Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่3ส่วนที่5-7

ตอนที่3ส่วนที่5-7

Published by ems2512, 2020-06-23 16:02:05

Description: ตอนที่3ส่วนที่5-7

Search

Read the Text Version

ส่วนที่ ๕ ใบความรู้ รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๑--๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑

คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 419 หนว ยการเรยี นรูท ี่ ๑ ใบความรŒู เรือ่ ง ๓ สหาย แผนการจดั การเรียนรทูŒ ่ี ๕ มารยาทไทยในการมีสัมมาคารวะ ผลการเรยี นรูŒ ๑. มีสว นรวมในการอนรุ กั ษม ารยาทไทย ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผมู วี นิ ัยในตนเอง คำชแี้ จง แบง กลมุ กลุมละ ๔-๖ คน อานและสรปุ ขอคิดทไี่ ดจากนทิ านเรอื่ ง ๓ สหาย แลว บนั ทึกผลลงในแบบบันทึกความรู ๓ สหาย กาลคร้ังหนึ่งนานมาแลว เม่ือพระเจาพรหมทัตครองราชสมบัติอยูในเมืองพาราณสี พระโพธิสตั วเกิดเปนนกคมุ อาศยั อยูทีต่ นไทรใหญตนหนง่ึ ในปา หมิ พานต พรอมสตั ว ๒ สหาย คือ ลงิ และชา ง อยมู าวนั หน่งึ สัตว ๓ สหายก็เถียงกันเก่ยี วกบั อายุของพวกเขาวาระหวางเราทัง้ สามใคร เปน พี่ ใครเปนนอ ง หากใครเกดิ กอ นกจ็ ะนบั ถอื เปน พ่เี ปน นองตามลำดบั นกคมุ และลงิ ไดถาม ชา งวา “ทา นจำไดไ หมวา ตอนทท่ี า นเกดิ มานนั้ ตน ไทรนใ้ี หญแ คไ หน” ชา งตอบวา “ฉนั จำได ตอน ฉันเปนชางตวั เล็ก ๆ ฉนั ยงั เคยเอาทอ งไปเสียดสีกบั ยอดตน ไทรเลย” คร้นั แลว ลิงไดพ ดู บางวา “เมอื่ ฉันเปนลงิ ตวั เลก็ ๆ กเ็ คยน่ังลงตรวจดูตน ไทรทกี่ ำลังงอก จากเมลด็ บางครัง้ ฉันยงั เคยโนมยอดไทรมาแทะเลนเลย” ตอมาลิงและชางไดถามนกคุมวา “ตอนที่ทานเกิด จำไดไหมวาตนไทรน้ีใหญแคไหน” นกคมุ วา “เม่ือตอนฉนั เปนหนมุ ๆ นนั้ ฉนั เท่ียวหาอาหารใกล ๆ ปา น้ี และในปา น้ีกม็ ีตนไทร ใหญต นหนึง่ ซ่งึ มผี ลสกุ เตม็ ตน ฉนั ไดก นิ และวนั ตอมาก็ไดถายลงไป เมลด็ ไทรท่ฉี ันถา ยก็งอก เจรญิ เตบิ โตเปน ตน ไทรทพ่ี วกเราไดอ าศยั อยนู แี่ หละ ดงั นนั้ ฉนั จงึ รจู กั ตน ไทรนตี้ งั้ แตม นั ยงั ไมเ กดิ เพราะฉะนั้นฉันจงึ แกก วา ทา นทงั้ สองโดยกำเนิด” เมื่อนกคุมกลาวอยางนั้น ท้ังลิงและชางจึงพูดวา “เพื่อนรัก ทานแกกวาพวกเราทั้งสอง ตั้งแตบัดน้ีเปนตนไปพวกเราท้ังสองจะใหความเคารพนับถือและเชื่อฟงทานในฐานะท่ีทานเปน ผใู หญ โปรดไดต กั เตอื นเราทงั้ สองดว ยหากไดกระทำความผิดหรือลว งเกนิ ทา นโดยไมเ จตนา” นกคมุ ตอบวา “ขอขอบคณุ ในไมตรจี ติ ของพวกทา น และเราขอใหส ญั ญาวา จะรกั ษาเกยี รติ อนั นจ้ี นกวา ชวี ติ จะหาไม” ตง้ั แตน น้ั มาสตั วท ง้ั สามกใ็ หค วามเคารพยำเกรงซง่ึ กนั และกนั ตามลำดบั อาวุโสจนกระท่ังตาย นรชนเหล‹าใดฉลาดในธรรม มีความนอบนŒอมถอ‹ มตนตอ‹ ผŒูใหญ‹ นรชนเหล‹านนั้ ยอ‹ มไดรŒ บั การสรรเสริญในป˜จจบุ ันนีแ้ ละในอนาคตต‹อ ๆ ไป ทมี่ า: รศ. ดร.จรสั พยัคฆราชศกั ดิ์ และคณะ. หนังสอื เรียน รายวชิ าพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 1. สำนักพิมพว ัฒนาพานชิ , หนา 32–33

420 คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพิ่มเติม หนา ท่ีพลเมือง ๑-๒ ม.๑ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๓ ใบความรูŒ เร่ือง โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาส่ิงแวดลอŒ มแหลมผักเบยี้ อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ จงั หวัดเพชรบุรี แผนการจัดการเรยี นรทูŒ ี่ ๑๙ หลักการทรงงาน: การใชธรรมชาติชวยธรรมชาติและการปลูกปา ในใจคน ผลการเรียนรŒู ๕. ประยกุ ตแ ละเผยแพรพ ระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. ปฏิบตั ิตนเปน ผมู ีวนิ ยั ในตนเอง คำชแี้ จง แบง เปน ๖ กลมุ ศกึ ษาใบความรเู รอ่ื ง โครงการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาสงิ่ แวดลอ มแหลม ผกั เบ้ยี อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ จงั หวดั เพชรบุรี รวมกนั อภิปราย สรุป บันทึกผล ลงในแบบบันทึกความรู แลว นำเสนอหนา ชั้นเรียน โครงการศกึ ษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอŒ มแหลมผกั เบย้ี อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จงั หวดั เพชรบรุ ี โครงการศึกษาวจิ ยั และพฒั นาสง่ิ แวดลอมแหลมผกั เบี้ย อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ต้งั อยู ทต่ี ำบลแหลมผกั เบย้ี อำเภอบา นแหลม จงั หวดั เพชรบรุ ี เกดิ ขน้ึ สบื เนอ่ื งมาจากพระมหากรณุ าธคิ ณุ แหง องคพ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทม่ี พี ระราชดำรดิ า นปญ หาขยะและนำ้ เสยี โดยมวี ตั ถปุ ระสงค หลกั คอื การศกึ ษาหาเทคโนโลยที เี่ หมาะสมในการแกป ญ หาน้ำเสยี และขยะชมุ ชนทปี่ ระหยดั สะดวก ทำไดงาย และสามารถนำไปประยกุ ตใชกับพื้นที่อน่ื ๆ ในประเทศไดอ ยา งกวางขวาง ตามพระราช- ดำรัสทีไ่ ดพ ระราชทานไวเมอื่ วนั ที่ ๑๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๓๓ วา “...ปญ หาสำคญั คอื เรอ่ื งสง่ิ แวดลอ ม เรอ่ื งนำ้ เสยี กบั ขยะ ไดศ กึ ษามาแลว เหมอื นกนั ทำไมย ากนกั ในทางเทคโนโลยที ำได แลว ในเมอื งไทยเองกท็ ำได หาเทคโนโลยจี ากตา งประเทศ มาแลวทำในเมอื งไทยเอง กท็ ำได หรอื จะรบั จางบรษิ ทั ตา งประเทศมากท็ ำได นีแ่ หละปญหา เดียวกัน เดีย๋ วน้กี ำลงั คิดจะทำแตต ดิ อยทู ี่ท่จี ะทำ...” “...โครงการท่จี ะทำนไี้ มยากนัก คอื วา ก็มาเอาส่ิงทเ่ี ปน พิษออก พวกโลหะหนกั ตา ง ๆ เอาออก ซึ่งมวี ิธีทำ ตอ จากนนั้ ก็มาฟอกใสอ ากาศ บางทีกอ็ าจไมต อ งใสอ ากาศ แลว กม็ าเฉลีย่ ใสใ นบงึ หรอื เอาไปใสในทุง หญา แลวกเ็ ปลย่ี นสภาพของทงุ หญาเปน ทงุ หญาเล้ยี งสัตว สว น หนึ่งเปนทีส่ ำหรบั ปลกู พชื ปลูกตนไม. ..” “...แลวก็ตองทำการเรียกวา การกรองน้ำ ใหทำน้ำน้ันไมใหโสโครก แลวก็ปลอยนำ้ ลงมาทเี่ ปน ทท่ี ำการเพาะปลกู หรอื ทำทงุ หญา หลงั จากนนั้ น้ำทเี่ หลอื กล็ งทะเล โดยทไ่ี มท ำให นำ้ นนั้ เนาเสยี ...”

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพิ่มเตมิ หนาท่ีพลเมือง ๑-๒ ม.๑ 421 เปนที่ทราบกันดีอยูแลววา ทฤษฎีการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวนั้น เนน ความเรียบงา ย ไมย งุ ยาก ไมซบั ซอ น เขา ใจงา ย และใชธ รรมชาตบิ ำบดั โครงการศึกษาวจิ ัยและ พฒั นาสงิ่ แวดลอ มแหลมผกั เบย้ี อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ จงึ เปน ตวั อยา งหนงึ่ ทส่ี ะทอ นใหเ หน็ ถงึ ความเรียบงายและการใชธรรมชาติบำบัดอยางเห็นไดชัด ดูแลในเร่ืองของการบำบัดนำ้ เสียและ การกำจัดขยะ โดยยึดตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวท่วี า “...ใหใ ชธรรมชาติ ชวยธรรมชาติ เปนเทคโนโลยอี ยา งงา ย ใคร ๆ กส็ ามารถทำได และมีวสั ดหุ าไดงายในทอ งถ่ิน...” เทคโนโลยีการบำบัดนำ้ เสียท่ีเรยี บงา ยและใชธ รรมชาตินี้ แบง ออกเปน ๔ ระบบ ดังน้ี ระบบแรก คอื ระบบบอ บำบดั นำ้ เสยี ระบบนใ้ี ชว ธิ กี ารพงึ่ พาธรรมชาติ ใหส าหรา ยสงั เคราะห แสงเพื่อเติมออกซิเจนใหแกจุลินทรียสำหรับหายใจและยอยสลายสารอินทรีย (organic matter) ในน้ำเสยี ซึง่ บอ บำบดั มที ัง้ หมด ๕ บอ ประกอบดวยบอ ตกตะกอน ๑ บอ บอ ฝง ๓ บอ และบอ ปรับสภาพ ๑ บอ ระบบทีส่ อง คือ ระบบพืชและหญา กรองน้ำเสีย ไดแ ก การกรอง ซึ่งแปลงหรือบอ จะเกบ็ กัก น้ำเสีย และปลูกธูป�ษี กกกลม และหญา แฝกอนิ โดนีเซีย หรือปลูกหญา อาหารสัตว พืชเหลาน้มี ี คุณสมบตั กิ รองและดดู ซับของเสียทอ่ี ยูในนำ้ ระบบทส่ี ามและทส่ี ่ี คอื ระบบทอ่ี าศยั ธรรมชาตใิ นการบำบดั หรอื ใชพ ชื ในการบำบดั โดยระบบ ทส่ี ามมชี อ่ื วา ระบบพน้ื ทช่ี มุ นำ้ เทยี ม ระบบบำบดั แบบนเ้ี ปน การจำลองพน้ื ทท่ี างธรรมชาติ จงึ เปน วา พน้ื ทท่ี เ่ี ปย กชมุ หรอื พน้ื ทท่ี ม่ี นี ำ้ ขงั การบำบดั นำ้ เสยี แบบนใ้ี ชว ธิ กี ารปลอ ยนำ้ เสยี ผา นบอ ดนิ ตน้ื ๆ ท่ี ภายในปลกู พชื ประเภทกก รากของพชื เหลา นจ้ี ะชว ยดดู ซบั สารพษิ (toxin) และอนิ ทรยี ส ารใหน อ ยลง และยอ ยสลายใหห มดไปในทส่ี ดุ ระบบสดุ ทา ย ระบบทส่ี ่ี คอื ระบบแปลงพชื ปา ชายเลน ระบบนใ้ี ช หลกั การบำบดั จากการเจอื จางระหวา งนำ้ ทะเลกบั นำ้ เสยี ซง่ึ สามารถนำไปประยกุ ตใ ชไ ดก บั ชมุ ชนหรอื กจิ การเพาะเลย้ี งกงุ ทม่ี พี น้ื ทต่ี ดิ กบั ปา ชายเลนได โดยไมจ ำเปน ตอ งมกี ารสรา งแปลงพชื ปา ชายเลน โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ นับวาเปนแบบอยางแกชุมชนทั่วประเทศในการแกปญหาน้ำเสียไดเปนอยางดี เพราะนอกจาก จะเปนแบบที่เรียบงายแลว ยังเขาใจงาย จึงสามารถนำไปปฏิบัติตามไดงาย มีคาใชจายที่ไมแพง และใชเทคโนโลยีท่ีไมสูงนัก ซ่ึงความเรียบงายน้ีเองที่จะนำชุมชนพัฒนาไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีความสขุ ทยี่ ่งั ยืนไดใ นทส่ี ุด ปจ จบุ นั ประโยชนภ ายในโครงการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาสงิ่ แวดลอ มแหลมผกั เบย้ี อนั เนอื่ งมา จากพระราชดำรินั้นบอ บำบดั น้ำเสยี สามารถเลยี้ งปลากนิ พชื ไดโดยไมจำเปน ตองใหอ าหาร ปุยหมกั จากขยะและน้ำชะจากขยะสามารถนำมาปลูกพชื เกษตรได สดุ ทา ย ผลทีเ่ กิดกับประชาชนในจังหวดั เพชรบรุ ี คอื สามารถชวยฟน ฟูแมน ้ำเพชรบรุ ใี หมี คุณภาพน้ำท่ีดีขึ้น ระบบนิเวศปาชายเลนมีความอุดมสมบูรณมากข้ึนและมีความหลากหลายทาง ชีวภาพสูง มีสัตวนำ้ ท่ีสำคัญทางเศรษฐกิจเปนจำนวนมากท้ังชนิดและปริมาณ พืชที่เก็บเกี่ยวจาก แปลงพืชบำบัดน้ำเสียสามารถนำมาทำเคร่ืองจักสานผลิตสินคาหัตถกรรมและทำเยื่อกระดาษได เปนการสรางอาชีพและรายไดใหแกชมุ ชนโดยรอบโครงการได ท่ีมา: http://www.chaoprayanews.com/2014/05/12, http://www.chaipat.or.th/chaipat/index.php/tips/48

422 คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนาที่พลเมือง ๑-๒ ม.๑ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๔ ใบความรŒู เรอื่ ง วินัยมด...วินยั คน แผนการจดั การเรยี นรทูŒ ่ี ๒๙ ความมวี นิ ยั ในตนเองในการเปน พลเมอื งดใี นระบอบประชาธปิ ไตย ผลการเรยี นรŒู ๖. ปฏิบตั ติ นเปน พลเมืองดตี ามวิถีประชาธิปไตย ๗. มสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตรวจสอบขอ มลู เพอื่ ใชป ระกอบ- การตัดสินใจในกจิ กรรมตา ง ๆ ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูม ีวินัยในตนเอง คำชี้แจง ครูใหน กั เรียนอา นเรื่องนี้แลวตอบคำถาม วินัยมด...วนิ ยั คน รฐั พลเรยี นจบกฎหมายมาเกือบ ๖ เดอื น สอบเขา ทำงานและสมัครงานแลวหลายแหง แต ยังไมถูกเรียกตัว รัฐพลจึงไปชวยดูแลรานมินิมารททันสมัยของครอบครัวในชวงเชาถึงบายสอง หลังจากน้ันถาไมออกไปพบปะเพื่อนฝูงหรือไปติดตอธุระเรื่องงาน รัฐพลก็จะกลับบานและมัก จะเดนิ ไปนง่ั อานหนังสอื พมิ พห รือพ็อกเกตบกุ ตา ง ๆ ทมี่ าหนิ ใตต นมะมวงในสวนหลังบา นแทบ ทกุ วนั จนบายแก ๆ ตะวันคลอยก็จะเขา บา น แตเมอื่ ๒–๓ วนั มานคี้ ุณแมก ับราเมศพ่ีชายคนโต ซงึ่ กลับบานตอนบา ยสงั เกตเห็นวาเขา ไมไดนัง่ อา นหนังสอื เหมือนเคย แตจะเดนิ ไปที่ตน มะมว ง แลว ไปยนื มองอะไรบางอยา งท่ลี ำตนั บางครง้ั ก็น่งั บนขอนไมทีอ่ ยบู นพืน้ ขา งรอ งสวน กม มองพ้ืนดนิ ตรงหนาคร้ังละนาน ๆ เปน อยา ง นอ้ี ยูห ลายวัน จนราเมศชกั สงสยั และอดรนไมไ ด จงึ ถามหลังอาหารเชาของครอบครัวซงึ่ อยกู ัน พรอ มหนา “ถามหนอยพล...พลดอู ะไรที่ตนไม ทีพ่ ้นื ดิน เหน็ ดูมาหลายวนั แลว” “ดูมด” รัฐพลตอบสั้น ๆ “ดูทำไม” พีช่ ายถามตอ “สนใจ...นา ศึกษามากครบั พี่เมศ” “ศกึ ษาแลวไดอะไรบางละ ขยายหนอ ยสิ อยากรูเ หมือนกัน” คุณพอถามบา ง “เออ...ใช” คุณแมแ ละพ่ี ๆ รองเกอื บพรอมกัน” รฐั พลยิม้ และพดู วา “อยา คดิ วาผมเพยี้ น ไมมงี านทำแลว ไปนัง่ ศกึ ษามดนะฮะ” “เปลา เลยลูก พลกำลงั รองานแลวกย็ งั ชว ยงานรานเราต้งั ครง่ึ คอ นวนั บา ย ๆ กลับมาอา น หนังสือบาง มาน่ังวจิ ัยมดบา ง กเ็ ปน การพกั ผอนที่ดี ไมมใี ครเขาวา อะไรหรอก...เอาละ ไมต อง พดู มาก...เลา เรื่องมดไป” คณุ แมบังคบั ดว ยความเอน็ ดู

คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนา ที่พลเมือง ๑-๒ ม.๑ 423 “ตกลงครับ...ผมเกดิ ความสนใจมดขนึ้ มาเม่อื เร็ว ๆ นี้เอง เพราะพอจะมีเวลาสงั เกตวงจร ชวี ติ ของมด มดเปน สงิ่ มชี วี ติ ตวั เลก็ ๆ เปน สตั วต วั เลก็ ๆ ทอี่ ยรู วมตวั เปน จำนวนมาก เปน สงั คม เปน มวลชน...เอย...มวลมด เคยสงั เกตรังมดไหมฮะ ดรู ังมดท่ตี นมะมวงน่ีก็ได” รัฐพลช้ีไปยังรังมดแดงขนาดใหญซึ่งทำดวยใบมะมวงบนตนท่ีอยูเกือบติดหนาตางหอง กนิ ขาวนนั่ เอง มองเห็นมดวงิ่ เขา ออกขวักไขว “คนเรา...เอย...มด...มดนะ...เม่ืออยูรวมกันเปนมวลมดเปนสังคมก็จะตองอยูกันดวย ระเบียบวนิ ยั กฎเกณฑ มรี ะบบ มีโครงสรา งของสังคมมด” รัฐพลเริม่ บรรยาย “เหมือนสังคม ของคนนแี่ หละ” “แตม ดก็มชี นช้นั นะพล” รวงทพิ ยพ่สี าวพดู “ถูกตองพ่ีทิพย...แตผมวามดแบงช้ันวรรณะตามลักษณะทางกายภาพท่ีไมเหมือนกันนะ ตัวไหนเกิดมาเปนเพศเมียมีความแข็งแรงสมบูรณโดดเดนกวาเพ่ือน พรอมที่จะขยายเผาพันธุ มด กจ็ ะไดเ ปน มดนางพญา หรือนางพญามดกไ็ ด. ..เอา ...สวนมดทม่ี รี ปู รางแขง็ แกรง ฟนคมก็ เปนมดทหาร สำหรับมดท่ีมีรูปลักษณะธรรมดา ธรรมดากเ็ ปนมดงานทำงานงก ๆ ลกู เดยี ว หา อาหารใหน างพญา ไมบ น ไมส ไตรค มดทจ่ี ะตอ งเปน คผู สมพนั ธกุ บั นางพญามดกท็ ำหนา ทขี่ องตวั ไป โดยแบง ภารกจิ กนั ทำงานอยา งมรี ะบบ ทกุ ตวั รหู นา ทว่ี า ตวั ไหนตอ งทำอะไร มดคงไมม กี เิ ลสมา น่งั วางแผนเลื่อยขาเกา อ้ีกนั หรอื ลดั ควิ ขา มหว ยปนบนั ไดแ ยง กันเปนใหญอยา งคน และอกี อยาง หนึ่งผมวามดคงไมแ บง ชน้ั กนั ดว ยฐานะเหมือนคนหรอก” “อืม...นาจะใช” ราเมศพูดยมิ้ ๆ ชอบใจความเหน็ ของนอ งชาย “พเี่ หน็ มดเดนิ เอาหวั ชนกนั เวลาทเ่ี ขาเดนิ สวนทางกนั เขาทำยงั งน้ั ทำไม เขาทกั ทายกนั หรอื วา มดไมม ตี า” รฐั วิทยพี่ชายคนรองถามบาง “มีสิพี่วิทย ไมมีมันจะเดนิ ตรงทางไดย งั ไง แตใ นตำราเขาบอกไวว า ตาพวกมดหรอื แมลง นีจ่ ะมลี ักษณะของการมองเหน็ ไมเหมือนตาสตั วชนิดอน่ื เพราะฉะนั้นการทเี่ ขาใชห นวดชนกัน... ไมใ ชเ อาหัวชนกนั นะพ.ี่ ..เขาอาจส่ือขอ มลู ใหกันก็ได” “สงซกิ แนล” ราเมศถามบาง “ฮะ...กค็ งทำนองนน้ั อาจจะสอ่ื กนั ดว ยความปรารถนาดวี า เสน ทางทที่ งั้ สองฝา ยเดนิ ผา นมา นนั้ มอี ะไรดหี รอื ไมด ีอยางไร อาจจะเรือ่ งอาหารบางเรอื่ งอันตรายตาง ๆ บาง เปนการนำเสนอ หรือเชอื่ มโยงขอ มูลใหส มาชกิ ทุกตวั ทราบ มดจะมสี ารเคมีชื่อเพอรโ รโมนสหรือกล่ินสาบในตวั ที่ สอ่ื กันได หากเกิดอะไรข้นึ จะไดร ะดมพลพรอ มเพรียงกันหรอื รวู าจะตอ งทำอะไรกัน” “อยางนนั้ เชยี ว...” รวงทิพยย่วั นองชาย “ฮะ...นา จะเปนอยางน้ัน” รฐั พลตอบแลว หวั เราะหึ ๆ ถึงตอนนี้คุณแมซง่ึ นัง่ ฟง อยเู งยี บ ๆ มานานแลว พูดขึน้ บา ง

424 คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนา ทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ “แมช อบมดอยสู องอยา งนะ อยา งแรกชอบทเ่ี ขารกั พวกพอ ง รกั รวงรวั มอี ะไรแปลกปลอม เขา มาในหมพู วกเขาหรืออาณาเขตของเขา เขาจะรวมตวั กนั กรูเขาตอสูป องกนั สดุ ฤทธ”ิ์ หยุดดมื่ น้ำเยน็ หน่งึ อกึ แลว คุณแมก พ็ ูดตอ “อยา งทสี่ อง ชอบทเี่ ขาสามคั คกี นั แมช อบดมู ดแดงหลาย ๆ ตวั ชว ยกนั คาบแลว กด็ งึ ใบไม ไปทำรงั ใบไมห นกั นะสำหรบั มดตวั นดิ เดยี ว แตท กุ ตวั กช็ ว ยกนั ออกแรงลาก มดแทบทกุ ตวั คงทำ ดว ยความสมัครใจ และโดยรวู าเปนหนา ท่ี มดคงไมแ อบหลบงาน หรอื แวบหายไปเหมือนคนใน บางสังคมทช่ี อบเอาเปรียบคนอน่ื ” คณุ แมพ ูดแบบ “หมน่ั ไส” สงั คมคนแบบนั้นเสียเต็มประดา ทกุ คนฟงคุณแมพดู แลว น่งิ คดิ สักครหู นึง่ คุณพอ กถ็ ามคณุ แม “ที่พูดมานี่ คณุ เหน็ วา มดมีพฤตกิ รรมดีกวามนุษยใ ชไหม” “คะ ...ในบางเรอ่ื ง และดกี วา บางกลมุ บางคน ไมท ัง้ หมดทุกเร่ืองและทกุ คนคะ ” คุณแม ตอบแบบเลน สำนวนชวนเวียนหวั กอน แลว พดู ตอ “สมยั กอ นเมอื่ เรายงั หนมุ สาว เราเคยเหน็ ชาวไรช าวนาเขาลงแขกชว ยกนั เกยี่ วขา ว ชว ยกนั ขดุ สระน้ำ ชวยกันทำทางเดิน สมัยนีไ้ มค อ ยเห็นแตมกั จะเห็นมวลชนหรือม็อบเดนิ ขบวนสไตรค ขอคา แรงงานเพ่มิ บา ง ขบั ไลค นท่ีไมชอบบาง สนับสนนุ คนที่ชอบบา ง บางทีก็รวมพลงั ...พลังกาย นะ ไมใ ชพ ลงั สมอง ไปทบุ ทำลายขา วของหรอื สถานทบี่ า ง มากกวา การรวมพลงั สมองพลงั ปญ ญา ไปชวยกันแกไขปญหาเศรษฐกิจหรือสรางสรรคสังคม การใหความสำคัญในเร่ืองระเบียบวินัย และกฎเกณฑของคนสว นใหญในสงั คมสมัยนย้ี งั นอยกวามด” “เอา ...ฟงคณุ แมบ รรยายแลวนักวจิ ยั มดจะสรปุ วายงั ไง?” คณุ พอ ถาม รฐั พลหวั เราะแลว ตอบวา “สรปุ กค็ อื พฤตกิ รรมของคนในบางสงั คมมนษุ ย ตอ งดสู งั คมมด เปน ตัวอยา งและถอื วา เปนตน แบบทด่ี ีในเร่อื งความรกั สามัคคี ความรบั ผดิ ชอบในหนาที่ และ ความมวี นิ ยั ” ทุกคนพยักหนา เห็นดวยกอ นทีค่ ณุ แมจ ะบอกวา “จะ ๘ โมงครึง่ แลวนะ มดตัวใหญมีหนาทีต่ องไปเขาเวรทรี่ า นก็รีบไปทำหนาทซี่ ะ...อยา ให นางพญามดสงั่ !” ฮา!!! ทม่ี า: สโรชา. วัฒนธรรมประชาธิปไตย เรือ่ งใหญที่ตอ งสราง

สว่ นที่ ๖ แบบบนั ทกึ และแบบประเมิน รายวิชาเพม่ิ เตมิ หนา้ ที่พลเมอื ง ๑--๒ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑

426 คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ หนว ยการเรียนรูท่ี ๔ แบบบันทกึ คําถาม–คําตอบ เร่ือง ความเสมอภาคของคนไทยในป˜จจบุ นั แผนการจัดการเรยี นรทูŒ ่ี ๒๒ หลักการประชาธิปไตย: ความเสมอภาค ผลการเรยี นรูŒ ๖. ปฏิบตั ิตนเปนพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ๑๐. ปฏิบตั ติ นเปนผมู ีวินัยในตนเอง คำชแี้ จง บันทึกคำตอบลงในแบบบันทกึ ๑. คนไทยมีความเสมอภาคกนั ในดานใดบาง ๒. นกั เรียนพอใจกับความเสมอภาคของคนไทยในปจจบุ ันหรือไม อยางไร ๓. ปจจบุ นั สังคมไทยเกิดปญ หาเกย่ี วกับความเสมอภาคของคนในสงั คมหรือไม อยางไร

คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิ่มเติม หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 427 ๔. นกั เรียนคิดวา ขอดีของความเสมอภาคที่คนไทยไดรบั ในปจ จบุ ันมอี ะไรบา ง ๕. นกั เรยี นคดิ วา ตนเองจะนาํ ความเสมอภาคท่ีไดรับไปใชใหเ กิดประโยชนไ ดอยา งไรบา ง ๖. จากการสืบคน ขอมลู เก่ยี วกบั ความเสมอภาคของคนไทยในปจจุบัน นักเรยี นไดขอสรปุ อยา งไร ชอื่ นามสกลุ เลขที่ ชนั้ โรงเรยี น

428 คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาท่ีพลเมือง ๑-๒ ม.๑ หนว ยการเรียนรูท่ี ๔ แบบบนั ทกึ ผลการสํารวจ เรื่อง การตดั สินใจโดยใชเŒ หตผุ ล แผนการจดั การเรยี นรทŒู ่ี ๒๕ การตัดสนิ ใจโดยใชŒเหตุผล ผลการเรียนรŒู ๖. ปฏบิ ัตติ นเปน พลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย ๑๐. ปฏิบตั ิตนเปน ผูม วี นิ ัยในตนเอง คำชแี้ จง บนั ทึกผลการสำรวจลงในแบบบันทึก ผลทไี่ ดŒรบั จากการสำรวจในครง้ั นี้ คอื ชอ่ื นามสกลุ เลขที่ ชน้ั โรงเรยี น

คูม ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพิม่ เตมิ หนาทพ่ี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 429 หนวยการเรยี นรูท่ี ๔ แบบบันทึกผลจากการแสดงละคร เรื่อง การมสี ว‹ นร‹วมและรบั ผิดชอบในการตัดสนิ ใจต‹อกิจกรรมของหอŒ งเรียน แผนการจดั การเรยี นรทŒู ่ี ๒๖ การมสี ว‹ นรว‹ มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตอ‹ กจิ กรรมของหอŒ งเรยี น ผลการเรยี นรŒู ๗. มสี ว นรว มและรบั ผดิ ชอบในการตดั สนิ ใจตรวจสอบขอ มลู เพอ่ื ใชป ระกอบการ ตัดสนิ ใจในกจิ กรรมตา ง ๆ ๑๐. ปฏิบัติตนเปนผมู ีวินยั ในตนเอง คำช้ีแจง บันทึกผลจากการแสดงละครลงในแบบบันทกึ ผลท่ไี ดŒรับจากการแสดงละครในคร้งั นี้ คอื กลม‹ุ สมาชิก ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

430 คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทพี่ ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ หนวยการเรียนรูท่ี ๕ แบบบันทึกผลการวเ� คราะห เร่ือง ความมวี ินยั ในตนเองเพอ่ื ความปรองดอง สมานฉนั ท แผนการจดั การเรยี นรทŒู ่ี ๓๘ ความมวี ินัยในตนเองเพอ่ื ความปรองดอง สมานฉันท ผลการเรียนรŒู ๙. มสี วนรว มในการแกปญ หาความขัดแยง โดยสันตวิ ิธี ๑๐. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูม วี นิ ัยในตนเอง คำชแ้ี จง บันทกึ ผลการวิเคราะหล งในแบบบันทึก ผลท่ไี ดŒรบั จากการวิเคราะหเร่อื งน้ี คอื ชอ่ื นามสกลุ เลขที่ ชนั้ โรงเรยี น

คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนา ที่พลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 431 แบบบนั ทึกความรู แผนการจดั การเรยี นรŒูที่ เรื่อง ผลการเรียนรูŒ เร่อื ง ๑. สรุปความรทู ไี่ ดร บั ๒. สรปุ แนวคิดใหมที่ได ๓. การนําไปใชป ระโยชน ชอื่ นามสกลุ เลขที่ ชน้ั โรงเรยี น

432 คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ แบบบนั ทึกผลการอภปิ ราย แผนการจัดการเรยี นรทŒู ี่ เรื่อง ผลการเรียนรูŒ เรื่อง ผลท่ีไดŒรบั จากการอภิปราย คือ กล‹มุ ที่ สมาชกิ ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 433 แบบบนั ทกึ ผลการสาํ รวจ แผนการจดั การเรียนรทŒู ่ี เรือ่ ง ผลการเรียนรŒู เรอื่ ง ผลจากการสำรวจ คอื กลม‹ุ ที่ สมาชกิ ๑. ๔. ๒. ๕. ๓. ๖.

434 คูมือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา ท่พี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ ตวั อยา งแบบประเมินการเขยี นเรียงความ เรือ่ ง หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ่ี แผนการจดั การเรยี นรทŒู ่ี พ.ศ. วันท่ี เดอื น รายการประเมนิ สรปุ ผล เลขที่ ชือ่ –สกลุ การเ นนประโยคแรก (๕ คะแนน) ผา‹ น ไมผ‹ า‹ น ประโยคหลักใหแนวคิดหลักท่ีสำ ัคญ ตอยอหนา (๕ คะแนน) เ ีขยนประโยค ่ทีสมบูร ณ (๕ คะแนน) คำสะกด ิผดพลาดไมเ ิกน ๕ คำ (๕ คะแนน) ส ุรปอยางมีเหตุผล (๖ คะแนน) ลาย ืมอ อานออก (๔ คะแนน) รวมคะแนน (๓๐ คะแนน) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑการประเมิน ไดค ะแนนรอ ยละ ๕๐ ขึน้ ไปถอื วา ผาน

คูมอื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เติม หนาที่พลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 435 ตัวอยางแบบประเมนิ ทักษะการพูด เรื่อง หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ี่ แผนการจดั การเรยี นรทŒู ่ี พ.ศ. วนั ที่ เดอื น รายการประเมนิ สรุปผล เลขที่ ช่อื –สกุล การปรากฏตัว (๓ คะแนน) ผา‹ น ไมผ‹ ‹าน การเ ่ริมเร่ือง (๓ คะแนน) การออกเ ีสยงและจังหวะ (๔ คะแนน) การลำ ัดบเ ื้นอหา (๕ คะแนน) ุบคลิกทาทาง (๒ คะแนน) การใ ชถอยคำเหมาะสม (๓ คะแนน) ความเ ราใจ (๒ คะแนน) ความสนใจของผูฟง (๒ คะแนน) ุคณคาของเ ื่รองที่พูด (๓ คะแนน) การส ุรป ่ีทเหมาะสม (๓ คะแนน) รวมคะแนน (๓๐ คะแนน) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑการประเมนิ ไดค ะแนนรอ ยละ ๕๐ ขึ้นไปถือวาผา น

436 คูมือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเติม หนาท่พี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ ตวั อยางแบบประเมินผลงาน/กจิ กรรมเปนรายบุคคล ผลงาน/กจิ กรรมที่ เรอ่ื ง แผนการจดั การเรยี นรทŒู ี่ หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ่ี วนั ที่ เดอื น พ.ศ. รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เลขท่ี ช่อื –สกลุ ความถูกตองของผลงาน/ ิกจกรรม (๖ คะแนน) ๔๓๒๑ ุจดเดนของผลงาน/ ิกจกรรม (๔ คะแนน) ความคิด ิรเริ่มส รางสรรค (๔ คะแนน) ูรปแบบการนำเสนอผลงาน (๓ คะแนน) การนำไปใ ชประโยชน (๓ คะแนน) รวมคะแนน (๒๐ คะแนน) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑก ารประเมนิ (ตัวอย‹าง) การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ ปน ระดบั คณุ ภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ ดต ามความเหมาะสม หรืออาจใชเกณฑ ดงั น้ี ๑๘–๒๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๑๔–๑๗ คะแนน = ๓ (ดี) ๑๐–๑๓ คะแนน = ๒ (พอใช)Œ ๐–๙ คะแนน = ๑ (ควรปรบั ปรุง) สรุปผลการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ลงชอ่ื ผปู ระเมนิ ( ) / /

คมู อื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่มิ เตมิ หนา ท่พี ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 437 ตวั อยา งแบบประเมนิ ผลงาน/กิจกรรมเปนกลุม ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรอื่ ง แผนการจดั การเรยี นรทŒู ี่ หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ่ี วนั ที่ เดือน พ.ศ. รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ เลขที่ ชื่อ–สกลุ ความถูกตองของผลงาน/ ิกจกรรม (๖ คะแนน) ๔๓๒๑ ุจดเดนของผลงาน/ ิกจกรรม (๔ คะแนน) ความคิด ิรเริ่มส รางสรรค (๔ คะแนน) ูรปแบบการนำเสนอผลงาน (๓ คะแนน) การนำไปใ ชประโยชน (๓ คะแนน) รวมคะแนน (๒๐ คะแนน) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑการประเมิน (ตวั อย‹าง) การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ ปน ระดบั คณุ ภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ ดต ามความเหมาะสม หรืออาจใชเ กณฑ ดังนี้ ๑๘–๒๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๑๔–๑๗ คะแนน = ๓ (ดี) ๑๐–๑๓ คะแนน = ๒ (พอใชŒ) ๐–๙ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรงุ ) สรุปผลการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ลงชอ่ื ผปู ระเมนิ ( ) / /

438 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ท่พี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ ตัวอยา งแบบประเมนิ พฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน รายบคุ คล ผลงาน/กจิ กรรมที่ เรอ่ื ง แผนการจดั การเรยี นรทŒู ี่ หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ี่ วันที่ เดือน พ.ศ. คำชแี้ จง สงั เกตพฤตกิ รรมในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของนักเรียน แลว เขยี นเครอื่ งหมาย  ลงในชอง รายการประเมินพฤตกิ รรมทีน่ ักเรยี นแสดงออก รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ เลขท่ี ช่ือ–สกุล สนใจในการทำงาน ๔๓๒๑ ไ มเอาเปรียบเ ืพ่อนในการทำงาน เสนอความคิดเ ็หน ัรบ ฟงความคิดเ ็หนของผู ่ือน ใ หความ ชวยเหลือผูอ่ืน ุมงม่ันทำงานใหสำเร็จ ประเมินและปรับป ุรงดวยความเต็มใจ เคารพ ขอตกลงของกลุม ทำตามหนา ีท่ ่ทีไ ด ัรบมอบหมาย พอใจ ักบความสำเร็จของงาน รวมคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑก ารประเมนิ ๑. การใหค ะแนน  ให ๑ คะแนน ๒. การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ ปน ระดบั คณุ ภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ ดต ามความเหมาะสมหรอื อาจใชเ กณฑด งั น้ี ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดีมาก) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช)Œ ๗–๘ คะแนน = ๓ (ด)ี ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรบั ปรุง) สรปุ ผลการประเมนิ ดีมาก ดี พอใช ควรปรบั ปรงุ ลงช่ือ ผปู ระเมนิ ( ) / /

คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิม่ เติม หนา ทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 439 ตวั อยางแบบประเมินพฤตกิ รรมในการทาํ งานเปน กลุม ผลงาน/กจิ กรรมท่ี เรอ่ื ง แผนการจดั การเรยี นรทŒู ี่ หนว‹ ยการเรยี นรทŒู ่ี วันที่ เดอื น พ.ศ. คำชแี้ จง สังเกตพฤติกรรมในการปฏบิ ัติกิจกรรมของนักเรียน แลว เขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ ง รายการประเมนิ พฤตกิ รรมทีน่ ักเรียนแสดงออก รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ เลขที่ ชื่อ–สกุล แ บงงานกัน ัรบผิดชอบ ๔๓๒๑ มีกระบวนการทำงานเปน ั้ขนตอน ทำตามหนาท่ีท่ีได ัรบมอบหมาย รวมกันแสดงความ ิคดเห็น ัรบฟงความ ิคดเ ็หนของสมา ิชกกลุม นำมติ/ขอตกลงของกลุมไปปฏิ ับ ิต รวมกันป ัรบป ุรงผลงาน ดวยความเต็มใจ มุงมั่นทำงานใ หสำเร็จ พอใจกับความสำเร็จของงาน บรรยากาศในการทำงาน รวมคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑก ารประเมิน ๑. การใหค ะแนน  ให ๑ คะแนน ๒. การสรปุ ผลการประเมนิ ใหเ ปน ระดบั คณุ ภาพ ๔, ๓, ๒, ๑ กำหนดเกณฑไ ดต ามความเหมาะสมหรอื อาจใชเ กณฑด งั น้ี ๙–๑๐ คะแนน = ๔ (ดมี าก) ๕–๖ คะแนน = ๒ (พอใช)Œ ๗–๘ คะแนน = ๓ (ดี) ๐–๔ คะแนน = ๑ (ควรปรับปรงุ ) สรปุ ผลการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ควรปรับปรงุ ลงชื่อ ผูประเมิน ( ) / /

440 คูม ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ ตวั อยางแบบประเมนิ รายงานการศกึ ษาคนควา เรื่อง กลุ‹มที่ ภาคเรยี นที่ ช้นั รายการประเมนิ สรปุ ผล เลขท่ี ชื่อ–สกลุ เ ้ืนอหาสาระครบถวนตรงตามประเ ็ดน ผ‹าน ไมผ‹ ‹าน ความ ูถก ตองของเน้ือหาสาระ ภาษา ูถก ตองเหมาะสม คนค วาจากแหลงการเ ีรยน ูร ีท่หลากหลาย รูปแบบการนำเสนอนาสนใจ ประเ ิมน ปรับป ุรง และแสดงความรู ึสก ตอ ้ชินงาน รวมจำนวนรายการ ่ีท ‹ผานเกณ ฑข้ันต่ำ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เกณฑการประเมิน แยกตามองคป ระกอบยอย ๖ ดา น รายการที่ ๑ เนอ้ื หาสาระครบถŒวนตรงตามประเดน็ ๔ หมายถึง มเี น้อื หาสาระครบถว นตามประเดน็ ทกี่ ําหนดทง้ั หมด ๓ หมายถึง มีเนอ้ื หาสาระคอ นขางครบถวนตามประเดน็ ทก่ี าํ หนดท้งั หมด ๒ หมายถึง มีเน้ือหาสาระไมครบถวนตามประเด็น แตภาพรวมของเน้ือหาสาระทั้งหมดอยูใน เกณฑพ อใช ๑ หมายถงึ มเี นอื้ หาสาระไมค รบถว น ภาพรวมของเนอื้ หาสาระทงั้ หมดอยใู นเกณฑต อ งปรบั ปรงุ รายการท่ี ๒ ความถกู ตอŒ งของเน้ือหาสาระ ๔ หมายถงึ เน้อื หาสาระท้ังหมดถูกตอ งตามขอเทจ็ จรงิ และหลกั วิชา ๓ หมายถงึ เนื้อหาสาระเกือบทัง้ หมดถกู ตองตามขอเท็จจริงและหลักวชิ า

คมู ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 441 ๒ หมายถึง เนือ้ หาสาระบางสวนถูกตอ งตามขอ เท็จจริง แตห ลกั วชิ าตอ งแกไ ขบางสว น ๑ หมายถึง เนอ้ื หาสาระสวนใหญไ มถกู ตอ งตามขอเท็จจริง หลกั วชิ าตองแกไขเปนสว นใหญ รายการท่ี ๓ ภาษาถูกตอŒ งเหมาะสม ๔ หมายถึง สะกดการันตถ ูกตอง ถอ ยคาํ สาํ นวนเหมาะสมดมี าก ลําดับความไดช ดั เจน เขา ใจ งาย ๓ หมายถึง สะกดการันตถูกตองเปนสวนใหญ ถอยคําสํานวนเหมาะสมดี ลําดับความไดดี พอใช ๒ หมายถงึ สะกดการันตผ ิดอยูบา ง ถอ ยคาํ สาํ นวนเหมาะสมพอใช ลําดับความพอเขาใจ ๑ หมายถงึ สะกดการนั ตผดิ มาก ถอยคําสํานวนไมเ หมาะสม ลาํ ดบั ความไดไมชดั เจน รายการที่ ๔ คนŒ ควŒาจากแหลง‹ การเรยี นรูŒท่หี ลากหลาย ๔ หมายถึง คนควา จากแหลงการเรียนรทู หี่ ลากหลายตัง้ แต ๔ แหลง ขึ้นไป ๓ หมายถงึ คนควาจากแหลง การเรยี นรทู ่หี ลากหลายต้งั แต ๓ แหลง ข้ึนไป ๒ หมายถึง คนควา จากแหลง การเรียนรู ๒ แหลง ๑ หมายถึง ใชความรูเ พยี งแหลง การเรียนรูเ ดียว รายการที่ ๕ รปู แบบการนาํ เสนอน‹าสนใจ ๔ หมายถึง รปู แบบการนําเสนองานแปลกใหม นา สนใจดี ลาํ ดับเรื่องราวไดด มี าก ๓ หมายถึง รูปแบบการนําเสนองานนาสนใจ ลาํ ดบั เรื่องราวไดดี ๒ หมายถึง รูปแบบการนําเสนองานนาสนใจพอใช ลาํ ดับเรือ่ งราวไดพ อใช ๑ หมายถงึ รปู แบบการนําเสนองานไมน า สนใจ ลําดบั เรือ่ งราวไดไมดี รายการท่ี ๖ ประเมิน ปรับปรุง และแสดงความรŒูสึกต‹อช้ินงาน ๔ หมายถึง วเิ คราะหข อเดน ขอ ดอ ยของงานไดช ดั เจน ปรับปรุงพฒั นางานไดเ หมาะสม และ แสดงความรูส กึ ตองานทั้งกระบวนการทาํ งานและผลงานไดอ ยางชัดเจน ๓ หมายถึง วเิ คราะหขอ เดน ขอ ดอยของงานไดบางสวน ปรับปรงุ พฒั นางานไดบ าง และแสดง ความรสู ึกตองานไดแ ตไมครบถวน ๒ หมายถึง วเิ คราะหข อเดน ขอดอยของงานไดเล็กนอย ปรับปรุงพัฒนางานดว ยตนเองไมได ตอ งไดร บั คาํ แนะนาํ จากผอู ่ืน และแสดงความรูส ึกตอ งานไดแ ตไมค รบถว น ๑ หมายถงึ วเิ คราะหข อ เดน ขอ ดอ ยของงานไมไ ด ไมป รบั ปรงุ พฒั นางาน และแสดงความรสู กึ ตอ งานไดเลก็ นอ ยหรอื ไมแ สดงความรูสกึ ตองาน เกณฑการตดั สนิ ผลการประเมิน นักเรียนตอ งมพี ฤตกิ รรมอยางนอ ยระดับ ๓ ข้นึ ไปในแตล ะรายการ จํานวน ๔ ใน ๖ รายการ จงึ จะถือวา ผา น ลงชอ่ื ผูŒประเมิน () //

442 คูมือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เติม หนาท่พี ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ มติ ิคณุ ภาพของการบนั ทึกผลงาน กำหนดเกณฑการประเมนิ ผลการบันทกึ ผลงานโดยใชมาตราสว นประมาณคา ๔ ระดบั ดังนี้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ – บนั ทกึ ผลงานไดถ ูกตอ งตามจุดประสงค เขียนบนั ทึกไดชัดเจน ๔ ๓ แนวคดิ หลกั ถกู ตอง มปี ระเด็นสำคัญครบถวน ๒ – ใชภาษาไดอ ยางเหมาะสม คำศพั ทถกู ตอง ๑ – บนั ทึกผลงานไดถ กู ตองตามจุดประสงค เขียนบันทึกท่ีมบี างสวนยัง ไมช ดั เจน แนวคดิ หลกั ถกู ตอ ง มปี ระเดน็ สำคญั ครบถว น – ใชภ าษา คำศพั ทไมถ กู ตอ งในบางสว น – บนั ทกึ ผลงานยดึ ตามจดุ ประสงค เขยี นบนั ทกึ ไมช ดั เจน แนวคดิ หลกั บางสวนไมถ กู ตอง สว นท่เี ปนประเดน็ สำคัญมไี มครบถว น – ใชภาษา คำศพั ทไมถกู ตอ งในบางสว น – บันทกึ ผลงานไมส อดคลอ งกบั จดุ ประสงค เขียนบนั ทึกไมช ัดเจน และแนวคิดหลกั สว นใหญไ มถ กู ตอง – ใชภ าษา คำศัพทไมถ ูกตอง

คมู ือครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพิม่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ 443 ตัวอยา งแบบประเมินโครงงาน ชอ่ื โครงงาน กลม‹ุ ท่ี ภาคเรยี นที่ ชน้ั รายการประเมนิ สรุปผล ความสำคัญของการจัดทำโครงงาน เลขท่ี ชื่อ–สกลุ เ ื้นอหาของโครงงาน ผา‹ น ไมผ‹ า‹ น กระบวนการทำโครงงาน การนำเสนอโครงงาน รวมจำนวนรายการ ่ีทผ‹านเกณ ฑ ้ัขนต่ำ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑก ารประเมิน แยกตามองคประกอบยอ ย ๔ ดาน รายการที่ ๑ ความสาํ คัญของการจัดทําโครงงาน ๔ หมายถงึ มีการทํางานเปนกระบวนการกลมุ มีความคดิ ริเร่มิ สรางสรรค สอดคลองกบั เน้อื หา และมีประโยชนใ นชวี ิตจรงิ ๓ หมายถึง มกี ารทาํ งานเปน กระบวนการกลมุ มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรค บางสว นไมส อดคลอ ง กบั เนือ้ หา แตม ีประโยชนใ นชีวิตจริง

444 คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เติม หนา ที่พลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ ๒ หมายถงึ มีการทำงานเปนกระบวนการกลุม มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ไมสอดคลองกับ เนื้อหา และไมม ปี ระโยชนในชวี ิตจริง ๑ หมายถึง มีการทำงานเปนกระบวนการกลุม แตขาดความคิดริเริ่มสรางสรรค ไมสอดคลอง กบั เนอ้ื หา และไมม ีประโยชนใ นชีวิตจริง รายการที่ ๒ เน้อื หาของโครงงาน ๔ หมายถึง เนอ้ื หาถกู ตอ งครบถว น ใชแ นวคดิ และขอ มลู ขา วสารทเ่ี หมาะสม และมกี ารสรปุ ไดด ี ๓ หมายถึง เน้ือหาเกือบทั้งหมดถูกตอง ใชแนวคิดที่เหมาะสม มีขอมูลขาวสารบางเรื่อง ไมเหมาะสม และการสรุปตอ งแกไข ๒ หมายถงึ เนอ้ื หาบางสว นถกู ตอง แนวคดิ และขอ มูลขาวสารบางสว นตองแกไ ข และการสรปุ ตอ งแกไข ๑ หมายถึง เนื้อหาสวนใหญไมถูกตอง แนวคิดและขอมูลขาวสารสวนใหญตองแกไข และ การสรุปตอ งแกไขทั้งหมด รายการท่ี ๓ กระบวนการทำโครงงาน ๔ หมายถึง มีการวางแผนอยางเปนระบบ มีการดำเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบัติจนประสบ ความสำเร็จ และมกี ารประเมินและปรบั ปรุงการดำเนินงาน ๓ หมายถึง มีการวางแผนอยางเปนระบบ มีการดำเนินงานตามแผน ลงมือปฏิบัติจนประสบ ความสำเร็จ แตข าดการประเมนิ และปรับปรุงการดำเนนิ งาน ๒ หมายถึง มกี ารวางแผนอยา งเปน ระบบ แตไมไ ดดำเนินงานตามแผน แมจะปฏิบตั จิ นประสบ ความสำเร็จ และมกี ารประเมนิ และปรบั ปรุงการดำเนนิ งานกต็ าม ๑ หมายถึง มีการวางแผนไมเ ปน ระบบ การดำเนนิ งานไมป ระสบความสำเรจ็ รายการท่ี ๔ การนำเสนอโครงงาน ๔ หมายถึง สอื่ ความหมายไดช ดั เจน ขอ มลู ครบถว นสมบรู ณ ใชร ปู แบบทเี่ หมาะสม และขอ สรปุ ของโครงงานบรรลวุ ัตถุประสงคทีต่ ้งั ไว ๓ หมายถึง สื่อความหมายไดชัดเจน ขอมูลครบถวนสมบูรณ ใชรูปแบบท่ีไมคอยเหมาะสม แตขอสรปุ ของโครงงานบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท ี่ตง้ั ไว ๒ หมายถงึ สื่อความหมายไมคอยชัดเจน ขอมูลบางสวนขาดความสมบูรณ ใชรูปแบบท่ี ไมเ หมาะสม ขอ สรุปของโครงงานไมบ รรลวุ ตั ถุประสงคที่ต้ังไวท ้ังหมด ๑ หมายถงึ สื่อความหมายไมชัดเจน ขอมลู สว นใหญไมส มบูรณ ใชรปู แบบที่ไมเ หมาะสม และ ขอ สรปุ ของโครงงานไมบ รรลวุ ตั ถุประสงคท่ีตงั้ ไว เกณฑก ารตัดสนิ ผลการประเมนิ นักเรยี นตอ งมีพฤติกรรมอยางนอยระดับ ๓ ข้นึ ไปในแตละรายการ จำนวน ๓ ใน ๔ รายการ จึงจะถือวา ผา น ลงชอ่ื ผปูŒ ระเมนิ () //

คูมือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพม่ิ เติม หนา ทพ่ี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 445 แบบบนั ทกึ ความคิดเห็นเกย่ี วกับการประเมินผลงาน ในแฟมสะสมผลงาน ชื่อผลงาน วันที่ เดือน พ.ศ. หน‹วยการเรียนรูŒท่ี เร่ือง รายการประเมิน บนั ทึกความคดิ เหน็ ของนักเรียน ๑. เหตผุ ลที่เลอื กผลงานชิน้ นไี้ วในแฟมสะสม ผลงาน ๒. จดุ เดน และจดุ ดอ ยของผลงานชิ้นนี้มอี ะไรบาง ๓. ถาจะปรับปรุงผลงานชิ้นนี้ใหดีขึ้นควรปรับปรุง อยา งไร ๔. ผลงานชน้ิ นค้ี วรไดค ะแนนเทา ใด เพราะเหตใุ ด (ถา กำหนดใหค ะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน) ความคิดเห็นของครูหรือท่ปี รึกษา ความคดิ เหน็ ของผŒปู กครอง ผลการประเมินของเพอ่ื น

446 คมู ือครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนาที่พลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ ตวั อยา งแบบประเมินแฟมสะสมผลงาน ชอ่ื โครงงาน กลม‹ุ ท่ี ภาคเรยี นที่ ชน้ั รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ๑. โครงสรา งและองคป ระกอบ ๔๓๒๑ ๒. แนวความคดิ หลกั ๓. การประเมินผล ๔. การนำเสนอ เกณฑการประเมิน แยกตามองคป ระกอบยอ ย ๔ ดาน ระดับคณุ ภาพ รายการประเมนิ รายการที่ ๑ โครงสรŒางและองคประกอบ ๔ ผลงานมอี งคประกอบทส่ี ำคญั ครบถว นและจดั เก็บไดอ ยางเปน ระบบ ๓ ผลงานมีองคป ระกอบทีส่ ำคญั เกือบครบถวนและสวนใหญจ ดั เกบ็ อยางเปน ระบบ ๒ ผลงานมอี งคป ระกอบทีส่ ำคัญเปน สวนนอ ย แตบางช้นิ งานมกี ารจัดเกบ็ ที่เปน ระบบ ๑ ผลงานขาดองคประกอบทส่ี ำคัญและการจัดเก็บไมเปนระบบ รายการที่ ๒ แนวความคดิ หลัก ๔ ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดความรูเกี่ยวกับหนาที่พลเมือง มีหลักฐานแสดงวา มีการนำความรไู ปใชประโยชนไดมาก ๓ ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนที่ไดความรูเก่ียวกับหนาที่พลเมือง มหี ลกั ฐานแสดงวาสามารถนำความรูไปใชในสถานการณตวั อยางได ๒ ผลงานสะทอนแนวความคิดหลักของนักเรียนท่ีไดความรูเกี่ยวกับหนาที่พลเมือง มหี ลกั ฐานแสดงถงึ ความพยายามทีจ่ ะนำไปใชประโยชน ๑ ผลงานจดั ไมเปนระบบ มหี ลกั ฐานแสดงวา มีความรเู กี่ยวกับหนาทีพ่ ลเมอื งนอยมาก รายการที่ ๓ การประเมนิ ผล ๔ มกี ารประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏบิ ตั ิงานและผลงาน รวมทงั้ มกี ารเสนอแนะโครงการทีเ่ ปน ไปไดทจ่ี ะจดั ทำตอ ไปไวอยา งชดั เจนหลายโครงการ ๓ มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงาน รวมทั้ง มีการเสนอแนะโครงการที่ควรจดั ทำตอ ไป ๒ มีการประเมินความสามารถและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและผลงานบาง รวมทั้ง มีการเสนอแนะโครงการทจี่ ะทำตอไปแตไ มช ัดเจน ๑ มกี ารประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านและผลงานนอ ยมาก และไมม ขี อ เสนอแนะใด ๆ

คูมอื ครู แผนการจัดการเรียนรู รายวิชาเพ่ิมเตมิ หนา ที่พลเมือง ๑-๒ ม.๑ 447 ระดับคุณภาพ รายการประเมนิ รายการที่ ๔ การนำเสนอ ๔ เขยี นบทสรุปและรายงานทมี่ รี ะบบดี มีข้ันตอน มขี อ มูลครบถวน มกี ารประเมินผล ครบถวน แสดงออกถึงความคิดริเรม่ิ สรา งสรรค ๓ เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีข้ันตอนการจัดเก็บผลงาน มีการประเมิน ผลงานเปนสวนมาก ๒ เขยี นบทสรปุ และรายงานแสดงใหเ หน็ วา มขี น้ั ตอนการจดั เกบ็ ผลงาน มกี ารประเมนิ ผล เปน บางสวน ๑ เขียนบทสรุปและรายงานแสดงใหเห็นวามีขั้นตอนการจัดเก็บผลงาน แตไมมีการ ประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ รายการประเมิน ๔ ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอ ไมมขี อผดิ พลาดหรอื แสดงถงึ ความไมเขา ใจ มคี วามเขา ใจในเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาโดยมกี ารบรู ณาการหรอื เชอ่ื มโยงแนวความคดิ หลกั ตา ง ๆ เขาดว ยกัน ๓ ผลงานมีรายละเอียดมากเพียงพอและไมมีขอผิดพลาดหรือแสดงถึงความไมเขาใจ แตขอมูลตาง ๆ เปนลักษณะของการนำเสนอที่ไมไดบูรณาการระหวางขอมูลกับ แนวความคดิ หลักของเรือ่ งทีศ่ กึ ษา ๒ ผลงานมรี ายละเอยี ดทบี่ นั ทกึ ไว แตพ บวา บางสว นมคี วามผดิ พลาดหรอื ไมช ดั เจน หรอื แสดงถึงความไมเ ขาใจเรื่องที่ศกึ ษา ๑ ผลงานมขี อมลู นอย ไมม ีรายละเอียดบนั ทกึ ไว

ส่วนที่ ๗ ความรู้เสริม รายวิชาเพิ่มเติม หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๑--๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑

คมู อื ครู แผนการจดั การเรียนรู รายวชิ าเพ่ิมเติม หนาทพ่ี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 449 โครงงาน (Project Work) โครงงานเปนการจัดการเรียนรูที่สงเสริมใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติและศึกษาคนควาดวย ตนเอง ตามแผนการดําเนินงานทน่ี ักเรยี นไดจ ดั ขน้ึ โดยครูชว ยใหค ําแนะนาํ ปรึกษา กระตุนใหค ดิ และติดตามการปฏบิ ัติงานจนบรรลเุ ปา หมาย โครงงานแบงออกเปน ๔ ประเภท คือ ๑. โครงงานประเภทสาํ รวจ รวบรวมขอ มูล ๒. โครงงานประเภททดลอง คน ควา ๓. โครงงานที่เปน การศึกษาความรู ทฤษฎี หลกั การหรือแนวคิดใหม ๔. โครงงานประเภทสง่ิ ประดิษฐ การเรยี นรดู วยโครงงานมขี ้นั ตอน ดังน้ี ๑. กําหนดหัวขŒอที่จะศึกษา นักเรียนคิดหัวขอโครงงาน ซ่ึงอาจไดมาจากความอยากรู อยากเหน็ ของนกั เรยี นเอง หรอื ไดจากการอานหนังสือ บทความ การไปทศั นศกึ ษาดูงาน เปนตน โดยนักเรียนตอ งตั้งคาํ ถามวา “จะศึกษาอะไร” “ทําไมตอ งศกึ ษาเรื่องดังกลาว” ๒. ศึกษาเอกสารท่ีเกีย่ วขอŒ ง นักเรยี นศกึ ษาทบทวนเอกสารที่เกย่ี วของ และปรกึ ษาครูหรือ ผทู ีม่ คี วามรูค วามเชย่ี วชาญในสาขาน้ัน ๆ ๓. เขียนเคŒาโครงของโครงงานหรือสรŒางแผนที่ความคิด โดยทั่วไปเคาโครงของโครงงาน จะประกอบดวยหัวขอ ตาง ๆ ดังนี้ ๑) ชอ่ื โครงงาน ๒) ชอ่ื ผูทําโครงงาน ๓) ชือ่ ที่ปรึกษาโครงงาน ๔) ระยะเวลาดาํ เนินการ ๕) หลักการและเหตผุ ล ๖) วัตถุประสงค ๗) สมมุตฐิ านของการศกึ ษาในกรณที ี่เปน โครงงานทดลอง ๘) ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน ๙) ปฏิบัติโครงงาน ๑๐) ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ ๑๑) เอกสารอางอิง/บรรณานุกรม ๔. ปฏิบัติโครงงาน ลงมอื ปฏบิ ัติงานตามแผนงานทกี่ ําหนดไว ในระหวางปฏบิ ัติงานควรมี การจดบันทึกขอมูลตา ง ๆ ไวอยา งละเอียดวาทําอยางไร ไดผลอยางไร มปี ญ หาหรอื อปุ สรรคอะไร และมีแนวทางแกไขอยา งไร

450 คมู ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพม่ิ เตมิ หนา ทีพ่ ลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ ๕. เขียนรายงาน เปนการรายงานสรุปผลการดําเนินงาน เพื่อใหผูอ่ืนไดทราบแนวคิด วธิ ีดาํ เนนิ งาน ผลที่ไดร ับ และขอเสนอแนะตาง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ซึง่ การเขียนรายงานน้คี วรใช ภาษาที่กระชับ เขาใจงาย ชัดเจน และครอบคลมุ ประเด็นท่ศี ึกษา ๖. แสดงผลงาน เปนการนําผลของการดําเนินงานมาเสนอ อาจจัดไดหลายรูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ การทําเปนสื่อส่ิงพิมพ ส่ือมัลติมีเดีย หรืออาจนําเสนอในรูปของการแสดง ผลงาน การนาํ เสนอดวยวาจา บรรยาย อภิปรายกลมุ สาธิต

คูม ือครู แผนการจัดการเรยี นรู รายวิชาเพ่มิ เติม หนาทพี่ ลเมือง ๑-๒ ม.๑ 451 แฟม สะสมผลงาน (Portfolio) แฟม‡ สะสมผลงาน หมายถงึ แหลง รวบรวมเอกสาร ผลงาน หรอื หลกั ฐาน เพอื่ ใชส ะทอ น ถงึ ผลสมั ฤทธ์ิ ความสามารถ ทกั ษะ และพฒั นาการของนกั เรยี น มกี ารจดั เรยี บเรยี งผลงานไวอ ยา ง มีระบบ โดยนําความรู ความคิด และการนําเสนอมาผสมผสานกัน ซึ่งนักเรียนเปนผูคัดเลือก ผลงานและมีสวนรวมในการประเมิน แฟมสะสมผลงานจึงเปนหลักฐานสําคัญท่ีจะทําใหนักเรียน สามารถมองเห็นพัฒนาการของตนเองไดตามสภาพจริง รวมทั้งเห็นขอบกพรอง และแนวทาง ในการปรับปรุงแกไขใหดีข้นึ ตอ ไป ลกั ษณะสาํ คัญของการประเมินผลโดยใชŒแฟม‡ สะสมผลงาน ๑. ครสู ามารถใชเ ปน เครอื่ งมอื ในการตดิ ตามความกา วหนา ของนกั เรยี นเปน รายบคุ คลไดเ ปน อยา งดี เนอ่ื งจากมผี ลงานสะสมไว ครจู ะทราบจดุ เดน จดุ ดอ ยของนกั เรยี นแตล ะคนจากแฟม สะสม ผลงาน และสามารถติดตามพัฒนาการไดอยา งตอเน่อื ง ๒. มุงวัดศักยภาพของนักเรียนในการผลิตหรือสรางผลงานมากกวาการวัดความจําจากการ ทําแบบทดสอบ ๓. วัดและประเมินโดยเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง คือ นักเรียนเปนผูวางแผน ลงมือ ปฏบิ ตั งิ าน รวมทงั้ ประเมนิ และปรบั ปรงุ ตนเอง ซงึ่ มคี รเู ปน ผชู แ้ี นะ เนน การประเมนิ ผลยอ ยมากกวา การประเมินผลรวม ๔. ฝก ใหน กั เรียนรูจกั การประเมินตนเองและหาแนวทางปรบั ปรุงพัฒนาตนเอง ๕. ชวยใหนักเรียนเกิดความมั่นใจและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง รูวาตนเองมีจุดเดน ในเรอ่ื งใด ๖. ชว ยในการสอ่ื ความหมายเกย่ี วกบั ความรู ความสามารถ ตลอดจนพฒั นาการของนกั เรยี น ใหผ ูท เี่ ก่ยี วขอ งทราบ เชน ผปู กครอง ฝายแนะแนว ตลอดจนผูบ ริหารของโรงเรยี น ขนั้ ตอนการประเมินผลโดยใชŒแฟม‡ สะสมผลงาน การจดั ทาํ แฟมสะสมผลงานมี ๑๐ ขัน้ ตอน ซึง่ แตล ะขัน้ ตอนมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี ๑. การวางแผนจดั ทาํ แฟม‡ สะสมผลงาน การจดั ทาํ แฟม สะสมผลงานตอ งมสี ว นรว มระหวา ง ครู นักเรยี น และผปู กครอง ครู การเตรียมตัวของครูตอ งเร่ิมจากการศกึ ษาและวิเคราะหห ลกั สตู ร คมู ือครู คาํ อธิบาย รายวชิ า วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลในหลกั สตู ร รวมทง้ั ครตู อ งมคี วามรแู ละเขา ใจเกยี่ วกบั การประเมนิ โดยใชแฟม สะสมผลงาน จงึ สามารถวางแผนกาํ หนดช้นิ งานได นักเรียน ตองมีความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงคการเรียนรู เนื้อหาสาระ การประเมินผล โดยใชแฟม สะสมผลงาน การมสี ว นรวมในกจิ กรรมการเรียนรู การกาํ หนดช้ินงาน และบทบาทใน การทํางานกลมุ โดยครตู อ งแจงใหนักเรยี นทราบลวงหนา

452 คูม ือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพ่มิ เตมิ หนา ที่พลเมอื ง ๑-๒ ม.๑ ผูŒปกครอง ตองเขามามีสวนรวมในการคัดเลือกผลงาน การแสดงความคิดเห็น และรับรู พัฒนาการของนักเรียนอยางตอเนื่อง ดังนั้นกอนทําแฟมสะสมผลงาน ครูตองแจงใหผูปกครอง ทราบหรือขอความรวมมือ รวมท้ังใหความรูในเร่ืองการประเมินผลโดยใชแฟมสะสมผลงานแก ผปู กครองเม่อื มีโอกาส ๒. การรวบรวมผลงานและจัดระบบแฟ‡ม ในการรวบรวมผลงานตองออกแบบการจัดเก็บ หรือแยกหมวดหมขู องผลงานใหดี เพือ่ สะดวกและงายตอ การนาํ ขอ มูลออกมาใช แนวทางการจัด หมวดหมูข องผลงาน เชน ๑) จัดแยกตามลาํ ดบั วันและเวลาทส่ี รา งผลงานขึน้ มา ๒) จัดแยกตามความซับซอนของผลงาน เปนการแสดงถึงทักษะหรือพัฒนาการของ นกั เรยี นท่มี ากข้ึน ๓) จัดแยกตามวัตถุประสงค เน้ือหา หรือประเภทของผลงาน ผลงานทอี่ ยใู นแฟม สะสมผลงานอาจมหี ลายเรอ่ื ง หลายวชิ า ดงั นนั้ นกั เรยี นจะตอ งทาํ เครอ่ื งมอื ในการชวยคน หา เชน สารบัญ ดัชนเี ร่ือง จดุ สี แถบสตี ิดไวท ผ่ี ลงานโดยมรี หัสท่แี ตกตา งกนั ๓. การคดั เลอื กผลงาน ในการคดั เลอื กผลงานนนั้ ควรใหส อดคลอ งกบั เกณฑห รอื มาตรฐาน ท่โี รงเรยี น ครู หรอื นกั เรียนรว มกนั กําหนดข้ึนมา และผูคัดเลอื กผลงานควรเปน นกั เรียนเจา ของ แฟมสะสมผลงาน หรอื มสี วนรวมกับครู เพื่อน และผูปกครอง ผลงานทีเ่ ลอื กเขาแฟมสะสมผลงานควรมลี ักษณะ ดังนี้ ๑) สอดคลอ งกบั เน้อื หาและวัตถปุ ระสงคของการเรยี นรู ๒) เปนผลงานชิ้นทดี่ ที ส่ี ุด มีความหมายตอ นกั เรียนมากทีส่ ดุ ๓) สะทอ นใหเหน็ ถงึ พัฒนาการของนกั เรียนในทกุ ดา น ๔) เปน สือ่ ท่จี ะชว ยใหนกั เรียนมโี อกาสแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กับครู ผปู กครอง และ เพ่ือน ๆ สว นจาํ นวนชน้ิ งานนน้ั ใหก าํ หนดตามความเหมาะสม ไมค วรมมี ากเกนิ ไป เพราะอาจจะทาํ ให ผลงานบางช้ินไมมีความหมาย แตถ ามีนอ ยเกินไปจะทําใหการประเมินไมมีประสิทธิภาพ ๔. การสรŒางสรรคแฟ‡มสะสมผลงานใหŒมีเอกลักษณของตนเอง โครงสรางหลักของแฟม สะสมผลงานอาจเหมอื นกนั แตน กั เรยี นสามารถตกแตง รายละเอยี ดยอ ยใหแ ตกตา งกนั ตามความ คดิ สรา งสรรคของแตละบุคคล โดยอาจใชภาพ สี สติกเกอร ตกแตง ใหส วยงามเนนเอกลักษณ ของเจาของแฟม สะสมผลงาน ๕. การแสดงความคิดเห็นหรือความรูŒสึกต‹อผลงาน ในข้ันตอนนี้นักเรียนจะไดรูจัก การวิพากษวิจารณ หรือสะทอนความคิดเก่ียวกับผลงานของตนเอง ตัวอยางขอความท่ีใชแสดง ความรสู กึ ตอ ผลงาน เชน

คมู อื ครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวชิ าเพมิ่ เตมิ หนา ที่พลเมือง ๑-๒ ม.๑ 453 ๑) ไดแนวคิดจากการทําผลงานช้นิ น้ีมาจากไหน ๒) เหตผุ ลท่ีเลือกผลงานชน้ิ น้ีคอื อะไร ๓) จดุ เดนและจดุ ดอ ยของผลงานชิ้นนีค้ ืออะไร ๔) รูส ึกพอใจกบั ผลงานช้นิ นมี้ ากนอ ยเพยี งใด ๕) ไดข อคดิ อะไรจากการทําผลงานชน้ิ น้ี ๖. การตรวจสอบความสามารถของตนเอง เปนการเปดโอกาสใหน กั เรียนไดป ระเมนิ ความ สามารถของตนเอง โดยพิจารณาตามเกณฑย อย ๆ ทคี่ รูและนักเรียนชว ยกนั กําหนดข้ึน เชน นสิ ัย การทาํ งาน ทักษะทางสงั คม การทํางานเสร็จตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด การขอความชวยเหลอื เมือ่ มี ความจําเปน เปน ตน นอกจากนก้ี ารตรวจสอบความสามารถตนเองอีกวิธีหนึ่ง คอื การใหนกั เรียน เขียนวิเคราะหจดุ เดน จดุ ดอ ย ของตนเอง และสิ่งท่ีตอ งปรับปรงุ แกไข ๗. การประเมนิ ผลงาน เปน ขนั้ ตอนทส่ี าํ คญั เนอื่ งจากเปน การสรปุ คณุ ภาพของงานและความ สามารถหรือพฒั นาการของนกั เรียน การประเมนิ แบง ออกเปน ๒ ลกั ษณะ คอื การประเมนิ โดย ไมใ หร ะดบั คะแนน และการประเมนิ โดยใหร ะดบั คะแนน ๑) การประเมนิ โดยไมใหร ะดับคะแนน ครกู ลุมนี้มคี วามเช่ือวา แฟม สะสมผลงานมีไว เพ่ือศึกษากระบวนการทํางาน ศึกษาความคิดเห็นและความรูสึกของนักเรียนที่มีตอผลงานของ ตนเอง ตลอดจนดูพัฒนาการหรอื ความกาวหนาของนักเรยี นอยางไมเ ปน ทางการ ครู ผูปกครอง และเพ่ือนสามารถใหคําชี้แนะแกนักเรียนได ซ่ึงวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนไดเรียนรูและปฏิบัติงาน อยางเต็มท่ี โดยไมตอ งกงั วลวา จะไดคะแนนมากนอยเทา ไร ๒) การประเมินโดยใหระดับคะแนน มีทั้งการประเมินตามจุดประสงคการเรียนรู การประเมินระหวางภาคเรียน และการประเมินปลายภาคเรียน ซง่ึ จะชว ยในวัตถุประสงคดา นการ ปฏิบัติเปนหลกั การประเมินแฟมสะสมผลงานตอ งกําหนดมติ กิ ารใหคะแนน (Scoring Rubrics) ตามเกณฑท ่คี รแู ละนักเรียนรวมกนั กาํ หนดขึน้ การใหระดับคะแนนมีทัง้ การใหคะแนนเปน รายชน้ิ กอนเก็บเขาแฟมสะสมผลงาน และการใหค ะแนนแฟม สะสมผลงานท้ังแฟม ซ่งึ มาตรฐานคะแนน นั้นตอ งสอดคลองกบั วัตถปุ ระสงคการจัดทําแฟมสะสมผลงาน และมงุ เนน พัฒนาการของนักเรียน แตละคนมากกวา การนาํ ไปเปรยี บเทยี บกบั บคุ คลอืน่ ๘. การแลกเปลยี่ นประสบการณก บั ผอŒู นื่ มวี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื เปด โอกาสใหน กั เรยี นไดร บั ฟง ความคิดเหน็ จากผูที่มสี ว นเกยี่ วขอ ง ไดแ ก เพอื่ น ครู และผูปกครอง อาจทําไดหลายรปู แบบ เชน การจัดประชุมในโรงเรียนโดยเชิญผูที่มีสวนเก่ียวของมารวมกันพิจารณาผลงาน การสนทนา แลกเปล่ียนระหวางนักเรียนกับเพ่ือน การสงแฟมสะสมผลงานไปใหผูที่มีสวนเก่ียวของชวยให ขอ เสนอแนะหรอื คาํ แนะนาํ ในการแลกเปลย่ี นประสบการณน น้ั นกั เรยี นจะตอ งเตรยี มคาํ ถามเพอื่ ถามผทู มี่ สี ว นเกยี่ วขอ ง ซงึ่ จะเปนประโยชนใ นการปรบั ปรงุ งานของตนเอง ตวั อยางคาํ ถาม เชน

454 คูมือครู แผนการจดั การเรยี นรู รายวิชาเพมิ่ เตมิ หนา ทพ่ี ลเมือง ๑-๒ ม.๑ ๑) ทานคิดอยางไรกับผลงานช้นิ น้ี ๒) ทานคดิ วา ควรปรบั ปรงุ แกไขสว นใดอีกบา ง ๓) ผลงานช้นิ ใดท่ที า นชอบมากทส่ี ุด เพราะอะไร ๙. การปรับเปลี่ยนผลงาน หลังจากท่ีนักเรียนไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และไดรับ คาํ แนะนาํ จากผูท่ีมสี ว นเกยี่ วของแลว จะนํามาปรบั ปรุงผลงานใหดขี ึน้ นกั เรยี นสามารถนําผลงาน ทดี่ กี วา เกบ็ เขา แฟม สะสมผลงานแทนผลงานเดมิ ทาํ ใหแ ฟม สะสมผลงานมผี ลงานทดี่ ี ทนั สมยั และ ตรงตามจุดประสงคใ นการประเมิน ๑๐. การประชาสัมพันธผลงานของนักเรียน เปนการแสดงนิทรรศการผลงานของนักเรียน โดยนําแฟม สะสมผลงานของนกั เรียนทุกคนมาจัดแสดงรว มกนั และเปดโอกาสใหผปู กครอง ครู และนกั เรียนทัว่ ไปไดเขาชมผลงาน ทาํ ใหนกั เรยี นเกดิ ความภาคภมู ิใจในผลงานของตนเอง ผูที่เริ่มตนทําแฟมสะสมผลงานอาจไมตองดําเนินการทั้ง ๑๐ ข้ันตอนน้ี อาจใชข้ันตอน หลัก ๆ คือ การรวบรวมผลงานและการจัดระบบแฟม การคัดเลือกผลงาน และการแสดง ความคิดเหน็ หรือความรสู ึกตอผลงาน องคประกอบสาํ คญั ของแฟม‡ สะสมผลงาน มดี ังนี้ ๑. สว‹ นนํา ประกอบดว ย ๒. สว‹ นเนอื้ หาแฟม‡ ประกอบดว ย – ปก – ผลงาน – คํานาํ – ความคดิ เหน็ ที่มตี อผลงาน – สารบัญ – Rubrics ประเมินผลงาน – ประวตั สิ ว นตวั – จดุ มงุ หมายของการทํา แฟมสะสมผลงาน ๓. สว‹ นขอŒ มลู เพมิ่ เตมิ ประกอบดว ย – ผลการประเมนิ การเรียนรู – การรายงานความกา วหนา โดยครู – ความคิดเหน็ ของผทู ่ีมสี ว น เกี่ยวของ เชน เพอื่ น ผูป กครอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook