Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ PLC e

01.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ PLC e

Published by ธิราช ประดิษฐ์ด้วง, 2020-10-03 21:03:17

Description: 01.ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ PLC e

Keywords: basic PLC1

Search

Read the Text Version

1 หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้นื ฐานเกย่ี วกบั โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ สอนคร้งั ที่ 1 รหัสวิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา้ จำนวน 4 ชวั่ โมง สาระการเรยี นรู้ 1) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (Programmable Controller : PLC) 2) ประเภทของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 3) โครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 4) หลักการทำงานของหน่วยต่าง ๆ ภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 5) ภาษาทใ่ี ชใ้ นการเขยี นโปรแกรมของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 6) อปุ กรณต์ อ่ ร่วม (Peripheral Devices) แนวคดิ สำคัญ PLC เป็นเทคโนโลยดี ้านเคร่ืองควบคุมอัตโนมัติ ท่เี ขา้ มามีบทบาทสำคญั ในการควบคุมเครอื่ งจกั รแบบ อัตโนมัติในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรม จึงมีความจำเป็นท่ีจะต้องศึกษาชนิดและ โครงสร้างของ PLC หลกั การทำงาน ภาษาที่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม รวมถงึ อปุ กรณต์ อ่ ร่วมแบบต่าง ๆ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทั่วไป 1) เพ่อื ใหม้ ีความรู้ เข้าใจเก่ยี วกับข้อดีและความหมายของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 2) เพอื่ ใหม้ ีความรู้ เขา้ ใจเกย่ี วกบั ประเภท หน้าที่และโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ 3) เพ่อื ให้มคี วามรู้ เขา้ ใจเกย่ี วกับภาษาท่ีใช้ในการเขยี นโปรแกรมของโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์ 4) เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ เข้าใจเก่ียวกับหนา้ ท่ีของอุปกรณ์ต่อรว่ ม (Peripheral Devices) ท่ีใช้ต่อร่วมกบั โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 5) เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์สอดคลอ้ งกบั จรรยาบรรณวชิ าชพี จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ดา้ นความรู้ 1) บอกขอ้ ดีของการนำโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ไปใชใ้ นงานอุตสาหกรรมได้ถกู ต้อง 2) บอกความหมายของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ได้ถูกต้อง 3) บอกประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 4) บอกโครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ได้ถูกต้อง 5) บอกหน้าทขี่ องหน่วยตา่ ง ๆ ในโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ได้ถกู ต้อง

2 6) บอกภาษาท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ได้ถกู ต้อง 7) บอกหนา้ ทีข่ องอปุ กรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ 1) มีคุณธรรม จริยธรรมและคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคส์ อดคลอ้ งกบั จรรยาบรรณวิชาชพี สมรรถนะประจำหนว่ ย 1) แสดงความรู้ในการบอกข้อดขี องการนำโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ไปใช้ในงานอตุ สาหกรรม 2) แสดงความรู้ในการแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 3) แสดงความรใู้ นการบอกโครงสร้างและหลักการทำงานของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 4) แสดงความรู้ในการบอกภาษาท่ใี ช้ในการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 5) แสดงความรู้ในการบอกหน้าท่ีของอุปกรณต์ ่อร่วม (Peripheral Devices) คำแนะนำ หน่วยท่ี 1 ความรพู้ นื้ ฐานเก่ียวกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ใชร้ ่วมกบั กจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ กิจกรรมท่ี 1 เร่ือง PLC ที่มีใช้งานอยู่ในปจั จบุ นั

3 หน่วยที่ 1 ความรูพ้ ้ืนฐานเกี่ยวกบั โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ การควบคุมระบบอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรมมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ตามความต้องการของ โรงงานอุตสาหกรรมในการเพ่ิมผลผลิตสินค้าและประสิทธิภาพในการทำงาน การใช้เคร่ืองโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์ มาเป็นอุปกรณ์ควบคุมระบบแบบอัตโนมัติเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ใช้งานกันมากและกำลัง ไดร้ บั ความนยิ มในงานอุตสาหกรรม 1.1 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ (Programmable Controller : PLC) ในอดีตการควบคุมเคร่อื งจักรกลและระบบควบคมุ แบบอัตโนมัตมิ ักใชอ้ ุปกรณ์ควบคมุ แบบหน้าสัมผัส เชิงกลมีรีเลย์ (Relay) และแมกเนติกส์คอนแทคเตอร์ (Magnetic Contactor) เป็นตัวควบคุมหลักของการ ทำงาน ซ่ึงมีข้อเสียอยู่หลายประการอาทิ ระบบควบคุมมีขนาดใหญ่ทำให้สิ้นเปลืองเน้ือที่ การติดตั้งใช้ เวลานาน การเปล่ยี นแปลงแกไ้ ขโปรแกรมทำได้ยาก ไม่เหมาะกบั ระบบทมี่ กี ารควบคุมแบบซับซ้อน

4 รูปที่ 1.1 การควบคมุ เครื่องจกั รโดยใช้อุปกรณ์รเี ลย์และแมกเนตกิ ส์ ท่มี า : ชวนชม ล่ิมทอง,2558. เมื่อการแข่งขันการผลิตภาคอุตสาหกรรมในตลาดโลกมีสูงข้ึน ความต้องการของเจ้าของโรงงาน อุตสาหกรรมทจี่ ะสามารถผลิตได้ครั้งละจำนวนมาก ๆ มีต้นทุนการผลิตตำ่ การจ้างแรงงานและงบประมาณ ด้านการบำรุงรักษาต่ำ แต่ทำงานได้อย่างรวดเร็ว มีความความปลอดภัยในการใช้งานเคร่ืองจักร สามารถ ควบคุมผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม ควบคุมกระบวนการที่มีความยืดหยุ่นและทำงานในกระบวนการที่ซบั ซ้อน จากความต้องการดังกลา่ วระบบควบคุมอตั โนมัติสมยั ใหมจ่ งึ เข้ามามีความสำคญั ตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรม โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller : PLC) จงึ เป็นอปุ กรณ์ท่ี ถูกคิดค้นข้ึนเพื่อควบคุมการทำงานของเคร่ืองจักรแบบอัตโนมัติและถูกพัฒนาอย่างต่อเน่ืองให้ตอบสนอง ความต้องการของโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์จึงเป็นหัวใจหลักท่ีใช้ ควบคุมการทำงานของเคร่ืองจักรหรือระบบต่าง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมเหล็กผลิตอาหารรถยนต์ แขนกลใน งานอุตสาหกรรม ฯลฯ และจากเดิมท่ีโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ทำงานในลักษณะเลขฐานสอง หรือสัญญาณลอจิก (Logic) คือมีสองสภาวะคือ สภาวะเปิด (On) และสภาวะปิด (Off) แต่ปัจจุบัน โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ได้รับการพัฒนาจนสามารถรับและส่งสัญญาณอินพุต (Input) แบบตอ่ เน่ืองหรือสัญญาณแอนะลอก (Analog)ได้ จงึ ควรเรยี กว่า PC (พีซี) (ตดั L ในตัวย่อ PLC ทม่ี าจากคำ ว่า Logic ออก) แต่เพื่อไม่ให้เกดิ ความสับสนกับ PC ท่ีเป็นช่ือเรียกของ Personal Computer จึงยังคงเรียก ตามความนิยมวา่ PLC หรอื เรียกวา่ โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ (Programmable Controller) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (Programmable Controller : PLC) จึงหมายถึงเครื่องควบคุม อัตโนมัติด้วยระบบคอมพิวเตอร์สำหรับควบคุมเครื่องจักร หรืออุตสาหกรรมท่ีต้องการระบบอัตโนมัติและ ความแม่นยำสูงสามารถโปรแกรมให้เป็นไปตามที่ต้องการได้ โดยมีหน่วยความจำในการเก็บโปรแกรมและ หนว่ ยอินพุต (Input) /เอาต์พุต(Output) สำหรับต่ออุปกรณ์เพอ่ื ใช้งาน 1.1.1 ข้อดขี องการนำโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์มาใชใ้ นงานอตุ สาหกรรม 1) ใช้การเขยี นโปรแกรมแทนการเดินสายไฟฟ้าต่อวงจรชว่ ยลดจำนวนสายไฟฟ้า 2) ตัวโปรแกรมสามารถเปลย่ี นแปลงและแกไ้ ขโปรแกรมไดง้ ่าย สะดวกและรวดเรว็ 3) มฟี งั กช์ นั่ ทางคณติ ศาสตร์ และคำสั่งในการแปลงข้อมลู หลายแบบ 4) ตวั ต้งั เวลา (Timer) และตวั นับ (Counter) จะเป็นคำสง่ั ซงึ่ อยู่ในรปู ของซอฟต์แวร์ (Software) ทำใหก้ ำหนดค่าต่าง ๆ ได้ง่าย และสามารถเปล่ียนแปลงคา่ ไดต้ ลอดเวลา 5) การเพ่มิ และขยายระบบสามารถทำได้ง่ายและสะดวก 6) ใชค้ วบคมุ กระบวนการผลติ ไดท้ ัง้ แบบแอนะลอก (Analog) และแบบดิจิทลั (Digital) 7) มีความทนทานตอ่ สภาพแวดล้อมของโรงงานอตุ สาหกรรม 8) การติดตั้ง การดแู ลรักษา การซอ่ มบำรงุ ทำได้งา่ ยใช้พ้ืนท่ีตดิ ตั้งอุปกรณน์ ้อย

5 9) ขณะ PLC ทำงานสามารถตรวจสอบสภาวะการทำงานและค่าสถานะตา่ ง ๆ ของอุปกรณไ์ ด้ รปู ที่ 1.2 การควบคมุ การผลิตนำ้ ดมื่ โดยใช้ Programmable Controller : PLC ทมี่ า : https://thelocalbrand.com/category/food-beverage,2557 1.2 ประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ การนำ PLC ไปใช้งานจะพิจารณาจากจำนวนอินพุตและเอาต์พุตของงานท่ีนำไปควบคุมเป็นหลัก ความหลากหลายของรุ่น PLC ท่ีบริษัทผู้ผลิตจำหน่ายออกมาจึงผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการใช้งานท่ี ตา่ งกนั ทงั้ นสี้ ามารถแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ได้ดงั นี้ 1.2.1 การแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรต์ ามขนาดของหน่วยความจำ (Memory Unit) และของจำนวนอนิ พตุ และเอาต์พุต (Input / Output Channels) 1) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขนาดเล็ก (Small or Micro size) มีจำนวนอนิ พตุ / เอาต์พุตไม่เกิน 128 จดุ หน่วยความจำประมาณ 4 Kbyte (2,000 Statements) (ก) PLC SIEMENS รุ่น S7-200 CPU 224 (ข) PLC Mitsubishi รนุ่ FX5U–32M ท่มี า : http://www.plcacademy.com,2557 ทมี่ า : http://www.thaisupport.co.th,2557 รปู ท่ี 1.3 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ขนาดเลก็ (Small or Micro size) 2) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขนาดกลาง (Medium size) มีจำนวนอินพุต/เอาต์พุตไม่ เกนิ 1,024 จดุ หนว่ ยความจำประมาณ 16 Kbyte (8,000 Statements)

6 (ก) PLC SIEMENS รุน่ S7-300 (ข) PLC OMRON รนุ่ CJ1H ท่ีมา : http://www.plc - city.com,2557 ที่มา : http://www.mrplc.com,2557 รูปท่ี 1.4 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ขนาดกลาง (Medium size) 3) โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่ (Large size) มีจำนวนอินพุต/เอาต์พตุ ไม่เกิน 2,048 จุด หน่วยความจำประมาณ 64 Kbyte (32,000 Statements) (ก) PLC SIEMENSรนุ่ S7-400 (ข) PLC OMRON ร่นุ CVM1D ทีม่ า : http://www.alibaba.com,2557 ท่ีมา : http://www.mrplc.com,2557 รปู ที่ 1.5 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่ (Large size) 4) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่มาก (Very large size) มจี ำนวนอนิ พุต / เอาต์พตุ ประมาณ 8,192 จดุ หน่วยความจำประมาณ 256 Kbyte (128,000Statements) เปน็ PLC แบบ แรก็ (Rack) สามารถต่อเพมิ่ อินพตุ /เอาตพ์ ุตตามจำนวนทตี่ ้องการการขยายระบบ 1.2.2 การแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ตามลักษณะโครงสรา้ งภายนอก 1) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบบคอมแพ็กต์ (Compact) หรือบล็อก (Block) มีหน่วย ประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยอินพุต หน่วยเอาต์พุตและหน่วยแหล่งจ่ายพลังงานอยู่บนโครงสร้าง เดียวกัน เหมาะกับงานใช้จำนวนอินพุตและเอาต์พุตที่แน่นอนและไม่ต้องการขยายระบบ (ปัจจุบัน PLC แบบคอมแพ็กตบ์ างรนุ่ บางยี่หอ้ สามารถเพ่ิมจำนวนหนว่ ยอินพุตและเอาต์พตุ โดยต่ออุปกรณข์ ยาย)

7 (ก) TOSHIBA ร่นุ T1 (ข) OMRONรุน่ CPM1L รปู ท่ี 1.6 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์แบบคอมแพก็ ต์หรือบล็อก ทม่ี า : ชวนชม ล่ิมทอง,2557. 2) โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบบมอดูล (Module) หรอื แร็ก (Rack) ส่วนประกอบแต่ ละส่วนเป็นมอดูลแยกออกจากกัน เช่น มอดูลอินพุตและเอาต์พุต(Module input-output) มอดูล แอนะลอก (Module analog) โดยติดตั้งมอดูลอยู่บนแร็ก หากมีมอดูลเสียหายสามารถถอดไปซ่อมและ ระบบยังคงทำงานต่อไปได้ จำนวนอินพุตและเอาต์พุตและมอดูลฮาร์ดแวร์ (Module hardware) มีความ ยืดหยุ่นนยิ มใช้โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและใหญ่ดงั รปู ท่ี 1.7 (ก) Siemens ร่นุ S7–400 (ข) Allen-Bradley's รุ่น 1756 ทีม่ า : https://www.siemens.com,2557 ท่มี า : http://www.directindustry.com,2557 (ค) Mitsubishi รนุ่ iQ Platform ทมี่ า : http://www.fareast-inter.com,2557 รูปท่ี 1.7 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบบมอดลู (Module) 1.3 โครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ โครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์มสี ว่ นประกอบหลกั ทีส่ ำคญั 4 หนว่ ยคอื 1) หน่วยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) 2) หน่วยความจำ (Memory Unit) 3) หนว่ ยแหลง่ จา่ ยพลังงาน (Power Supply Unit) 4) หน่วยอินพุตและเอาต์พตุ (Inputs/Outputs Unit) INPUT DEVICES OUTPUT DEVICES

8 Proximity Sensor Computer Touch Screen Pilot lamp Peripheral Devices Photoelectric Sensor PLC Magnetic Contactor CPU Encoder Inputs Outputs Motor Unit MEMORY Unit Pushbutton Switch Solenoid Value Power Supply รปู ท่ี 1.8 โครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 1.4 หลกั การทำงานของหนว่ ยต่าง ๆ ภายในโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 1.4.1 หน่วยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) หน่วยประมวลผลเปรียบเสมือนส่วนมันสมอง ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานและจัดการระบบท้ังหมด โดยจะรับสัญญาณและปริมาณต่าง ๆ จากหน่วยอินพุต เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผล จากนั้นจะ ประมวลผลข้อมลู แลว้ ส่งสญั ญาณและปริมาณต่าง ๆ ไปยงั หน่วยเอาตพ์ ุตเพอ่ื ควบคมุ อุปกรณท์ ำงาน

9 หน่วยประมวลผลจะทำงานวนเป็นรอบโดยในหนึ่งรอบการทำงานจะเรียกว่า 1 สแกนไทม์ (Scantime) ซ่ึงความเร็วของหน่วยประมวลผลขึ้นอยู่กับขนาดของหน่วยความจำ จำนวนข้อมูลที่ป้อนและ ความเร็วของซพี ียู (CPU) ตรวจสอบสถานะ ประมวลผล ปรับปรุง ของอนิ พตุ โปรแกรม สถานะของเอาต์พุต 1 รอบการทำงาน = 1 Scantime รปู ท่ี 1.9 กระบวนการประมวลผลใน 1 สแกนไทม์ 1.4.2 หนว่ ยความจำ (Memory Unit) หนว่ ยความจำเป็นส่วนที่ทำหนา้ ท่ีเก็บโปรแกรมและข้อมลู ที่ใช้ในการทำงาน ขนาดของหนว่ ยความจำ เป็นสิง่ ทกี่ ำหนดความสามารถของ PLC โดยแบง่ หนว่ ยความจำของ PLC แบง่ ออกได้ 2 แบบดงั นี้ คอื 1) หน่วยความจำชั่วคราว (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บ โปรแกรมที่ผู้ใช้สร้างขึ้นแล้วป้อนให้กับ PLC หน่วยความจำแบบน้ีต้องมีไฟเลี้ยงเพ่ือป้องกันข้อมูลไม่ให้สูญ หาย แรม (RAM) จะใช้เก็บโปรแกรมและข้อมูลที่ทำงานจากการสั่ง RUN/STOP ของ PLC ดังน้ันใน PLC จะมีแบตเตอร่ีสำรอง (Battery Backup) ไว้สำหรับกรณีที่ไฟเล้ียงหลักไม่จ่ายให้กับ PLC เพื่อป้องกันข้อมูล ไมใ่ หส้ ูญหาย 2) หน่วยความจำถาวร (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจำที่ใช้สำหรับโปรแกรม และข้อมูลในรอม (ROM) นี้ไม่จำเป็นต้องใช้ไฟเลี้ยงเป็นชุดสำรองโปรแกรมและข้อมูล เพื่อป้องกันกรณีที่ โปรแกรมและข้อมูลในรอมสูญหาย ผู้ใช้งานสามารถถ่ายโอนโปรแกรมและข้อมูลเข้าในรอมได้ใหม่ รอม แบง่ ออกได้เป็น 2 ชนดิ ดังน้ี 2.1) EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) หนว่ ยความจำชนดิ นี้ จะตอ้ ง ใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรม การลบโปรแกรมทำได้โดยใช้แสงอัลตราไวโอเลต มีข้อดีตรงที่ โปรแกรมจะไมส่ ญู หายแมไ้ ฟดับ จึงเหมาะกบั การใช้งานทไ่ี มต่ อ้ งการเปล่ียนโปรแกรม 2.2) EEPROM (Electrically Erasable Programmable Read Only Memory) เ ป็ น หน่วยความจำที่ถูกพัฒนาจากข้อเสียของแรม (RAM) และ EPROM ให้มีขีดความสามารถท่ีดีขึ้น สามารถ เขียนและอ่านข้อมูลโดยใช้ไฟฟ้า ไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการเขียนโปรแกรมและลบโปรแกรม ไม่ต้องมี แบตเตอรี่สำรองไฟเม่ือไฟดับ เป็นหน่วยความจำท่ีรวมคุณสมบัติที่ดีของหน่วยความจำแรม (RAM) และ EPROM เอาไว้ด้วยกัน ซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนาหน่วยความจำ EEPROM ทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้ เหมือนฮาร์ดดิสก์คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามความต้องการ หน่วยความจำชนิดน้ีมีขนาดเล็ก

10 น้ำหนักเบา พกพาสะดวก เช่น คอมแพ็กต์แฟลช (Compact Flash) ซ่ึงเครื่อง PLC รุ่นใหม่ จะมีช่อง สำหรับเสียบหน่วยความจำประเภทเอสดีการ์ด (SD Card) , แฟลซเม็มโมรี (Flash Memory) สำหรับ บันทึกขอ้ มูลไวใ้ ห้สามารถถอดและเคลื่อนยา้ ยได้ โดยได้รับความนิยมเพิม่ ข้ึนสูงมากเพราะสามารถเก็บข้อมูล ขนาดใหญ่ได้ 1.4.3 หน่วยแหล่งจ่ายพลงั งาน (Power Supply Unit) หน่วยแหล่งจ่ายพลังงาน (Power Supply Unit) ทำหน้าท่ีจ่ายพลังงานและรักษาระดับแรงดัน ให้กับอุปกรณ์และวงจรภายในโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์และมีจุดจ่ายพลงั งานสำหรบั การตอ่ วงจรภาค อินพุตและเอาต์พตุ 1.4.4 หนว่ ยอนิ พุตและเอาต์พตุ (Inputs/Outputs Unit) 1) หน่วยอินพุต (Input Unit) จะทำหน้าท่ีรับสัญญาณจากอุปกรณ์ทางด้านอินพุตท้ังที่เป็นสวิตช์ (Switch) หรือเซนเซอร์ (Sensor) แบบตา่ ง ๆ โดยอุปกรณ์ทางด้านอินพุตจะถกู แปลงสัญญาณเพอื่ สง่ เขา้ ไป ที่ CPU หน่วยอินพุตของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่คือหน่วยอนิ พุตแบบดิจิทัล และแบบแอนะลอก 1.1) หนว่ ยอินพุตแบบดิจิทลั (Digital Input) หมายถึงอนิ พุตทีส่ ามารถรบั สญั ญาณท่ีมลี ักษณะ การทำงานเพียง 2 สภาวะ คือ สภาวะทำงาน (On) และสภาวะหยดุ ทำงาน (Off) จากอุปกรณอ์ ินพุตแบบ ตา่ ง ๆ เช่น สวติ ช์แบบต่าง ๆ เซนเซอร์แสง (Photoelectric Sensor) เซนเซอร์ตรวจจบั ระยะส้นั (Proximity Sensor) เป็นตน้ มโี ครงสร้างลกั ษณะการต่อสายของวงจรอินพตุ ของซีพียู (CPU) ดังรปู ที่ 1.10 (ก) (ข) (ก) ไดอะแกรมการต่อสายของวงจรภาคอินพตุ แบบ Sink (ข) ไดอะแกรมการต่อสายของวงจรภาคอินพุตแบบ Source รปู ที่ 1.10 ไดอะแกรมการต่อสายของวงจรภาคอนิ พุตแบบดจิ ิทัล

11 ที่มา : ชวนชม ลมิ่ ทอง,2558. 1.2) หน่วยอินพุตแบบแอนะลอก (Analog Input) หมายถึง อินพุตที่สามารถรับสัญญาณที่มี ลักษณะเป็นสัญญาณตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ บอกเป็นปริมาณที่มีการเปลย่ี นแปลง ได้แก่ สญั ญาณมาตรฐานแบบต่าง ๆ เช่น สัญญาณกระแสมาตรฐาน 0–20 mA สัญญาณกระแสมาตรฐาน 4–20 mA สัญญาณแรงดนั มาตรฐาน 0–10 V สัญญาณแรงดันมาตรฐาน 1–5 V สัญญาณเหล่านี้มาจากอุปกรณ์อาทิ เซนเซอร์แบบอัลตร้าโช นิค (Ultrasonic Sensor) เซนเซอรต์ รวจวัดระดบั (Level Sensor) เซนเซอรต์ รวจวดั ความดนั (Pressure Sensor) เซนเซอรต์ รวจวัดอณุ หภมู ิ (Temperature Sensor) เป็นต้น รูปท่ี 1.11 ไดอะแกรมการต่อสายของวงจรภาคอินพุตแบบแอนะลอก ทม่ี า : ชวนชม ลม่ิ ทอง,2558. 2) หน่วยเอาต์พุต (Output Unit) ทำหน้าที่รับสัญญาณจากหน่วยประมวลผลเพื่อส่งสัญญาณ ออกไปควบคุมอุปกรณ์เอาต์พุตแบบต่าง ๆเช่น มอเตอร์ รีเลย์ หลอดไฟ เป็นต้น หน่วยเอาต์พุตมีอยู่หลาย แบบต้องเลือกใช้งานให้ถูกต้องเหมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน เชน่ 2.1) หน่วยเอาต์พุตแบบดิจิทัล (Digital Output) เป็นเอาต์พุตท่ีให้สัญญาณออกมาเป็น สัญญาณลักษณะ On-Off ท้ังน้ีเอาต์พุตแบบดิจิทัลสามารถแบ่งตามชนิดของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) ที่นำมาผลติ เป็นหน่วยเอาตพ์ ตุ ไดด้ ังน้ี ก) เอาตพ์ ุตชนิดรีเลย์ (Relay Output) เป็นเอาต์พุตชนิดท่ไี ด้รับความนิยมนำไปใชง้ าน เพราะสามารถนำไปขับโหลดท้ังที่เป็นโหลดไฟฟ้ากระแสสลับหรือโหลดไฟฟ้ากระแสตรง โดยปกติเอาต์พุต ชนิดรีเลย์สามารถขับโหลดท่ีกระแสประมาณไม่เกิน 2-3 A ท้ังนี้ข้ึนอยู่บริษัทผู้ผลิต ในกรณีที่โหลดมีกระแส

12 ใช้งานสูงมากกว่าพิกัดกระแสของรีเลย์ที่ PLC ต้องนำเอาต์พุตของ PLC ไปต่อเข้ากับอุปกรณ์ขับอ่ืน เพื่อให้ สามารถขยายรับกระแสไดม้ ากข้ึน เช่น ต่อกับรีเลย์ หรอื แมกเนติกส์คอนแทคเตอร์ เปน็ ต้น ข) เอาต์พุตชนิดทรานซิสเตอร์ (Transistor Output) ใช้กับแรงดัน 24 VDC. แบ่งเป็น เอาต์พุตชนิดทรานซิสเตอร์แบบ NPN และแบบ PNP เป็นเอาต์พุตท่ีมีความเร็วในการทำงานสูง เหมาะ สำหรับใช้งานที่มีการปิด–เปิดบ่อยๆ หรือการควบคุมระบบท่ีใช้งานความถี่ในการตัดต่อสูง เช่น Stepping Motor Control , Servo Motor Control , PWM Control เป็นต้น 2.2) หน่วยเอาต์พุตแบบแอนะลอก (Analog Output) เป็นเอาต์พุตท่ีมีลักษณะเป็นสัญญาณ ต่อเนื่องได้แก่ สัญญาณมาตรฐานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น สัญญาณกระแสมาตรฐาน 4–20 mA สัญญาณ กระแสมาตรฐาน 0–20 mA สัญญาณแรงดนั มาตรฐาน 0–10 V สญั ญาณแรงดันมาตรฐาน 1–5 V เปน็ ต้น (ก) วงจรภาคเอาตพ์ ตุ (ข) วงจรภาคเอาตพ์ ุต (ค) วงจรภาคเอาต์พตุ ชนดิ รีเลย์ ชนิดทรานซิสเตอร์ 24 VDC แบบแอนะลอก รูปท่ี 1.12 ไดอะแกรมการต่อสายของวงจรภาคเอาต์พุตชนิดต่าง ๆ ทมี่ า : ชวนชม ลิม่ ทอง,2558 1.5 ภาษาท่ใี ชใ้ นการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์จะมีภาษาท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรมที่เป็นมาตรฐานท่ัวไป ที่สามารถ ศึกษาและเรียนรู้ไดง้ ่าย ปจั จุบนั จะมีภาษาทใี่ ช้ในการเขยี นโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ดงั น้ีคือ 1.5.1 ภาษาแลดเดอรไ์ ดอะแกรม (Ladder Diagram : LD) ภาษา Ladder Diagram หรือ Ladder Logic Editor : LAD เป็นแบบท่ีนิยมใช้ในงานควบคุมด้วย PLC การเขียนมีลักษณะคล้ายวงจรควบคุม (Control Circuit) ในงานควบคุมมอเตอร์ คือ การนำหน้า

13 สัมผัสหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ มาต่อเป็นวงจร ผู้ใช้เข้าใจการทำงานได้ง่าย ทางเดินของ Ladder แต่ละแถว เรียกว่าเน็ตเวิร์ก (Network) การเขียนโปรแกรมและพิจารณาการทำงานของโปรแกรมจะเร่ิมจากทางซ้าย ไปทางขวาและพจิ ารณาจากขา้ งบนลงข้างลา่ งดงั รปู ท่ี 1.13 รปู ที่ 1.13 การเขียนโปรแกรมแบบ Ladder Diagram : LD 1.5.2 ภาษาฟังกช์ นั บล๊อกไดอะแกรม (Function Block Diagram : FBD) ภาษา Function Block Diagram มีลักษณะคล้ายชุดคำส่ังของวงจรลอจิกเกต ไม่มีสัญลักษณ์ของ คอนแทคและคอยล์ (Coil) รูปแบบบล็อกของคำสั่ง FBD จะมีความใกล้เคียงกัน แต่ชุดคำสั่งในแต่ละบล็อก แตกตา่ งกนั การเขียนโปรแกรม FBD จะเป็นลกั ษณะการนำบล็อกมาเรียงต่อกนั ดงั รปู ท่ี 1.14 (ก) 1.5.3 ภาษาสเตทเมนต์ลิสต์ (Statement List : STL) ภาษาแบบ Statement List เป็นภาษาดิจิตอลท่ีสามารถรับรู้โดยอาศัย CODE คำสั่ง เช่น LD , AN O , = เป็นต้น ผู้ใช้ต้องมีความชำนาญในการเขียนโปรแกรม เพราะเป็นภาษาเฉพาะของเครื่อง ผู้ใช้ต้อง เขา้ ใจสัญลักษณ์ของภาษาที่ใชใ้ นแตล่ ะคำส่ังจงึ จะสามารถเขียนโปรแกรมได้ ดงั รูปท่ี 1.14 (ข) (ก) การเขยี นโปรแกรมแบบ Function Block Diagram (ข) การเขยี นโปรแกรมแบบ Statement List รปู ท่ี 1.14 ภาษาท่ีใช้ในการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ 1.6 อปุ กรณต์ อ่ ร่วม (Peripheral Devices) อปุ กรณ์ต่อร่วมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ทำหน้าที่ช่วยเพ่ิมความสะดวกและความรวดเร็วใน การใช้งาน ใช้ในการต้ังค่าเพ่ือป้อนข้อมูลการควบคุมเครื่องจักรมีซอฟแวร์ท่ีสามารถเขียนโปรแกรมผ่าน คอมพิวเตอร์รองรับเทคโนโลยีตา่ ง ๆ มฟี ังก์ชน่ั การใช้ที่หลากหลาย อุปกรณ์ตอ่ ร่วมกบั มหี ลายชนิด เช่น 1.6.1 Human Machine Interface (HMI)

14 Human Machine Interface (HMI) เป็นอุปกรณ์ท่ใี ช้ในการตดิ ต่อส่ือสารระหว่างผู้ใช้กับเคร่ืองจักร ใช้ในการควบคุมและแสดงผล แสดงสถานะการทำงาน สภาวะของการควบคมุ ฯลฯ มฟี งั ก์ชน่ั การใช้งานเพื่อ ความสะดวกให้กับผู้ใช้งานตามเทคโนโลยีของบริษัทท่ีนำมาออกแบบและพัฒนาข้ึน อาทิ Text Display Touch Screen เปน็ ตน้ รูปท่ี 1.15 Human Machine Interface ของ SIEMENS ท่ีมา : http://artelectro.ro/nou/en,2557 1.6.2 Programming Console หรอื Hand Held Programmer Programming Console หรือ Hand Held Programmer เป็นอุปกรณ์ ที่ใช้สำหรับการเขียน โปรแกรมแบบมือถือมีขนาดเล็ก สะดวกในการพกพาและใช้งานซึ่งในอดีตนิยมใช้ในการเขียนโปรแกรม แต่ ปัจจุบันนิยมใช้คอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรมมากกว่า เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงและ ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้เขยี นโปรแกรมได้พัฒนาใหใ้ ช้งานได้ง่ายข้นึ (ก) สำหรับใชก้ ับ PLC ของ OMRON (ข) สำหรบั ใชก้ บั PLC ของ TOSHIBA รูปที่ 1.16 Programming Console หรือ Hand Held Programmer ท่ีมา : ชวนชม ลิม่ ทอง,2558 1.6.3 คอมพวิ เตอร์และซอฟแวร์ (Computer and Software) คอมพิวเตอร์ใช้สำหรับเขียนโปรแกรมแก้ไขโปรแกรมและแสดงสภาวะการควบคุมโดยใช้ร่วมกับ ซอฟต์แวร์ของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ย่ีห้อนั้น ๆ เช่น PLC SIEMENS ใช้โปรแกรม STEP 7

15 Micro/WIN หรือ PLC ORMRON ใช้โปรแกรม CX-Programmer ทั้งนี้แต่ละบริษัทจะพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ สามารถรองรับฟงั กช์ น่ั ที่เพิ่มขึ้นตามการพฒั นาของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ รปู ที่ 1.17 คอมพวิ เตอร์และซอฟแวร์โปรแกรม STEP 7 Micro/WIN ทม่ี า : ชวนชม ลมิ่ ทอง,2558 สรุป โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (Programmable Controller : PLC) เป็นอุปกรณ์ที่ถูกคิดค้นข้ึน เพื่อควบคุมการทำงานของเคร่ืองจักร และถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้ตอบสนองความต้องการของโรงงาน อุตสาหกรรมสมัยใหม่ การนำ PLC ไปใช้งานจะพิจารณาจากจำนวนอินพุตและเอาต์พุตของงานท่ีนำไป ควบคุมเป็นหลัก ความหลากหลายของรุ่น PLC ท่ีบริษัทผู้ผลิตจำหน่ายออกมาจึงผลิตเพื่อตอบสนองความ ต้องการใช้งานท่ีต่างกัน ทั้งน้ีสามารถแบ่งประเภทของ PLC ตามขนาดของหน่วยความจำ (Memory Unit) และของจำนวนอินพตุ และเอาต์พตุ ได้ 4 ขนาดคือ ประเภทของ PLC ตามขนาดของ จำนวนอนิ พุต/เอาตพ์ ตุ หนว่ ยความจำ หน่วยความจำ ไม่เกนิ 128 ประมาณ 4 Kbytes ขนาดเลก็ (Small or Micro size) (2,000 Statements) ประมาณ 16 Kbytes ขนาดกลาง (Medium size) ไมเ่ กิน 1,024 จดุ (8,000 Statements) ประมาณ 64 Kbytes ขนาดใหญ่ (Large size) ไมเ่ กนิ 2,048 จดุ (32,000 Statements)

16 ขนาดใหญม่ าก (Very large size) ประมาณ 8,192 จดุ ประมาณ 256 Kbytes (128,000Statements) และสามารถแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ตามลักษณะโครงสร้างภายนอกได้เป็น แบบคอมแพ็กตห์ รอื บลอ็ กและแบบมอดลู หรอื แร็ก โครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์มีส่วนประกอบหลักทีส่ ำคญั 4 หนว่ ย คอื 1. หนว่ ยประมวลผล (Central Processing Unit, CPU) 2. หนว่ ยความจำ (Memory Unit) 3. หนว่ ยแหล่งจ่ายพลงั งาน (Power Supply Unit) 4. หน่วยอนิ พุตและเอาตพ์ ตุ (Inputs/Outputs Unit) โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ โดยทั่วไปจะมีภาษาท่ีใช้เขียนโปรแกรมได้ 3 แบบ แต่ที่นิยมท่ีสุดคือ การเขียนโปรแกรมแบบ Ladder หรอื Ladder Logic Editor (LAD) และเราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ Programming Console หรือ Hand Held Programmer หรือคอมพิวเตอร์โดยใช้ซอฟแวร์ของ PLC แต่ ละรุ่น และสามารถติดต่อส่ือสารกับ PLC โดยใช้ Human Machine Interface (HMI) ในการควบคุมและ แสดงผล แสดงสถานะการทำงาน สภาวะของการควบคุม แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1 ความรพู้ ้นื ฐานเกยี่ วกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ จงพจิ ารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถกู หรือผดิ ถา้ ผดิ จงเขยี นเปน็ ประโยคใหม่ใหถ้ ูกต้อง 1. การนำโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์มาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม แทนที่ระบบควบคุมซ่ึงใช้รีเลย์ และแมกเนติกส์ทำให้ระบบมีขนาดใหญ่ส้ินเปลืองเนื้อท่ี การติดต้ังใช้เวลานาน เปล่ียนแปลงแก้ไข โปรแกรมทำไดย้ าก ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

17 2. โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบบคอมแพ็กต์เป็นโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ท่ีมีลักษณะเป็น มอดูลเช่ือมต่อกันอยู่บนแร็ก สามารถจะทำการถอดและเสียบโมดูลที่ต้องการใช้งานได้ มีความ ยืดหยุน่ ในเร่อื งของจำนวนอินพตุ และเอาต์พุตและโมดูลฮารด์ แวรท์ ใี่ ช้ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 3. โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์แบบมอดูล หรือแบบแร็กจะเป็นโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ท่ีมี ขนาดเล็ก กะทัดรัด มีหน่วยอินพุตและเอาต์พุตประกอบรวมกันอยู่ภายในโครงสร้างเดียวกันเหมาะ สำหรับอินพตุ และเอาต์พตุ ท่แี น่นอนและมจี ำนวนไม่มาก ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 4. หนว่ ยประมวลผล (CPU) เปน็ ส่วนท่ีสำคัญของระบบ เพราะใช้เกบ็ โปรแกรมและข้อมูลตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ใน การทำงาน ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 5. หน่วยอินพุตแบบแอนะลอกหมายถึง อินพุตที่สามารถรับสัญญาณที่มีสภาวะการทำงานเพียง 2 สภาวะ เทา่ นัน้ คือ สภาวะการทำงาน (On)และหยดุ ทำงาน (Off) ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 6. เอาต์พุตชนิดรีเลย์เป็นเอาต์พุตที่มีความเร็วในการทำงานสูง เหมาะสำหรับใช้งานโหลดท่ีมีการปิด– เปิดบอ่ ย ๆ หรือการควบคมุ ท่ีใช้งานความถใี่ นการสวติ ช(์ Switch)สูง .................................................................................................................................................................

18 ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 7. ภาษาทใ่ี ช้ในการเขียนโปรแกรมแบบ Function Block Diagram (FBD) เป็นภาษาท่ีมีลักษณะคล้าย กับการนำเอาหน้าสัมผัสหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ มาต่อเป็นวงจรไฟฟ้า ทำให้ผู้ใช้สามารถเห็นการทำงาน ได้จริงและเข้าใจไดง้ ่าย ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. 8. อุปกรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices) เป็นอุปกรณ์ต่อร่วมกับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ทำ หน้าที่ช่วยเพ่ิมความสะดวกในการใช้งาน เพิ่มความรวดเร็ว ใช้ในการตั้งค่าเพ่ือป้อนข้อมูลการ ควบคุมเครอ่ื งจักร .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. กจิ กรรมเสริมทักษะ กิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง PLC ทมี่ ใี ช้งานอยใู่ นปัจจบุ ัน

19 หน่วยท่ี 1 ความรูพ้ ้นื ฐานเกี่ยวกบั โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ สัปดาห์ท่ี 1 รหสั วิชา 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟ้า จำนวน 1 ชวั่ โมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงค์ท่ัวไป เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีความรเู้ ก่ียวกับ เคร่อื งหมายการคา้ ตา่ ง ๆ ของ PLC ท่ีมีใช้งานอยูใ่ นปจั จุบัน จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เม่อื ผู้เรยี นเรยี นจบหน่วยการเรียนนีแ้ ล้วมคี วามสามารถดังต่อไปนี้ 1. บอกเคร่อื งหมายการค้าของ PLC ได้ 2. คน้ หาข้อมลู เรือ่ ง PLC จากแหลง่ ขอ้ มลู ต่างๆ ได้ ลำดบั ขั้นการปฏิบตั งิ าน ให้นักเรียนค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ PLC เคร่ืองหมายการค้าต่าง ๆ ท่ีมีใช้อยู่ในปัจจุบัน แล้วนำภาพท่ีได้ ตดิ ลงใบกิจกรรม พรอ้ มท้ังระบขุ ้อมลู ให้ครบถว้ น ลำดับ ขอ้ มูล รปู PLC ท่ี 1. 1. เคร่ืองหมายการคา้ .......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอนิ พตุ /เอาต์พตุ ..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหน่วยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มูล…………..…………………. 2. 1. เครื่องหมายการคา้ .......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอินพตุ /เอาต์พุต..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสร้างภายนอก……………………… 5. แหล่งทม่ี าของข้อมลู …………..…………………. 3. 1. เครื่องหมายการค้า.......................................... 2. รุ่น.................................................................... 3. จำนวนอนิ พตุ /เอาตพ์ ุต.....................................

20 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหน่วยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสร้างภายนอก……………………… 5. แหล่งทีม่ าของขอ้ มลู …………..………………….

21 ลำดับ ข้อมูล รปู PLC ที่ 4. 1. เครื่องหมายการคา้ .......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอินพตุ /เอาตพ์ ตุ ..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลักษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูล…………..…………………. 5. 1. เคร่ืองหมายการค้า.......................................... 2. รุ่น.................................................................... 3. จำนวนอนิ พตุ /เอาต์พุต..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสร้างภายนอก……………………… 5. แหลง่ ท่มี าของข้อมลู …………..…………………. 6. 1. เครื่องหมายการคา้ .......................................... 2. รุน่ .................................................................... 3.จำนวนอนิ พตุ /เอาต์พุต..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสร้างภายนอก……………………… 5. แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู …………..…………………. 7. 1. เครื่องหมายการค้า.......................................... 2. รุน่ .................................................................... 3.จำนวนอินพตุ /เอาตพ์ ตุ ..................................... 4. แบ่งประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู …………..…………………. 1. เคร่ืองหมายการคา้ .......................................... 2. ร่นุ .................................................................... 3. จำนวนอนิ พตุ /เอาต์พุต..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม

22 4.1 ขนาดของหน่วยความจำ............................... 4.2 ลักษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ท่ีมาของขอ้ มลู …………..………………….

23 ลำดบั ขอ้ มูล รปู PLC ท่ี 8. 1. เครื่องหมายการคา้ .......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอนิ พตุ /เอาต์พุต..................................... 4. แบ่งประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลกั ษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ทีม่ าของข้อมูล…………..…………………. 9. 1. เคร่ืองหมายการคา้ .......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอินพตุ /เอาตพ์ ตุ ..................................... 4. แบง่ ประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหน่วยความจำ............................... 4.2 ลักษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหลง่ ท่มี าของขอ้ มลู …………..…………………. 10. 1. เคร่ืองหมายการค้า.......................................... 2. รนุ่ .................................................................... 3. จำนวนอินพตุ /เอาตพ์ ุต..................................... 4. แบ่งประเภทของ PLC ตาม 4.1 ขนาดของหนว่ ยความจำ............................... 4.2 ลักษณะโครงสรา้ งภายนอก……………………… 5. แหล่งทม่ี าของข้อมลู …………..………………….

24 แบบประเมนิ ผลกิจกรรมเสริมทกั ษะ รหสั วิชา 2104-2109 หนว่ ยท่ี 1 ความรู้พนื้ ฐานเก่ียวกับโปรแกรม วิชาการโปรแกรมและควบคุมไฟฟา้ เมเบลิ คอนโทรลเลอร์ กจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื ง PLC ที่มีใช้งานอยู่ในปจั จุบนั คะแนนท่ไี ด้จากการประเมิน ........................…….…. ชือ่ -นามสกุล …………………………………..……………………………..ระดับชัน้ ............กลุ่ม......เลขที่..... ที่ รายการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน คะแนน คะแนน หมายเหตุ เต็ม ท่ีได้ 1 กระบวนการปฏิบัติงาน 1.1 ปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอน 10 2 ผลการปฏิบตั งิ าน 1.1 ได้ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง 60 1.2 รูปภาพมีความชัดเจน 30 3 กจิ นิสยั การปฏิบัตงิ าน 3.1 สง่ งานตรงเวลา 10 3.2 ปฏิบตั ิงานด้วยความเรียบร้อย 10 รวม 120 หมายเหตุ ใหค้ รูผสู้ อนนำคะแนนจากแบบประเมินผลการ ลงช่อื ………………..…………… ครผู ู้สอน ปฏิบัตงิ านทกุ หนว่ ยมารวมกันแล้วเทยี บบัญญตั ิไตรยางค์เพ่ือ (……………………………………………..) เปน็ คะแนนภาคปฏบิ ัตขิ องผู้เรียน …………/……………/25………

25 เอกสารอ้างอิง กฤษดา วิศวธีรานนท์. (2545). การควบคมุ ซแี ควน้ ซ์และPLC. กรุงเทพมหานคร : สมาคมสง่ เสรมิ ไทย – ญ่ีป่นุ . กฤษดา วศิ วธรี านนท.์ (2534). PC ตวั ควบคุมซแี คว้นซ์และหลกั การทำงาน. กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั บญุ ชัย วิศวกรรม. คีย์เอน็ ซ์ (ไทยแลนด์) จำกัด, บริษัท. (ม.ป.ป.). เซนเซอร์วิชันซิสเต็ม เครอ่ื งวัดและไมโครสโคป. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั คยี ์เอน็ ซ์ (ไทยแลนด์) จำกัด, จิรพฒั น์ ลมิ่ ทอง. (2553). ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม. นนทบุรี : บรษิ ัท ศูนยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั . ชยั ยุทธ ราษฎรส์ ภา. (ม.ป.ป.). PROGRAMMABLE CONTROLLER. (ม.ป.ท.). ณรงค์ ตันชวี ะวงศ.์ (2541). ระบบ PLC (Programmable Controller). กรงุ เทพมหานคร : สมาคม สง่ เสรมิ ไทย–ญ่ีปุน่ . ธีรศิลป์ ทมุ วภิ าค และสุภาพร จำปาทอง. (2547). เรยี นรู้ PLC ขั้นกลางด้วยตนเอง. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั ซเี อ็ดยเู คชนั่ จำกัด. วศิ รุต ศรีรัตนะ. เซนเซอร์และทรานสดิวเซอรใ์ นโรงงานอุตสาหกรรม. (2550). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกดั . ไวพจน์ ศรธี ญั และ นวภทั ร์ อุทยั รัตน.์ (2552). การโปรแกรมและควบคุมไฟฟ้า. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์วงั อกั ษร. สราวุฒิ ศริ วิ งษ์, ภูวดล ภูเด่นแดน, และ กรรชนม์ ปน่ิ โต. (2548). คลอ่ งแคล่ว PLC. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัท จปู ติ สั จำกดั . ออมรอนอีเลคทรอนกิ ส์ จำกัด, บริษทั . (2551). คมู่ ือแนะนำการใช้งานโฟโต้อิเลคทริคเซนเซอร์และ พร็อกซิมิตเ้ี ซนเซอร์. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ออมรอนอีเลคทรอนิกส์ จำกดั . อำนาจ ทองผาสขุ , และ วทิ ยา ประยงค์พันธ์. (ม.ป.ป.). การควบคุมมอเตอร์. (ม.ป.ท.). อทุ ัย สมุ ามาลย์. (ม.ป.ป.). โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ ภาคทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ศูนยส์ ง่ เสริมวชิ าการ.

26 อทุ ยั สุมามาลย์. (ม.ป.ป.). โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ภาคปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พ์ศูนย์ ส่งเสรมิ วิชาการ. Conveyor System. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่ือ 9 มีนาคม 2557]. จาก https://thelocalbrand.com/category/food-beverage. Human Machine Interface SIEMENS. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมื่อ 9 กนั ยายน 2557]. จาก http://artelectro.ro/nou/en. PLC Compact MITSUBISHI FX5U – 32M. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่ือ 24 สิงหาคม 2557]. จาก http://www.thaisupport.co.th. PLC Compact SIEMENSS7 – 200. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมื่อ 14 กมุ ภาพนั ธ์ 2557]. จาก http://www.plcacademy.com. เอกสารอา้ งองิ (ตอ่ ) PLC Mitsubishi iQ Platform. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่ือ 19 เมษายน 2557]. จาก http://www.fareast-inter.com. PLC Modular Allen-Bradley's -1756. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมอื่ 28 พฤษภาคม 2557]. จาก http://www.directindustry.com. PLC Modular Omron CVM1D. (ออนไลน)์ , (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่ือ 18 มกราคม 2557]. จาก http://www.mrplc.com. PLC Modular Siemens S7 – 300. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมื่อ 9 พฤษภาคม 2557]. จาก http://www.plc - city.com. PLC Modular Siemens S7 – 400. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่อื 30 กรกฎาคม 2557]. จาก http://www.alibaba.com. PLC Modular Siemens S7 – 400. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เมอ่ื 9 มีนาคม 2557]. จาก https://www.siemens.com.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook