Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่3ส่วนที่2 เอกสารมีเฉลย

ตอนที่3ส่วนที่2 เอกสารมีเฉลย

Published by ems2512, 2020-07-15 02:47:33

Description: ตอนที่3ส่วนที่2

Search

Read the Text Version

สว่ นที่ ๒ เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม/ใบงาน รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา้ ที่พลเมือง ๓--๔ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒

๑หน�วยการเร�ยนรูทŒ ่ี ความเปšนไทย • แบบทดสอบกอนเรยี น • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑ เรอ่ื ง การแสดงความเคารพตามสถานการณ • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒ เรื่อง การสนทนา • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓ เรื่อง การแตงกายตามความเหมาะสม • กิจกรรม/ใบงานที่ ๔ เร่อื ง เราเปน คนดีมีสมั มาคารวะ • กจิ กรรม/ใบงานที่ ๕ เรื่อง การเสยี สละเพือ่ สังคม • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๖ เรอ่ื ง เราเปน คนดีมีวินยั ในตนเอง • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๗ เรื่อง ความมวี ินัยในตนเอง • กิจกรรม/ใบงานที่ ๘ เรื่อง ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละศลิ ปวฒั นธรรมไทย • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๙ เรื่อง ภูมิปญ ญาไทยที่ฉันรูจกั • กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๐ เรือ่ ง ทบทวนความรู • แบบทดสอบหลงั เรียน

คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 277 แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ คำชี้แจง เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอŒ งทสี่ ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. ใครปฏิบัติตนในการแสดงความเคารพ ๕. ขŒอใดเปนการกระทำที่ไมใช การเสียสละ ไมเ หมาะสม เพือ่ สังคม ก จริ ะวางพระพุทธรปู ไวท ีห่ ิ้งพระบนตู ก ชวยครูถือของไปสงทรี่ ถ ข หวานนั่งประนมมอื เวลาฟง พระเทศน ข บรจิ าคโลหิตแกโรงพยาบาล ค แบมสวมแวน ตาดำระหวา งการเขา แถว ค บรจิ าควตั ถหุ รอื สงิ่ ของใหผ ปู ระสบภยั ท่ีสนามโรงเรยี น ง ใหความรวมมือในการสรางสาธารณ- ง ตุกประนมมือระหวา งทป่ี ระธาน ประโยชน ในทปี่ ระชมุ กำลังจุดธปู เทียนบูชา พระรตั นตรัย ๖. ขŒอใดเปนลักษณะของคนที่มีความขยัน หมน่ั เพยี ร ๒. ขŒอใดไมใ ช สง่ิ ท่ีทำใหŒบุคลกิ ภาพไม‹ดี ก ถามครูเมอื่ ไมเขาใจบทเรียน ในระหว‹างการสนทนา ข พักผอนแลวจงึ คอ ยทำงานบา น ก กมหนา ค ทำการบา นของเมอ่ื วานในตอนเชา กอ น ข พดู ติดอาง สงครู ค เดนิ ไปเดินมา ง เม่ืองานยากเกินไป จึงเปลี่ยนไปทำ ง มองตาคูสนทนา อยางอนื่ ที่งา ยกวา ๓. ขŒอใดเปนเคร่ืองแต‹งกายที่เหมาะสมกับ ๗. เพราะเหตุใดเมื่อเราทำผิด จึงตŒองรŒูจัก การเขาŒ ร‹วมการฟ˜งธรรมท่ีสดุ ทีจ่ ะยอมรับผดิ ก กางเกงยีนส ก เพอ่ื ใหม ีชื่อเสียง ข กระโปรงสน้ั ข เพ่ือใหม ีคนช่ืนชม ค เสื้อเชติ้ สีขาว ค เพอ่ื ลดปญ หาในการทะเลาะเบาะแวง ง เสื้อยดื เอวลอย ง เพ่ือใหเราตระหนักไดวาไมควรทำผิด ซ้ำอีก ๔. ขอŒ ใดกลา‹ วไมถ ูกตองเก่ยี วกบั การมี สัมมาคารวะ ก พดู จามหี างเสียง ข แสดงความรูข องตนกบั ผูใหญ ค ไมม ีหลักเกณฑท ชี่ ดั เจนตายตวั ง การวางตัวใหเ หมาะสมกบั โอกาส

278 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ ๘. ขอŒ ใดเปน ความหมายของคำวา‹ “ประเพณ”ี ๙. ขŒอใดจัดเปน ศิลปะไทยดŒานจิตรกรรม ก งานสรา งสรรคค วามงามใหร บั รไู ดด ว ย ก เจดียภเู ขาทอง การดู ข ภาพวาดขรัวอนิ โขง ข สง่ิ ทค่ี นในสงั คมหนงึ่ ๆ นยิ มประพฤติ ค พระท่นี งั่ อภเิ ษกดุสติ ปฏิบัตติ อเน่อื งกนั มา ง รปู ปน นนู ต่ำชาวสโุ ขทัย ค ความรู ความสามารถ และทักษะของ คนไทยทเ่ี กดิ จากการสง่ั สมประสบการณ ๑๐. ขอŒ ใดเปน วฒั นธรรมการแตง‹ กายของไทย ง ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญอันเปน ก การนุง ผา ซิ่น แบบแผนประพฤติปฏิบัติของคนใน ข การสวมถุงมอื สงั คมเดยี วกนั ค การสวมหมวก ง การนุง กระโปรงยาว

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 279 กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑ เร่ือง การแสดงความเคารพตามสถานการณ ผลการเรยี นรูŒ ๑. มสี วนรว มและแนะนำผูอ่ืนใหอ นรุ ักษม ารยาทไทย ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูม ีวินัยในตนเอง คำช้ีแจง เลอื กคำทกี่ ำหนดใหเตมิ ในชองวา งในประโยคใหส ัมพันธก ัน ที่สงู หนา บา น ถอด ประนมมอื ถือของ สวม วางของ กราบเบญจางคประดษิ ฐ ๑. เมอ่ื เราเขา ไปยงั สถานทท่ี ี่มกี ารจดั โตะ หมูบ ชู า เราตองทำความเคารพโดย การ ___ก_รา_บ_เ_บ_ญ_จ_าง_ค_ป_ร_ะ_ด_ิษ_ฐ_ _________ เปนอนั ดับแรก ๒. เราเหน็ ผใู หญทร่ี ูจกั เดินมา โดยท่ีเราถอื ของอยู เราควร ____ว_า_งข_อ_ง____ แลวยกมอื ไหว ๓. เราตอง ______ถ_อ_ด______ หมวกทกุ คร้งั เม่อื แสดงความเคารพผอู าวุโส ๔. เราควร __________ป_ระ_น_ม_ม_ือ__________ ระหวา งทีน่ งั่ ฟง ธรรมในวดั ๕. ถาเราไดร ับรปู เคารพมา เราตอ งวางรปู เคารพไว ______ท_่สี _งู _________ ช่อื นามสกลุ เลขที่ ช้ัน โรงเรยี น

280 คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เติม หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง การสนทนา ผลการเรียนรŒู ๑. มสี ว นรวมและแนะนำผอู ่นื ใหอ นุรักษมารยาทไทย ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผูมวี ินยั ในตนเอง คำชีแ้ จง เขียนเลาประสบการณที่นักเรียนมีสวนรวมในการสนทนาตามหัวขอที่ระบุลงในกรอบ ท่ีกำหนดให ลกั ษณะทด่ี ีของผŒูสนทนา การปฏิบัติตนของนักเรยี น ที่นักเรียนเคยรว‹ มสนทนาดวŒ ย ในวงสนทนา ช่ือ นามสกุล เลขที่ ชั้น โรงเรยี น

คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 281 กจิ กรรม/ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การแตง‹ กายตามความเหมาะสม ผลการเรยี นรูŒ ๑. มสี ว นรว มและแนะนำผูอน่ื ใหอ นรุ ักษมารยาทไทย ๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผูมวี นิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง วาดภาพเครื่องแตงกายลำลองที่สุภาพเรียบรอย และเขียนแสดงสรุปหลักสำคัญ ในการแตง กายลงในกรอบทีก่ ำหนดใหส ัมพันธก บั ภาพ ความสะอาด ความสภุ าพเรียบรŒอย ชือ่ นามสกุล ความเหมาะสม โรงเรียน เลขท่ี ช้ัน

282 คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนาท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานท่ี ๔ เรอ่ื ง เราเปนคนดมี ีสัมมาคารวะ ผลการเรียนรŒู ๑. มสี ว นรวมและแนะนำผูอน่ื ใหอ นุรกั ษม ารยาทไทย ๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูมวี ินัยในตนเอง คำชี้แจง เขยี นบอกเลา ประสบการณข องตนเองทแ่ี สดงออกถงึ ความเปน ผมู สี มั มาคารวะตอ ผอู น่ื ชอ่ื นามสกลุ เลขที่ ชั้น โรงเรยี น

คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 283 กจิ กรรม/ใบงานที่ ๕ เร่อื ง การเสยี สละเพ่อื สงั คม ผลการเรียนรูŒ ๒. แสดงออกและแนะนำผอู น่ื ใหม คี วามเออ้ื เฟอ เผอื่ แผ และเสยี สละตอ สงั คม ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปน ผูมีวนิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง หาภาพขา วทแี่ สดงถงึ ความเสยี สละตอ สงั คมแลว เขยี นบรรยายเนอื้ หาในขา ว พรอ มทง้ั บอกวาบคุ คลท่ีอยใู นขาวมีความเสียสละตอ สงั คมอยา งไร ขา‹ ว ส่งิ ที่แสดงใหเŒ ห็นถงึ ความเสียสละตอ‹ สงั คม ช่ือ นามสกลุ เลขที่ ชั้น โรงเรยี น

284 คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา ทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานท่ี ๖ เร่อื ง เราเปนคนดมี วี นิ ัยในตนเอง ผลการเรียนรŒู ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผมู ีวนิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง ตอบคำถาม ๑. หากคนในสงั คมขาดคุณธรรมเรือ่ งความซือ่ สตั ยสุจริต จะเกิดอะไรข้นึ แนวคำตอบ สงั คมก็จะวุนวาย ไมส งบ คนจะเอารดั เอาเปรียบกนั และเห็นแกต ัวมากขน้ึ จนกอ ใหเ กดิ ปญ หาอืน่ ๆ ตามมามากมาย ๒. ความซ่ือสัตยสุจริตมีแนวทางการปฏิบตั อิ ยา งไร แนวคำตอบ ๑) ทำงานทกุ อยา งดว ยความตั้งใจ มุง ม่ันเพื่อใหงานทท่ี ำนั้นสำเรจ็ ๒) เม่อื ไดร บั มอบหมายหนาทีใ่ ด ๆ กจ็ ะตองปฏิบตั หิ นาทีน่ ั้นอยางจริงจงั และทำใหด ีท่ีสุด ๓) พูดแตความจรงิ ไมโ กหกหลอกลวง ๔) มีความจริงใจตอ คนอ่นื ๆ ทเี่ ก่ยี วของ ๕) มงุ ทำแตค วามดี

คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เตมิ หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 285 ๓. ความขยันหมั่นเพียรสามารถกระทำไดอยา งไร แนวคำตอบ เมอื่ มหี นา ทห่ี รอื งานทร่ี บั ผดิ ชอบ จะตอ งรบี ลงมอื ทำทนั ที ไมค วรรอหรอื ปลอ ยเวลาใหผ า นไป โดยเปลา ประโยชน เราจะตอ งทำงานดว ยความทมุ เททงั้ กำลงั กาย กำลงั ใจ และกำลงั ความคดิ อยา ง เตม็ ท่ี จะตองทำงานทุกอยางอยา งเต็มความสามารถของตน เพ่ือใหไ ดผลงานหรอื งานท่ีทำออกมา ดที ส่ี ดุ หากเกดิ ปญ หาหรืออุปสรรคขนึ้ ในการทำงาน ตองไมทอ แทหมดกำลังใจ แตต องพยายาม หาทางแกไ ขปญ หาหรืออุปสรรคทีเ่ กิดข้ึน หากไมส ามารถแกไดด ว ยตนเอง ควรปรึกษาผูใหญห รอื ผูทม่ี ีความรหู รือประสบการณ เชน พอ แม ครู ๔. ถา เราเปน ผทู ม่ี คี วามอดทนจะสง ผลดีแกเราอยางไร แนวคำตอบ ทำใหเราประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต มีกำลังใจที่จะทำใหเราทำงานไดมากขึ้น เรยี นสนุกข้นึ ไมเหน่ือยหนา ยหรือทอถอย ไมทำงานหรอื เรยี นอยา งไรจุดหมาย ช่ือ นามสกุล เลขที่ ชน้ั โรงเรยี น

286 คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเติม หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานที่ ๗ เรอื่ ง ความมวี ินัยในตนเอง ผลการเรยี นรูŒ ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผูมีวินยั ในตนเอง คำชแี้ จง เขยี นความมีวนิ ัยท่สี ามารถกระทำไดใ นฐานะทีเ่ ปนนักเรยี นและเปน คนไทย หนาŒ ทใ่ี น ฐานะทเี่ ปน นักเรียน หนŒาทีใ่ น ฐานะทเ่ี ปน คนไทย ชอ่ื นามสกลุ เลขท่ี ชน้ั โรงเรยี น

คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนา ท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 287 กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๘ เรอื่ ง ขนบธรรมเนียมประเพณีและศลิ ปวฒั นธรรมไทย ผลการเรียนรŒู ๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญ ญาไทย ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผูมวี ินัยในตนเอง คำชแ้ี จง ติดภาพและเขียนชื่อขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรมท่ีนักเรียนเคยมี สวนรว ม พรอ มบรรยายส้ัน ๆ ตวั อยางคำตอบ ขนบธรรมเนยี มประเพณี งานบวช โดยไปรวมงานอุปสมบทของพี่ชายท่ีวัด ใกลบา น ศลิ ปวฒั นธรรม ลิเก โดยเปนการแสดงพ้ืนบานที่เคยไปดูกับพอ แม และนองทวี่ ัดตอนมงี านประจำป และในชวงเทศกาล วนั ลอยกระทง ช่ือ นามสกุล เลขที่ ชนั้ โรงเรยี น

288 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ กจิ กรรม/ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง ภูมิป˜ญญาไทยทฉ่ี ันรŒจู ัก ผลการเรยี นรŒู ๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปญญาไทย ๑๐. ปฏบิ ตั ติ นเปน ผมู วี ินัยในตนเอง คำชี้แจง หาภาพถายภูมิปญญาไทยทนี่ ักเรยี นรูจ ักแลว เขียนอธบิ ายในประเดน็ ทีก่ ำหนดให ชอ่ื ภมู ปิ ˜ญญา รายละเอยี ดของภูมปิ ญ˜ ญาทีเ่ ลอื ก คณุ ค‹าและวิธกี ารอนรุ กั ษภูมปิ ˜ญญาน้ี ช่อื นามสกุล เลขที่ ช้ัน โรงเรียน

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 289 กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๐ เรื่อง ทบทวนความรูŒ ผลการเรยี นรูŒ ๑. มสี วนรวมและแนะนำผอู ่นื ใหอนุรักษมารยาทไทย ๒. แสดงออกและแนะนำผอู น่ื ใหม คี วามเออ้ื เฟอ เผอื่ แผ และเสยี สละตอ สงั คม ๓. เหน็ คณุ คา อนรุ กั ษ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ิปญ ญาไทย ๑๐. ปฏิบตั ิตนเปนผมู ีวนิ ัยในตนเอง คำช้ีแจง เขยี นเรยี งความเรอื่ ง “สง่ิ ทฉี่ นั ไดรับจากการเรยี นเรอื่ ง ความเปนไทย” ลงในกรอบที่ กำหนดใหแลวครูคดั เลอื กผลงานเพือ่ จัดปา ยนิเทศ ชอื่ นามสกุล เลขท่ี ช้นั โรงเรยี น

290 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ แบบทดสอบหลงั เรยี น หนวยการเรยี นรูท่ี ๑ คำชีแ้ จง เลือกคำตอบท่ถี กู ตอŒ งที่สุดเพียงคำตอบเดยี ว ๑. ขŒอใดเรียงลำดับการแสดงความเคารพ ๔. การกระทำในขŒอใดแสดงออกถึงการมี ในทปี่ ระชุมถกู ตอŒ ง สัมมาคารวะ ก เคารพประธาน > เคารพพระพทุ ธรูป ก เดินตัวตรงผานผใู หญ > เคารพพระบรมฉายาลกั ษณ ข กลา วคำวา ขอโทษเมอื่ ตอ งเดนิ ตดั แถว ข เคารพประธาน > เคารพพระบรม- ค เมอื่ เพอื่ นแสดงความคดิ เหน็ ไมต รงกบั ฉายาลักษณ > เคารพพระพุทธรูป เรา ตองรีบแยง ทนั ที ค เคารพพระบรมฉายาลกั ษณ > เคารพ ง พูดแสดงความคิดเห็นของตนเอง ประธาน > เคารพพระพทุ ธรปู ระหวางท่ผี ใู หญสนทนากนั ง เคารพพระพทุ ธรปู > เคารพพระบรม- ฉายาลกั ษณ > เคารพประธาน ๕. ขอŒ ใดเปนการเสียสละเพือ่ สังคม ก ชวยคุณลุงทาสีบาน ๒. ขŒอใดไมใช กิริยาในการสนทนาอย‹างมี ข แบงขนมใหน องสาว มารยาท ค ทำขนมมาใหเพอ่ื น ๆ ก ยนื พิงผนัง ง บรจิ าคเส้ือผาทไ่ี มไดใชแ ลว ใหมูลนธิ ิ ข ย้มิ แยมแจม ใส ค พดู ไพเราะกับทุกคน ๖. ขอŒ ใดไมใช ความซ่ือสตั ยส จุ ริต ง รบั ฟงคนท่ีสนทนาดวย ก ความจรงิ ใจ ข ความถูกตอง ๓. ขŒอใดเปนการแต‹งกายท่ีเหมาะสมกับ ค การรกั ษาคำพูด สถานการณ ง การกลบเกลือ่ นความผดิ ก สวมเส้ือสดี ำไปงานวนั เกดิ คุณลุง ข นุงกางเกงขาส้นั ไปโรงเรียนวนั หยดุ ๗. ใครปฏิบัติตนดŒานความมีวินัยในตนเอง ค สวมเสอ้ื เชต้ิ และชุดสทู เขา รว มประชุม ไดเŒ หมาะสมทส่ี ุด ง สวมเส้ือยืดกางเกงขายาวเมื่อมาสอน ก หลนิ ปวดทองแตอดทนไว นกั เรยี นทโ่ี รงเรยี น ข บอสสารภาพกับครูวาทำแจกันของครู แตก ค ดาวหาคำตอบของการบานจาก อินเทอรเนต็ ง เนมรบี ทำการบานเพือ่ ทจ่ี ะใหเพอื่ น ๆ ลอกในตอนเชา

คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 291 ๘. “เครอ่ื งถมทอง” เปน ศลิ ปะไทยทางดาŒ นใด ๙. ขŒอใดเปนขนบประเพณี ก ดานดนตรี ก การไหว ข ดา นจิตรกรรม ข กฎหมาย ค ดา นประณตี ศิลป ค การทกั ทาย ง ดานประติมากรรม ง การนบั ถอื บรรพบรุ ุษ ๑๐. ขอŒ ใดไมใช ภมู ิปญ˜ ญาไทย ก การดืม่ นำ้ ชา ข การตำนำ้ พรกิ ค สมุนไพรรกั ษาโรค ง การปนเคร่ืองปนดนิ เผา

๒หน�วยการเรย� นรŒูท่ี รกั ชาติ ยึดมน�ั ในศาสนา และเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั รย�  • แบบทดสอบกอ นเรยี น • กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑๑ เร่อื ง เหรยี ญกษาปณ • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๒ เร่อื ง พพิ ธิ ภณั ฑหรรษา • กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๓ เรอ่ื ง ศาสนสถาน • กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑๔ เร่อื ง เพลงสรรเสรญิ พระบารมี • กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑๕ เรือ่ ง เพลงพระราชนพิ นธ • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๖ เรื่อง ทบทวนความรู • แบบทดสอบหลงั เรยี น

คูมอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 293 แบบทดสอบกอนเรียน หนวยการเรยี นรูท ี่ ๒ คำชแี้ จง เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอŒ งทสี่ ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. ขŒอใดไมใช ลักษณะสำคัญของสังคมไทย ๔. ขŒอใดเปน หนาŒ ที่ของพลเมืองดขี องชาติ ในป˜จจบุ ัน ก เสยี ภาษเี กินอตั ราทกี่ ำหนด ก มศี าสนาเปน เครอ่ื งยึดเหน่ียวจิตใจ ข ไมเขา เรยี นวิชาภาษาตา งประเทศ ข คนในสังคมเทิดทนู สถาบัน ค ใชสนิ คาที่ผลติ ข้ึนในประเทศไทย พระมหากษัตริย ง ขอใชส ทิ ธิเลือกตัง้ กอนอายุ ๑๘ ป ค เปน สงั คมท่มี ีความเกือ้ กลู ถอ ยที บริบูรณ ถอยอาศัยกนั ง ยังคงมีการแบงชั้นตามระบบศักดินา ๕. สถาบนั ศาสนามคี วามสำคัญอยา‹ งไร เหมือนในสมัยอยธุ ยา ก เปน ที่พงึ่ ยึดเหน่ยี วทางจิตใจ ข เปน แหลง ผลติ ประชากรที่มคี ณุ ภาพ ๒. “บรรพบุรษุ ของไทยแต‹โบราณ ค เปน ศูนยร วมคตคิ วามเชอื่ ของคน ปกบŒานปอ‡ งเมืองคุŒมเหยาŒ ในทองถนิ่ เสยี เลือดเสียเนื้อมใิ ชเ‹ บา ง เปน สถาบันหลอหลอมความรสู กึ หนŒาที่เรารักษาสบื ไป” นกึ คดิ ของคนในชาติ ขอŒ ความน้ีแสดงถึงส่งิ ใด ก ความเกง กาจของบรรพบรุ ุษ ๖. สถาบนั ใดทำหนาŒ ทแ่ี ทนทกุ สถาบนั ในสงั คม ข ความแตกแยกของสงั คมไทย ก สถาบันชาติ ค ความเสยี สละของคนในสมัยกอ น ข สถาบนั ศาสนา ง ความไมสงบสุขของชาติบานเมอื ง ค สถาบนั เศรษฐกิจ ง สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ๓. ใครไมไดปฏิบัติตนท่ีแสดงออกถึงความ รักชาติ ๗. ขŒอใดเปนวิธีการแสดงออกถึงการยึดมั่น ก พมิ ลรอ งเพลงชาติไทยไดคลอ งแคลว ในศาสนาท่เี หมาะสมทีส่ ุด ข กนกหาซื้อของโบราณหายากมาเก็บไว ก เขา รว มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถอื ทบี่ าน ข เลือกคบเฉพาะผูที่นับถือศาสนาเดียว ค สมพลชอบอานหนังสือประวัติศาสตร กบั ตน ชาตไิ ทย ค ศึกษาหลักคําสอนของทุกศาสนาจน ง นภาเขา เย่ียมชมโบราณสถานทุกครั้ง แตกฉาน ทม่ี ีโอกาส ง นำหลักคำสอนของศาสนาท่ีตนนับถือ มาปฏบิ ัติในชวี ติ ประจำวนั

294 คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ๘. ขŒอใดไมใ ช สญั ลักษณท ี่เกย่ี วกบั ๙. คำกล‹าวในขŒอใดมีความสอดคลŒองกับ พระมหากษัตรยิ  สถาบนั พระมหากษัตรยิ  ก ธงมหาราช ก ศนู ยร วมจติ ใจของคนไทยทัง้ ชาติ ข ธงชาติไทย ข เคร่อื งหลอหลอมใหค นไทยมี ค พระบรมฉายาลักษณ อตั ลักษณเ ปนหน่งึ เดยี ว ง เพลงสรรเสริญพระบารมี ค มีอำนาจควบคุมใหบ ุคคลปฏบิ ัติ ตามกฎเกณฑของสังคม ง ชว ยเสริมสรางความม่นั คงและ ความสามคั คีของคนในชาติ ๑๐. ผทูŒ น่ี ำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน แนวทางในการดำเนินชีวติ จะมีลกั ษณะอยา‹ งไร ก มีความเปน อยูทีด่ ีและมีฐานะรำ่ รวย ข ประกอบอาชพี ทางดา นเกษตรกรรม ค ใชจ า ยเงนิ อยางประหยัดและเหมาะสม ง ดำเนินชีวติ อยูไ ดโดยไมตอ งพึง่ พาผูอ่ืน

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 295 กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๑ เรื่อง เหรียญกษาปณ ผลการเรยี นรŒู ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอื่นใหมีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย ๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปน ผูมีวนิ ัยในตนเอง คำช้ีแจง สำรวจรายละเอียดตา ง ๆ ในเหรยี ญ แลว เขยี นสงิ่ ท่ีเหน็ ลงในกรอบท่ีกำหนด เหรียญกษาปณชนิดราคา ๑ บาท ดานหนา กลางเหรียญมีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงผนิ พระพักตรท างเบอื้ งขวา ทรงฉลองพระองคเครอื่ งแบบเต็มยศจอมทพั ฉลองพระองคครุยมหาจักรี บรมราชวงศทรงเคร่ืองขัตติยราชอิสริยาภรณอันมีเกียรติคุณรุงเรืองย่ิงมหาจักรีบรมราชวงศและ สายสรอยจุลจอมเกลา ภายในวงขอบเหรียญดานขวามีขอความวา “ภูมิพลอดุลยเดช” ดานซาย มีขอ ความวา “รชั กาลที่ ๙” ดา นหลงั ดานขวาของเหรียญมรี ปู พระศรรี ัตนเจดยี วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ในพระบรมมหา- ราชวงั กรงุ เทพมหานคร ดา นซา ยของเหรยี ญมขี อ ความวา “ประเทศไทย” ใตข อ ความวา “ประเทศไทย” มี พ.ศ. และเลขของป พ.ศ. ที่จดั ทำเหรยี ญ ใตป  พ.ศ. มขี อ ความบอกราคาวา “๑ 1 บาท” ช่ือ นามสกลุ เลขท่ี ชนั้ โรงเรยี น

296 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑๒ เรื่อง พพิ ิธภัณฑหรรษา ผลการเรียนรŒู ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอื่นใหมีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย ๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผมู วี นิ ยั ในตนเอง คำชี้แจง แบงกลุม กลุมละ ๔–๖ คน อานนิทานเร่ือง พิพิธภัณฑหรรษา และรวมกันอภิปราย ในประเด็นท่ีกำหนดให พพิ ธิ ภณั ฑห รรษา “พอ ครบั วนั นว้ี นั หยดุ เสาร– อาทติ ย พอ จะพาโจไปเทยี่ วไหนครบั ” ลกู ชายวยั ๑๐ ขวบรบเรา พอของเขา “แลววันนโ้ี จอยากไปเที่ยวไหนละ” พอถาม “โจอยากไปสวนสัตวครบั ” ลูกบอกกับพอ “พอวาสวนสัตวมันนาเบื่อแลวนะ เอาเปนวาวันน้ีพอจะพาลูกไปชมพิพิธภัณฑดีกวา” พอ กลาว “ก็ดเี หมือนกนั ครบั แตท่นี ่ันมนั เปน ยงั ไงครับ” ลูกถามดว ยความสงสยั “ท่ีนั่นมีคนในสมัยกอนมากมายเลย แตลูกรูไหมคนท่ีอยูท่ีน้ันนะเปนบุคคลสำคัญใน ประวตั ศิ าสตร เปนรูปปน ดวยฝม อื คนไทยนะ” พอบอกโจ “ผมชักอยากจะไปแลวซคิ รับ เราไปกนั สองหนุมหลอนะครบั เพราะแมจ ะไปเยย่ี มเพือ่ น” ลกู ชายพูดกบั พอดว ยสหี นาท่รี าเรงิ ประมาณบายส่ีโมงเย็นเม่ือสองพอลูกยางกรายเขาสูพิพิธภัณฑก็รูสึกวาบรรยากาศดูวังเวง ผคู นทีเ่ ขาชมดบู างตา แมแตเ จา หนาท่ีก็ยงั ไมออกมาตอ นรับ ซึ่งผดิ กบั พพิ ธิ ภัณฑอ่นื ท่ัวไป สรา ง ความงงงวยใหก บั สองพอ ลกู เปน อยา งมาก แตก ็เดนิ ดูไปเรอ่ื ย ๆ “พอ ครบั นนั่ คนใสโจงกระเบน” ลูกถามดว ยความสงสัย “นั่นคนสมัยสโุ ขทยั ไงลูกเขาแตงกายกนั แบบน้ี” พอ บอกลกู ใหค ลายความสงสยั “พอครับ ผมขอเดนิ ไปดรู อบ ๆ พิพธิ ภณั ฑนะครับ” ลูกบอกพอ กอ นเดนิ จากไป แตผ เู ปน พอไมไดยินท่ีลูกบอก เมื่อไมเห็นลูกเขาก็มีความคิดวาลูกคงเดินลวงหนาไปดูส่ิงตาง ๆ ท่ีอยูใน พิพธิ ภณั ฑกอนเดยี๋ วก็เจอกนั โจเดินชา ๆ มองหนุ แตละตวั ในพพิ ิธภัณฑ “เจาเปนใคร เขามาท่นี ่ีไดอยา งไร” เสยี งดังกอ งข้นึ โจหนั ไปมองก็ไมเ หน็ มีใคร มแี ตนกั รบ สมัยสุโขทัย ทำใหเขาคิดวา เขาคงหแู วว ไปเอง

คูมือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 297 ทนั ใดนน้ั เองโจกม็ องเหน็ ตลาดทมี่ ผี คู นวนุ วาย เดนิ จบั จา ยซอื้ ของ ทำใหเ ขาคดิ และรำพงึ วา “ที่นีม่ นั ทไ่ี หนกันแน พูดกับใครไมเ หน็ มใี ครพูดกบั เราสักคน เราหลงมาอยูทีไ่ หนน่ี อยาก เจอพอ อยากกลับบา น” เมอ่ื โจเดินไปอีกหองหนง่ึ กเ็ ห็นทหารไทยกำลังตอ สกู ับทหารพมา เหมือนในสงครามไมม ีผดิ เพ้ยี น “วาว นเ่ี ราฝนหรือเร่ืองจรงิ น่ี พอ...พอคราบ” โจเรยี กหาพอ “พอไปไหนนะ เหนื่อยแลวนะ หรือวาที่ไมมีคนมาเท่ียวท่ีน่ี เพราะมีผีอยูที่นี่ ผีแนแน” โจคิดเองในใจ “เจา เดก็ นอยเจา ไมต อ งคิดในใจอยางนนั้ หรอก เราทหารนักรบ” ทหารไทยโบราณคนหนึง่ กลาว “โจหยกิ ตวั เอง เพราะคดิ วา มนั คงเปน แคค วามฝน มนั ไมใ ชเ รอ่ื งจรงิ แน ๆ คนในพพิ ธิ ภณั ฑ แหง นีจ้ ะมชี ีวติ ไดอ ยางไร “โจเจาเด็กนอย เจาไมไดฝนไปหรอก หุนรูปปนในพิพิธภัณฑแหงน้ีมันจะมีชีวิตในตอน กลางคืน เราเปน ทหารสมยั สโุ ขทยั และเปนผคู วบคุมอยทู ีน่ ี่” ทหารกลา กลา ว “พวกทา นไมใชผ ีแนนะ ทำไมพวกทา นเปน หุน แลวถงึ มีชวี ิตไดค รบั ” โจเกิดความสงสัย “ในเมอ่ื เจา อยากรู ขา ก็จะเลา ใหเ จาฟง ทน่ี แ่ี ตก อ นพวกเราก็เปนหุนธรรมดาไมม ชี ีวิตหรอก แตม คี นแอบเอาหนงั สอื เวทมนตม าอา นปลกุ เสก ทำใหพ วกเรากลบั มามชี วี ติ ในตอนกลางคนื อกี ครงั้ เจาเดก็ นอ ยในเม่อื เจา รูอ ยา งนแ้ี ลว เจา ตอ งชว ยพวกขานะ” ทหารกลาเลา ใหโ จฟง “ทา นจะใหผ มทำอยางไรครบั ” โจถาม นายทหารไดห ยบิ หนงั สอื ทจ่ี ะถอนเวทมนตท ตี่ นมีอยมู าอธิบายข้นั ตอนใหแ กเด็กนอ ยฟง “การท่ีเราจะถอนเวทมนตมันมีกฎอยูวา ตองอานคำแกคำสาปตอนพระอาทิตยกำลังจะ ตกดิน แลว พวกเราจะกลายเปนหนุ เหมอื นเดมิ ” นายทหารอธบิ ายขน้ั ตอนใหโ จเด็กนอ ยฟง “ทำไมทานไมอา นเองละ ” โจถามดวยความสงสยั “ไมไ ด มันมขี อแมอ ยวู า ตอ งเปน เด็กอายุ ๑๐ ขวบ และทพ่ี วกขา อยากเปนหุนเหมือนเดมิ กเ็ พราะพวกขาจะมชี วี ิตเฉพาะในตอนกลางคืนจะทำอะไรกไ็ มได ทสี่ ำคญั ขาออกจากทพ่ี ิพิธภัณฑ แหงนไ้ี มได ถาออกขา จะกลายเปนเถา ธุลีดนิ ไปเลย” ทหารกลา บอก “กไ็ ด ผมจะทำตามทท่ี า นบอก แตผ มอยากถามวา ในอดตี ความเปน อยขู องทา นเปน อยา งไร บา ง สะดวกสบายเหมอื นในปจ จบุ นั หรอื เปลา และในสงั คมของทา นวนุ วายเหมอื นกบั ผมหรอื เปลา ” โจถามดว ยความสงสยั “สมัยขานะในน้ำมีปลาในนามีขาว ผูคนพึ่งพาอาศัยชวยเหลือกันและกนั มคี วามสามคั คกี นั เจา รไู หมเวลาทเี่ ราไดร บั ความเดอื ดรอ น เรากส็ ามารถไปสน่ั กระดง่ิ รอ งทกุ ขไ ด เรามขี นบธรรมเนยี ม ประเพณที ดี่ งี าม ทำใหส งั คมของขา อยกู นั อยา งรม เยน็ เปน สขุ ทสี่ ำคญั คนไทยรกั ประเพณวี ฒั นธรรม และหวงแหนความเปนชาติเปนที่สดุ แคน้ีเจา เขาใจแลว หรือยงั ” ทหารกลาอธิบาย

298 คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนาทพี่ ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ “แตทำไมสมัยผมคนถึงไมคอยจะสามัคคีปรองดองกันเทาไร สังคมก็วุนวายทำใหผมเบ่ือ ชีวิตนีเ้ ปน อยางมาก อยากไปอยูอยางทานจัง” โจบอกดวยความเบอื่ หนาย “เจา จะไปอยไู ดอยางไรสิง่ ท่ีผานไปแลวมนั ก็เปน อดีต สงิ่ ทเ่ี จา จะทำไดใหดีข้ึนก็คอื เริ่มจาก ตัวเจา เจา ตอ งดำเนินชีวติ ดวยความซอ่ื สตั ยสจุ ริต และเปนคนมคี ุณธรรม ตอ งรักและหวงแหน ความเปน ชาติ เพ่อื ใหเ กิดความสงบสุขเหมอื นในอดีตไง” ทหารสอน กอนที่พระอาทิตยจะตกดิน โจก็ไดอานแกเวทมนต ทันใดนั้นเองก็มีลำแสงออกมา จากพพิ ธิ ภัณฑ เมอ่ื อานจบลำแสงนน้ั กห็ ายไปแลว ทกุ อยา งกลับคืนสสู ภาพเดิม หลังจากทอ่ี าน แกเวทมนตเสร็จ โจก็นึกขอบคุณทหารในยุคสมัยสุโขทัยท่ีทำใหเขานึกรักประเทศไทยและรูสึก ภาคภูมิใจทเี่ กดิ เปน คนไทย ซึ่งมีพระมหากษตั ริยเปน ศนู ยกลางยดึ เหนี่ยวจติ ใจคนทั้งชาติ “ผมสญั ญาวา ผมจะทำตามเพอื่ ใหเ มอื งไทยเปน เมอื งทน่ี า อยเู หมอื นในอดตี ตลอดไป” โจให คำสญั ญา หลังจากที่โจอานเสร็จ โจก็นึกขึ้นไดวาตองพิสูจนใหเห็นวาถอนเวทมนตไดผลหรือเปลา โจเดนิ ยอนกลับเขาไปในหองท่เี ดินผานมาแลวปรากฏวาไมม หี นุ ตัวใดเคลื่อนไหวเลย โจไดแตยม้ิ ดว ยความรสู กึ โลง ใจและไดพบกบั พอ ซง่ึ ยืนรออยู หลังจากนัน้ พิพิธภณั ฑแหงน้ีกไ็ มวงั เวงตอไป เพราะมีผูเขา ชมมากขึ้น เม่ือถงึ วันหยดุ ไมได ไปโรงเรียนโจก็จะแวะเวยี นมาทน่ี ่เี สมอ ที่มา: ดร.พนม พงษไพบลู ย และคณะ. นิทานวิถปี ระชาธิปไตย ดอต คอม เลม ๑

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 299 ๑. พิพิธภณั ฑมีความสำคัญอยา งไร แนวคำตอบ เปนสถานท่ีจัดแสดงบอกเลาเร่ืองราวเกี่ยวกับความเปนมาของชาติ วิถีชีวิตความเปนอยู และ ขนบธรรมเนยี มประเพณีของคนในสมยั กอ น ๒. นักเรียนไดความรอู ะไรบา งเกีย่ วกับความเปนมาของชาตไิ ทย แนวคำตอบ ๑) คนในสมยั สโุ ขทัยนุงโจงกระเบน ๒) ในสมยั สุโขทยั มีการสูรบระหวางทหารไทยกับทหารพมา ๓) สมัยสโุ ขทัยมคี วามอุดมสมบูรณ ในนำ้ มปี ลาในนามีขาว ๔) ผคู นในสมัยสุโขทัยมกี ารพงึ่ พาอาศยั ชว ยเหลอื กนั และกนั และมคี วามสามัคคี ๕) ในสมยั สุโขทัยถา ใครไดรบั ความเดือดรอนใหไ ปสั่นกระด่ิงรอ งทุกขไ ด ๖) สมยั สโุ ขทยั มขี นบธรรมเนียมประเพณที ่ดี งี าม และคนไทยในสมัยนรี้ ักประเพณวี ฒั นธรรม และหวงแหนความเปนชาตเิ ปน ทีส่ ดุ ๓. นักเรยี นคิดวาความรทู ่ไี ดสามารถนำไปใชประยุกตใ ชในชีวติ ประจำวนั ไดหรือไม อยา งไร แนวคำตอบ ได โดยการดำเนนิ ชีวิตดวยความซือ่ สัตยส จุ รติ เปนคนมคี ณุ ธรรม รกั และหวงแหนความเปน ชาติ มสี ว นรว มในการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี และมีความรกั และสามคั คกี นั ระหวางหมูค ณะ

300 คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ๔. รวบรวมรายช่ือพพิ ธิ ภัณฑสถานแหง ชาตใิ นภูมิภาคที่นักเรียนอาศัยอยูลงในตาราง รายชอ่ื พพิ ธิ ภณั ฑ จังหวัดทีต่ ัง้ แนวคำตอบ ภาคกลาง พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ พระนคร กรงุ เทพมหานคร พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ กาญจนาภเิ ษก ปทมุ ธานี พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ เรอื พระราชพธิ ี พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ ชา งตน กรงุ เทพมหานคร พพิ ิธภณั ฑสถานแหง ชาติ วัดเบญจมบพติ ร กรุงเทพมหานคร พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ หอศลิ ป กรงุ เทพมหานคร พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ ศิลป พรี ะศรี อนสุ รณ กรุงเทพมหานคร พพิ ิธภัณฑสถานแหง ชาติ เจา สามพระยา กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ จันทรเกษม พระนครศรอี ยุธยา พิพธิ ภณั ฑสถานแหง ชาติ สมเด็จพระนารายณ พระนครศรีอยุธยา พิพธิ ภณั ฑสถานแหง ชาติ อนิ ทรบ รุ ี พิพธิ ภณั ฑสถานแหง ชาติ ชัยนาทมุนี ลพบรุ ี พิพิธภัณฑสถานแหง ชาติ อูท อง สงิ หบุรี พิพิธภณั ฑสถานแหงชาติ สพุ รรณบรุ ี ชัยนาท พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ พระปฐมเจดีย สุพรรณบุรี พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ พระนครคีรี สพุ รรณบุรี พิพิธภณั ฑสถานแหงชาติ บานเกา นครปฐม พพิ ิธภัณฑสถานแหงชาติ ราชบรุ ี เพชรบรุ ี พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาติ ชาวนาไทย กาญจนบรุ ี พิพิธภณั ฑสถานแหงชาติ ปราจีนบรุ ี ราชบุรี พิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ พาณชิ ยน าวี สพุ รรณบรุ ี ปราจนี บรุ ี จันทบรุ ี กล‹มุ ที่ สมาชิก ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 301 กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๓ เรอ่ื ง ศาสนสถาน ผลการเรยี นรŒู ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอ่ืนใหมีความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และ เทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั ริย ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูมวี ินยั ในตนเอง คำช้ีแจง แบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน รว มกนั อภปิ รายถงึ สงิ่ ตา ง ๆ ทพ่ี บเหน็ ในศาสนสถานทไี่ ป ศกึ ษา แลว บันทกึ ผล ตวั อยางคำตอบ ชื่อศาสนสถาน วัดสทุ ศั นเทพวราราม ราชวรมหาวิหาร สิ่งตา ง ๆ ทีพ่ บเห็น พระบรมราชานสุ าวรยี  รชั กาลที่ ๘ พระอโุ บสถ พระวหิ าร พระวหิ ารคต ตำหนกั สมเดจ็ พระสงั ฆราช ศาลาวหิ ารสท่ี ศิ ศาลาลอย หอระฆงั พระพทุ ธรปู ขนาดใหญป างมารวชิ ยั ตน โพธ์ิ รปู ปน ทหารตา งชาติ เสาชงิ ชา การปฏิบัตติ นที่แสดงออกถงึ การยดึ มน่ั ในศาสนา เรยี นรคู วามสำคญั และหลกั คำสอนของศาสนา ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาท่ีตนนับถือและเปนตัวอยางที่ดีของศาสนิกชน เขารวมกิจกรรม ทางศาสนาที่ตนนับถอื ใหค วามเคารพศาสนสถานและศาสนวตั ถุ กลุม‹ ท่ี สมาชิก ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

302 คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๔ เรอ่ื ง เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ผลการเรยี นรŒู ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอ่ืนใหมีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย ๑๐. ปฏบิ ัตติ นเปนผูม ีวินัยในตนเอง คำชแี้ จง ศึกษาขอ มลู เรือ่ ง เพลงสรรเสริญพระบารมี แลว ตอบคำถาม เพลงสรรเสริญพระบารมี เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๑ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรด- เกลาฯ ใหมีการแตงเพลงสรรเสริญพระบารมีข้ึน โดยในคร้ังแรกเพ่ือใชในพระราชพิธีลงสรง ของพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร และไดใชเปนเพลง ชาติ ระหวา ง พ.ศ. ๒๔๓๑–๒๔๗๕ ดว ย โดยมผี แู ตง เพลงสรรเสรญิ พระบารมีถวายหลาย เพลง ทง้ั นพ้ี ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๕ ไดโ ปรดเพลงทส่ี มเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ เจา ฟา กรมพระยานรศิ รานวุ ัดติวงศ ทรงนิพนธค ำรอง และนายปโยตร ชูรอฟ- สก้ี (Pyotr Schurovsky) นักดนตรี นกั แตงเพลงชาวรัสเซยี ไดป ระพนั ธทำนองถวาย โดยมี เนื้อรอ งดังนี้ “ขา วรพทุ ธเจา เอามโนและศิระกราน นบพระภมู ิบาล บุญดเิ รก เอกบรมจกั ริน พระสยามนิ ทร พระยศยิ่งยง เย็นศริ ะเพราะพระบรบิ าล ผลพระคณุ ธ รักษา ปวงประชาเปน สุขศานต ขอบนั ดาล ธ ประสงคใ ด จงสฤษด์ิดัง หวังวรหฤทยั ดุจถวายชัย ฉะน้ี” ตอ มาในรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั รชั กาลท่ี ๖ ไดโปรดเกลา ฯ ให แกไขชว งทา ยของเพลงสรรเสริญพระบารมี จาก “ดจุ ถวายชยั ฉะน้ี” เปน “ดจุ ถวายชยั ชโย” และยังใชกันมาอยูจนถึงปจ จบุ ันนี้ ท่ีมา: พลเรอื โท ทวีวฒุ ิ พงพิพัฒน. นาวิกศาสตร.

คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาท่ีพลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 303 ๑. นกั เรยี นไดยินเพลงสรรเสรญิ พระบารมเี มอื่ ใดบาง แนวคำตอบ พระมหากษัตริยและพระราชวงศเสด็จออกท่ีสาธารณะ เชน การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในท่ีตาง ๆ อยางเปนทางการ วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จพระราชินีนาถ กอนการแสดงมหรสพตาง ๆ เชน โรงละคร โรงภาพยนตร ๒. เราควรปฏิบตั ติ นอยา งไรเมื่อไดย ินเพลงสรรเสริญพระบารมี แนวคำตอบ ยนื ตรงแสดงความเคารพเพอ่ื แสดงออกถงึ ความจงรกั ภักดีและเทิดทนู สถาบันพระมหากษตั รยิ  ๓. นกั เรียนคดิ วาเพลงสรรเสริญพระบารมคี วามสำคัญอยางไร แนวคำตอบ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี แปลตามตัววา เพลงยอพระเกียรตพิ ระมหากษตั รยิ  เพลงนีเ้ ปนเพลง ปลกุ ใจชนดิ หนึ่ง แตม กั ใชก ับพระมหากษตั รยิ แ ละพระราชวงศตา ง ๆ โดยเฉพาะ ซ่ึงเน้ือหาของเพลง เปน ไปในทางถวายพระพรแดส ถาบนั พระมหากษัตริย ๔. เพลงสรรเสรญิ พระบารมมี ีความหมายวา อยางไร แนวคำตอบ ความหมายโดยรวมคอื ขา พระพทุ ธเจา ทงั้ หลายขอกราบไหวพ ระองคผ มู บี ญุ ญาธกิ าร ซง่ึ พระองค ท่ีปกครองปวงชนใหเ ปน สุข ดวยใบบุญของพระองคป ระชาชนจึงสำนึกในพระมหากรณุ าธิคณุ จงึ ขอ บนั ดาลใหพระองคส มประสงคใ นทุกสิง่ เปนการถวายพระพรชัยแดพระองค ชอ่ื นามสกลุ เลขท่ี ชนั้ โรงเรยี น

304 คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๕ เร่อื ง เพลงพระราชนิพนธ ผลการเรยี นรูŒ ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอ่ืนใหมีความรักชาติ ยึดม่ันในศาสนา และ เทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปน ผมู ีวนิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง แบงกลุม กลุมละ ๔–๖ คน ชวยกันเลือกเพลงพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ พระเจาอยหู วั ที่ชื่นชอบกลมุ ละ ๑ เพลง แลว บนั ทกึ ผลในประเดน็ ท่กี ำหนดให ๑. เขยี นบอกชอ่ื เพลงและคำรองเพลงพระราชนิพนธท ่ีรว มกนั เลือก แนวคำตอบ พรปใหม สวสั ดวี นั ปใ หมพ า ใหบ รรดาเราทานรน่ื รมย ฤกษยามดเี ปรมปรีด์ชิ ่ืนชม ตา งสขุ สมนิยมยินดี ขา วงิ วอนขอพรจากฟา ใหบรรดาปวงทา นสุขศรี โปรดประทานพรโดยปราณี ใหช าวไทยลว นมโี ชคชัย ใหบ รรดาปวงทา นสขุ สนั ต ทุกวนั ทุกคืนชื่นชมใหส มฤทัย ใหรุงเรืองในวันปใ หม ผองชาวไทยจงสวัสดี ตลอดปจ งมีสุขใจ ตลอดไปนับแตบ ดั น้ี ใหส ้ินทุกขสุขเกษมเปรมปรีดิ์ สวัสดีวนั ปใ หมเ ทอญ ๒. เหตผุ ลทเ่ี ลือกเพลงนี้ แนวคำตอบ เปนเพลงท่ีไดยินมาต้ังแตเด็กและไดยินเปนประจำทุกป จนสามารถรองไดโดยไมตองดูคำรอง และเปน เพลงทส่ี ะทอนความเอ้ืออาทรที่พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวพระราชทานแกป วงชนชาวไทย ๓. ชื่อเพลงพระราชนิพนธทเี่ พอ่ื นกลมุ อ่ืนคัดเลือกมามีอะไรบาง แนวคำตอบ ยามเยน็ ใกลร งุ ชะตาชวี ติ แสงเดอื น เราสู

คูม อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิม่ เติม หนา ท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 305 ๔. พระบรมราโชวาทดังกลา วน้มี ีความหมายวา อยางไร “...เลนดนตรเี พ่ือใหเปนศิลปะท่ดี เี ปนท่นี ิยมของประชาชน และเพ่อื ใหประชาชน ไดมคี วามบันเทิง ใหป ระชาชนไดรจู ักวาดนตรีคอื อะไร...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแกช าวคณะสุนทราภรณ เนื่องในวาระครบ ๓๐ ป วงดนตรสี ุนทราภรณ ณ พระตำหนกั จิตรลดารโหฐาน วันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๒ แนวคำตอบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวนอกจากจะทรงดนตรีเพื่อใหประชาชนมีความบันเทิงแลว ยังเปน การพระราชทานความรแู กประชาชนเพือ่ ใหรูจ กั ดนตรีอีกดว ย ๕. นอกจากพระปรีชาสามารถทางดานดนตรีแลว นักเรียนทราบหรือไมวา พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวทรงพระปรชี าสามารถทางดานใดอกี บาง แนวคำตอบ ดานศิลปะการถา ยภาพ เชน ภาพบุคคล ภาพโครงการพระราชดำริ ดานทัศนศิลป เชน ภาพพระสาทิสลักษณพระบรมวงศานุวงศ ทรงวาดภาพเหมือนบุคคล ในราชสำนัก ดานวรรณศิลป เชน พระราชนิพนธเร่อื ง พระมหาชนก ทองแดง กล‹ุมท่ี สมาชิก ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

306 คมู อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนาที่พลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๖ เร่อื ง ทบทวนความรŒู ผลการเรียนรŒู ๔. เปนแบบอยางและแนะนำผูอื่นใหมีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ  ๑๐. ปฏิบัตติ นเปนผมู วี ินัยในตนเอง คำช้ีแจง ตอบคำถาม ๑. บอกวธิ ีการปฏิบตั ติ นทแี่ สดงออกถึงความรักชาตใิ นรูปแบบของตนเอง แนวคำตอบ ๑) ต้ังใจเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตรเพื่อใหรคู วามเปนมาของชาตไิ ทย ๒) สอบถามความเปน มาของชาตไิ ทยจากพอ แม ปู ยา ตา ยาย ๓) หาโอกาสไปเยยี่ มชมพพิ ธิ ภัณฑ ๔) ฝก พดู อา น และเขียนภาษาไทยใหถ กู ตองตามหลกั ภาษา ๕) ยนื ตรงเมื่อไดยินเพลงชาตไิ ทยและฝกรอ งเพลงชาตไิ ทยใหช ดั เจน ๒. นักเรยี นคิดวาสิง่ ใดทบ่ี ง บอกความเปน ชาติไทยบาง แนวคำตอบ ธงชาตไิ ทย เพลงชาติไทย ประมุขของชาติ เงินตรา ภาษาพดู ภาษาเขยี น ตราไปรษณียากร หนงั สอื เดนิ ทาง รหัสโทรศัพท การแตง กาย อาหารการกิน ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม

คูม ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเติม หนาทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 307 ๓. นักเรยี นเปน ศาสนกิ ชนทดี่ ีหรอื ไม อยา งไร แนวคำตอบ เปน โดยการเรยี นรแู ละปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนา เชน รกั ษาศีล ๕ สวดมนตไ หวพระ สวดมนตกอนนอน เขา รวมกิจกรรมทางศาสนาในวนั สำคญั ตาง ๆ เชน วนั มาฆบูชา วันอาสาฬหบชู า วนั วสิ าขบชู า วันเขาพรรษา วนั ออกพรรษา ๔. หลงั จากเรยี นรพู ระราชกรณยี กจิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั แลว นกั เรยี นคดิ วา จะนอ มนำ มาเปนแบบอยา งในการดำเนินชวี ติ อยางไร แนวคำตอบ นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการดำเนินชีวิต โดยการใชจาย อยางประหยัด ตัดทอนรายจายที่ไมจำเปน ปลูกพืชผักสวนครัวไวบริโภคในครัวเรือน ใชเหตุผล ในการตัดสนิ ใจ มคี วามซอ่ื สัตยสุจรติ ขยันและอดทน ๕. นักเรียนและสมาชิกในครอบครัวมีสวนรวมแสดงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย อยางไรบา ง แนวคำตอบ ประดับธงชาติและธงตราสัญลักษณประจำพระองคในวันสำคัญตาง ๆ เชน วันเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระราชินีนาถ ประดับพระบรมฉายาลกั ษณ ยืนตรงเมอื่ ไดย ินเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ฝกรอ งเพลงพระราชนพิ นธ เขา ชมนทิ รรศการเกยี่ วกบั การเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตริย ชอ่ื นามสกุล เลขท่ี ชัน้ โรงเรยี น

308 คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ แบบทดสอบหลังเรียน หนวยการเรยี นรทู ่ี ๒ คำชแี้ จง เลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอŒ งทสี่ ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. ขŒอใดไมเ กยี่ วขอ งกบั สังคมไทย ๔. ขอŒ ใดเปน วธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นเปน พลเมอื งดี ก ประกอบดว ย ๓ สถาบนั หลัก ของชาตใิ นฐานะนกั เรียน ข มสี ถาบนั ศาสนาเปนทพ่ี งึ่ ทางจติ ใจ ก บริจาคทรพั ยส ินเงนิ ทองใหก บั ค มีสถาบันเศรษฐกิจเปนองคประกอบ หนว ยงานของรฐั สำคัญ ข ศกึ ษาประวตั คิ วามเปน มาของชาตไิ ทย ง คนในชาติตางเทิดทนู สถาบัน พอสังเขป พระมหากษัตริย ค ไมใชส ินคา ท่ีผลิตหรอื นำเขาจาก ตางประเทศโดยเดด็ ขาด ๒. ขŒอใดเปนการกระทำท่ีใหŒความสำคัญต‹อ ง เปน แกนนำจดั นทิ รรศการเพอ่ื บอกเลา สัญลกั ษณเก่ียวกับชาติ ความเปน มาของของชาติไทย ก นดิ าใชธนบัตรของไทยซือ้ ของทีต่ ลาด ข พรี ะสอนนอ งทำการบา นวชิ าภาษาไทย ๕. เพราะอะไรเราจงึ ตŒองปฏิบัตติ นตามหลกั ค วิทยาติดแสตมปท่ีซองจดหมายกอน ของศาสนาทต่ี นนับถอื นำสง ก เปนขอบงั คบั ทางสงั คม ง ดนัยรวมรองเพลงชาติหนาเสาธงกับ ข เปนขอบงั คบั ทม่ี ผี ลทางกฎหมาย เพ่ือน ๆ ค คำสอนของศาสนามุงหวงั ใหเรา ประพฤตดิ ี ๓. ขŒอใดไมควรเปนขŒอสรุปหลังจากศึกษา ง ปรารถนาใหต นเองสุขสบาย เนื้อรอŒ งเพลงศกึ บางระจนั ในภายภาคหนา ก ชาวบา นบางระจันมีความกลาหาญ ข ชาวบานบางระจันรักชาติมากกวาชีวิต ๖. ขอŒ ใดเปน แนวทางการปกปอ‡ งและ ของตน คมŒุ ครองศาสนาใหมŒ ัน่ คง ค ชาวบานบางระจนั มีความเชีย่ วชาญ ก เกบ็ สะสมวตั ถโุ บราณท่ีล้ำคาและ การศึกสงคราม หายาก ง ชาวบานบางระจนั ยอมเสียสละชีวติ ข วาดภาพเรื่องราวเกีย่ วกับศาสนา เพือ่ รักษาแผน ดนิ เกิด ทผ่ี นงั บาน ค ไปวดั ในวนั หยดุ แทนการไปพักผอ น ตา งจังหวัด ง สนใจศกึ ษาหลกั ธรรมและนำไปปฏบิ ตั ิ ใหถ กู ตอ ง

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 309 ๗. ใครไมไ ด ปฏิบตั ิตนทีแ่ สดงออกถึง ๙. เมอ่ื ไดยŒ นิ คำวา‹ “กษตั รยิ ผ มŒู คี วามเพยี ร” การยึดมั่นในศาสนา เราจะนกึ ถงึ อะไร ก มานะงดบรโิ ภคเนื้อสัตวใ นวนั พระ ก พระมโหสถ ข สมยั ชอบอา นนทิ านธรรมะเพราะสนกุ ดี ข พระมหาชนก ค ฤทัยไปทำบุญตักบาตรท่ีวัดในวันเกิด ค พระเวสสนั ดร ของตน ง พระสุวรรณสาม ง ทศยกมอื ไหวพ ระพทุ ธรปู ทปี่ ระดษิ ฐาน ในวดั ๑๐. ขŒอใดคือผลท่ีไดŒรับจากการดำเนินชีวิต ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๘. ขŒอใดเปนการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึง ก อยูไดโดยไมต อ งพึ่งพาคนอืน่ ความจงรักภักดีต‹อสถาบันพระมหา- ข มคี วามรใู นดา นการเกษตรเพิ่มขึ้น กษัตรยิ ที่เหมาะสม ค ใชจ า ยอยา งมเี หตผุ ลและมเี งนิ เกบ็ ออม ก รองเพลงพระราชนพิ นธไดท ุกเพลง ง รูเทาทันการเปลย่ี นแปลงทางดาน ข ติดตามชมขาวในพระราชสำนักทุกวัน เศรษฐกิจ ไมเคยขาด ค เก็บสะสมพระบรมฉายาลักษณของ พระมหากษัตรยิ ท กุ พระองค ง ศกึ ษาพระราชกรณยี กจิ แลว นอ มนำมา เปนแบบอยางในการดำเนนิ ชวี ติ

๓หนว� ยการเรย� นรูŒที่ เราเปนš พลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รย� ท รงเปนš ประมขุ • แบบทดสอบกอ นเรยี น • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๑๗ เร่ือง การมสี ติ • กิจกรรม/ใบงานที่ ๑๘ เรือ่ ง เปาหมายในชีวติ • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๙ เรอื่ ง ภมู สิ งั คม • กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๐ เรื่อง ขาดทนุ คอื กาํ ไร • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๑ เรื่อง ทบทวนความรู • แบบทดสอบหลงั เรียน

คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเติม หนาทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 311 แบบทดสอบกอ นเรยี น หนวยการเรยี นรูที่ ๓ คำชแ้ี จง เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอŒ งทส่ี ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. พระบรมราโชวาทหมายถึงอะไร ๕. การกระทำของใครถอื ว‹าเปน ความอดทน ก คำสง่ั ของพระมหากษตั รยิ  ก นภาสวดมนตกอ นเขา นอนทกุ วนั ข คำพดู ของพระมหากษัตรยิ  ข ธารารบั จางทำการบา นแทนเพ่อื น ค คำสอนของพระมหากษตั รยิ  ค แกว ไมโ กรธแมว า เพอ่ื นจะลอ วา ไมส วย ง คำกลาวตักเตือนของพระมหากษัตริย ง วรี ะตนื่ แตเ ชา เพอื่ มาใหท นั เขา แถวหนา เสาธง ๒. ขŒอใดไมใช ผลท่เี กดิ จากการมสี ติ ๖. ขŒอใดไมส ัมพันธ กบั คำว‹า “ความขยนั ก ทำงานไดผ ลดี อดทน” ข แกไขปญหาท่เี กิดขน้ึ ได ก เอาชนะ ค ความมงุ มั่น ค มักไมเกิดความผิดพลาด ข อตุ สาห ง เพยี รพยายาม ง ทำใหผ อู ื่นไดรับเดอื ดรอ น ๗. การพัฒนาที่สอดคลŒองกับภูมิสังคมเปน อย‹างไร ๓. การกระทำของใครถอื ไดวŒ า‹ เปน คนทมี่ สี ติ ก การยึดความคิดของคนในสังคม ก เจย๊ี บหนั ไปถามปอวา เมอื่ สกั ครคู รถู าม ข การทำตามความตอ งการของคนในสงั คม วาอะไร ค การคำนึงถึงสภาพความเปนจริงของ ข แตว เดนิ ไปดทู หี่ อ งนำ้ วา ปด กอ กน้ำแลว สังคม หรือยัง ง การใชหลักการเดียวกันทุกภาคสวน ค ปองยืมยางลบเพื่อนเพราะลืมนำมา ในสังคม จากบา น ๘. ขอŒ ใดเปน ลกั ษณะของการดำเนนิ งานตาม ง ใหมตั้งใจเรียนเพราะรูวาถาไมฟงครู หลกั การทรงงาน “ภมู ิสังคม” จะทำการบานไมไ ด ก รบั ฟงความคดิ เหน็ ของผูอ่นื ข มคี วามสันโดษไมย งุ เกีย่ วกบั ใคร ๔. คำว‹า “อดทน” มีความหมายวา‹ อะไร ค ยึดมั่นและทำในสงิ่ ท่ีตนเองคิดวา ก ไมปลอ ยปละละเลย ถกู ตอ ง ข ทำการงานอยา งแขง็ ขัน ง เชื่อฟงและปฏิบัติตามคำสั่งของผูนำ ค ประพฤตเิ ปนปกตสิ มำ่ เสมอ ง ยอมรบั สภาพความยากลำบาก ชุมชน

312 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ๙. หลกั การทรงงาน “ขาดทุนคอื กำไร” ๑๐. ผŒูท่ีดำเนินชีวิตโดยยึดหลักการทรงงาน สอดคลอŒ งกบั คำกล‹าวในขอŒ ใด “ขาดทนุ คอื กำไร” จะเปน คนเช‹นไร ก การหวา นพชื หวังผล ก มีความเสียสละ ข การเห็นแกประโยชนสวนรวม ข มีความกลา หาญ เปนสำคัญ ค มีความขยนั อดทน ค การหวังผลกำไรทม่ี ากเกนิ ไป ง มีความละเอียดรอบคอบ มักจะขาดทุน ง การคำนึงถึงประโยชนสวนรวม ไมเปน ผลดีตอผูปฏบิ ัติ

คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 313 กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๑๗ เร่อื ง การมสี ติ ผลการเรยี นรŒู ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. ปฏบิ ัติตนเปนผมู ีวนิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง แบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน ศกึ ษาตวั อยา งเรอื่ ง การมสี ติ แลว ตอบคำถาม (ขอ ๑–๔) จากนั้นศกึ ษาเกยี่ วกบั พระบรมราโชวาท แลวตอบคำถาม (ขอ ๕–๖) ๑. นักเรยี นเคยเห็นผทู ีข่ าดสตอิ ันเกิดจากการดื่มเคร่ืองดองของมึนเมาหรอื ไม อยา งไร แนวคำตอบ เคยเหน็ โดยเหน็ คนดมื่ สรุ าจนเมามายแลว ทำรา ยทบุ ตคี นในครอบครวั บางคนเมามายจนขบั รถ กลบั บานไมได ตองนอนที่ปายรถโดยสารประจำทาง ๒. อะไรเปน สาเหตุที่ทำใหเขาตอ งเปนเชนนน้ั แนวคำตอบ ความคึกคะนอง อยากรู และอยากลองวารสชาติของเครื่องดองของมึนเมาเปนอยางไร เมอ่ื ลองแลว ก็เกดิ ความเคยชินและกลายเปนติดไปในทส่ี ุด ๓. เพราะอะไรคนท่ีด่มื เคร่อื งดองของมึนเมาจึงมักมีเร่อื งทะเลาะวิวาทหรอื ชกตอยกนั แนวคำตอบ การขาดสติ ซึ่งอาการที่ปรากฏข้ึนอยูกับระดับปริมาณของแอลกอฮอลท่ีรางกายไดรับ เชน เสยี การควบคุมการเคลื่อนไหว เดินไมต รงทาง พูดจาไมรูเรื่อง รา เรงิ หรือสนกุ สนานเกินกวาเหตุ ๔. หากมคี นชักชวนใหนกั เรียนด่ืมเครอื่ งดองของมนึ เมา นักเรียนจะทำอยา งไร เพราะอะไร แนวคำตอบ ปฏิเสธอยางสุภาพ เชน ไมเ ปนไรครบั /คะ ขอบคณุ มาก ผม/ฉนั ไมด ม่ื เพราะมีปญ หาทางดาน สขุ ภาพ หรอื บอกวาวนั นไ้ี มค อ ยสบาย มีธุระตอ งรีบไปดว น

314 คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ “...การพจิ ารณานนั้ เปน การหยดุ ยงั้ ชงั่ ใจกอ นทจี่ ะปฏบิ ตั กิ ารใดลงไป เสมอื นกบั ไดป รกึ ษา กบั ตนเองกอ น ถาหากทำสง่ิ ใดโดยมไิ ดพิจารณาแลว กอ็ าจจะตกเปนเหยอ่ื แหง อารมณบ งั เกดิ ความประมาทข้ึนอันจะเปนผลเสียหายแกกิจการนั้น ๆ ได ฉะนั้นขอใหทุกคนจงใชความ พจิ ารณาใหร อบคอบ กอ นทจี่ ะประกอบกจิ การใด ๆ แมแ ตถอ ยคำทข่ี า พเจา ไดก ลา วมาแลว นน้ั ก็ควรจะไดรับการพิจารณาเชน เดียวกันดว ย...” พระบรมราโชวาท ในพธิ พี ระราชทานประกาศนียบัตรนักเรียนวชริ าวุธวิทยาลยั วันท่ี ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ ๕. ใจความสำคัญของพระบรมราโชวาทกลาวถึงเรอื่ งอะไร แนวคำตอบ การพิจารณาใหรอบคอบกอนทจี่ ะทำสิ่งใดลงไป เพราะการพิจารณาถือเปนการคดิ ทบทวนกอ น ตัดสนิ ใจทำสิง่ ใดลงไป การพิจารณาจงึ สามารถปอ งกนั ความเสียหายอันเกดิ จากความประมาทได ๖. นักเรยี นจะนอ มนำพระบรมราโชวาทนม้ี าเปน แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ อยา งไร แนวคำตอบ การพจิ ารณาใหร อบคอบกอ นทจ่ี ะทำสง่ิ ใด เชน เมอื่ จะพดู กต็ อ งคดิ ใหด กี อ นวา ถา พดู แลว จะเกดิ ผลดีหรือผลเสียอยา งไร และเมื่อจะทำอะไรก็นกึ ถึงผลทค่ี าดวาจะไดรับ หากทำแลว กอใหเกิดความ เดอื ดรอ นหรือเสยี หายกจ็ ะไมทำ กลม‹ุ ท่ี สมาชกิ ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

คูมอื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนาท่พี ลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 315 กิจกรรม/ใบงานท่ี ๑๘ เร่อื ง เปา‡ หมายในชีวิต ผลการเรยี นรŒู ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. ปฏิบัตติ นเปนผมู วี นิ ัยในตนเอง คำช้แี จง เขยี นเปา หมายในชวี ิตของตวั เอง พรอมบอกวิธกี ารหรอื แนวทางท่จี ะทำใหประสบผล สำเร็จตามเปาหมายทต่ี ้ังไว เป‡าหมายในชีว�ต เปน หมอรกั ษาคนไข ว�ธ�การหร�อแนวทางทจ่ี ะทําใหปŒ ระสบผลสาํ เรจ็ – ตงั้ ใจเรยี น ซกั ถามเมือ่ ไมเ ขา ใจ และเชอื่ ฟงที่ครูสอน – ขยันอานหนังสอื และหม่ันทบทวนความรเู ปน ประจำ – เชื่อฟงคำสอนของพอแมและญาตผิ ใู หญ – เขา ไปมสี ว นรวมในกิจกรรมทเ่ี ปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม ชอ่ื นามสกลุ เลขท่ี ชั้น โรงเรียน

316 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กจิ กรรม/ใบงานที่ ๑๙ เรอ่ื ง ภมู ิสังคม ผลการเรียนรูŒ ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๐. ปฏิบตั ิตนเปนผมู วี นิ ยั ในตนเอง คำชแี้ จง แบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน รว มกนั อภปิ รายถงึ ภมู ปิ ระเทศทางภมู ศิ าสตรแ ละภมู ปิ ระเทศ ทางสงั คมศาสตรข องจงั หวดั ทอี่ าศยั อยู และสรปุ วา จะนำหลกั การทรงงาน “ภมู สิ งั คม” มาปรับใชอยา งไร ตัวอยา งคำตอบ จงั หวัดที่อาศยั อยู ลพบรุ ี คำขวัญประจำจงั หวดั วังนารายณคูบาน ศาลพระกาฬคูเมือง ปรางคสามยอดลือเลื่อง เมืองแหง ดินสอพอง เขือ่ นปาสกั ชลสิทธ์ิเกริกกอง แผนดินทองสมเดจ็ พระนารายณ ภูมปิ ระเทศทางภูมศิ าสตร ภูมิประเทศทางสงั คมศาสตร จังหวดั ลพบรุ ตี ัง้ อยูในภาคกลางของประเทศไทย ประชากรสวนใหญของจังหวัดลพบุรีอาศัยอยูใน ลักษณะภูมิประเทศมีแนวเทือกเขาสูงวางตัวใน พ้ืนที่ชนบท (นอกเขตเทศบาล) ประกอบอาชีพ แนวเหนอื –ใตบรเิ วณตอนกลางของจังหวดั พื้นที่ ดา นกสกิ รรมเปน หลกั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเปน สวนใหญเปนภูเขาและท่ีราบลุม ภูมิอากาศของ สวนมาก มีประเพณีและงานประจำปท่ีสืบทอด จังหวัดอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตก- เชน งานแผนดินสมเด็จพระนารายณมหาราช เฉียงใตและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และ งานเทศกาลกระทอนหวานและของดีเมืองลพบุรี ยงั ไดร บั อทิ ธพิ ลจากพายดุ เี ปรสชนั และพายไุ ตฝ นุ เทศกาลทองเที่ยวทุงทานตะวันและเข่ือนปาสัก ชลสิทธิ์

คูมอื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 317 ทรพั ยากรธรรมชาติท่สี ำคญั ของจังหวดั แนวคำตอบ ทรพั ยากรนำ้ ลมุ นำ้ สำคญั คอื ลมุ นำ้ เจา พระยาและลุมนำ้ ปา สัก ทรพั ยากรปา ไม เดมิ จงั หวดั ลพบรุ เี คยถกู ปกคลมุ ดว ยปา ไม แตป จ จบุ นั ทรพั ยากรปา ไมข องจงั หวดั มีสภาพเส่อื มโทรมและมีปริมาณนอ ยลง ทรพั ยากรแรธาตุ ไดแก แรเหล็ก แรคอรตซ ดินมารล หรอื ดนิ สอพอง แรอ น่ื ๆ (ทองคำ ทองแดง ฟอสเฟต) การนำหลักการทรงงาน “ภูมสิ ังคม” มาปรบั ใช แนวคำตอบ เน่ืองจากพ้ืนที่สวนใหญเปนท่ีราบลุมและอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมจึงควรสงเสริมการทำ เกษตรผสมผสานเพอ่ื ลดความเสย่ี งจากภยั แลง และน้ำทว ม ปรบั เปลย่ี นจากเกษตรสเู กษตรอตุ สาหกรรม เพื่อสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคาอันเปนการเพิ่มรายไดใหกับประชากรในจังหวัด นอกจากน้ีควรมีการ ประชาสมั พนั ธถงึ เทศกาลและงานประจำปเ พ่อื ดึงดดู นกั ทอ งเท่ยี วใหม าเยยี่ มชม การพัฒนาจังหวัดโดยยึดหลักการหลักการทรงงาน “ภมู สิ งั คม” แนวคำตอบ จงั หวดั ลพบรุ ไี ดน อ มนำหลกั การทรงงานมาประยกุ ตใ ชผ า นโครงการตา ง ๆ มากมาย เชน โครงการ บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กภยั แบบบรู ณาการ โครงการขดุ สระนำ้ ประจำไรน าเขตพนื้ ทโี่ ครงการพระราชดำริ โครงการยกระดบั พัฒนากิจกรรมและแหลง ทองเที่ยวจังหวดั ลพบรุ ี กลุ‹มท่ี สมาชกิ ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

318 คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาทพี่ ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒๐ เรอื่ ง ขาดทนุ คอื กำไร ผลการเรยี นรŒู ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐. ปฏบิ ัติตนเปน ผมู ีวนิ ยั ในตนเอง คำชีแ้ จง แบง กลมุ กลมุ ละ ๔–๖ คน รว มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ในประเดน็ ทก่ี ำหนดให ๑. “ขาดทนุ คอื กำไร” มีความหมายวา อยา งไร แนวคำตอบ การเสียสละเพ่ือประโยชนสวนรวม โดยการลงทุนในเบื้องตนกอน เพื่อผลท่ีจะไดรับในระยะ ยาว ๒. เราสามารถนำหลกั การทรงงาน “ขาดทนุ คอื กำไร” มาใชใ นชีวิตประจำวนั ไดอ ยา งไรบา ง แนวคำตอบ เราสามารถนำหลักการทรงงาน “ขาดทุนคือกำไร” มาประยุกตใชในชีวิตประจำวันโดยการ ตงั้ ใจศึกษาเลาเรียนและหมั่นทบทวนความรู เพราะการตั้งใจศึกษาเรียนและการทบทวนความรู จะทำใหเราเขาใจเนื้อหาในบทเรียน ทำขอสอบได และสอบไดคะแนนดี ๆ แมวาการต้ังใจเรียน และการอานหนังสือจะทำใหเกิดความรูสึกเบ่ือหนายบาง แตเราก็ตองทำ เพ่ือใหมีผลการเรียนท่ีดี เมือ่ เรียนจบจะไดม อี าชพี การงานทีด่ ีและมีความม่ันคงในชีวติ ๓. นกั เรยี นคดิ วา จะนำหลกั การทรงงานดงั กลา วไปเผยแพรห รอื แนะนำแกบ คุ คลอนื่ หรอื ไม อยา งไร แนวคำตอบ นำไปเผยแพรหรือแนะนำแกผูอ น่ื เชน เพือ่ น นอ ง โดยการบอกกลา วหรือแนะนำใหร ูจกั การ เสียสละเพ่ือประโยชนสวนรวม กลม‹ุ ที่ สมาชกิ ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

คูม อื ครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 319 กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒๑ เรือ่ ง ทบทวนความรูŒ ผลการเรียนรูŒ ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. ปฏิบตั ิตนเปน ผมู ีวนิ ัยในตนเอง คำช้แี จง ตอบคำถาม ๑. พระบรมราโชวาทหมายถึงอะไร แนวคำตอบ โอวาทหรือคำสอนของพระเจา แผน ดนิ ๒. การมีสตมิ ผี ลดีอยางไร แนวคำตอบ ทำใหเ ราทำงานไดผลดี ไมค อ ยผิดพลาด และทำใหเ ราเปน คนไมประมาทในการดำเนินชีวติ ๓. ความขยนั อดทนหมายถงึ อะไร และมีผลดีตอ ผูปฏบิ ัตอิ ยางไร แนวคำตอบ การทำงานอยางแข็งขนั โดยไมย อ ทอตอ ความยากลำบาก ผูท ม่ี ีความขยันอดทนจะประสบความ สำเรจ็ ในชวี ติ เพราะเปน คนทม่ี คี วามเพียรพยายาม ตงั้ ใจจรงิ และไมย อ ทอตออปุ สรรคตา ง ๆ ๔. หลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวมีลกั ษณะอยางไร แนวคำตอบ เปนการดำเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่สอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมไทยและสามารถ ปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ โดยเนน การพฒั นาคนเปน ตวั ตง้ั และยดึ หลกั ผลประโยชนแ ละการมสี ว นรว มตดั สนิ ใจ ของประชาชน ตลอดจนภมู สิ ังคมท่คี ำนึงถึงความแตกตางกันในแตล ะพน้ื ท่ีและการพง่ึ ตนเอง ช่อื นามสกุล เลขท่ี ช้นั โรงเรยี น

320 คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๓–๔ ม. ๒ แบบทดสอบหลังเรยี น หนวยการเรยี นรทู ี่ ๓ คำชแ้ี จง เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอŒ งทส่ี ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. โอวาทหรือคำสอนของพระเจŒาแผ‹นดิน ๕. ป˜จจัยใดมีผลต‹อการประสบความสำเร็จ เรียกวา‹ อะไร ในชีวติ ดาŒ นการงานมากทส่ี ุด ก พระราชดำริ ก การคบเพอ่ื นดี ข พระราชดำรัส ข การตรงตอเวลา ค พระบรมราโชวาท ค ความขยนั อดทน ง พระบรมราชโองการ ง ความประหยดั อดออม ๒. นกั เรยี นควรนำความรเŒู รอ่ื งการมสี ตมิ าใชŒ ๖. การทำงานอย‹างแข็งขันโดยไม‹ย‹อทŒอต‹อ ในเรอ่ื งใดมากทส่ี ดุ ความยากลำบากตรงกบั สำนวนไทยในขอŒ ใด ก การเรียน ก ฝนทั่งใหเปน เข็ม ข การเลน กับเพื่อน ข สิบรไู มเ ทาชำนาญ ค การใชค อมพิวเตอร ค ชา เปน การ นานเปน คุณ ง การทำงานหารายได ง รูมากยากนาน รนู อยพลอยรำคาญ ๓. “ผŒทู มี่ สี ตจิ ะรวูŒ ‹าตนเองกำลงั ทำอะไร ๗. ขอŒ ใดไมใ ช แนวคดิ สำคญั ของการพฒั นา พูดอะไร และคดิ อะไร” จากขŒอความนี้ ตามหลักการทรงงาน “ภูมสิ ังคม” มีผลดอี ยา‹ งไร ก เนน การพ่ึงตนเอง ก ทำใหม ีผลการเรยี นดีข้ึน ข เรยี บงา ยและประหยัด ข หลีกเล่ยี งการทะเลาะวิวาท ค ใชเทคนิควชิ าการสมยั ใหม ค มีคนอยากคบคาสมาคมดว ย ง เปน ไปตามลำดับความจำเปน ง ไดร บั คำยกยอ งจากคนรอบขา ง ๘. ขŒอใดเปน การพัฒนาท่ีสอดคลŒองกบั ๔. “ปดหูซŒายขวา ปดตาสองขŒาง ปดปาก หลกั การทรงงาน “ภูมสิ งั คม” เสียบŒาง นอนนัง่ สบาย” ขŒอความนี้เปน ก สรา งสะพานลอยใหน กั เรยี นทโ่ี รงเรยี น คำกลา‹ วที่สอนในเร่อื งใด ชายแดน ก การมสี ติ ข ใหค วามรูดา นการทำประมงแกช าวเขา ข ความอดทน ในภาคเหนอื ค การอยูอยางสนั โดษ ค เรงรัดแกปญหาแหลงเก็บกักนำ้ กอน ง ความรับผิดชอบตอ สวนรวม พัฒนาถนนลูกรงั ง สง เสรมิ การปลกู ไรชาเขียวในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ 321 ๙. หลักการทรงงาน “ขาดทนุ คอื กำไร” ๑๐. ใครนำหลกั การทรงงาน “ขาดทนุ คอื กำไร” เปน แนวปฏบิ ตั ิในเร่ืองใด มาเปน แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ ก การเสยี สละ ก มติ รขายสนิ คา ราคาถกู จงึ ทำใหข าดทนุ ข ความรับผดิ ชอบ ข ดำรงติดตั้งเครื่องบำบัดน้ำเสียไวรอบ ค การไมย ดึ มนั่ ถือม่ัน โรงงาน ง ความขยนั หม่นั เพียร ค ศักดิ์จดรายการสิ่งของท่ีจะซื้อทุกครั้ง กอนไปตลาด ง นพพลจายคาจางคนงานตามเกณฑท่ี กฎหมายกำหนด

๔หน�วยการเรย� นรทŒู ่ี พลเมอื งดีในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษตั รย� ทรงเปนš ประมขุ • แบบทดสอบกอ นเรยี น • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๒ เร่อื ง พลเมืองดีตามวิถีประชาธปิ ไตย • กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๓ เร่อื ง การติดตามขาวสารบา นเมือง • กจิ กรรม/ใบงานที่ ๒๔ เรื่อง ความกลาหาญทางจริยธรรม • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๒๕ เรอ่ื ง คนดมี คี วามกลา หาญทางจริยธรรม • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๖ เรอื่ ง คณุ สมบัติของผนู าํ ทดี่ ี • กิจกรรม/ใบงานที่ ๒๗ เรื่อง บทบาทและหนา ท่ีของสมาชิกท่ดี ี • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๘ เรื่อง การมีสว นรว มในการตดั สินใจ • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๒๙ เรอื่ ง การตรวจสอบขอ มูล • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓๐ เรื่อง การรทู นั ขา วสาร • กิจกรรม/ใบงานท่ี ๓๑ เรอ่ื ง ความมีวนิ ยั ในตนเองในการเปนพลเมอื งดี ในระบอบประชาธปิ ไตย • กจิ กรรม/ใบงานท่ี ๓๒ เรื่อง ทบทวนความรู • แบบทดสอบหลงั เรยี น

คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ท่ีพลเมือง ๓–๔ ม. ๒ 323 แบบทดสอบกอ นเรียน หนว ยการเรียนรูที่ ๔ คำชแี้ จง เลอื กคำตอบทถี่ กู ตอŒ งทสี่ ดุ เพยี งคำตอบเดยี ว ๑. หากพบเห็นโทรศัพทสาธารณะชำรุด ๕. ผูŒนำทด่ี ีควรเปน คนอย‹างไร เราควรทำอยา‹ งไร ก มคี วามคดิ รเิ ริม่ ก แจง เจา หนาที่ดำเนนิ การซอมแซม ข นง่ิ เฉย ไมก ระตอื รือรน ข หา มผอู น่ื ใชโทรศัพทสาธารณะนั้น ค เหน็ แกต นเองและพวกพอง ค ดดุ า วา กลา วผูทที่ ำใหเกดิ ความชำรุด ง ถอื ตวั ไมสนทิ สนมกบั คนอ่นื งายนกั ง ไมต อ งสนใจ เพราะไมใ ชห นา ทข่ี องเรา ๖. เมื่ออยู‹ในหŒองเรยี น เราควรเขŒารว‹ ม ๒. เราควรตดิ ตามขา‹ วสารบŒานเมอื งอย‹างไร กิจกรรมใด ก เลอื กรบั ขาวที่เราชอบ ก ชวนเพื่อนหนีเรยี น ข เลอื กรบั ขาวอยา งหลากหลาย ข เลอื กต้ังหัวหนา หอ ง ค เลอื กรับขา วจากสอ่ื เพียงแหลง เดยี ว ค เลอื กต้ังครูประจำชัน้ ง เลือกรับขาวจากสื่อภายในประเทศ ง เลนฟตุ บอลกบั เพ่อื น เทา น้ัน ๗. ใครมสี ทิ ธิแสดงความคดิ เห็นในการ ๓. ใครติดตามข‹าวสารบŒานเมืองไดŒอย‹าง ประชมุ ของโรงเรียน ถกู ตŒอง ก ครู ก แอมเช่ือทุกขา วทีต่ นอา น ข นักเรียน ข นชุ ไตรต รองขา วกอนเชอ่ื ทกุ คร้ัง ค คณะกรรมการนกั เรยี น ค ปน ไมเ ชื่อขาวทีม่ าจากหนังสอื พิมพ ง สมาชิกทกุ คนของโรงเรียน ง พัชอานเฉพาะขาวจากหนังสือพิมพ ภาษาองั กฤษ ๘. เราควรรับขŒอมลู ทม่ี ีลกั ษณะอย‹างไร ก มเี นื้อหามาก ๔. ใครมคี วามกลŒาหาญทางจริยธรรม ข มคี วามเปน กลาง ไมมีอคติแอบแฝง ก เอรับจางทำการบานใหเพ่อื น ค ใชเ ทคนคิ การนำเสนอเนอ้ื หาทท่ี นั สมยั ข วรรณตกั เตอื นเพ่อื นไมใหหนีเรยี น และนา สนใจ ค เกง ชกตอยกบั เพื่อนท่ชี อบลอ เลียน ง มีเนื้อหาเปนไปในแนวทางเดียวกับ ตนเอง ความคิดเหน็ ของตนเอง ง ฟางกลวั เพอื่ นถกู ครลู งโทษ จงึ ไมบ อก ครเู รอื่ งเพื่อนแอบด่มื สรุ า

324 คูม ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนาที่พลเมอื ง ๓–๔ ม. ๒ ๙. ขŒอมูลข‹าวสารจากส่ือใดมีความน‹าเช่ือถือ ๑๐. ถŒานักเรียนเปนคนขับรถ ขณะขับรถอยู‹ มากท่สี ดุ บนถนนเหน็ คนกำลงั จะขาŒ มถนนบรเิ วณ ก อนิ เทอรเ นต็ ทางมาŒ ลาย นักเรียนควรทำอยา‹ งไร ข หนงั สอื พมิ พ ก เรงเคร่ืองผานไปใหเร็วทสี่ ุด ค หนังสือสารานุกรม ข จอดรถใหคนขามถนนไปกอ น ง คำบอกเลาจากคนรูจ กั ค บบี แตรเตอื นใหคนขามถนนไดย นิ ง เปด สญั ญาณไฟขอทางใหค นขา มถนน เหน็