นฮอ มตอ ๕๐๑๖ วทิ ยากร ๙๖ นางจริ าพร ไกรพล สพป.ลําพนู เขต 2 ๕๐๑๗ วทิ ยากร ๙๗ นางกรัณฑา อมั พธุ สพป.ลําพูน เขต 2 ๕๐๑๘ วทิ ยากร ๙๘ นางสดุ าพร ธัญพชิ ชาพร สพป.ลาํ พนู เขต 2 ๕๐๑๙ คณะทาํ งานฯ ๙๙ นางจีรพันธ เหลอื งอรา ม สพป.ลําพนู เขต 2 ๕๐๒๐ คณะทํางานฯ ๑๐๐ นายวรี ยุทธ แยมศรเี กยี รตกิ ุล สพป.ลําพนู เขต 2 ๕๐๒๑ คณะทํางานฯ ๕๐๒๒

40 ภาคผนวก จ ภาพกจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร

41 ภาพกจิ กรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการเรยี นรพู ัฒนาทักษะการคดิ (EF) เพ่อื สง เสริมความสามารถดา นภาษา (Literacy) ตามแนวทางBBL\" วันท่ี ๘-๙ เดอื น กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ หอ งประชุม ๑ สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาํ พนู เขต ๒


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook