Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Full Copy_กิตติ์โภคิน

Full Copy_กิตติ์โภคิน

Description: Full Copy_กิตติ์โภคิน

Search

Read the Text Version

การศกึ ษาคน้ ควา้ งานวิจัย (Full Copy) เสนอ ผศ.ดร.ประยทุ ธ ชสู อน ผศ.ดร.ชัยยทุ ธ ศริ สิ ุทธ์ิ โดย นายกติ ติ์โภคิน ธนยศจินดารัชต์ รหัสนักศกึ ษา 6486210008 หลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารและภาวะผู้นำทางการศกึ ษา รายวชิ า ED41202 สมั มนาการประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีทางการบรหิ ารและนวตั กรรม ในการบริหารสถานศึกษาและการศกึ ษาในยุคดิจิทลั ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

ข คำนำ ในการศึกษาค้นคว้าเกย่ี วกบั งานวจิ ยั (Full Copy) เป็นสว่ นหนึ่งของการเรยี นการสอนรายวชิ า ED41202 สัมมนาการประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎที างการบรหิ ารและนวตั กรรม ในการบรหิ ารสถานศึกษาและ การศึกษาในยคุ ดิจิทลั หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิตสาขาวิชาการบริหารและภาวะผูน้ ำทางการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ผู้ทำการศึกษา ไดค้ น้ คว้าจากเอกสาร วิทยานิพนธ์ และอนิ เทอรเ์ น็ต นำมาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และวิพากษ์ แล้วนำมา สรปุ ในส่วนท่ีสำคัญทส่ี ามารถดำเนนิ การได้อยา่ งเป็นระบบ เพอ่ื การส่งเสรมิ และพฒั นาในการจดั การเรยี นการ สอน ในแผนพัฒนาด้านการศกึ ษาตอ่ ขอขอบคุณทา่ นอาจารยป์ ระจำวิชา ผศ.ดร.ประยทุ ธ ชูสอน และ ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิรสิ ุทธิ์ ท่ีไดใ้ ห้ คำแนะนำ คำปรึกษาเป็นอยา่ งดี หวงั ว่าการจัดทำรายงานการศกึ ษาค้นคว้างานวจิ ัยในครั้งน้ี อาจเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้ศึกษาเอง และเป็น ประโยชนใ์ นการเรยี นการสอนและนำไปพฒั นาในการจดั การศกึ ษา นายกิตต์ิโภคิน ธนยศจินดารชั ต์

ค สารบญั หน้า ข เรือ่ ง ค คำนำ 1 สารบัญ 6 ศกึ ษางานวจิ ัย (Full Copy) ในประเทศ 10 1. การพัฒนาโปรแกรมเสรมิ สร้างผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในยคุ ดิจิทัลของ โรงเรียนมธั ยมศึกษา 16 2. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารงานวิชาการที่มปี ระสิทธผิ ล ในวิทยาลยั เทคนิค ศึกษางานวิจัย (Full Copy) ต่างประเทศ 3. Strategic Leadership in Technology Implementation: A Case Study on the Principal’s Role in Classroom Technology ขอ้ มลู อ้างอิง

1 งานวจิ ัย (Full Copy) ในประเทศ เรื่องท่ี 1 ชอื่ เร่ือง : การพฒั นาโปรแกรมเสรมิ สร้างผู้บรหิ ารสถานศึกษาในยุคดิจทิ ัลของโรงเรียนมัธยมศกึ ษา ช่อื ผู้ทำวิจยั : ชัดสกร พกิ ุลทอง ปรญิ ญา การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารและพฒั นาการศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ปีท่ีทำวิจยั : 2563 แหลง่ ที่มา : https://library.msu.ac.th/ ความมุ่งหมายของการวิจยั การวิจยั ครั้งนีเ้ ป็นการพฒั นาโปรแกรมเสริมสรา้ งผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในยุคดิจทิ ัลของโรงเรยี น มัธยมศกึ ษา ซึ่งมีความมุง่ หมายดงั นี้ 1. เพอื่ ศกึ ษาองคป์ ระกอบและตัวบง่ ชี้ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ ดจิ ทิ ัลของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา 2. เพื่อการศกึ ษาสภาพปัจจุบนั สภาพทีพ่ งึ ประสงค์และความตอ้ งการจ าเปน็ ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุค ดจิ ิทัลของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา 3. เพอ่ื พัฒนาโปรแกรมเสรมิ สรา้ งผบู้ ริหารสถานศึกษาในยุคดจิ ิทัลของโรงเรยี นมัธยมศึกษา 4. เพอื่ ประเมินผลการใช้โปรแกรมเสรมิ สรา้ งผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในยุคดจิ ิทัลของโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา

2 กรอบแนวคดิ ในการทำวจิ ยั

3 วิธดี ำเนนิ การวิจัย วิธีดำเนินการวจิ ยั ออกเปน็ 4 ระยะ สอดคลอ้ งกับกระบวนการวิจยั และพฒั นา (Research and Development) ดังนี้ ระยะท่ี 1 ศึกษาองคป์ ระกอบและตวั บ่งชผ้ี ้บู รหิ ารสถานศึกษาในยุคดิจิทลั ของโรงเรยี นมธั ยมศึกษา ขน้ั ตอนที่ 1 ศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎแี ละเอกสาร งานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ขน้ั ตอนท่ี 2 การประเมนิ องค์ประกอบและตัวบ่งชข้ี องผ้บู ริหารสถานศกึ ษาในยุคดิจทิ ัลของโรงเรยี น มัธยมศึกษา ขน้ั ตอนที่ 3 การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยนื ยนั (CFA) ของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ ดิจิทัลของโรงเรยี น มัธยมศกึ ษา ระยะที่ 2 ศึกษาสภาพปัจจุบนั สภาพทพ่ี งึ ประสงคแ์ ละความตอ้ งการจำเป็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ ดจิ ทิ ัลของโรงเรยี นมัธยมศึกษา ระยะท่ี 3 การพฒั นาโปรแกรมเสริมสร้างผ้บู รหิ ารสถานศึกษาในยคุ ดจิ ิทลั ของโรงเรียนมธั ยมศึกษา ข้นั ตอนท่ี 1 การสัมภาษณ์แบบกงึ่ โครงสรา้ งผ้บู รหิ ารโรงเรียนทีม่ ีวิธกี ารปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลศิ ขนั้ ตอนที่ 2 การยกรา่ งโปรแกรมเสริมสรา้ งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในยุคดิจิทลั ของโรงเรียนมธั ยมศึกษาและ ร่างค่มู ือฯ ขั้นตอนที่ 3 การประเมนิ โปรแกรมและคมู่ ือใหผ้ ู้ทรงคณุ วฒุ ปิ ระเมนิ ความถูกตอ้ งความเหมาะสม ระยะที่ 4 ศึกษาผลการน าโปรแกรมเสรมิ สร้างผู้บริหารสถานศึกษาในยคุ ดจิ ิทลั ของโรงเรยี นมธั ยมศึกษาไปใช้ 1. องค์ประกอบและตัวบง่ ชข้ี องการเสริมสรา้ งผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ ดจิ ิทลั ของ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษา สังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา มี6 องค์ประกอบ และ 20 ตัวบ่งช้ี 2. การศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั และสภาพทีพ่ ึงประสงคข์ องการเสรมิ สรา้ งผบู้ ริหารสถานศกึ ษาในยคุ ดิจทิ ัลของ โรงเรยี นมัธยมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา พบวา่ สภาพปัจจบุ นั ของการเสริมสรา้ ง ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในยคุ ดจิ ทิ ัลของโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาสงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา โดยรวมเฉลี่ยอยใู่ นระดับมากทุกองคป์ ระกอบและสภาพทพ่ี ึงประสงค์ของการเสรมิ สรา้ งผู้บรหิ ารสถานศึกษา ในยคุ ดจิ ิทัลของโรงเรียนมธั ยมศึกษา สงั กัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดบั มากที่สดุ ทุกองคป์ ระกอบ 3. การพฒั นาโปรแกรมเสริมสร้างผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาในยุคดิจิทัลของโรงเรยี นมัธยมศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา สรุปไดด้ ังน้ี 1) องค์ประกอบของโปรแกรมเสรมิ สรา้ งผู้บรหิ ารสถานศึกษาในยุคดจิ ทิ ัลของโรงเรยี นมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ หลกั การของโปรแกรม วัตถุประสงค์ ของโปรแกรม เป้าหมายของโปรแกรม ทรัพยากร เนอื้ หากจิ กรรมพัฒนาของโปรแกรม กระบวนการพัฒนา

4 และวธิ กี ารเสรมิ สรา้ ง และการประเมนิ ผล 2) เนอ้ื หากจิ กรรมพัฒนาของโปรแกรม ประกอบดว้ ยสาระการ เรยี นรูข้ องโปรแกรมประกอบด้วย 6 โมดูล ดังนี้Module 1 ความคดิ สรา้ งสรรค์(CreativeThinking) Module 2 การเรียนรูด้ ว้ ยการน าตนเอง (Self-Directed Learning) Module 3 การทำงานเปน็ ทีม (Team Work) Module 4 การบูรณาการ (Integrating) Module 5 เทคโนโลยที เี่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ในยุคดิจิทัล (Technology Learning in Digital Era) Module 6 เครอื ข่ายการเรียนรู้(Learning Network) สรุปผลการวจิ ยั การศึกษาผลการนำโปรแกรมเสรมิ สรา้ งผบู้ ริหารสถานศึกษาในยดุ จิ ิทลั ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สงั กดั ส า นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา สรปุ ดงั นี้ 1) ผลการประเมินระดับเสรมิ สร้างผู้บริหารสถานศกึ ษาในยุดจิ ิทัลของโรงเรียนมัธยมศกึ ษาโดยผู้เข้ารบั การพัฒนาประเมนิ ตนเอง พบวา่ ผู้บรหิ ารโรงเรียนมรี ะดบั ของการเปน็ ผู้บริหารสถานศกึ ษาในยดุ ิจิทัลก่อนการ พัฒนาโดยรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง และหลงั การพฒั นา โดยรวมอย่ใู นระดบั มาก 2) ผลการเปรียบเทยี บระดบั เสริมสรา้ งผู้บริหารสถานศกึ ษาในยุดจิ ิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนท่ีเข้ารบั การพฒั นาประเมินตนเองก่อนและหลงั การ พฒั นา พบวา่ หลังการพัฒนาสูงข้ึนกว่าก่อนเข้ารบั การพัฒนาอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ี่ ระดับ .05 3) การติดตามผลหลงั การพฒั นาและสะทอ้ นผล โดยท าการประเมิน มี 5 ระดบั ของการประเมนิ คอื 1) ปฏิกริ ิยาของผู้เข้าร่วม 2) การเรียนรู้ผู้เขา้ รว่ ม 3) การสนบั สนนุ ขององคก์ รและกาเปลี่ยนแปลง องค์กร 4) การใช้ความรู้ใหมห่ รือทกั ษะใหมข่ องผเู้ ข้าร่วม 5) ความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วม โดยกลุม่ ผู้บริหาร โรงเรยี นทเ่ี ข้ารบั การพฒั นา พบวา่ โดยรวมทุกระดับอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด 4) ผลการประเมินความพงึ พอใจตอ่ การใชโ้ ปรแกรมเสรมิ สรา้ งผ้บู ริหารสถานศึกษาในยุคดิจทิ ัลของ โรงเรียนมธั ยมศกึ ษาของผบู้ ริหารโรงเรียน สังกัดส านกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ขอ้ เสนอแนะ 2.1 การวิจยั ครง้ั น้ีมขี อบเขตการวจิ ยั เฉพาะผู้บริหารโรงเรียน สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา มธั ยมศึกษา จึงควรทำการวิจยั และพัฒนาโปรแกรมในส านกั งานทม่ี ีขนาดตา่ ง ๆ หรือต่างสงั กัด 2.2 ควรทำการวจิ ัยปฏบิ ตั ิการแบบมีสว่ นร่วม หรอื การวิจัยแบบผสมวิธีเพื่อเสรมิ สร้าง/พัฒนาผู้บริหาร สถานศกึ ษาในยดุ ิจิทัลของผบู้ รหิ ารโรงเรยี นในยคุ การศึกษา 4.0

5 บทวพิ ากษง์ านวิจัยโดยผ้ศู กึ ษา ช่ือเรอ่ื ง มคี วามกระชับ ชัดเจน สะท้อนเรื่องทจี่ ะวจิ ยั ชดั เจน มกี ารระบุตวั แปรทส่ี ำคัญ คอื ตัวแปรต้น : การพัฒนาโปรแกรมเสรมิ สร้างผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาในยคุ ดจิ ิทัล มกี ารระบปุ ระชากรท่ีชดั เจน คอื ผู้บริหาร สถานศึกษาของโรงเรยี นมัธยมศึกษา ไม่ได้ระบสุ ถานทีท่ ี่จะศึกษา ชื่อเร่ืองไม่สะทอ้ นแนวทางการศึกษาและการ วิเคราะห์ วัตถุประสงคข์ องการวิจัย มคี วามเหมาะสมกับเร่ืองทีท่ ำวจิ ัย ชัดเจน แสดงใหเ้ ห็นว่าผู้วิจยั มแี ผน เพ่อื ศกึ ษาการพัฒนาโปรแกรมเสรมิ สรา้ งผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในยคุ ดจิ ิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษา แตไ่ ม่ได้ ระบวุ ่าจะเก็บข้อมูลจากทไ่ี หน ขอบเขตของการวจิ ยั มีการกำหนดขอบเขตของการวจิ ัยไว้ชดั เจน ระบุ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้ใหข้ อ้ มูล และกล่มุ เปา้ หมาย ไดช้ ัดเจน กรอบแนวคิดทฤษฏที ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การ วิจยั มีการระบุกรอบแนวคิดทฤษฏีอยา่ งชัดเจน สอดคล้องกบั เรื่องทีศ่ ึกษา ให้ความหมายของตัวแปรอย่าง ชัดเจน ระบขุ ้อความแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร ทฤษฎีท่ใี ช้เปน็ แนวคิดทเี่ กิดจากการผสมผสาน งานวจิ ัยและทฤษฎตี า่ งๆ เคร่ืองมอื การวจิ ัยมีการระบุเคร่อื งมือ แหล่งทมี่ า วัตถุประสงค์ ลักษณะของ เคร่อื งมอื อย่างครบถว้ น มีการใหเ้ หตุผลของการเลือกเครอ่ื งมืออยา่ งชดั เจน ข้ันตอนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ยงั ไม่ชัดเจน และครอบคลุมทุกเคร่ืองมือที่ใช้ การวเิ คราะห์ข้อมูลเลอื กใชส้ ถิตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับประชากร มีการวเิ คราะห์เพื่อตอบวตั ถุประสงค์ครบถว้ น การอภปิ รายและการสรปุ ผล มกี ารอภิปรายผลโดยแสดงเหตผุ ล ของผลการวิจยั มีการนำผลการวจิ ยั อื่น แนวคิด ทฤษฎที ่ีอ้างไว้มาใชป้ ระกอบการอภิปราย สะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ผลการวจิ ยั เปน็ ไปตามทีค่ าดหวงั มกี ารสรปุ ผลการวิจัยทชี่ ดั เจน ขอ้ เสนอแนะ มีขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำ ผลการวิจัยไปใช้อยา่ งชดั เจน ทัง้ ก่อนใช้โปรแกรมควรจะต้องดำเนนิ การประชุม ชี้แจง และให้ความรู้ความ เข้าใจให้ผู้ปฏบิ ตั ิ โดยใช้การประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีสว่ นร่วม เอกสารอา้ งองิ เอกสารอา้ งองิ ครอบคลมุ ทกุ เอกสารทีอ่ ้างในสว่ นเน้ือหา เขยี นตามรปู แบบท่กี ำหนด

6 งานนวิจัยท่ี (Full Copy) ในประเทศ เรื่องที่ 2 ชอื่ เรอื่ ง : การพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานวชิ าการทม่ี ีประสทิ ธิผลในวทิ ยาลยั เทคนิค ช่อื ผทู้ ำวจิ ยั : นายอธปิ ศรีบรรเทา อาจารยท์ ป่ี รึกษา อาจารย์ ดร.โกวัฒน์ เทศบตุ ร และรองศาสตราจารย์ ดร.นริ าศ จนั ทรจิตร ปริญญา กศ.ด. สาขาวิชา การบริหารและพัฒนาการศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม ปที ่ีทำวิจัย : 2560 แหลง่ ทมี่ า : https://library.msu.ac.th/ ความมุ่งหมายของการวิจยั 1) ศึกษาสารสนเทศเพือ่ การบริหารงานวิชาการท่มี ปี ระสทิ ธิผลในวทิ ยาลยั เทคนคิ 2) ศกึ ษาสภาพปัจจุบนั และสภาพที่พึงประสงค์เก่ียวกับสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการทมี่ ี ประสิทธิผลในวิทยาลัยเทคนิค 3) พัฒนาระบบสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารงานวิชาการท่มี ีประสทิ ธิผลในวิทยาลยั เทคนคิ 4) ศึกษาผลของการนำระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานวชิ าการที่มปี ระสทิ ธผิ ลในวทิ ยาลัยเทคนคิ

7 กรอบแนวคดิ ในการทำวจิ ยั

8 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย การดำเนินการวจิ ยั ครงั้ นแ้ี บง่ ออกเปน็ 4 ระยะคอื ระยะที่ 1 การศกึ ษาสารสนเทศเพือ่ การบรหิ ารงานวชิ าการที่มีประสิทธผิ ลในวทิ ยาลัยเทคนิคโดย สงั เคราะหจ์ ากเอกสารตรวจสอบความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวฒุ ิ จำนวน 9 คน ระยะที่ 2 การศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั และสภาพทพี่ ึงประสงค์เกีย่ วกบั ระบบสารสนเทศเพือ่ การ บรหิ ารงานวิชาการท่มี ปี ระสิทธผิ ลในวทิ ยาลัยเทคนคิ จากบคุ ลากรในวทิ ยาลัยเทคนคิ สังกัดสำนกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื จำนวน 32 แหง่ แห่งละ 8 คน รวมทั้งสนิ้ 256 คน ระยะที่ 3 การออกแบบระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารงานวชิ าการท่ีมีประสทิ ธผิ ลในวทิ ยาลัยเทคนคิ เปน็ การออกแบบระบบสารสนเทศและประเมินประสทิ ธภิ าพระบบโดยผูใ้ ชร้ ะบบ จำนวน 36 คน ระยะที่ 4 การศกึ ษาผลของการน าระบบสารสนเทศเพอื่ การบริหารงานวิชาการท่ีมปี ระสิทธิผลใน วิทยาลัยเทคนคิ ทพ่ี ัฒนาขนึ้ ไปใช้หลังจากการใชร้ ะบบฯโดยกลุ่มผใู้ ช้ จำนวน 19 คน สรุปผลการวจิ ัย 1. สารสนเทศที่ใช้เพื่อการบรหิ ารงานวิชาการที่มปี ระสทิ ธผิ ลในวทิ ยาลยั เทคนคิ ที่ไดจ้ ากการ สังเคราะห์เอกสาร และตรวจสอบความเหมาะสมโดยผูท้ รงคณุ วฒุ ิ มจี ำนวน 35 รายการ 2. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพท่พี ึงประสงค์เก่ียวกับสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการท่ี มปี ระสิทธิผลในวิทยาลัยเทคนิคพบวา่ สภาพปจั จุบันสารสนเทศเพอ่ื การบริหารงานวิชาการในวทิ ยาลัยเทคนิค โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง สว่ นในด้านสภาพท่ีพึงประสงค์ของสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารงานวิชาการใน วทิ ยาลยั เทคนคิ โดยรวมอยใู่ นระดบั มากถงึ มากที่สุด 3. ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารงานวิชาการท่ีมปี ระสิทธิผลในวทิ ยาลัยเทคนคิ ประกอบด้วย 3.1 สารสนเทศทีจ่ ำเป็นต้องใชเ้ พื่อการบริหารงานวิชาการที่มปี ระสทิ ธผิ ลในวทิ ยาลยั เทคนิคจำแนก ตามลกั ษณะงานในฝา่ ยวชิ าการมจี ำนวน 14 รายการ 3.2 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารงานวชิ าการท่มี ปี ระสิทธิผลในวทิ ยาลัยเทคนิคที่พัฒนาข้นึ สามารถกำหนดสิทธ์ิรองรับการทำงานของผูใ้ ชง้ านออกเป็น 10 กลมุ่ โดยมีการจดั การขอ้ มูลจำนวน 9 รายการ และสามารถดขู ้อมูลเบอ้ื งตน้ รายงานและออกรายงานได้ท้งั หมด 14 รายการ 3.3 ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานวิชาการที่มี ประสิทธิผลในวิทยาลัยเทคนิค โดยรวมอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ุด 4. ผลการนำระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารงานวิชาการทม่ี ีประสิทธิผลในวิทยาลยั เทคนคิ ท่ีพัฒนาข้ึน ไปใช้พบว่า ประสิทธิผลการบรหิ ารงานวิชาการโดยรวม มปี ระสิทธิผลอยใู่ นระดับสงู ถึงสูงท่สี ุด

9 ข้อเสนอแนะ เพื่อความสมบรู ณ์ของการพฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานวชิ าการที่มีประสิทธิผลใวทิ ยาลัย เทคนคิ มีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้ 1. ควรมีการศกึ ษาสภาพปัจจุบันและสภาพทพ่ี งึ ประสงค์สารสนเทศทใ่ี ช้เพอ่ื การบรหิ ารงานวิชาการ ใน สถานศึกษาสังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาอ่นื เช่น วิทยาลยั การอาชีพ และวิทยาลัอาชีวศกึ ษา เน่อื งจากมโี ครงสร้างการบริหารงานทีเ่ หมือนกนั 2. ควรมีการติดตาม และประเมินผลเป็นระยะในระหว่างการใช้งานระบบในวิทยาลัยเทคนิคทใี่ ช้ ระบบฯ ท้งั ข้อมลู เชิงคุณภาพและปรมิ าณ เพ่อื นาํ ผลทไี่ ด้ไปพัฒนาปรับปรุงระบบควบคู่กันไปขณะการใช่งาน (Using and Development) บทวพิ ากษ์งานวจิ ยั โดยผู้ศกึ ษา ชอ่ื เร่อื งมีความกระชับ ชัดเจน สะทอ้ นเร่ืองทจี่ ะวจิ ัยชัดเจน มกี ารระบตุ ัวแปรท่ีสำคญั คอื การ พัฒนาระบบสารสนเทศ ชอ่ื เรือ่ งไม่ระบุประชากรท่ีชัดเจน และไมส่ ะท้อนแนวทางการศึกษาและการวิเคราะห์ วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย มคี วามเหมาะสมกบั เร่อื งที่ทำวิจยั ชัดเจน แสดงให้เห็นวา่ ผวู้ จิ ัยมีแผนเพอ่ื พัฒนา ระบบสารสนเทศเพ่ือการบรหิ ารงานวิชาการที่มปี ระสิทธผิ ล ในวทิ ยาลยั เทคนิค วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ยั มีการ กำหนดขอบเขตของการวจิ ยั ไว้ชัดเจน ระบุประชากร กลมุ่ ตวั อย่าง กลมุ่ ผู้ให้ข้อมูล และกลุ่มเปา้ หมาย ได้ ชดั เจน กรอบแนวคิดทฤษฏีท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการวิจัยมีการระบกุ รอบแนวคิดทฤษฏอี ย่างชดั เจน สอดคล้องกบั เร่ืองท่ีศกึ ษา ให้ความหมายของตัวแปรอย่างชดั เจน ระบุข้อความแสดงความสมั พนั ธร์ ะหว่างตวั แปร ทฤษฎีที่ ใชเ้ ปน็ แนวคดิ ท่เี กิดจากการผสมผสานงานวิจยั และทฤษฎตี า่ งๆ การสรปุ ผล มกี ารสรุปผลการวิจยั ทชี่ ัดเจน ตรงประเดน็ ข้อเสนอแนะ มขี อ้ เสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจยั ไปใชอ้ ย่างชัดเจน แตข่ าดข้อเสนอแนะ สำหรบั การวจิ ยั ในครง้ั ต่อไป

10 งานนวจิ ัยท่ี (Full Copy) ตา่ งประเทศ ชื่อเรื่อง : Strategic Leadership in Technology Implementation: A Case Study on the Principal’s Role in Classroom Technology ภาวะผนู้ ำเชิงกลยุทธ์ในการใช้เทคโนโลยี : กรณีศกึ ษาเร่อื งบทบาทของอาจารยใ์ หญ่ ในห้องเรียนเทคโนโลยี ชอื่ ผทู้ ำวจิ ยั : Gregg Russell Degree of Doctor of Philosophy with a Major in Educational Leadership in the Department of Graduate Education Northwest Nazarene University ปที ี่ทำวจิ ยั : 2018 แหล่งท่มี า : https://www.proquest.com/ ความมุ่งหมายของการวิจยั Research Questions In light of the complex demands of being a principal and the challenges of technology implementation in a factory-based model of schooling, very little research exists to help the building principal meet the demands of these challenges. While researchers like Anthony (2012), Christensen et al., (2011), Horn and Staker (2015), Sheppard and Brown (2012), and Topper and Lancaster (2013) suggest recommendations on how to address these problems, none of the literature provides what specific leadership responsibilities are needed to be successful in overcoming these difficulties. Therefore, the following questions were designed to deliver exploration and insights into these challenges. 1) What strategic leadership responsibilities do education leaders perform to promote a school improvement initiative? 2) What is the responsibility of the principal in implementing technology in a school? 3) Which of McRel’s 21 Leadership Responsibilities are most influential on implementing innovative practices and technology in a school?

11 กรอบแนวคิดในการทำวจิ ัย Theoretical Framework To further understand the difficulties of leveraging technology to prepare students for a digital society, a theoretical framework from McRel (2007) will be used to frame this problem in the context of organizational change management. Change management is the foundation on which all improvement efforts are built (Weston & Bain, 2009). Without successful change management, the likelihood of a principal effectively harnessing technology to improve student outcomes is minute. In fact, change management is considered the primary distinguisher between a building manager, who runs the day- to-day operations of a school, and an instructional leader, who embraces complex problems with confidence, systematically guiding his or her staff toward instructional improvements (Goodwin, Cameron, & Hein, 2015; Fullan, 2001; Tomal, Schilling, & Trybus, 2013). To better understand change management in a school setting, McRel has developed a change management theory based on the magnitude of change that is to appear within a school. McRel has also divided change management into four non-linear phases that are likely to occur during the change process (Goodwin et al., 2015; Waters & Cameron, 2007). Waters and Cameron (2007) base their framework on two primary premises. First, a principal must understand the nature of change, and second, the principal must understand the implications of the change on those individuals who are affected by the change initiative. If a principal does not understand the ramifications that change can have on a teaching staff, their leadership effectiveness will be greatly diminished. Thus, Cameron and Waters (2007) have simplified change into two primary categories based on how stakeholders may perceive the change initiative. These two categories are first-order change and second-order change. First-order change is seen as a natural progression toward one’s ideals and beliefs. Goodwin et al. (2015) states, “If you view a change as a relatively straightforward step, it is likely first- order change” (p. 39). However, if a change initiative requires a drastic change in one’s ideals and beliefs or requires one to gain a new mindset or skill, it is likely a second-order change. Second-order change may require new beliefs, new skills, and a new perspective in order to achieve the change initiative (Goodwin et al., 2015; Waters & Cameron, 2007). Teaching in a student-centered learning environment requires new skills. It requires a teacher to shift their

12 mindset and instructional practices. The teacher must learn to change their instructional practice from a traditional lecture style, in which information is delivered to students, to a constructivist learning environment, where students are encouraged to discover knowledge from multiple sources including their teacher, peers, community, and through experiences (Alijani, Kwun, & Yu, 2014; Deed et al., 2014; Liu et al., 2014). It also requires teachers and students to use technology to enhance these learning experiences. Technology provides vast amounts of information but also promotes collaborative thinking. Liu et al. (2014) states, “Studies have shown that mobile (technology) learning provided a distinct opportunity for collaboration among students and teachers while also supporting individual mean making” (p. 361). Teaching and learning in the 21st century will require second order change. It is important that school principals understand how to lead this transformation using McRel’s four phases of secondorder change. The phases of second-order change include • creating demand for the change, • implementing change, • managing personal transitions, and • monitoring and evaluating the change (Goodwin et al., 2015; Waters & Cameron, 2007). These four stages will be used throughout this study to provide a theoretical framework to guide further insights into the research questions. วธิ ีดำเนนิ การวิจยั Design and Methodology Chapter III describes the researcher’s design and methodology of the study. This chapter will highlight a) the design and methodology, b) the research questions, c) the participants, d) the datacollection methods, e) the analytical methods, and f) the limitations of the study. The purpose of soundmethodology is twofold. First, the methodology adds validity and logic to a research proposal. Second,the methodology should provide enough flexibility to allow the researcher to obtain and interpret data in a flexible manner in order to better understand the subject (Marshall & Rossman, 2016). Pilot Study The researcher began the process by conducting a pilot study to gauge the appropriateness ofthe proposed methodology. A pilot study is the preliminary examination of the procedures, methods,and instruments to be used in a larger study (Marshall & Rossman, 2016; Prichard & Whiting, 2012; Secomb & Smith, 2011). Pilot studies allow a researcher to test data collection instruments, refine analytical approaches, and adjust methodology tactics prior to embarking

13 on the large case study (Marshall & Rossman, 2016; Prichard & Whiting, 2012; Secomb & Smith, 2011). Participants The participants of the study were selected based on purposeful sampling. Purposeful sampling is when a researcher selects a group of participants that can best inform a given research topic. This form of sampling provides a researcher the ability to select individuals that specifically relate to a given topic of study (Creswell, 2015). Further sampling strategies were selected to develop a more uniform sample for the study. The researcher chose Homogeneous Sampling to further investigate school leaders. Homogeneous Sampling involves the specific selection of individuals based on a particular trait or characteristic (Creswell, 2015). The characteristic that was examined was principal leadership during a technology implementation in a k-12 school. Thus, k-12 school principals currently involved in a technology implementation were selected. Chapter 3 highlighted the study’s design and methodology. A quantitative case study wasselected to investigate the leadership responsibilities of principals during a technologyimplementation in a k-12 public school. Four public school principals were selected usingpurposeful sampling to investigate the research questions. Data was collected through observations, semi-structured interviews, and an online survey. This information was analyzed through a quasiqualitative strategy that included a statistical test ran through IBM’s SPSS version 24. สรุปผลการวจิ ยั Summary of Findings Chapter IV illustrated the participants and the major findings of the data. The four participants in this study range from a variety of backgrounds. Participants included elementary, middle, and high school leaders from rural and suburban settings. A case study was developed to investigate the leadership of four school principals during a technology implementation. A mixed methodology was used to gather a more holistic view of principal leadership including semi-structured principal and teacher interviews, principal and teacher observations, and survey data (Creswell, 2015; Gerring, 2004; Johnston, 2013). Data was collected and coded using a quasi-qualitative strategy for the principal data and broad coding for the teacher data (Chenail, 2012; Houghton et al., 2015; Marshall & Rossman,

14 2016). Survey data was collected from 65 teachers and 4 school principals. A Principal Component Analysis was conducted on the teacher survey data to determine underlying factors in the survey data. Findings indicate two factors were statistically significant (Field, 2013; Pholmann, 2004; Sing et al., 2010). All forms of data were then synthesized to form general patterns. Patterns were then used in a cross-case analysis to form major themes (Creswell, 2015; Houghton et al., 2015; Khan & 109 VanWynsberghe, 2008). Findings indicate five major themes: Vision, Resources, Change Agent, Communication, and Culture. These themes are supported and connected to an overall school culture that fosters innovation in teaching and learning. ข้อเสนอแนะ Recommendation for Further Research This study was designed to explore the leadership of principals during a technology implementation. To better understand this topic, several recommendations for future research should be considered. First, further case studies should be performed. The work of a school principal is a social profession with many unique features, influences, and constraints (Davis & Leon, 2014; Crum & Sherman, 2008; Forner et al., 2012; Lemoine et al., 2014). Therefore, the case study methodology provides an appropriate avenue to study these social influences and how they may impact a principal in the context of implementing technology (Creswell, 2015; Gerring, 2004; Houghton et al., 2015; McGloin, 2008). It may be beneficial to explore cases with greater diversity. This could include studying principals from large urban areas or small rural settings. Likewise, the participants in this study were all male principals. Future research should expand the participant pool to include more gender equality. It may also be valuable to explore principals with more experience in implementing technology. Each of the participants had a minimum of 2 years’ experience implementing technology. Future studies could include more seasoned principals to learn how experience with technology impacts a school setting. These recommendations may provide a more diverse group of participants which would allow the findings of future studies to be more applicable to the profession. It would be useful in future studies to conduct a large exploratory factor analysis. The literature is mixed, but generally a larger

15 sample size is recommended to run a principal component analysis (Jung & Lee, 2011). A larger sample size would strengthen the findings of this study and would limit the margin of error that is often associated with a small sample. A larger sample size would also allow the findings to be generalized to a larger population (Field, 2013). Finally, it would benefit the educational community to determine success criteria for technology implementation. While this study focused solely on the leadership of principals and how they managed change, it did not focus on student achievement as measured through a standardized assessment. The literature is mixed on whether technology has an impact on student achievement (Delgado et al., 2015; Friedman & Heafner, 2007; Maniger, 2006; Reed, 2007; Sheppard & Brown, 2014). Perhaps a future direction would be to determine a student achievement measure in which to gage the effectiveness of the implementation upon student learning. This study could examine the leadership of principals and how the technology impacted student achievement. The findings of this data could be extremely beneficial as more technology becomes available. บทวิพากษง์ านวจิ ยั โดยผู้ศกึ ษา ชือ่ เร่อื ง มคี วามกระชับ ชดั เจน สะท้อนเรอ่ื งทีจ่ ะวิจัยชัดเจน คือ Strategic Leadership in Technology Implementation: A Case Study on the Principal’s Role in Classroom Technology มกี ารระบปุ ระชากรทชี่ ดั เจน จุดมงุ่ หมายของการวิจยั มคี วามเหมาะสมกบั เรื่องทีท่ ำวิจัย ชัดเจน แสดงใหเ้ หน็ ว่าผ้วู จิ ยั มแี ผนการวจิ ยั ภาวะผนู้ ำเชงิ กลยุทธ์ในการใชเ้ ทคโนโลยี : กรณีศึกษาเรื่องบทบาทของอาจารย์ใหญ่ ในหอ้ งเรยี นเทคโนโลยี กรอบแนวคดิ ทฤษฏที เ่ี กยี่ วข้องกบั การวิจัย มีการระบกุ รอบแนวคิดทฤษฏอี ย่างชัดเจน สอดคล้องกบั เร่ืองท่ศี ึกษา ใหค้ วามหมายของตัวแปรอย่างชดั เจน ระบขุ ้อความแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร ทฤษฎีที่ใชเ้ ปน็ แนวคดิ ท่ีเกดิ จากการผสมผสานงานวิจยั และทฤษฎตี า่ งๆ วธิ ดี ำเนินการวิจยั มีการเก็บ รวบรวมข้อมูลจากผทู้ รงคุณวุฒิ นำมาตรวจสอบและหาค่าทางสถิติดว้ ยโปรแกรมสำเรจ็ รูปทางสถิติ นำคา่ เฉลยี่ ที่ได้มาเปรียบเทยี บกับเกณฑ์เพือ่ แปลผล การสรุปผล มีการสรุปผลการวิจยั ที่ชดั เจน มีขอ้ เสนอแนะสำหรบั การนำผลการวจิ ัยไปใชอ้ ย่างชัดเจน และมีขอ้ เสนอแนะสำหรับการวิจยั ครัง้ ต่อไป

16 ขอ้ มลู อา้ งอิง ชัดสกร พกิ ลุ ทอง (2563). การพฒั นาโปรแกรมเสรมิ สรา้ งผู้บรหิ ารสถานศึกษาในยคุ ดจิ ิทัล ของโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา. วิทยานพิ นธ์ การศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ . การบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. อธปิ ศรีบรรเทา (2560). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพอ่ื การบริหารงานวิชาการทม่ี ีประสทิ ธผิ ล ในวทิ ยาลัยเทคนคิ . วิทยานพิ นธ์ การศกึ ษาดษุ ฎีบณั ฑิต. การบรหิ ารและพัฒนาการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. Gregg Russell (2018). Strategic Leadership in Technology Implementation: A Case Study on the Principal’s Role in Classroom Technology . Degree of Doctor of Philosophy . Major in Educational Leadership Northwest Nazarene University.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook