Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 06.กลุ่มคำสั่ง bit logic e

06.กลุ่มคำสั่ง bit logic e

Published by ธิราช ประดิษฐ์ด้วง, 2020-10-11 04:44:19

Description: 06.กลุ่มคำสั่ง bit logic e

Search

Read the Text Version

102 หนว่ ยที่ 6 กลมุ่ คำส่งั Bit Logic สอนครงั้ ท่ี 6 รหสั วชิ า 2104-2109 วิชาการโปรแกรมและควบคมุ ไฟฟา้ จำนวน 4 ชัว่ โมง สาระการเรียนรู้ 1) คำสั่ง Normally Open (NO) 2) คำส่งั Normally Closed (NC) 3) คำส่งั Output (เอาต์พตุ ) 4) คำสั่ง Set (S) และคำสง่ั Reset (R) 5) คำสั่ง Positive Transition (P) และ คำสง่ั Negative Transition (N) 6) คำสง่ั Jump to Label แนวคิดสำคัญ กลุ่มคำส่ัง Bit Logic เป็นกลุ่มคำสั่งพ้ืนฐาน ที่จะต้องเร่ิมต้นเรียนรู้ทำความเข้าใจ ต้ังแต่การทำงาน ด้วยหน้าสัมผัสแบบปกติปิดและแบบปกติเปิด การนำหน้าสัมผัสไปควบคุมเอาต์พุต ข้ันตอนการทำงานของ โปรแกรม รวมถึงการใช้คำสั่งอื่นๆ ภายในกลุ่มคำส่ัง Bit Logic เพ่ือให้สามารถเข้าใจถึงรูปแบบของคำสั่ง และวิธีการเขยี นโปรแกรม สำหรับใช้เป็นพนื้ ฐานในการเขียนโปรแกรมตอ่ ไป จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จุดประสงค์ท่ัวไป 1) เพ่อื ให้มคี วามรู้ เข้าใจเกย่ี วกบั การโปรแกรมกลมุ่ คำสัง่ Bit Logic 2) เพื่อใหม้ ีทักษะเก่ยี วกับโปรแกรมกลุ่มคำสั่ง Bit Logic 3) เพ่ือใหผ้ เู้ รียนเป็นผู้มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์สอดคล้องกบั จรรยาบรรณ วิชาชีพ จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ดา้ นความรู้ 1) บอกสญั ลักษณ์และหลกั การทำงานของโปรแกรมทีใ่ ช้กลุ่มคำสัง่ Bit Logic ได้ถูกต้อง 2) อธบิ ายหลักการทำงานของโปรแกรมทใี่ ช้คำสง่ั Set (S) และคำส่งั Reset (R) ได้ถูกต้อง 3) อธบิ ายหลักการทำงานของโปรแกรมที่ใช้คำสงั่ Positive Transition (P) และ คำสงั่ Negative Transition (N) ไดถ้ ูกต้อง 4) อธบิ ายหลักการทำงานของโปรแกรมท่ใี ช้คำสง่ั Jump to Label ได้ถกู ต้อง ดา้ นทักษะ

103 1) เขยี นโปรแกรมโดยใช้คำสง่ั Normally Open : NO, Normally Closed : NC และ Output ได้ ถูกต้อง 2) เขยี นโปรแกรมโดยใช้คำสงั่ Set (S) และการใชค้ ำส่ัง Reset (R) ได้ถกู ต้อง 3) เขยี นโปรแกรมโดยใช้คำส่ัง Positive Transition (P) และ คำส่งั Negative Transition (N) ไดถ้ ูกต้อง 4) เขยี นโปรแกรมโดยใช้คำส่ัง Jump to Label ไดถ้ กู ต้อง ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ 1) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์สอดคลอ้ งกับจรรยาบรรณวิชาชพี สมรรถนะประจำหนว่ ย 1) แสดงความรใู้ นการเขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่งั Normally Open และ Normally Closed และ คำสงั่ Output 2) แสดงความรู้ในการเขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่ัง Set และ Reset 3) แสดงความรู้ในการเขยี นโปรแกรมโดยใช้คำสง่ั Positive และ Negative Transition 4) แสดงความรู้ในการเขียนโปรแกรมโดยใช้คำสงั่ Jump to Label คำแนะนำ หนว่ ยท่ี 6 กลมุ่ คำส่ัง Bit Logic ใช้ร่วมกบั ใบงานที่ 3 การใช้คำสงั่ พน้ื ฐาน

104 หนว่ ยที่ 6 กลุ่มคำส่ัง Bit Logic การเขียนโปรแกรม PLC นัน้ จะมีกล่มุ คำส่ังให้เลือกใชม้ ากมาย และกลุ่มคำส่งั Bit logic เปน็ กล่มุ คำสัง่ พ้ืนฐาน อย่ใู นส่วนของ Instruction Tree เมอื่ ดับเบิ้ลคลกิ ท่ี Bit logic จะปรากฏคำสั่งตา่ ง ๆ สำหรบั ใช้งานดงั รปู ที่ 6.1 รปู ท่ี 6.1 คำส่งั Bit Logic

105 กลมุ่ คำสงั่ Bit logic จะมสี ญั ลักษณแ์ ละช่อื คำสงั่ ให้ใช้งานสำหรบั เขยี นโปรแกรมพ้ืนฐาน มี ความหมายและการทำงานตามตารางท่ี 6.1 ตารางท่ี 6.1 สญั ลักษณข์ องกลุม่ คำส่ัง Bit logic สัญลักษณ์และช่อื คำสงั่ ความหมาย : การทำงาน ความหมายเป็นคำสั่งหน้าสัมผสั ปกตเิ ปิด การทำงาน หนา้ สมั ผัสจะเปลย่ี นสภาวะจากปกติเปดิ เปน็ สภาวะปดิ Normally Open (NO) เมอ่ื มีการเปลี่ยนสัญญาณอนิ พตุ จาก 0 เป็น 1 หรือจาก Off เป็น On ความหมายเปน็ คำสง่ั หนา้ สัมผัสปกติปิด Normally Close (NC) การทำงาน หน้าสมั ผัสจะเปล่ียนสภาวะจากปกตปิ ิดเป็นสภาวะเปดิ เมื่อมีการเปลี่ยนสญั ญาณอินพุตจาก 0 เป็น 1 หรือจาก Off เป็น On ความหมายเป็นคำสง่ั ทห่ี น้าสัมผัสทำงาน (On) ด้วยระยะเวลา 1 Scantime เมื่อเปล่ยี นสัญญาณจาก Off เป็น On (ขอบขาขึน้ ) Positive Transition (P) การทำงาน หนา้ สมั ผสั ทำงาน (On) เปน็ ระยะเวลา 1 Scantime เม่อื เปลีย่ นสญั ญาณอินพุตจาก 0 เป็น 1 หรอื จาก Off เป็น On (หรอื เรียกว่า ช่วงขอบขาขนึ้ )

106 ตารางที่ 6.1 สญั ลกั ษณ์ของกลุ่มคำสง่ั Bit logic (ต่อ) สญั ลกั ษณ์และชอื่ คำสงั่ ความหมาย : การทำงาน ความหมาย เป็นคำส่ังทีห่ น้าสมั ผัส On ดว้ ยระยะเวลา 1 Scantime เมอื่ เปลีย่ นสญั ญาณจาก On เป็น Off (ขอบขาลง) Negative Transition (N) การทำงาน หนา้ สมั ผสั จะทำงาน On เปน็ ระยะเวลา 1 Scantime เม่อื เปลยี่ นสญั ญาณอินพุตจาก 1 เปน็ 0 หรอื จาก On เป็น Off (หรือท่ี เรียกว่า ชว่ งขอบขาลง) Output ความหมาย เปน็ คำสง่ั การแสดงผลของ Output Set การทำงานเอาต์พตุ จะทำงานเม่ือมีสญั ญาณอินพตุ เข้าที่เอาตพ์ ุตคอยล์ Reset ความหมาย เปน็ คำสงั่ ทีใ่ ช้กระทำการ Set ค่าทีต่ ้องการบิต (bit) และ ย่านของตำแหน่ง(N)ทส่ี ามารถ Set ได้คอื 1 – 255 การทำงาน เมื่อมสี ัญญาณจากอินพตุ เข้าทีค่ ำสัง่ Set จะทำให้คำส่ัง Set ทำงานไปกระทำการ Set bit ท่ตี ั้งคา่ ไว้ตามย่านของตำแหน่ง (N) ความหมาย เป็นคำสงั่ ทใ่ี ช้กระทำการ Reset คา่ ท่ีต้องการบิต (bit) และ ยา่ นของตำแหนง่ (N) ทีส่ ามารถตอ้ งการ Reset ได้ คือ 1 – 255 การทำงาน เมอื่ มสี ญั ญาณจากอินพตุ เข้าทค่ี ำสงั่ Reset จะทำให้คำสง่ั Reset ทำงาน ไป Reset bit ที่ตง้ั คา่ ไว้ตามย่านของตำแหนง่ (N) 6.1 คำสัง่ Normally Open (NO) คำส่งั Normally Open (NO) หรือคำสง่ั หนา้ สมั ผสั ปกตเิ ปิด โดยหนา้ สมั ผสั จะเปลี่ยนสภาวะจากปกติเปิด เปน็ สภาวะปิด เมอื่ มีการเปลี่ยนสญั ญาณอนิ พตุ จาก 0 เป็น 1 ดังรปู ที่ 6.2 (ก) 6.2 คำสัง่ Normally Closed (NC) คำสั่ง Normally Closed (NC) หรอื คำสงั่ หน้าสัมผสั ปกติปิด โดยหน้าสัมผัสจะเปลีย่ นสภาวะจากปกตปิ ดิ เป็นสภาวะเปิด เมื่อมีการเปล่ียนสญั ญาณอินพุตจาก 0 เป็น 1 ดงั รูปที่ 6.2 (ข) bit bit (ก) คำสั่ง Normally Open (ข) คำส่ัง Normally Closed รูปที่ 6.2 Normally Open และคำส่งั Normally Closed 6.3 คำส่งั เอาตพ์ ตุ (Output)

107 คำสัง่ เอาต์พตุ (Output) เป็นคำสงั่ การแสดงผลของเอาต์พุต รูปที่ 6.3 คำส่ัง Output ตวั อย่างท่ี 6.1 การใชค้ ำส่งั หนา้ สมั ผัสปกติเปดิ (Normally Open : NO) คำส่งั หนา้ สมั ผสั ปกติปดิ (Normally Closed : NC) และคำสง่ั เอาตพ์ ตุ การทำงานของโปรแกรม เป็นการใชค้ ำสัง่ หน้าสัมผสั ปกติเปดิ และคำสง่ั หน้าสัมผสั ปกตปิ ดิ ควบคุมการทำงานของเอาต์พุต โดยมี การทำงานของโปรแกรม คือ เมอ่ื อนิ พุต I0.0 ทำงาน จะทำ ให้คำสั่งเอาต์พุต Q0.0 และ Q0.1 ทำงานและเมือ่ อนิ พตุ I0.1 ทำงาน จะทำให้คำสัง่ เอาตพ์ ตุ Q0.0 และ Q0.1 หยุด ทำงาน ดงั รปู ที่ 6.4 รูปที่ 6.4 โปรแกรมตวั อยา่ งโดยใช้คำส่ัง Normally Closed Normally Open และ Output 6.4 คำส่ัง Set (S) และคำสัง่ Reset (R) คำสั่ง Set เป็นคำสงั่ ให้ตำแหนง่ บิต (bit) ทถ่ี ูกระบุทำงาน (Lock) ดงั รูปที่ 6.5 (ก) และคำสงั่ Reset เป็นคำสัง่ ให้ตำแหน่งบิตที่ถกู ระบุหยุดทำงาน (Unlock) ดังรปู ท่ี 6.5 (ข) ตามรายละเอียดจำนวนของจดุ (N) โดยเรม่ิ ต้นตามรายละเอียดของตำแหนง่ บิต ผู้ใช้สามารถท่ีจะสัง่ Set และ Reset ตามรายละเอียดจำนวน ของจุดได้ คือคา่ 1 – 255 ถา้ ใช้คำสง่ั Reset กับ Timer หรอื เคานเ์ ตอร์ (Counter) จะมีผลทำให้คา่ เวลา ของ Timer และค่าการนบั ของเคาน์เตอร์ถกู เคลยี ร์ไปดว้ ย (ก) คำสงั่ Set (S) (ข) คำสง่ั Reset (R) รูปที่ 6.5 คำสั่ง Set (S) และ คำสง่ั Reset (R) ตัวอยา่ งท่ี 6.2 การใช้คำสง่ั Set (S) และการใช้คำสั่ง Reset (R) การทำงานของโปรแกรม

108 เป็นการใช้คำสั่ง Set และ Reset เพ่ือควบคุมการทำงานของ เอาตพ์ ุตการทำงานคือเมื่ออินพุต I0.0 ทำงาน จะทำใหค้ ำส่ัง Set ทำงาน ส่งผลให้เอาต์พุตตั้งแต่ตำแหน่ง Q0.0 ทำงานและทำงานไปจนถึง ตำแหน่งของ N ในท่นี ี้คือ 4 จุดหรือ 4 บิต ฉะน้ันจะเห็นเอาต์พุตทำงาน ต้ังแต่ตำแหน่ง Q0.0 จนถึง Q0.3 และเมื่ออินพุต I0.1 ทำงาน จะทำให้ คำสั่ง Reset ทำงาน ส่งผลให้เอาต์พุตต้ังแต่ตำแหน่งของเอาต์พุต Q0.0 –Q0.3 หยดุ ทำงานดงั รูปที่ 6.6 รูปที่ 6.6 ตัวอยา่ งการใช้คำสัง่ Set ( S) และ Reset (R) วิธีการเขยี นโปรแกรม 1) เปิดโปรแกรม STEP 7–Micro/WIN แล้ว Communication เพอ่ื ตดิ ต่อสื่อสารข้อมลู ระหว่าง คอมพิวเตอร์กบั PLC จากนน้ั ดบั เบล้ิ คลกิ ท่ี Bit Logic ใน Instructions จะปรากฏคำสัง่ หน้าสัมผัสท่ใี ช้ ในการเขียนโปรแกรมดงั รปู ที่ 6.7 รปู ท่ี 6.7 คำส่ังหนา้ สัมผัสในกล่มุ คำส่งั Bit Logic 2) เขยี นโปรแกรมตามท่ีกำหนดจนถงึ คำส่งั Set (S) ดบั เบล้ิ คลิกท่คี ำส่งั Set ดงั รูปที่ 6.8

109 รปู ท่ี 6.8 การเขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่งั Set (S) 3) กำหนดรายละเอยี ดในการใชง้ านคำสงั่ Set โดยด้านบนใส่เอาต์พุตบิตเริม่ ตน้ คือ Q0.0 และ ด้านล่างใส่จำนวนจุด (N) ทีต่ ้องการใหท้ ำงานคือ 4 ดงั รปู ท่ี 6.9 เขยี นโปรแกรมต่อไปจนครบตามที่กำหนด ดงั รปู ที่ 6.10 แลว้ ทดลองการทำงานของโปรแกรมตามขน้ั ตอน 4 = จำนวนเอาต์พุตบติ ท่ตี ้องการ ใหท้ ำงาน (Q0.0 - Q0.3) รปู ท่ี 6.9 การกำหนดรายละเอียดในการใช้งานคำส่ัง Set (S)

110 4 = จำนวนเอาต์พุตบิตท่ีต้องการ ให้ทำงาน (Q0.0 - Q0.3) รูปท่ี 6.10 โปรแกรมท่ีเสรจ็ สมบรู ณ์ตามตัวอย่างท่ี 6.2 6.5 คำส่ัง Positive Transition (P) และคำสั่ง Negative Transition (N) คำส่ัง Positive Transition เป็นคำส่งั ท่มี ีผลต่อตำแหน่งทต่ี ่อร่วมกบั คำสง่ั Pด้วยระยะเวลาเพียง 1 Scantime เมอื่ ได้รับสัญญาณสภาวะ On หรือช่วงขอบขาข้ึนจากคอนแทคทค่ี วบคุมคำสั่ง P คำสั่ง Negative Transition เป็นคำส่ังท่ีมีผลต่อตำแหน่งที่ต่อรว่ มกบั คำสง่ั N ด้วยระยะเวลาเพียง 1 Scantime เมอ่ื ได้รับสญั ญาณสภาวะ Off หรอื ชว่ งขอบขาลงจากคอนแทคที่ควบคุมคำสงั่ N (ก) คำสง่ั Positive Transition (ข) คำส่งั Negative Transition รปู ที่ 6.11 คำส่งั Positive Transition และคำสั่ง Negative Transition ตวั อย่างท่ี 6.3 การใช้คำสั่ง Positive Transition และคำสง่ั Negative Transition การทำงานของโปรแกรม เมื่ออินพุต I0.0 ทำงานหรือมีสภาวะ On (ช่ ว ง ข อ บ ข า ขึ้ น ) จ ะ ท ำ ให้ ค ำ สั่ ง Positive Transition ทำงาน ส่งผลให้เอาต์พุต Q0.0 ทำงาน เป็นระยะเวลา 1 Scantime และเมื่ออินพุต I0.0 หยุดทำงานหรือมีสภาวะ Off (ช่วงขอบขาลง) จะ ทำให้เอาต์พุต Q0.1 ทำงานเป็นระยะเวลา 1 Scantime ดงั รปู ที่ 6.12 รูปท่ี 6.12 โปรแกรมตวั อยา่ งโดยใช้คำสงั่ Positive (P) และ Negative (N)

111 วิธีออกแบบโปรแกรม 1) เปดิ โปรแกรม STEP 7–Micro/WIN ทำการ Communication เพ่ือตดิ ต่อส่ือสารข้อมูลระหว่าง คอมพวิ เตอร์กบั PLC จากนัน้ ดบั เบ้ลิ คลกิ ท่ี Bit Logic ใน Instructions จะปรากฏคำสง่ั หนา้ สัมผัสท่ใี ช้ ในการเขียนโปรแกรม 2) เขียนโปรแกรมตามโปรแกรมตวั อยา่ งจนถึงคำส่งั Positive Transition ดบั เบล้ิ คลกิ ท่ีคำส่ัง Positive Transition ดงั รูปท่ี 6.13 รูปท่ี 6.13 คำสัง่ Positive Transition 3) เขียนโปรแกรมจนครบตามโปรแกรมตัวอยา่ งดงั รปู ที่ 6.12 จากนัน้ ทดลองการทำงานของ โปรแกรมตามขัน้ ตอนดงั รปู ที่ 6.14 รูปที่ 6.14 การทดลองการทำงาน ตามทก่ี ลา่ วมาแล้วคำสั่ง Positive และ Negative Transition มีผลเพยี ง Scantime เดียว โดยคำสั่ง Positive Transition จะมีผลช่วงขอบขาข้ึนและ Negative Transition จะมีผลช่วงขอบขาลงของอินพุตที่ ควบคมุ คำสั่ง Positive และ Negative Transition ดงั รูปที่ 6.15

112 Input I0.0 Positive Transition (Output Q0.0) Negative Transition 1 Scan time (Output Q0.1) 1 Scan time รูปที่ 6.15 Timing Diagram ของ Positive Transition และ Negative Transition 6.6 การใช้คำสง่ั Jump to Label เป็นคำส่ังที่ข้ึนต้นด้วยคำส่ัง JMP และต้องลงท้ายด้วยคำสั่ง LBL เสมอการระบุจำนวนสามารถระบุ จุดได้สูงสุดถงึ 256 จุด (0-255 จุด) การเขียนโปรแกรมคำส่ัง Jump และ Label จะตอ้ งอย่ใู นหน้าเดียวกัน โดยมีเง่ือนไขคือเมอื่ คำส่ัง Jump ทำงาน โปรแกรมซ่ึงอยู่ระหว่างคำส่ัง Jump และ Label จะคงค้างสถานะ เปรียบเหมือน CPU ของ PLC ไม่ประมวลผลโปรแกรมท่ีอยู่ระหว่างคำส่ัง Jump กับ Label ถ้าเอาต์พุต ทำงานก่อนคำสั่ง Jump จะทำงาน เอาต์พุตนั้น ๆ จะคงทำงานค้างตลอด เปล่ียนแปลงการทำงานไม่ได้ จนกว่าคำสง่ั Jump จะหยดุ ทำงาน หากเมอ่ื คำสั่ง Jump หยดุ ทำงานทกุ เงื่อนไขจะกลับสูส่ ภาวะปกติ รูปที่ 6.16 สญั ลกั ษณ์คำส่ัง Jump to Label ตัวอยา่ งท่ี 6.4 การใชค้ ำสั่ง Jump to Label การทำงานของโปรแกรม เม่ือคำส่ัง Jump ยังไม่ทำงาน (I0.0 มีสภาวะOff) โปรแกรมทุก Network จะยังทำงานตามปกติ แต่เมอ่ื คำส่ัง Jump ทำงาน (I0.0 มีสภาวะ On และคงสภาวะ On ไว้)

113 จะทำให้โปรแกรมซ่ึงอยู่ระหว่างคำส่ัง Jump และ Label (โปรแกรมใน Network ที่ 2) จะค้างสภาวะการ ทำงานเดิมก่อนหนา้ (CPU ไมป่ ระมวลผลการทำงาน) และเม่ือคำสงั่ Jump หยุดทำงาน (I0.0 มสี ภาวะ Off) การทำงานของโปรแกรมทกุ Network จะกลับมาทำงานตามปกติ ดงั รูปท่ี 6.17 รปู ท่ี 6.17 ตวั อย่างการใชค้ ำสัง่ Jump to Label วธิ ีออกแบบโปรแกรม 1) ดบั เบล้ิ คลิกที่กลุม่ คำสง่ั Bit Logic ใน Instructions จะปรากฏคำส่ังหนา้ สมั ผสั ทใ่ี ช้เขียน โปรแกรม 2) เขยี นโปรแกรมตามโปรแกรมตัวอย่างที่ 6.4 จนถงึ คำส่ัง Jump ดบั เบล้ิ คลิกทก่ี ลุ่มคำสัง่ Program Control จากนน้ั คลกิ เลือกคำส่งั Jump ดังรปู ท่ี 6.18 3) กำหนดคา่ ดา้ นบน ???? คำสัง่ jump เป็นคา่ 0 ดงั รปู ที่ 6.19 รปู ที่ 6.18 การใชค้ ำสง่ั jump รูปท่ี 6.19 การกำหนดรายละเอยี ดคำสั่ง jump 4) เขียนโปรแกรมต่อไปจนถึงคำสัง่ Label ดงั รปู ที่ 6.20 5) เลอื กคำสั่ง Label กำหนดคา่ ด้านบน ???? คำสัง่ Label เปน็ ค่า 0 แล้วเขยี นโปรแกรมต่อจน ครบตามโปรแกรมตัวอย่างท่กี ำหนด ดงั รปู ที่ 6.21

114 รูปที่ 6.20 การใช้คำสัง่ Label รูปที่ 6.21 การกำหนดรายละเอยี ดคำสั่ง Label 6) ทดลองการทำงานของโปรแกรม ตาม ข้นั ตอนดังรปู ที่ 6.22 การทำงานของโปรแกรม จะทำงานเป็นปกติ คือ On–Off I0.1 Output Q0.0 ทำงาน On–Off I0.2 Output Q0.0 หยดุ ทำงาน กรณีท่ี I0.0 ยงั ไม่ On (คำส่งั Jump ยังไมท่ ำงาน) รปู ที่ 6.22 การทำงานของโปรแกรมคำสัง่ JMP และ LBL 7) เม่อื On Input I0.0 ดังรูปท่ี 6.23 เมื่ อ On I0.0 (ค ำส่ั ง Jump ท ำงาน ) จะท ำให้ โปรแกรมซึ่งอยู่ระหว่างคำสั่ง JMP และ LBL ค้าง สภาวะการทำงานเดิมก่อนหน้า โดยจะไม่ถูก ประมวลผลการทำงานจาก CPU และเมื่อคำส่ัง Jump หยุดทำงานอีกคร้ัง (I0.0 Off) การทำงานของ โปรแกรมทุก Network จะกลบั ทำงานตามปกติ

115 รูปท่ี 6.23 การทำงานของโปรแกรมคำสงั่ JMP และ LBL สรุป การเขยี นโปรแกรม PLC นน้ั จะมกี ลมุ่ คำสัง่ ใหเ้ ลือกใช้มากมาย และกลมุ่ คำสงั่ Bit logic เป็นกลุ่ม คำสง่ั พนื้ ฐาน อยู่ในสว่ นของ Instruction Tree สามารถสรุปได้ดงั น้ี สัญลกั ษณ์และชอื่ คำสั่ง การทำงาน เปน็ คำส่งั หน้าสัมผัสปกติเปดิ โดยหน้าสมั ผัสจะเปลยี่ นสภาวะจากปกติเปดิ เป็นสภาวะปดิ เมอื่ มีการ Normally Open (NO) เปลยี่ นสญั ญาณอินพตุ จาก 0 เปน็ 1 หรอื จาก Off เป็น On เปน็ คำสั่งหนา้ สัมผัสปกตปิ ดิ Normally Close (NC) โดยหนา้ สัมผัสจะเปลย่ี นสภาวะจากปกติปดิ เปน็ สภาวะเปดิ เมื่อมีการ เปลย่ี นสัญญาณอินพุตจาก 0 เป็น 1หรอื จาก Offเป็น On เป็นคำส่ังทห่ี นา้ สมั ผัสทำงาน (On) ด้วยระยะเวลา 1 Scantime เมอื่ เปลี่ยนสัญญาณจาก Off เป็น On (ขอบขาขน้ึ ) โดยหน้าสัมผัสทำงาน Positive Transition (P) (On)เป็นระยะเวลา 1 Scan time เมอื่ เปลีย่ นสญั ญาณอินพุตจาก 0 เป็น 1 หรอื จาก Off เป็น On (หรอื เรียกว่า ชว่ งขอบขาขนึ้ ) เป็นคำสง่ั ที่หนา้ สัมผัส On ด้วยระยะเวลา 1 Scantime เมื่อเปลย่ี น สญั ญาณจาก On เป็น Off (ขอบขาลง) โดยหนา้ สมั ผัสจะทำงาน On Negative Transition (N) เป็นระยะเวลา 1 Scantime เมอ่ื เปลี่ยนสญั ญาณอินพตุ จาก 1 เป็น 0 หรือจาก On เป็น Off (หรือที่เรยี กวา่ ชว่ งขอบขาลง) Output เปน็ คำสัง่ การแสดงผลของ Output โดยเอาต์พุตจะทำงานเม่ือมีสญั ญาณ Set อนิ พุตเขา้ ที่เอาต์พตุ คอยล์ Reset เปน็ คำสั่งทใ่ี ชก้ ระทำการ Set คา่ ท่ีต้องการ (bit) และย่านของตำแหนง่ (N) ท่สี ามารถ Set ได้คือ 1 – 255 โดยเมื่อมสี ัญญาณจากอนิ พุตเข้าที่ คำสัง่ Set จะทำให้คำส่ัง Set ทำงานไปกระทำการ Set bit ท่ีตงั้ คา่ ไว้ ตามยา่ นของตำแหนง่ (N) เป็นคำสั่งทใี่ ช้กระทำการReset คา่ ท่ีตอ้ งการ (bit) และย่านของตำแหน่ง (N)ทีส่ ามารถตอ้ งการ Reset ได้ คอื 1 – 255 โดยเม่ือมสี ัญญาณจาก อนิ พตุ เขา้ ที่คำส่ัง Reset จะทำให้คำสั่ง Reset ทำงาน ไป Reset bit ท่ตี ั้งคา่ ไว้ตามย่านของตำแหน่ง (N)

116 Jump to Label เปน็ คำสั่งทข่ี น้ึ ตน้ ดว้ ยคำส่งั JMP และต้องลงทา้ ยด้วยคำสัง่ LBL เสมอ การระบจุ ำนวนสามารถระบจุ ุดไดส้ ูงสดุ ถงึ 256 จดุ การเขยี นโปรแกรม คำส่งั Jump และ Label จะต้องอยใู่ นหนา้ เดยี วกัน โดยมีเงื่อนไขคือเม่ือ คำสั่ง Jump ทำงาน โปรแกรมซ่งึ อยรู่ ะหว่างคำส่ัง Jump และ Label จะคงค้างสถานะเปรียบเหมือน CPU ของ PLC ไมป่ ระมวลผลโปรแกรมท่ี อย่รู ะหวา่ งคำสง่ั Jump กบั Label แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 6 กลุ่มคำสงั่ Bit logic จงให้ความหมายและอธบิ ายการทำงานของคำสง่ั ต่อไปนี้ต่อไปน้ี ชอื่ คำสัง่ และสัญลักษณ์ ความหมาย / การทำงาน Normally Open (NO) ……………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................... ........................................................................................................... Normally Close (NC) ……………………………………………………………………………………………… Positive Transition (P) ........................................................................................................... ........................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................... ........................................................................................................... Negative Transition (N) ……………………………………………………………………………………………… Output ........................................................................................................... Set .................................................................................... ....................... ……………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................... ................................................................................. .......................... ……………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................... ........................................................................................................... ...........................................................................................................

117 Reset ……………………………………………………………………………………………… Jump to Label .......................................................................................................... . ........................................................................................................... ........................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................... ............................................................................................ ............... ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... เอกสารอ้างอิง จริ พฒั น์ ล่มิ ทอง. (2553). ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม. นนทบุรี : บริษทั ศนู ยห์ นังสอื เมืองไทย จำกัด. สราวุฒิ ศริ ิวงษ,์ ภูวดล ภูเด่นแดน, และ กรรชนม์ ปนิ่ โต. (2548). คลอ่ งแคล่ว PLC. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั จปู ิตสั จำกดั . อทุ ยั สมุ ามาลย์. (ม.ป.ป.). โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ภาคทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : สำนักพมิ พ์ศนู ย์ ส่งเสริมวิชาการ. อทุ ยั สมุ ามาลย.์ (ม.ป.ป.). โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ ภาคปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์ศูนย์ ส่งเสริมวชิ าการ. Siemens S7-200. (2557). [ออนไลน์]. [สบื คน้ เม่ือ 9 มีนาคม 2557]. จาก https://cache.industry.siemens.com/dl/files/582/1109582/att_22063/v1/s7200_syste m_manual_en-US.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook