Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SoLA_Annual Report 2020

SoLA_Annual Report 2020

Description: SoLA_Annual Report 2020_16 Aug 21_compressed

Search

Read the Text Version

สารจากคณบดี ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดคี ณะศลิ ปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงปัจจุบันเป็นเวลา 20 ปี โดยในปี 2563 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ดําเนินการตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ของคณะฯ ที่กําหนดไว้ โดยภายใต้ วิสัยทัศน์และพันธกิจของคณะฯ นั้น ได้ดําเนินกิจกรรมและโครงการด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาระบบการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาและบุคลากร การผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรให้เป็น ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของชาติ นานาชาติ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยฯ รวมถึงการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการองค์กรให้ทันสมัย และมีคุณภาพระดับสากล คณะศิลปศาสตร์ได้ขับเคลื่อนงานในหลากหลายด้าน ทั้งด้านการปรับปรุงหลักสูตร การวิจัย และการบริการวิชาการ การพัฒนานักศึกษาที่ตอบโจทย์การพัฒนาทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาประเทศ ผลิตงานวิจัยที่ตอบสนอง ความต้องการของสังคม มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่และนําไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และมีงาน บริการวิชาการที่บูรณาการกับความต้องการของพื้นที่ อันนําไปสู่การยกระดับการดําเนินงานของคณะฯ ให้เป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ อีกทั้งในปีนี้เราได้ผ่านเหตุการณ์ต่าง ๆ (การแพร่ระบาดของโรค COVID-19) ที่ต้องปรับเปลี่ยนเพื่อเตรียม พร้อมในการปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา ได้มุมมองการทํางานในมิติอื่น ๆ ที่จะเข้ามาช่วยให้การดําเนินงานของคณะฯ สามารถเดินหน้าต่อตามท่ีตั้งเป้าไว้ ในปีนี้เพื่อเฉลิมฉลองในโอกาส “ครบรอบ 20 ปี การจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์” คณะศิลปศาสตร์ได้ดําเนินโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง โดยได้จัดกิจกรรม/โครงการ เพื่อนําเสนอผลงานด้านต่าง ๆ ที่มีคุณค่าและเป็น ประโยชน์ทางด้านการศึกษา วิชาการ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การบริการวิชาการเพื่อสังคมชุมชน การเผยแพร่ นวัตกรรม ตลอดจนการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพ และคุณภาพของการดําเนินงาน นอกจากน้ียังเป็นการสร้างความรักความสามัคคีต่อกันเพ่ือสร้างความเข้มแข็งของคณะฯ และมหาวิทยาลัยให้ย่ังยืนต่อไป รายงานประจําปี พ.ศ. 2563 ฉบับนี้ ประกอบด้วยข้อมูลที่ได้จากการสรุปผลการดําเนินการด้านต่าง ๆ ของคณะฯ ที่ได้ กล่าวมา รวมถึงกิจกรรมที่สําคัญที่ได้ดําเนินการในรอบปี ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษา ตลอดจนผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องที่ร่วมมือกันพัฒนาและดําเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะฯ ให้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะศิลปศาสตร์หวัง เป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานต่าง ๆ และสาธารณชนที่สนใจการดําเนินงานของ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศธิ ร สวุ รรณเทพ คณบดคี ณะศิลปศาสตร์

สารบัญ หนา้ สารจากคณบดี 1 บทท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานคณะศิลปศาสตร์ 4 5 1.1 ประวตั ิความเปน็ มาคณะศิลปศาสตร์ 6 1.2 คณะกรรมการประจาํ คณะศิลปศาสตร์ 7 1.3 ผู้บริหารคณะศลิ ปศาสตร์ 7 1.4 วสิ ัยทศั นก์ บั แผนกลยทุ ธ์คณะศิลปศาสตร์ 10 1.5 โครงสรา้ งองค์กร 1.6 บคุ ลากร นกั ศึกษา งบประมาณ 13 1.7 การจดั การศึกษาและบริการวชิ าการ 31 บทท่ี 2 ผลการดําเนนิ งานตามเปา้ ประสงค์ของแผนกลยทุ ธ์คณะศิลปศาสตร์ 2.1 เป้าประสงคท์ ี่ 1 บัณฑิต มจธ. มคี ณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 51 พร้อมเท่าทนั การเปลยี่ นแปลง และมคี วามเป็นสากล 2.2 เป้าประสงคท์ ี่ 2 คณะมีความเปน็ เลิศทางวิชาการสามารถสรา้ งชอ่ื เสยี ง 51 ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 2.3 เป้าประสงค์ที่ 3 คณะเป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้ มคี ณุ ภาพ ประชาคม 59 เปน็ สขุ และมีธรรมาภบิ าล 2.4 เป้าประสงคท์ ี่ 4 คณะมีการบริหารจดั การทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 61 และรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม 64 บทท่ี 3 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 3.1 การดาํ เนินงานตามเกณฑ์คณุ ภาพการศกึ ษาเพือ่ การ ดาํ เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) 3.2 การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในระดบั หลกั สูตร คณะผูจ้ ดั ทาํ รายงานประจาํ ปี 2563

บทท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานคณะศิลปศาสตร์ ประวัติความเป็นมาคณะศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร,เริ่มต0นจากเป4นเพียงหน:วยงานที่ ประยุกต, (ภาษาอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตร,และ จัดการเรียนการสอนในกลุ:มวิชาพื้นฐานทางด0านภาษา เทคโนโลยี) ซึ่งเป4นหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนเป4น สังคมศาสตร,และมนุษยศาสตร,ให0แก:หลักสูตรต:าง ๆ ภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร โดยความชว: ยเหลือ ของวิทยาลัยเทคนิคธนบุรีก:อนที่วิทยาลัยจะได0รับการ ของบริติชเคาน,ซิล เพื่อพัฒนาและฝcกอบรมครูผู0สอน สถาปนาเป4น “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล0าวิทยาเขต ภาษาอังกฤษทุกระดับให0สามารถสอนภาษาอังกฤษ ธนบุรี” พ.ศ. 2514 และเป4น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี อยา: งมีประสิทธิภาพ พระจอมเกล0าธนบุรี” พ.ศ. 2541 โดยคณะศิลปศาสตร, พ.ศ. 2533 คณะครุศาสตร,อุตสาหกรรมและ มีการพัฒนาตามลำดับดงั น้ี วิทยาศาสตร, ได0แยกการบริหารจัดการเป4น 2 คณะ พ.ศ. 2514 เป4นภาควิชาภาษาและสังคม สังกัด คือ คณะครุศาสตร,อุตสาหกรรม และคณะ คณะครุศาสตร,อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร, วิทยาศาสตร, โดยภาควิชาภาษาและสังคมได0สังกัด พ.ศ. 2527 ภาควิชาภาษาและสังคม เป[ดสอน คณะครุศาสตร,อุตสาหกรรม หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร, พ.ศ. 2537 มีโครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร, 1

พ.ศ. 2543 หลังจากที่มหาวิทยาลัยได0เปลี่ยน รูปแบบการบริหารเป4นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ (พ.ศ. 2541) สภามหาวิทยาลัยได0อนุมัติให0จัดตั้ง คณะศิลปศาสตร,อย:างเป4นทางการและประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาพ.ศ. 2543 โดยจัดแบ:งหน:วยงาน ภายในคณะออกเป4น สายวิชาภาษาพื้นฐาน สายวิชา ภาษาศาสตร,ประยุกต, สายวิชาสังคมศาสตร,และ มนุษยศาสตร, และสำนักงานคณบดี พ.ศ. 2550 เป[ดสอนหลักสูตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร,ประยุกต, (หลักสูตร นานาชาติ) พ.ศ. 2553 จัดตั้งสำนักงานวิชาศึกษาทั่วไปขึ้น เป4นหน:วยงานหนึ่งภายในคณะฯ เพื่อจัดการเรียนการ สอนในรายวิชาศึกษาทั่วไปให0แก:นักศึกษาระดับปริญญา ตรีทุกหลักสูตรในมหาวิทยาลัยฯ และเป[ดสอน หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ (หลักสูตร นานาชาติ) พ.ศ. 2556 เป[ดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร,สิ่งแวดล0อม พ.ศ. 2560 สภามหาวิทยาลัยฯ อนุมัติจัดตั้ง สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไปเป4นหน:วยงานหน่ึงของคณะฯ พ.ศ. 2561 ร:วมมือกับคณะเทคโนโลยี สารสนเทศเป[ดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการดิจิทัล 2

3

รายนามอดตี คณบดี คณะศลิ ปศาสตร์ ผช#ู %วยศาสตราจารย. ผช#ู ว% ยศาสตราจารย. นนั ทา โกวงศ. นวลทพิ ย. ตันตเิ ศวตรัตน. (รักษาการคณบดีโครงการ (รักษาการคณบดีโครงการ จดั ตง้ั คณะศิลปศาสตร7) จดั ตั้งคณะศลิ ปศาสตร7) วาระการดำรงตำแหน>ง วาระการดำรงตำแหนง> พ.ศ. 2537–2541 พ.ศ. 2541-2543 คณบดคี ณะศลิ ปศาสตร7 ผู#ชว% ยศาสตราจารย. ดร. วาระการดำรงตำแหน>ง ศศธิ ร สุวรรณเทพ พ.ศ. 2544-2548 คณบดคี ณะศลิ ปศาสตร7 วาระการดำรงตำแหนง> รองศาสตราจารย. ดร. พรนภสิ ดาราสวา% ง พ.ศ. 2548-2552 วาระการดำรงตำแหน>ง คณบดีคณะศิลปศาสตร7 พ.ศ. 2560-ปจM จุบัน วาระการดำรงตำแหนง> พ.ศ. 2552-2560 คณะกรรมการ ประจําคณะศิลปศาสตร์ 1. ผศ.ดร.ศศธิ ร สวุ รรณเทพ คณบดคี ณะศิลปศาสตร7 2. ผศ.ดร.เสาวลกั ษณ7 เทพสุรวิ งศ7 รองคณบดฝี Uายวชิ าการและประกันคุณภาพ 3. ดร.พรเลศิ อาภานทุ ตั รองคณบดฝี าU ยวางแผน 4. Assoc. Prof. Dr.Richard Watson Todd รองคณบดีฝาU ยวิจยั 5. ผศ.กษมาภรณ7 มณีขาว รองคณบดีฝาU ยบรกิ ารสังคมและชมุ ชน 6. นางสาวกนกรตั น7 นาคหฤทยั รองคณบดีฝUายบริหาร 7. ดร.สรุ ตั น7 เพชรนลิ รักษาการประธานสายวชิ าสังคมศาสตรแ7 ละมนุษยศาสตร7 8. รศ.ดร.วรรณภา ตระกูลเกษมสุข รักษาการประธานสายวชิ าภาษา 9. อาจารย7ปาณเลิศ ศริ วิ งศ7 หวั หนาo สำนักงานวิชาศกึ ษาท่ัวไป 10. อาจารย7กรรชงค7 กฤตประโยชน7 ผทoู รงคุณวฒุ ิจากสายวิชาภาษา 11. อาจารย7ศิรพิ นั ธ7 นนั สนุ านนท7 ผoูทรงคณุ วุฒสิ ายวิชาสงั คมศาสตรฯ7 12. ดร.อกั ษราภัค หลักทอง ผoูทรงคณุ วฒุ ิสำนักงานวิชาศกึ ษาทวั่ ไป (ผแูo ทน) 13. รศ.ดร.ทวิช พูลเงนิ ผูoทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอกคณะฯ 14. ผศ.ดร.กลุ พร หริ ญั บรู ณะ ผูoทรงคณุ วฒุ ิภายนอกมหาวทิ ยาลยั ฯ 15. ดร.เดชรตั น7 สขุ กำเนิด ผูoทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวทิ ยาลยั ฯ 16. นางสาวสุภาพร จันทรมณี รักษาการเลขานุการคณะศลิ ปศาสตร7 4

ผบู้ รหิ ารคณะศลิ ปศาสตร์ ผศ. ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดีคณะศลิ ปศาสตร์ ผศ. ดร.เสาวลักษณ์ เทพสรุ ิ ดร.พรเลศิ อาภานุทัต Assoc. Prof. Dr.Richard ผศ.กษมาภรณ์ มณีขาว น.ส.กนกรัตน์ นาคหฤทยั วงศร์ องคณบดฝี า่ ยวชิ าการ Watson Todd รองคณบดีฝา่ ยวางแผน รองคณบดีฝ่ายบรกิ าร รองคณบดีฝา่ ยบรหิ าร และประกันคณุ ภาพ รองคณบดีฝา่ ยวิจยั สังคมและชุมชน ผศ. ดร.ณัตจิรี จาตุรพิทักษก์ ุล ผศ. ดร.ภาสนนั ทน์ อัศวรกั ษ์ รศ. ดร.ปยิ ะพงษ์ จันทร์ใหม่มลู ผศ.ธนศิ ร์ ตงั้ กจิ เจรญิ กลุ ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยการวัด ผู้ช่วยคณบดฝี า่ ยวิชาการ ผ้ชู ว่ ยคณบดฝี ่ายวจิ ยั ผ้ชู ว่ ยคณบดฝี ่ายพฒั นา และประเมินผล ศกั ยภาพ และความเปน็ สากล ของนกั ศกึ ษา อาจารย์ภคนิ ี อปุ ถมั ภ์ ดร.สุรัตน์ เพชรนิล ผศ. ดร.องั คนา บญุ เสม น.ส.สภุ าพร จันทรมณี ผ้ชู ว่ ยคณบดีฝา่ ยวางแผน ผู้ช่วยคณบดฝี ่ายบรกิ าร ผชู้ ว่ ยคณบดฝี ่ายประกนั คณุ ภาพ รกั ษาการเลขานุการคณะฯ สงั คมและชุมชน 5

วิสัยทัศน์กับแผนกลยทุ ธค์ ณะศิลปศาสตร์ ในปi 2563 คณะฯ ได0ดำเนินการตามวิสัยทศั น, พันธกจิ และยทุ ธศาสตรข, องคณะฯ โดยบคุ ลากรทกุ ระดบั มสี ว: นรว: มในการดำเนนิ การตามแผนกลยุทธ,คณะศิลปศาสตรฉ, บับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ดงั น้ี 6

โครงสรา้ งการบริหารงานคณะศลิ ปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร,มีการบริหารจัดการคณะฯ ตามหลักธรรมาภิบาล และพัฒนาคณะฯ ให0เป4นองค,กรแห:ง การเรียนร0ู มคี ุณภาพและประชาคมเปน4 สขุ โครงสร0างการบรหิ ารงานของคณะฯ อยู:ระหว:างการปรับปรงุ ใหเ0 หมาะสม กับสถานการณป, nจจุบันทม่ี ีการเปลีย่ นแปลงไปคอ: นขา0 งมาก โดยคณะฯ ได0ประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรของ คณะฯ ทกุ ฝาp ย และผทู0 รงคุณวุฒเิ พอื่ หารูปแบบโครงสร0างคณะฯ ทเ่ี หมาะสมท่ีสามารถสนบั สนนุ การบรรลุวัตถุประสงค, ของคณะฯ บุคลากร นักศกึ ษา งบประมาณ ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีบุคลากรรวมทั้งสิ้น 89 คน จำแนกเป4นบุคลากรสายวิชาการ จำนวน 49 คน ประกอบด0วย (1) อาจารย,ประจำ จำนวน 39 คน ในจำนวนนี้มีผู0ดำรงตำแหน:งทางวิชาการเป4น รองศาสตราจารย, จำนวน 4 คน ผู0ช:วยศาสตราจารย, จำนวน 10 คน อาจารย, จำนวน 25 คน (2) นักวิจัย จำนวน 3 คน (3) ผู0มีความรู0ความสามารถฯ ผู0เชี่ยวชาญต:างประเทศ จำนวน 7 คน และเป4นบุคลากรสายสนับสนุน จำนวน 39 คน ดงั ตาราง 7

บคุ ลากรสายวชิ าการ ประเภท วฒุ กิ ารศกึ ษา รศ. ตำแหนFงทางวชิ าการ รวม ตรี โท เอก รวม 4 ผศ. อาจารยN นกั วิจัย อาจารยป, ระจำ - 16 23 39 - 39 นกั วจิ ัย - 123 - 10 25 - 3 ผม0ู คี วามรู0 - 213 1- 2 ความสามารถฯ - 2 ผเ0ู ช่ยี วชาญ 2114 4 -2 - ต:างประเทศ 2 20 27 49 -5 -5 รวม 11 32 2 49 ขRอมลู ณ ก.ย. 63 บุคลากรสายสนบั สนุน ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีบุคลากรสายสนับสนุนรวมทั้งสิ้น 39 คน จำแนก เป4นนักพัฒนาการศึกษา จำนวน 9 คน นักบริการการศึกษา จำนวน 10 คน ผู0ช:วยนักวิจัย จำนวน 1 คน บุคลากร สนับสนนุ การบรหิ ารงาน จำนวน 18 คน และลกู จา0 งประจำ จำนวน 1 คน ดงั ตาราง ประเภท วฒุ กิ ารศึกษา จำนวน (คน) นกั พัฒนาการศกึ ษา ตรแี ละต่ำกวาF โท เอก นกั บรกิ ารการศกึ ษา - 9 ผช0ู :วยนักวิจัย 18 - 10 บคุ ลากรสนับสนุนการบรหิ ารงาน - 1 ลูกจา0 งประจำ 64 - 18 - 1 รวม -1 - 39 14 4 1- 22 17 8

นักศึกษา ในปiงบประมาณ 2563 คณะศลิ ปศาสตรม, ีนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษารวมทง้ั ส้นิ 91 คน จำแนก เปน4 นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท จำนวน 77 คน และนกั ศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวน 14 คน ดังตาราง หลกั สตู ร ระดบั จำนวน (คน) ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก 1. หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชา 54 ภาษาศาสตรป, ระยุกตด, 0านการสอนภาษาองั กฤษ 54 - (หลกั สูตรนานาชาต)ิ 2. หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชา 22 - 22 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสารในวชิ าชพี และนานาชาติ (หลกั สูตรนานาชาติ) 3. หลกั สูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต 1 - 1 สาขาวิชาสังคมศาสตรส, ง่ิ แวดล0อม - 14 4. หลักสูตรปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑติ 77 14 14 สาขาวชิ าภาษาศาสตร,ประยุกต, 91 (หลกั สูตรนานาชาต)ิ ขอR มูล ณ ก.ย. 63 หนFวย : ลาR นบาท รวม งบประมาณ ในปi 2563 คณะศิลปศาสตร,ได0รับงบประมาณ 125.30 ลา0 นบาท ประเภทงบประมาณ ป] 2562 ป] 2563 1. บคุ ลากร 62.23 63.85 2. ดำเนนิ งาน 44.32 45.34 3. สาธารณูปโภค 1.39 1.03 4. ครุภัณฑ, 0.58 1.73 5. สิ่งกอ: สร0าง รวม 16.00 13.30* 124.52 125.30 ขอR มูล ณ ธ.ค. 63 หมายเหตุ ในปง, บประมาณ 2562 ดำเนินการได:บางส<วนและตงั้ ส<วนทีเ่ หลอื ไวใ: นป,งบประมาณ 2563 9

การจดั การศึกษาและการบรกิ ารวชิ าการ 1. ดRานการจัดการศึกษา คณะศิลปศาสตรม, กี ารดำเนนิ การดังนี้ 1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร,จัดการเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไปให0แก:นักศึกษาระดับ ปริญญาตรีทุกหลักสูตร จำนวน 31 หน:วยกิต โดยการออกแบบหลักสูตรได0คำนึงถึงคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค, ของมหาวิทยาลัยฯ ทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 ปรัชญาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ปรัชญาของหลักสูตร ความต0องการ ของคณะหรือภาควชิ าของนักศึกษาทมี่ าเรียน โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนคณะฯ ได0เนน0 พัฒนาความรู0 ทักษะ จำเปน4 ของผเู0 รยี น Competency-Based และ Soft Skills ของนกั ศกึ ษา 1.2 หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรี คณะศิลปศาสตรร, :วมกบั คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เป[ดสอน หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชานวัตกรรมบรกิ ารดิจิทัล 1.3 หลักสตู รระดับบณั ฑติ ศกึ ษา คณะศิลปศาสตร,เป[ดสอนหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 4 หลักสูตร ไดแ0 ก: 1.3.1 หลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตรNประยุกตN ดาR นการสอนภาษาองั กฤษ (หลักสูตรนานาชาต)ิ 1.3.2 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและ นานาชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) 1.3.3 หลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตรNสงิ่ แวดลRอม 1.3.4 หลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตรNประยุกตN (หลกั สูตรนานาชาติ) 1.4 การจดั การเรยี นการสอนวิชาภาษาอังกฤษ เพอ่ื เตรยี มความพรอ0 มดา0 นภาษาองั กฤษใหแ0 ก:นักศกึ ษาระดับ บณั ฑิตศกึ ษาของคณะฯ และนอกคณะฯ 10

2. ดาR นการบริการวิชาการ คณะศลิ ปศาสตรม, ีหน:วยงานรบั ผิดชอบซ่ึงมีการดำเนนิ การดงั นี้ 2.1 งานพัฒนาศักยภาพและความเปeนสากลของนักศึกษา (Global Competence Development) ดำเนินงานโดยคณะกรรมการบริหารด0านการพัฒนาศักยภาพและดำเนินการความเป4นสากลของนักศึกษา มี วัตถปุ ระสงค,เพ่ือพฒั นาศกั ยภาพและความเปน4 สากลของนักศกึ ษา โดยมีหน:วยงาน 2 หน:วยงานไดแ0 ก: 2.1.1 ศูนยNการเรียนรูRแบบพึ่งตนเอง (Self-Access Learning Centre : SALC) เป4นหน:วยงาน สนับสนุนการเรียนรู0ภาษาอังกฤษด0วยตนเองให0แก:นักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย โดยมุ:งเน0นพัฒนา ขีดความสามารถด0านการใช0ภาษาอังกฤษ และพัฒนาศักยภาพด0านการเรียนรู0ด0วยตนเอง ซึ่งจะนำไปสู:การ เรียนรู0ตลอดชีวิต (Life-Long Learning) โดยให0บรกิ ารพืน้ ท่ีการเรยี นรู0 และสอื่ การเรยี นรู0ดว0 ยตนเองในรูปแบบตา: ง ๆ จัดกิจกรรมสนับสนุนการเรียนรู0ด0วยตนเองด0านภาษาและวัฒนธรรม เพื่อส:งเสริมให0นักศึกษาและบุคลากร มจธ. ได0มี โอกาสฝcกฝนทักษะการใช0ภาษา และเรียนรู0ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชาติต:าง ๆ ให0คำปรึกษาเรื่องการ พัฒนาศักยภาพด0านการเรียนรู0ด0วยตนเองตามความต0องการเฉพาะบุคคล เผยแพร:องค,ความรู0ด0านการเรียนรู0แบบ พึ่งตนเอง (Self-Access Learning) และเป4นแหล:งศึกษาดูงานให0แก:หน:วยงานการศึกษา และสถาบันภายนอกที่สนใจ งานด0านการเรียนรูแ0 บบพ่ึงตนเอง 2.1.2 โครงการจัดตั้งศูนยNพัฒนา Soft Skills เป4นโครงการจัดตั้งที่มีวัตถุประสงค,เพื่อพัฒนาสมรรถนะ นกั ศึกษาดา0 น Soft skills โดยดำเนนิ กิจกรรมโครงการท่ีบูรณาการร:วมกบั ศูนย, SALC และหมวดวิชาศึกษาท่วั ไป 11

2.2 งานบริการสังคมและชุมชน (Social and Community Services Unit) คณะศิลปศาสตรN มุง: ม่นั ท่จี ะใช0ความรู0 ความเช่ียวชาญของบคุ ลากรของคณะฯ เพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชนดังนี้ 2.2.1 งานบริการสังคม มุ:งมั่นที่จะส:งเสริมการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาของโรงเรียนที่ขาดโอกาส จัด กิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาสภาพเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนศักยภาพของเยาวชนและประชาชนโดยรอบมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรี และพื้นที่ในจังหวัดต:าง ๆ ที่เป4นเป‹าหมายการให0บริการของมหาวิทยาลัย อีกทั้งยังจัด กิจกรรมเพอื่ พัฒนานักศกึ ษา ศิษย,เก:า และบคุ ลากรของ มจธ. ในดา0 นต:าง ๆ อกี ด0วย 2.2.2 งานฝƒกอบรม มีหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่หลากหลาย ทั้งในหมวดการใช0 ภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค,ทางวิชาการ ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน และการสอบประเภทต:าง ๆ รวมทั้งการสอน ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยให0แก:ชาวต:างชาติ โดยอาจารย,ทั้งชาวไทยและชาวต:างประเทศที่มีคุณภาพเป[ดให0บริการ ทัง้ นักศึกษา บุคลกรของมจธ. หนว: ยงานภาครัฐ และสถานประกอบการต:าง ๆ ตลอดจนบุคคลทวั่ ไป 2.3 งานทดสอบ และงานวิจัย เป4นหน:วยงานที่รับผิดชอบงานวิจัยของคณะฯ และการจัดทดสอบทางภาษา ภายในมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา0 ธนบรุ ีเป4นหลัก ได0แก: - การสอบวัดระดบั ภาษาอังกฤษและการสอบเพ่อื ดูพฒั นาการภาษาองั กฤษ สำหรับนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี - การสอบวัดระดับภาษาองั กฤษสำหรบั นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา - การสอบวัดระดับภาษาอังกฤษของพนักงานมหาวทิ ยาลยั ฯ - แบบทดสอบภาษาอังกฤษสำหรบั วศิ วกรและนักเทคโนโลยีไทย (Test of English for Thai Engineers and Technologists) 12

บทที่ 2 ผลการดําเนนิ งานตามเป้าประสงค์ของแผนกลยุทธ์ เป้าประสงค์ที่ 1 บัณฑิต มจธ. มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (KMUTT-QF) พร้อมเท่าทันการเปลี่ยนแปลงและมีความเป็นสากล คณะศิลปศาสตร,มีเป‹าหมายที่จะผลิตบัณฑิตให0มี เรียนในหลักสูตร และปรับปรุงพื้นที่ภายในคณะฯ คุณลักษณะที่พึงประสงค, และมีความเป4นสากล ด0วยการ เพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนที่ผู0เรียนสามารถมี พัฒนาการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาทั่วไป การพัฒนา ส:วนร:วมในการเรียนรู0ได0ตลอดเวลา เสริมสร0าง ศักยภาพภาษาอังกฤษของนักศึกษา โดยได0จัดโครงการ บรรยากาศความเป4นนานาชาติให0แก:หลักสูตรและ ต:าง ๆ ที่สนับสนุนการเรียนรู0ภาษาอังกฤษของนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยในภาพรวม ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา รวมทั้งการ พัฒนานักศึกษาในด0านต:าง ๆ เพื่อให0นักศึกษามีคุณสมบัติ ที่พึงประสงค,ของมหาวิทยาลัย พร0อมรับและเท:าทันกับ กระบวนทัศน,ใหม:ทางการศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย:าง รวดเร็วและมีความเป4นสากล ตลอดจนสร0างเครือข:ายการ สอนร:วมกับมหาวิทยาลัยในประเทศและต:างประเทศ เพื่อ ส:งเสริมการเพิ่มจำนวนนักศึกษาชาวต:างประเทศที่เข0ามา . 13

1.1 การผลติ บัณฑติ ให้มีคุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ (KMUTT-QF) และมคี วามเปน็ สากล 1.1.1 การพฒั นาการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป (General Education) จากการที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล0า- ของทอ0 งถน่ิ ของประเทศ และของโลก ธนบุรีมีความมุ:งมั่นที่จะผลิตบัณฑิตให0เป4นคนเก:งและดี 4. เพื่อเสริมสร0างให0ผู0เรียนมีความซาบซึ้งใน มีความเป4นมนุษย,ที่สมบูรณ, โดยมีเป‹าประสงค, คุณค:าของศิลปะ วัฒนธรรม และความงดงามตาม ที่จะให0บัณฑิต มจธ. เป4นผู0นำของพลเมืองโลก (Leader ธรรมชาติ Global Citizen) และได0กำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึง 5. เพื่อเสริมสร0างให0ผู0เรียนมีทักษะด0านภาษา ประสงค,ของ มจธ. ดังนี้ คือ เป4นผู0ที่มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถใช0ภาษาในการสื่อสารได0ถูกต0องและ และซื่อสัตย,สุจริต มีทักษะด0านการเรียนรู0และนวัตกรรม สามารถนำไปประยุกต,ใช0ในการเรียนได0อย:าง ทักษะด0านวิชาชีพ ทักษะด0านชีวิตและการทำงาน ทักษะ เหมาะสม ด0านสารสนเทศ สื่อสารและเทคโนโลยี และตระหนักถึง 6. เพื่อให0ผู0เรียนสามารถนำความรู0มาใช0ใน ความเป4นไปของโลก จากคุณสมบัติที่พึงประสงค,ดังกล:าว ชีวิตประจำวัน ในหน0าที่การงาน ชีวิตครอบครัว และ สามารถดำเนินการโดยการจัดการเรียนการสอนทั้งใน กิจกรรมทางสังคมได0 และสามารถปรับตัวเข0ากับ สาขาวิชาชีพ และในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ทั้งนี้การ สังคมที่มีความซับซ0อนมากขึ้น อันเนื่องจากความ จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรต:าง ๆ ของ มจธ. จะต0อง กา0 วหน0าทางวทิ ยาศาสตร,และเทคโนโลยี ได0ผลลัพธ,การเรียนรู0 (Learning Outcome) ตาม สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไปรับผิดชอบจัดการ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค, เรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปให=แก?หลักสูตร วัตถุประสงค,ของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของ ระดับปริญญาตรี โดยยึดผลการเรียนรู=ของผู=เรียน มจธ. จะช:วยตอบสนองคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค, ของ มจธ. และเป4นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน เปHนสำคัญ ซึ่งจากการทบทวนผลการดำเนินงาน ที่ผ?านมา และการรับฟMงผลการสะท=อนคิดจาก แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรี การเรียนรู= (ของนักศึกษา) พบว?า ได=รับผลเปHนที่ พ.ศ. 2549 - 2563 (KMUTT Roadmap 2020) น?าพึงพอใจระดับหนึ่ง สามารถพัฒนาผู=เรียนให= ทางด0านความเปน4 มนุษย,ท่ีสมบูรณ, โดยวัตถปุ ระสงคข, อง บรรลุผลการเรียนรู=ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปใน หลักสูตรวิชาศึกษาท่ัวไป มีดังนี้ หลายด=าน โดยเฉพาะด=านทักษะเชิงสังคม เช?น 1. เพื่อปลูกฝnงผู0เรียนให0มีคุณธรรม จริยธรรม มี ทักษะความเปHนผู=นำ ทักษะการทำงานเปHนทีม ทักษะด=านการบริหารจัดการ ทักษะด=านการ ความซื่อสัตย,สุจริต มีความรับผิดชอบต:อสังคม เคารพใน ความแตกต:างทางความคิด และสามารถดำรงชีวิตอย:าง เรียนรู= และการสร=างคุณลักษณะให=เปHนคนดี รู=จัก เสียสละ คำนึงถึงประโยชนVแก?ส?วนรวม ดงี าม 2. เพื่อเสริมสร0างให0ผู0เรียนเป4นผู0ใฝpรู0 สามารถ การเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นั้นใช=กลยุทธVการสอนในแนวทางการเรียนรู= แสวงหาความรู0ได0ด0วยตนเอง และสามารถคิดวิเคราะห, เชิงรุก (Active Learning) ที่เน=นการเข=าร?วม อยา: งเป4นระบบและมีเหตผุ ล ของนักศึกษา (Student’s Engagement) ใน 3. เพื่อเสริมสร0างให0ผู0เรียนเป4นผู0ที่มีโลกทัศน, กว0างไกล รเ0ู ท:าทนั การเปล่ียนแปลงทเี่ กิดข้นึ ทั้งในบรบิ ท 14

กระบวนการเรียนรู0 อาทิ การทำกิจกรรม การทำงาน รับรู0เข0าใจในประชาคม มจธ. ให0เข0ามามีส:วนร:วม ร:วมกัน การเรียนรู0ผ:านการทำโครงงาน การแก0ปnญหา ในกระบวนการการเรียนการสอน และร:วมพัฒนา และการค0นคว0าวิจัย ส:งผลให0นักศึกษาเกิดการเรียนรู0 รายวิชาศึกษาทั่วไปให0มีความสอดคล0องกับความ ใน 2 ประเด็นที่สำคัญ คือ การนำความรู0และทักษะที่ ต0องการของหลักสูตรมากยิ่งขึ้น ได0รับไปใช0ประโยชน,ในการทำงานและการดำเนิน ชีวิตประจำวัน และการเรียนรู0ด0านการทำงานเป4นทีม สิ่งนี้สะท0อนถึงการพัฒนาบัณฑิตให0เกิดคุณลักษณะ ที่พึงประสงค,ของ มจธ. (KMUTT-QF) และสร0างความ .... 1.1.1.1 ด้านการจัดการเรยี นการสอนรายวิชาศกึ ษาทวั่ ไป 1) จำนวนนักศึกษารายวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัย ส:วนกลุ:มวิชาบังคับเลือกที่กำหนดไว0ใน เทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรีได0กำหนดให0นักศึกษาซึ่ง หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน 6 หน:วยกิต เข0าศึกษาตั้งแต:ปiการศึกษา 2553 จนถึงปnจจุบัน นักศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนตามความสนใจ ทุกคณะฯ ที่มีการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี และรายวิชาที่เลือกเรียนจะต0องไม:ซ้ำหมวดหรือจัด เรียนวิชาศึกษาทั่วไป ซึ่งแบ:งเป4นกลุ:มวิชาบังคับ จำนวน อยู:ในกลุ:มวิชาที่ตอบคุณลักษณะที่พึงประสงค,ของ 25 หน:วยกิต และกลุ:มวิชาบังคับเลือก จำนวน 6 หน:วย รายวิชาศึกษาทั่วไปด0านเดียวกัน เพื่อเป[ดโอกาสให0 กิต โดยกลุ:มวิชาบังคับ มีหน:วยงานที่รับผิดชอบจัดการ นักศึกษาได0รับประสบการณ,การเรียนรู0ที่ เรียนการสอน 2 หน:วยงาน คือ สำนักงานวิชาศึกษา หลากหลาย ทั้งนี้ การจัดการเรียนการสอนวิชา ทั่วไป รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน จำนวน 16 บังคับเลือก จะดำเนินการโดยสำนักงานวิชาศึกษา หน:วยกิต และสายวิชาภาษารับผิดชอบจัดการเรียนการ ทั่วไป หรือคณะอื่น ๆ อาจจะเสนอเป[ดรายวิชาขึ้น สอน จำนวน 9 หน:วยกิต เองก็ได0 แต:รายวิชาดังกล:าวจะต0องสอดคล0องกับ เกณฑ,ผลการเรียนรู0ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวมทั้งผ:านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ อำนวยการจัดการศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป และ สภาวิชาการแล0ว 15

ในปiงบประมาณ 2563 สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนรายวิชาบังคับซึ่ง ประกอบด0วย 1) รายวิชาศึกษาทั่วไปกลุ:มวิชาสุข พลานามัย ได0แก: รายวิชา GEN 101 พลศึกษา และ 2) รายวิชาศึกษาทั่วไปกลุ:มวิชาบูรณาการ ได0แก: รายวิชา GEN 111 มนุษย,กับหลักจริยศาสตร,เพื่อการดำเนินชีวิต รายวิชา GEN 121 ทักษะการเรียนรู0และการแก0ปnญหา รายวิชา GEN 231 มหัศจรรย,แห:งความคิด รายวิชา GEN 241 ความงดงามแห:งชีวิต และรายวิชา GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหม:และภาวะผู0นำ มีนักศึกษา ลงทะเบียนเรียนรวมทั้งสิ้น 16,338 คน และกลุ:มวิชา บังคับเลือกที่ดำเนินการโดยสำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป และคณะอื่น ๆ รวมทั้งสิ้น 21 รายวิชา มีจำนวน นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนจำนวน 6,295 คน ดังแสดง ในแผนภาพที่ 2.1 และแผนภาพที่ 2.2 1,800 1,630 1,510 1,598 1,3751,458 1,475 1,418 1,600 1,303 1,156 1,053 1,131 1,400 1,231 1,200 GEN 111 GEN 121 GEN 231 GEN 241 GEN 351 1,000 800 600 400 200 0 GEN 101 ภาคการศกึ ษา 2/2562 ภาคการศึกษา 1/2563 แผนภาพที่ 2.1 ข,อมูลในระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารการศึกษา (New ACIS) (ข,อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2563) หมายเหตุ : GEN 101 พลศึกษา GEN 111 มนุษย4กับหลักจริยศาสตร4เพ่ือการดำเนินชีวิต GEN 121 ทักษะการเรียนรูIและการแกIปLญหา GEN 231 มหัศจรรย4แหOงความคิด GEN 241 ความงดงามแหOงชีวิต GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหมOและภาวะผIูนำ 16

450 424 382 400 377 345 342 325 350 316 211191 294 300 250 236 228 137119 258 200 182 184 220 166 176 150 126 127 115 116 92 120 90 117 100 61 60 50 5040 34 31 0 0 00 00 0 30 GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN 201 211 212 222 223 224 225 232 242 301 311 321 331 332 341 352 353 411 412 421 441 ภาคการศกึ ษา 2/2562 ภาคการศกึ ษา 1/2563 แผนภาพที่ 2.2 ข,อมูลในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา (New ACIS) (ข,อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2563) หมายเหตุ : GEN 201 ศาสตร4และศิลปWในการปรุงและบริโภคอาหาร GEN 312 ประวัติศาสตร4อารยธรรม GEN 211 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง GEN 331 มนุษย4กับการใชIเหตุผล GEN 212 การพัฒนาจิตเพื่อชีวิตท่ีสมบูรณ4ดIวยวิถีพุทธ GEN 332 การเลOาเรื่องวิทยาศาสตร4 GEN 222 สังคมวัฒนธรรมไทยและประเด็นรOวมสมัย GEN 341 ภูมิปLญญาทIองถิ่นไทย GEN 223 การเตรียมพรIอมรับภัยพิบัติ GEN 352 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือการพัฒนาอยOางยั่งยืน GEN 224 เมืองนOาอยOู GEN 353 จิตวิทยาการจัดการ GEN 225 การเขียนบันทึกสะทIอนคิดเพ่ือการพัฒนาตนเอง GEN 411 การพัฒนาบุคลิกภาพและการพูดในที่สาธารณะ GEN 232 การวิจัยและนวัตกรรมบนฐานชุมชน GEN 412 ศาสตร4และศิลปWในการดำเนินชีวิตและการทำงาน GEN 242 ปรัชญาจีนกับการดำเนินชีวิต GEN 421 สังคมศาสตร4บูรณาการ GEN 301 การพัฒนาสุขภาพแบบองค4รวม GEN 441 วัฒนธรรมและการทOองเท่ียว GEN 311 จริยศาสตร4ในสังคมฐานวิทยาศาสตร4 1.1.1.2 รูปแบบการจัดการเรียนการสอน สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป มีหน0าที่รับผิดชอบ เรียนการสอนจึงต0องสอดคล0องกันและเชื่อมโยง ดำเนินการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป ได0 กับผลลัพธ,การเรียนรู0ของนักศึกษา อย:างไรก็ดี กำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใต0 แนวทางการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้ไปตาม สถานการณ, (การแพร:ระบาดของโรค COVID-19) ซึ่งการ นโยบายมหาวิทยาลัย ฯ อันคำนึงถึงความปลอดภัย แพร:ระบาดดังกล:าวได0เกิดหลังการจัดการเรียนการสอน ของนักศึกษาเป4นหลัก ซึ่งจะกล:าวถึงรายละเอียดของ ไปแล0ว 6 สัปดาห, การปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนใน การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน, (Online) ห0องเรียนสู:รูปแบบออนไลน, (Online) 100% ตั้งแต: พอสังเขป ดังน้ี สัปดาห, 7 นั้น จึงถือเป4นความท0าทายอย:างยิ่ง “การ เปลี่ยนวิกฤติให0เป4นโอกาส” ในการพัฒนาคุณภาพการ เรียน 17

1) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชา 2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ศึกษาทั่วไปในกลุ:มวิชาบังคับ ซึ่งเป4นกลุ:มวิชาหลักที่ ศึกษาทั่วไปในกลุ:มวิชาบังคับเลือก จะมีอาจารย, จัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ จะมีทีมอาจารย, ผู0รับผิดชอบรายวิชาประจำในแต:ละรายวิชา และเป[ด (Team Teaching) ประกอบด0วย ประธานรายวิชา โอกาสให0อาจารย,ผู0สอนสามารถจัดการเรียนการสอน อาจารย,ผู0สอน อาจารย,ที่ปรึกษากลุ:มกิจกรรม นักพัฒนา ได0อย:างอิสระ ทั้งนี้การเรียนแบบบรรยายควบคู:กับ การศึกษา และผู0ช:วยสอนซึ่งเป4นนักศึกษาระดับปริญญา การทำกิจกรรม หรือการเรียนการสอนผ:านกิจกรรม โทและปริญญาตรี (TA & LA) รับผิดชอบการจัดการ 3 ชวั่ โมง (Virtual Classroom & Online Activity) กระบวนการเรียนรู0ร:วมกันผ:านการจัดการเรียนการสอน แพลตฟอร,มออนไลน, (Online Platform) ขึ้นอยู:กับ แบบออนไลน, (Online) ความถนัดของผู0สอนเป4นหลัก รูปแบบการจัดการ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบรรยาย เรียนการสอนสามารถบันทึกวิดีโอการสอนของตน และทำกิจกรรม 3 ชั่วโมง (Virtual Classroom & แล0วส:งให0ผู0เรียนผ:านระบบจัดเก็บข0อมูลแบบคลาวด, Online Activity) อาจารย,ทำหน0าที่สอนผ:านแพลตฟอร,ม (Cloud Storage) ด0วย Microsoft OneDrive หรือ ออนไลน, (Online Platform) ในรปู แบบ Study from Microsoft Stream home อาจารย,ผู0สอนจะใช0แอปพลิเคชันหรือ โดยสามารถจำกัดสิทธิการเข0าถึงได0 หรือ แพลตฟอร,มตามความเหมาะสม อาทิ Zoom, Google สามารถถ:ายทอดสดการสอนผ:านระบบ Video Classroom และ Microsoft Teams เป4นต0น การ Conference ด0วย Microsoft Teams และสามารถ ผลัดเปลี่ยนบทบาทระหว:างการบรรยายและทำกิจกรรม สร0างและใช0งานห0องเรียนออนไลน, (e-classroom) ด0วยการสื่อสารผ:าน VDO ช:องทางนี้รองรับนักศึกษาได0 เช:น การส:งเอกสารประกอบการสอน การสนทนา มากขึ้น และมีระบบ Collaboration หรือเครื่องมือที่ใช0 การสร0างกระดานถามตอบ การมอบหมายงานหรือสั่ง ในการทำงานร:วมกัน เช:น Video Breakout Rooms การบ0าน การตรวจงาน การสร0างแบบทดสอบ และ การแชร,ข0อมูล ระบบถาม-ตอบ การ polling หรือการใช0 การให0คะแนน เป4นต0น การจัดการเรียนการสอนกลุ:ม Chat รวมถึงมีระบบตรวจสอบความตั้งใจด0วย วิชาบังคับเลือก หลักสูตรปกติ จะมีจำนวนนักศึกษา (Attention Tracking) ลักษณะการเรียนเช:นนี้ทำให0 60 ถึง 80 คนต:อห0องเรียน และหลักสูตรนานาชาติ ผู0สอนสามารถรู0ได0ว:าใครตั้งใจฟnง เพื่อกระตุ0นการเรียนร0ู จะมนี ักศกึ ษาจำนวน 30 ถึง 40 คนต:อห0องเรยี น แก:ผู0เรียนตามแนวทางของการสร0างการเรียนรู0เชิงรุกได0 โดยจะมีจำนวนนักศึกษาประมาณ 45 ถึง 50 คนต:อ ห0องเรียนในลักษณะของห0องเรียนแบบ Virtual Classroom 18

อย:างไรก็ดี ในสถานการณ, (การแพร:ระบาดของโรค 1.1.2 การพัฒนาศักยภาพ COVID-19) ที่จำเป4นต0องใช0รูปแบบการเรียนการสอนแบบ ภาษาอังกฤษของนักศึกษา ออนไลน, (Online) เพื่อให0เกิดการเรียนรู0อย:างต:อเนื่อง องค,ประกอบสำคัญของการปรับตัวเป4นวิถีชีวิตแบบใหม: การพัฒนาศักยภาพทางภาษาอังกฤษของ นักศึกษา เป4นเป‹าประสงค,หลักที่สำคัญอย:างยิ่งของ (New Normal) ได0แก: ผสู0 อน ผ0ูเรยี น เนอ้ื หา สอื่ การเรยี น และแหล:งเรียนรู0กระบวนการจัดการเรียนรู0 การ มหาวิทยาลัย ทั้งการมุ:งเน0นพัฒนานักศึกษา มจธ. มุ:งสู:ความเป4นสากลพร0อมก0าวเข0าสู:ศตวรรษที่ 21 ติดต:อสื่อสารผ:านแพลตฟอร,มออนไลน, ระบบเครือข:าย อินเทอร,เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป4นปnจจัยสำคัญ ทั้งด0านการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และ การปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนที่มุ:งเน0นการ ต:อกระบวนการเรียนรู0 ดังนั้นการพิจารณาองค,ประกอบ พัฒนา ด0านคุณภาพ และคุณธรรมของบัณฑิตที่จะ และรูปแบบที่สอดคล0องเหมาะสมกับลักษณะวิชา และ บริบทของผู0เรียนจะนําไปสู:การประยุกต,ใช0กับการจัดการ ส ำ เ ร ็ จ ก า ร ศ ึ ก ษ า ใ ห 0 เ ป 4 น บ ั ณ ฑ ิ ต ท ี ่ พ ึ ง ป ร ะ ส ง ค, เรียนการสอนแบบออนไลน,อย:างมีประสิทธิภาพ ส:งผลทำ ของมหาวิทยาลัยฯ ตลอดจนดำเนินการพัฒนา ใหผ0 ู0เรียนเกิดผลลัพธ,การเรียนรู0ตามวัตถุประสงค,ได0 สภาพแวดล0อม การบริหารจัดการที่ได0มาตรฐานระดับ 1.1.1.3 โครงการและกิจกรรม สากล สนับสนุนด0วยการยกระดับการจัดการศึกษาท่ี การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา มุ:งเน0นมาตรฐานผลการเรียนรู0ระดับสากล (Global ศึกษาทวั่ ไป Student Learning Outcome) เพื่อแสดงให0เห็นว:า สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป ได0จัดโครงการและ ภาษาจะเป4นเครื่องมือสำคัญที่การันตีศักยภาพของ กิจกรรมต:าง ๆ หลากหลายรูปแบบผ:านการจัดการเรียน นักศกึ ษาในสังคมโลกปnจจุบนั การสอน ทั้งในห0องเรียนและนอกห0องเรียน ซึ่งมุ:งเน0น คณะศิลปศาสตร, จึงได0กำหนดแนวทางพัฒนา การสร0างการเรียนรู0เชิงรุก (Active Learning) โดยใน ศักยภาพทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาให0สอดคล0อง ปiงบประมาณ 2563 รายวิชาศึกษาทั่วไปกลุ:มรายวิชา กับเป‹าหมายของมหาวิทยาลัยฯ คือ การผลิตบัณฑิต บังคับและกลุ:มวิชาบังคับเลือก ได0วางแผน และ ให0มีคุณลักษณะอันพึงประสงค,พร0อมเท:าทันการ ดำเนินการจัดโครงการต:าง ๆ โดยให0นักศึกษาออกไป เปลี่ยนแปลงและมีความเป4นสากล ที่มุ:งเน0นการ เรียนรู0นอกชั้นเรียน แต:เนื่องจากสถานการณ, (การแพร: ส:งเสริมศักยภาพของนักศึกษา ทั้งด0านการสื่อสาร ระบาดของโรค COVID-19) และเพื่อให0สอดคล0องกับการ ( Communication) ส อ ง ภ า ษ า ค ื อ ภ า ษ า ไ ท ย รองรับสถานการณ,ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงต0องปรับ ภาษาอังกฤษ รวมถึงภาษาต:างประเทศอื่น ๆ เพื่อให0 เป4นที่ยอมรับในปnจจุบัน การพัฒนาบัณฑิตให0มี กิจกรรมให0สอดคล0องตามสถานการณ, อันยึดความ ปลอดภัยของนักศึกษาเป4นลำดับแรก ตลอดจนปฏิบัติตาม สมรรถนะสากลพร0อมที่จะเป4นพลเมืองโลก มาตรการของมหาวทิ ยาลยั ฯ อยา: งเครง: ครดั ดำเนินการจัดสภาพแวดล0อมและสร0างบรรยากาศที่ กระตุ0นการใช0ภาษาอังกฤษของนักศึกษาทั้งในและ นอกห0องเรียน การพัฒนาสมรรถนะด0านการประกอบ วิชาชีพ และการทำงานข0ามวัฒนธรรมของบัณฑิตที่จะ สำเร็จการศึกษาให0เป4นบัณฑิตที่พึงประสงค,ของ มหาวทิ ยาลัย 19

อย:างไรก็ตาม จากสถานการณ, (การแพร:ระบาด เริ่มตั้งแต:ปiการศึกษา 2560 คณะศิลปศาสตร, ของโรค COVID-19) ทำให0การจัด “โครงการสอนปรับ ได0รวบรวมข0อมูลและข0อคิดเห็นจากคณะต:าง ๆ และ พื้นฐานภาษาอังกฤษให0กับนักศึกษาใหม:ระดับปริญญาตรี นำข0อมูลมาเป4นแนวทางในการศึกษา และกำหนด (English Preparation Course for New Undergrad วิธีการพัฒนาภาษาอังกฤษ ดังนี้ (1) ปiการศึกษา Students)” เพื่อเตรียมความพร0อมรายวิชาภาษาอังกฤษ ด0านภาษาของผู0เรียนในระดับปริญญาตรีที่ดำเนิน 2561 ได0นำข0อมูลมาวิเคราะห,เพื่อสร0างความเข0าใจ เกี่ยวกับการปรับปรุงและปรับเปลี่ยนกลุ:มวิชา โครงการในช:วงเดือนกรกฎาคมของทุกปiจำเป4นต0อง ภาษาอังกฤษ (2) ปiการศึกษา 2562 เป[ดการเรียน ยกเลิก ตามมาตรการการรักษาความปลอดภัย และการ เว0นระยะห:างโดยการลดกิจกรรมทางสังคม (Social การสอนกลุ:มวิชาภาษาอังกฤษ New LNG Courses วิชาภาษาอังกฤษบางรายวิชา (3) ปiการศึกษา 2563 Distancing) การพัฒนาศักยภาพภาษาอังกฤษของนักศึกษา คณะศิลปศาสตร, จัดการเรียนการสอนกลุ:มวิชา ภาษาอังกฤษโดยใช0เกณฑ,คะแนนจาการทดสอบทาง ประกอบดว0 ยการดำเนินงานหลัก 3 ด0าน คอื การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) เพียง 1.1.2.1 การจัดการเรียนการสอน อย:างเดียวเพื่อจัดกลุ:มเรียน เนื่องจากสถานการณ, ดว้ ย New LNG Courses (การแพร:ระบาดของโรค COVID-19) โดยนักศึกษา หลักสูตรปกติเริ่มเรียนที่ LNG 120 หรอื LNG 220 คณะศิลปศาสตร, ได0กำหนดนโยบายที่จะพัฒนา ความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษาให0ดีขึ้น ตามระดับคะแนน ส:วนนักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ พร0อมเป4นบัณฑิตที่จะก0าวเข0าสู:โลกแห:งการทำงานซึ่งใน เริ่มเรียน LNG 221 ทุกคน แต:กรณีที่นักศึกษาไม: ปnจจุบันภาษาอังกฤษได0เข0ามาเป4นส:วนหนึ่งใน มีคะแนน ให0เริ่มเรียนที่ LNG 120 ในปiการศึกษานี้ ชีวิตประจำวันและการทำงานมากขึ้น สำนักงาน การดำเนินการจัดการเรียนการสอน เป[ดการเรียน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได0ตั้งเป‹า การสอนกลุ:มวิชาภาษาอังกฤษใช0 LNG Courses ความสามารถตามเกณฑ,ภาษาอังกฤษโดยอ0างอิงตัววัด รหัสใหม:ทั้งหมดซึ่งอ0างอิงเกณฑ,ของ CEFR ความสามารถทางภาษาอังกฤษตามเกณฑ, CEFR โดยแต:ละรายวิชาได0ออกแบบโดยใช0หลัก (Common European Framework of Reference for Languages) Outcome-Based Education ประกอบด0วยการ วิเคราะห, Learning Outcome และ Competence ของรายวิชาต:าง ๆ ให0เหมาะกับความต0องการของ นักศึกษา ผู0ใช0บัณฑิต และอาชีพของนักศึกษา นอกจากนี้ยังได0จัดแบ:งเนื้อหาวิชากระจายออกมาใน ลักษณะ Module-based Approach ด0วยวิธีการจัด กลุ:มวิชาเป4น 4 กลุ:ม ตามลำดับของ CEFR โดยมี ตัวอย:างรายวชิ าที่เปด[ การจัดการเรยี นการสอน เชน: 20

รายวิชา LNG Courses by CEFR Levels ที่เปดิ การจดั การเรยี นการสอนปีการศกึ ษา 2562 – 2563 NEW COURSE CREDITS LEVEL SKILL USE CODE COMPULSARY COURSES 3 A2 All General 120 General English (Compulsory for Regular 3 B1 All Academic 3 B1 Listening Academic Program) Speaking 220 Academic English (Compulsory for Regular 3 B2 Reading Academic Writing Program) 1 B1 Reading Academic 222 Academic Listening and Speaking for 3 B2 All Academic 3 B2 Writing Academic International Students (Compulsory for 3 B2 All Faculty- Inter Program) 3 B2 Speaking specific 321 Academic Reading and Writing for 3 B2 Culture General International Students 1 B2 Speaking Activity-based ELECTIVE COURSES 1 B2 Writing Academic 202 Basic Reading for Science and Technology 3 C1 Writing Professional 320 Content-based English learning 3 C1 Reading Academic 322 Academic Writing I General 323 English for Digital Service Innovation 327 Oral Communication II 330 Experience-based English Learning 303 Oral Presentation Skills 307 International E-meeting 420 Academic Writing II 421 Critical Reading นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนด้วย New LNG Courses ทางคณะศิลปศาสตร์ได้จัดทําฐานข้อมูล ด้วย POWER BI เพื่อติดตามผลการเรียนของนักศึกษาตั้งแต่แรกเข้า ระหว่างศึกษา จนสําเร็จการศึกษาเพื่อดู พัฒนาการด้านภาษาของนักศึกษา และนําข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้ตรงกับความต้องการของ นักศึกษา คณะต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย รวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ใช้บัณฑิต อีกทั้งคณะศิลปศาสตร์ได้จัด สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักศึกษาและการจัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะความเป็นสากลให้แก่นักศึกษา เช่น การสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะด้านภาษา การจัดกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาและอาจารย์ต่างชาติ บูรณาการการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ในรูปแบบ Clubs & Workshops โดยมีศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเอง เป็นผู้ออกแบบหลกั สูตรและกิจกรรมรว่ มกบั สายวิชาภาษา xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx 21

1.1.2.2 การดาํ เนินงานดา้ นแบบทดสอบภาษาอังกฤษสําหรับวิศวกรและ นักเทคโนโลยีไทย (Test of English for Thai Engineers and Technologists) (1) การปรับเกณฑNภาษาอังกฤษ TETET มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรี ได0มีนโยบายและ เป‹าหมายการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษในทุกหลักสูตรและทุกระดับการศึกษา โดยพิจารณาให0นักศึกษาทุกคน สอบวัดความรู0ภาษาอังกฤษโดยใช0แบบทดสอบภาษาอังกฤษมาตรฐานที่สามารถเทียบเคียงผลกับเกณฑ,มาตรฐาน ทางภาษา Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) ดังนั้น มหาวิทยาลัยฯ จึง มอบหมายให0คณะศิลปศาสตร, (ผู0ช:วยศาสตราจารย, ดร.ณัตจิรี จาตุรพิทักษ,กุล) ดำเนินการวิจัยเรื่อง Benchmarking TETET against CEFR เพื่อเปรียบเทียบระดับคะแนนแบบทดสอบ TETET (Test of English for Thai Engineers and Technologists) กับเกณฑ,มาตรฐานทางภาษา Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) พร0อมปรับเกณฑ,คะแนนTETET ให0เป4นปnจจุบันและสอดคล0องกับงานวิจัยที่จัดทำขึ้น และ จากผลการวิจัยมีประเด็นสำคัญ 3 ประเด็นคือ 1. การปรับเกณฑ,คะแนน TETET ในส:วนของความสามารถในภาพรวม (Overall band score) ให0มีช:วง คะแนนที่มีความละเอียดมากขึ้น เช:น จากเดิม ระดับ 3 จะแยกย:อยเป4น 3.0 และ 3.5 ทั้งนี้เพื่อสามารถแยกแยะ ความสามารถของผ0สู อบไดแ0 ม:นยำยงิ่ ข้นึ 2. ระดับคะแนนของแบบทดสอบ TETET เมื่อเทียบกับกรอบมาตรฐาน CEFR สะท0อนให0เห็นว:าเกณฑ,ระดับ ภาษาอังกฤษของ TETET ที่เคยกำหนดสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่ใช0อยู:ก:อนปi 2561 อยู:ใน CEFR ระดับที่ต่ำกว:าที่มหาวิทยาลัยคาดหวังว:าควรทำได0 เช:น TETET ระดับ 3 ที่เดิมเป4นเกณฑ,ที่คาดหวังว:านักศึกษา ปริญญาตรีหลักสูตรปกติควรทำได0 มีระดับเทียบเท:า CEFR A2 เท:านั้น และ TETET ระดับ 4 ซึ่งเป4นเกณฑ,ที่นักศึกษา ระดบั บณั ฑิตศกึ ษาหลักสตู รปกตคิ วรทำได0 มรี ะดับเทยี บเท:า CEFR B1 เทา: นน้ั 3. จากการสำรวจข0อมูลเกณฑ,มาตรฐานภาษาอังกฤษจากมหาวิทยาลัยต:าง ๆ ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย พบว:า นักศึกษาที่จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีที่สามารถเข0าเรียนต:อระดับบัณฑิตศึกษาในสถาบันนั้นได0ต0องมี ความสามารถทางภาษาองั กฤษไม:ต่ำกว:า IELTS 4 หรือ TOEFL iBT 45 หรอื เทยี บเท:า CEFR ระดับ B1 จากผลการวิจัยดังกล:าว คณะศิลปศาสตร,ได0เสนอมหาวิทยาลัยพิจารณาให0ความเห็นชอบ การปรับเกณฑ, ภาษาอังกฤษ TETET ขั้นต่ำสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา รวมทั้งเกณฑ,ใหม:สำหรับบุคลากรใหม: สายวิชาการและผู0สมัครเข0าเรียนระดับปริญญาเอก โดยผลการปรับเกณฑ,จะมีผลกับนักศึกษาที่เข0าใหม:ตั้งแต: ปiการศึกษา 2561 เป4นตน0 ไป สว: นนักศกึ ษาเกา: ทีม่ รี หสั นักศกึ ษากอ: นปi 2561 ขอให0ใช0เกณฑเ, ดิมไปกอ: น 22

ตารางแสดงการปรบั เกณฑNเปรียบเทยี บระหวาF งเกณฑเN กาF กับเกณฑNใหมF Proposed New Requirement KMUTT Target Group Current Requirement TETET Level CEFR Level TETET Level CEFR Level Undergraduates (Regular program) 3 A2 3.5 B1 Undergraduates(International program) 4 B1 4.5 B2 Graduates (both Master and Ph.D.) 4 B1 4.5 B2 Computer Engineering Inter undergrads + 5 B2 5.0 B2 Inter Graduates (JGSEE) - - 6.0 C1 *New academic staff + Ph.D. candidates (2) การรFวมมือกับภาคอุตสาหกรรม จากภายในมหาวิทยาลัยฯ สู:ความร:วมมือกับหน:วยงานภายนอก มหาวิทยาลัยฯ (ภาคอุตสาหกรรม) คณะศิลปศาสตร,ได0ดำเนินงาน และร:วมวางแผนการพัฒนาภาษาอังกฤษให0แก: บุคลากรในภาคอุตสาหกรรม อีกทั้งประสานงานเพื่อทดสอบความรู0ทางภาษาอังกฤษของพนักงานในบริษัทและ ภาคอุตสาหกรรมบางแห:งในประเทศไทย เพื่อตอบโจทย,ความต0องการใช0งานภาษาอังกฤษในกลุ:มบริษัทและ ภาคอุตสาหกรรม ล:าสุดในช:วงต0นปi 2562 ได0นำร:องจัดสอบภาษาอังกฤษโดยใช0แบบทดสอบ TETET ให0แก:พนักงาน บริษัทดานิลี่ จำกัด จังหวัดระยอง ซึ่งเป4นบริษัทในเครือของดานิลี่ ประเทศอิตาลี ผู0ผลิตอุปกรณ,เครื่องจักรสำหรับ อตุ สาหกรรมผลิตเหล็กเปน4 อนั ดับสามของโลก นอกจากนี้ในช:วงปลายปi 2562 คณะศิลปศาสตร, ได0ประชุมหารือ เรื่อง การทดสอบภาษาอังกฤษร:วมกับบริษัท โทรีเซนไทย เอเยนต,ซีส, จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป4นกลุ:มบริษัทธุรกิจขนส:งสินค0าทางเรืออันดับต0นของเอเชีย โดยมีประเด็น การหารือที่สำคัญ เช:น (1) มาตรฐานข0อสอบ TETET เทียบเท:ากับมาตรฐาน CEFR (2) การพัฒนาให0มีแบบทดสอบ TETET ในรูปแบบ Online สำหรับเครื่องมือพกพา และ Web-based (3) พันธมิตรศูนย,ทดสอบ Offline ที่ครอบคลุม ทั่วประเทศ (4) ระยะเวลาสำหรับเตรียมพร0อมก:อน/ระหว:าง/หลัง ทดสอบ พร0อมรายงานวิเคราะห,จำแนกระดับ ความชำนาญและทักษะภาษาอังกฤษเพื่อออกแบบแผนการอบรมเพิ่มเติมในอนาคต (5) งบประมาณการทดสอบ สำหรับการสอบแบบ Online และ Offline ฯลฯ ปnจจุบันทางบริษัทฯ อยู:ในขั้นตอนประสานงานเจรจาเรื่อง งบประมาณการจัดสอบ และขั้นตอนการเตรียมงานต:าง ๆ ซึ่งจะพิจารณาหาข0อสรุปอีกครั้งต:อไป นอกจากนี้ทางคณะ ศิลปศาสตร,ยังมีแผนขยายงานด0านการจัดทดสอบภาษาอังกฤษโดยแบบทดสอบ TETET ไปยังภาคอุตสาหกรรมหรือ นิคมอตุ สาหกรรมต:าง ๆ ในอนาคตอนั ใกลอ0 กี ดว0 ย 23

จะเห็นได้ว่าการร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรม โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.สรบุศย์ ดังกล่าว เป็นการนําองค์ความรู้ภายในมหาวิทยาลัยสู่ รุ่งโรจน์สุวรรณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยมี การสร้างองค์ความรู้ภายนอกมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นตัว วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักศึกษา ขบั เคลื่อนให้เกิดการพัฒนาองค์กร และการนําองค์ความรู้ หลักสตู รบันฑิตศึกษา ของคณะฯ ใหม่ ๆ ทางด้านการวิจัยและการทดสอบไปใช้สร้าง ความร่วมมือกับภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมได้ - โครงการ “KMUTT English Camp 2019” อย่างแท้จริง ทั้งนี้การนําองค์ความรู้ด้านการวิจัยและ วันเสาร์ที่ 26 – วันอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม 2562 การทดสอบภาษาอังกฤษ รวมถึงการพัฒนาด้านอื่น ๆ สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดโครงการ ช่วยนําไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และมีความเป็น “KMUTT English Camp 2019” ณ หาดเจ้าสําราญ สากลที่เป็นเป้าหมายของมหาวิทยาลัยฯ และสามารถนํา จังหวัดเพชรบุรี ให้แก่นักศึกษา มจธ. ทั้งชาวไทยและ ผลการดําเนินงานที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา ชาวต่างชาติ จํานวน 40 คน เพื่อเพิ่มโอกาสให้ ด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยฯ ที่มุ่งส่งเสริมและ น ั ก ศ ึ ก ษ า ไ ด ้ เ ส ร ิ ม ส ร ้ า ง ค ว า ม ม ั ่ น ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้ สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมากขึ้น ส่งเสริมทักษะ หลักภายในประเทศ นอกจากนี้การดําเนินงานของ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล รวมไปถึงเพื่อให้ มหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้วไปสู่ผู้ประกอบการภายนอก นักศึกษาได้ตระหนักถึงความแตกต่างทางด้าน มหาวิทยาลัย ถือเป็นก้าวที่สําคัญในการพัฒนาองค์กรที่มี วัฒนธรรม ภายในค่าย นักศึกษาทําภารกิจหลักคือ ประสิทธิภาพสูง และเกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา การถ่ายภาพเพื่อนําเสนอและถ่ายทอดเรื่องราว โดย มหาวทิ ยาลยั ฯ อกี ดว้ ย ได้นํานักศึกษาเยี่ยมชมพระนครคีรี (เขาวัง) และ หาดเจ้าสําราญ เพื่อให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มได้ถ่ายภาพ 1.1.2.3 โครงการเพื่อพัฒนา จากสถานที่ดังกล่าว อันเป็นส่วนหนึ่งของการทํา ศักยภาพภาษาอังกฤษของนกั ศกึ ษา ภารกิจ และนําเสนอผลงาน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรม Fun English โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ การพัฒนา - โครงการบรรยายพิเศษ “Language Processing ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและการทํางานร่วมกัน and Second Language Acquisition” เป็นทีม เช่น กิจกรรมสร้างคําจากชื่อ, Hot potato, กิจกรรมวาดภาพตามคําบอกของสมาชิกในกลุ่ม วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม 2562 สายวิชาภาษา คณะ เปน็ ต้น ศิลปศาสตร์ได้จัดโครงการบรรยายพิเศษ เรื่อง “Language Processing and Second Language Acquisition” ขน้ึ ณ ห้อง SoLA 907 คณะศลิ ปศาสตร์ 24

- โครงการบรรยายพเิ ศษ “English for Interpretation” วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2562 สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร์ได้จัดโครงการบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “English for Interpretation” ขึ้น ณ ห้อง SoLA 904 คณะศิลปศาสตร์ โดยได้รับเกียรติจากคุณบัวภรัตน์ชา ภัทร์รภีอนันต์ ล่ามมืออาชีพที่มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปีในการทํางานกับหน่วยงานที่มีชื่อเสียง เช่น UN, FBI, EU เป็นต้น โครงการบรรยายพิเศษนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรบันฑิตศึกษา ของคณะฯ - กิจกรรม Video Competition: Professionalism @ Work Season 2 วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563 สายวิชาภาษา รายวิชา LNG103 English for Workplace Communication ได้จัดกจิ กรรม Video Competition: Professionalism @ Work Season 2 ใหแ้ ก่นกั ศกึ ษาในรายวชิ า เพ่ือสง่ เสรมิ การใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร โดยประยกุ ตใ์ ช้ความรจู้ ากรายวิชานี้ รวมทั้งยังช่วยเสริมสร้างความเข้าใจเก่ียวกบั การ ทํางานในอาชีพที่นักศึกษาสนใจ พัฒนาทักษะการทํางานเป็นทีมและการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตลอดจนเสริมสร้าง แรงจูงใจให้นักศึกษามีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการสร้างผลงานที่ดีและมีคุณภาพ ทั้งนี้ได้รับเกียรติ จาก รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ตระกูลเกษมสุข รักษาการประธานสายวิชาภาษา มอบเกียรติบัตรและเงินรางวัลให้แก่ ผเู้ ขา้ ประกวดในครัง้ น้ี 25

- โครงการบรรยายพิเศษ “KOSEN: Fostering Practical Innovator” วันเสาร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2563 สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร์ได้จัดโครงการบรรยายพิเศษ ใน หัวข้อ “KOSEN: Fostering Practical Innovator” ขึ้น ณ ห้อง SoLA 901 คณะศิลปศาสตร์ โดยได้รับ เกียรติจาก นางสาวจินตนา วงศ์ต๊ะ และนายธิติ จรางเดช อาจารย์ประจําจากสํานักงานห้องเรียนวิศว-์ วิทย์ มจธ. มา เป็นวิทยากรในการบรรยายครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เพิ่มพูนความรู้ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรบันฑิตศึกษาของ คณะฯ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้แก่คณาจารย์ได้เปิด โลกทศั น์ในความรใู้ หม่ ๆ - กจิ กรรม Video Competition: - โครงการแข่งขนั การเสริมสรา้ งบรรยากาศ Professionalism @ Work Season 3 ความเป็นสากลภายใน มจธ. วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม 2563 สายวิชาภาษา รายวิชา LNG 223 (หรือ LNG 103 เดิม) English for วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน 2563 งานบริการ สังคมและชุมชน คณะศิลปศาสตร์ ได้รับเงินทุน Workplace Communication ได้จัดกิจกรรม Video สนับสนุนจาก มูลนิธิเพื่อการพัฒนา มจธ. จัด Competition: Professionalism @ Work Season 3 โครงการแข่งขันการเสริมสร้างบรรยากาศความเป็น สากลภายใน มจธ. มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการกระตุ้น ให้แก่นักศึกษาในรายวิชา เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ ให้เกิดการใช้ภาษาอังกฤษและบรรยากาศการใช้ ภาษาอังกฤษภายใน มจธ. มากขึ้น โดยจัดขึ้น ในการสื่อสารโดยประยุกต์ใช้ความรู้จากรายวิชานี้ รวมทั้ง ในช่วงปี 2561-2563 ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก ยังช่วยเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทํางานในอาชีพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดี คณะศิลปศาสตร์ เป็นตัวแทนมอบเกียรติบัตร ที่นักศึกษาสนใจ พัฒนาทักษะการทํางานเป็นทีมและการ และเงินรางวัล ให้แก่ผู้ได้รับรางวัลในครั้งนี้ โดยมี แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ตลอดจนเสริมสร้างแรงจูงใจให้ รางวัลดังต่อไปนี้ รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 WAIIIP Team ได้รับเงิน 50,000 บาท รางวัลรอง นักศึกษามีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการสร้างผลงานที่ดี ชนะเลิศอันดับที่ 2 Dream Team ได้รบั เงิน 20,000 และมีคุณภาพ ทั้งนี้ได้รับเกียรติจาก อาจารย์วิชัย บาท และรางวัลพิเศษด้านความคิดสร้างสรรค์ดีเลิศ Dream Team ได้รับเงิน 10,000 บาท กฤตประโยชน์ หัวหน้าโครงการ มอบเกียรติบัตรและเงิน รางวลั ให้แกผ่ ู้เขา้ ประกวดในครั้งน้ี 26

- โครงการ Culture and Education Study - โครงการ Social Forum “Visual Visit ครั้งที่ 6 ประเทศไตหR วัน Recording” วันอาทิตย์ที่ 8 ถึงวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม วันจันทร์ที่ 27 มกราคม 2563 สายวิชา 2562 สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดโครงการ สังคมศาสตร์และมนุษย์ คณะศิลปศาสตร์ ได้จัด Culture and Education Study Visit ครั้งที่ 6 ณ โครงการ Social Forum “ Visual Recording” ประเทศไต้หวัน ให้แก่นักศึกษาปริญญาโทหลักสูตร ณ ห้องประชุม SoLA 901 ชั้น 9 คณะศิลปศาสตร์ การสอนภาษาอังกฤษ และหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อ โดยได้รับเกียรติจากอาจารย์อัสนี ทัศนะเรืองรอง การสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ ทั้งภาคปกติและ สมาชิกร่วมก่อตั้งกลุ่ม Bangkok sketchers โดยมี ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) เพื่อให้นักศึกษามีโอกาส วัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้ภาพเป็น สังเกตการณ์การจัดการเรียนการสอน รวมถึงมีส่วนร่วม เครื่องมือในการสื่อสารถอดความคิดข้อมูลต่าง ๆ ที่มี ในชั้นเรียน พร้อมทั้งได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ อยู่ให้ออกมาเป็นภาพ นําไปสู่การเข้าใจเรื่องราวต่าง ๆ จัดการเรียนการสอนและการสื่อสารในระดับนานาชาติ ท่ีซับซ้อนได้ดีย่ิงขึ้น ร่วมกัน นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักถึง การพฒั นาตนเองให้มศี ักยภาพในระดับสากลอีกด้วย ทั้งน้ี มีอาจารย์และนักศึกษาเข้าร่วมโครงการฯ จํานวน 12 ทา่ น 1.1.3 การพัฒนานกั ศกึ ษา - โครงการ Social Forum “ทําอย่างไรได้เป็นเถ้าแก่ เงินลา้ น” วันจันทร์ที่ 25 พฤศจิกายน 2562 สายวิชา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ได้จัด โครงการ Social Forum “ทําอย่างไรได้เป็นเถ้าแก่เงินล้าน” ณ ห้องประชุมจํารัสฯ โดยได้รับเกียรติจาก คุณปราโมทย์ กิจจํานงค์พันธุ์ ผู้ก่อตั้งและเป็นเจ้าของธุรกิจการส่งออก เฟอร์นิเจอร์ และเป็นอดีตกรรมการผู้จัดการและเจ้าของ บริษัท แม็กซ์ไฟน์ จํากัด และมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราภรณ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา อาจารย์วิชัย กฤตประโยชน์ และ อาจารย์ กรรชงค์ กฤตประโยชน์ ร่วมให้การต้อนรับ วิทยากรได้ ถ่ายทอดประสบการณ์ชีวิต และการทํางานในฐานะลูกจ้างและ ในฐานะเจ้าของธุรกิจที่ประสบความสําเร็จในการเป็นเถ้าแก่ เงินล้าน และยังกระตุ้นสร้างแรงบันดาลใจ ให้นักศึกษา มจธ. บุคลากรและผู้สนใจมีความตื่นตัวต่อยอดความรู้และพัฒนา ชีวิตเพื่อเป็นผู้ประกอบธุรกิจของตนเอง ซึ่งการจัดการบรรยาย ครั้งนี้ ได้รับความสนใจจากผู้เข้าฟังเป็นจํานวนมาก สร้างขวัญ และกําลังใจในการดําเนินชีวิต และแนวทางในธุรกิจในอนาคต เป็นอยา่ งดี 27

- โครงการบรรยายพิเศษ “เมืองสีเขียว เมือง นFาอยูF เมืองไรฝR ’ุน” วันจันทร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 สายวิชา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ได้จัด โครงการบรรยายพิเศษ หัวข้อ “เมืองสีเขียว เมืองน่าอยู่ เมืองไร้ฝุ่น” ขึ้น ณ ห้อง SoLA 505 คณะศิลปศาสตร์ โดยไดร้ ับเกยี รติจาก Prof. Dr. Jürgen Breuste อาจารย์ ประจํา School of Geology and Geography University of Salzburg ประเทศออสเตรีย มาเป็น วิทยากรในการบรรยายในครั้งนี้ ให้แก่นักศึกษาและ บุคลากร มจธ. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็น สิ่งแวดล้อมเมืองและความสําคัญของพื้นที่สีเขียวในเมือง เพิ่มมากขึ้น และกระตุ้นการตื่นตัวต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม เมอื ง ทง้ั น้ีมีผูเ้ ขา้ รว่ ม จาํ นวน 84 คน 1.2 การดําเนินงานของศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเอง (Self-Access Learning Centre : SALC) ศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเอง (Self-Access Learning Centre) คณะศิลปศาสตร์ มีภารกิจหลักในการส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา ทั้งด้านภาษา (Language Skills) และสมรรถนะสากล (Global Competency) โดยมีเป้าหมายในการส่งเสริมการพัฒนานักศึกษา มจธ. สู่การเป็นพลเมืองโลก (Global Citizen) โดยในปกี ารศึกษา 2562 ทผี่ ่านมา ศูนย์ ฯ ได้ ใหบ้ รกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.2.1 พน้ื ทส่ี ง่ เสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Learning Space) ศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเองให้บริการพื้นที่ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยซึ่งอยู่บริเวณ ชั้น 4 ของ คณะศิลปศาสตร์ ภายใต้แนวคิด Global Station โดยมี พื้นที่การเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยตนเองตามความสนใจ ได้แก่ Global Hub , SALC Maker Space, Play Space, Movies World และ Study Space ซึ่งนักศึกษา และบุคลากรสามารถเข้าใช้ บริการพื้นที่การเรียนรู้ได้ทุกวันจันทร์ ถึงวันพฤหัสบดี เวลา 8.30-17.30 น. และ วันศุกร์ เวลา 8.30-17.00 น. ในปกี ารศึกษา 2562 มจี าํ นวนผใู้ ช้บริการ ท้งั สนิ้ 22,376 คน เฉล่ียวนั ละ 219 คน 28

1.2.2 แหลง่ ข้อมลู /ส่ือสง่ เสรมิ การเรียนรู้ (Learning Resources) ศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเองให้บริการแหล่งข้อมูล/สื่อการเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ เพื่อเป็นแหล่งค้นคว้า และ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ และสมรรถนะด้านอื่น ๆ ที่จําเป็นสําหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อาทิ หนังสือเกี่ยวกับการพัฒนาภาษาอังกฤษในทุกทักษะ (English improvement) การเตรียมตัวสอบ (Test preparation) การพัฒนาตนเอง (Self-improvement) นิตยสาร (Magazine) ภาพยนตร์ (Movie) บอร์ดเกม (Board game) เปน็ ต้น 1.2.3 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพนักศึกษาสกู่ ารเปน็ พลเมอื งโลก ศูนย์การเรียนรู้แบบพึ่งตนเองได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาตามคุณลักษณะ บัณฑิตที่พึงประสงค์ของ มจธ. (KMUTT Students QF) รวมถึงพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับผู้เรียนในศตวรรษ ท่ี 21 เพือ่ ใหน้ ักศึกษามคี วามพรอ้ มสกู่ ารเปน็ พลเมอื งโลก โดยม่งุ เน้นการส่งเสรมิ การพฒั นาทักษะตา่ ง ๆ ดังน้ี 1) ทักษะด้านภาษา (Language Skills) โดยเนน้ การส่งเสรมิ การพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษนอกหอ้ งเรียน ใน ทุกทักษะ คือ speaking, listening, reading, writing, grammar และ vocabulary เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาส ฝึกฝนพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนมากขึ้น และสามารถนําไปประยุกต์ ใช้ภาษาอังกฤษได้ใน สถานการณ์จรงิ 2) ทักษะเพื่อเป้าหมายในอนาคต (Future skills) เป็นการพัฒนากลุ่มทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อมให้ นักศึกษามีทักษะ และความสามารถที่นําไปใช้ได้ในการทํางาน และการประกอบอาชีพในอนาคต เช่น การสื่อสาร (Communication) การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) การทํางานเป็นทีม (Teamwork) การคิดเชิง สรา้ งสรรค์ (Creativity) การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-directed learning) เปน็ ต้น นักศึกษาสามารถเลือกกิจกรรมตามความสนใจ โดยผู้สอนจะเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารผ่านการทํา กิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เช่น กิจกรรม Easy & Simple tips for Healthy Lifestyle, Speaking for Being a Global, Cooking Club, English through Songs, Write English in a Simple Ways เป็นต้น ในปีการศึกษา 2562 ศูนยฯ์ ได้จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา จํานวนทั้งสิ้น 83 กลุ่ม 512 ครั้ง และมีนักศึกษาเข้าร่วม กจิ กรรม จาํ นวนทง้ั สนิ้ 6,604 คน 29

1.3 การลงนามบันทึกข้อตกลง 35 31 30 ร่วมมอื ทางวชิ าการ (MOU) 25 20 15 คณะศิลปศาสตร์ได้ทําบันทึกข้อตกลงร่วมมือทาง 15 10 วิชาการ (MOU) การสร้างความร่วมมือกันทางวิชาการ 5 ระหว่างมหาวิทยาลัยภายในประเทศและมหาวิทยาลัย 0 ต่างประเทศ เพื่อสร้างเครือข่ายด้านวิชาการ การวิจัย ภายในประเทศ ตา่ งประเทศ การบริหารจัดการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ให้ กราฟแสดงจํานวนความร่วมมอื ทางวิชาการ เข้มแข็งยิ่งขึ้น และพัฒนาการวิจัยและกิจกรรมของ ทงั้ ภายในประเทศและตา่ งประเทศ คณะศลิ ปศาสตร์ บุคลากรและนักศึกษาของหน่วยงาน โดยเป็นการร่วมมือ ประจาํ ปงี บประมาณ 2563 เพื่อแลกเปลี่ยนบุคลากร/นักศึกษา ตลอดจนข้อมูล หมายเหตุ นับความรOวมมอื ทางวชิ าการทง้ั ทม่ี กี ารลงนามสญั ญา ข่าวสารและความรู้ระหว่างกัน รวมทั้งการจัดกิจกรรม และไมOมกี ารลงนาม รวมถึง personal contact ระหวาO งบคุ ลากร ทางดา้ นวชิ าการ และกิจกรรมอื่น ๆ รว่ มกันอีกดว้ ย ข,อมูล ณ 30 ก.ย. 63 ในปี งบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร์มีความ ร่วมมือทางวิชาการทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ทั้งหมด 46 หน่วยงาน แบ่งเป็น ความร่วมมือ ภายในประเทศ จํานวน 31 หน่วยงาน และต่างประเทศ จาํ นวน 15 หนว่ ยงาน 30

เป้าประสงค์ที่ 2 คณะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ สามารถสร้างช่ือเสียง ร ะ ดั บ ช า ติ แ ล ะ น า น า ช า ติ คณะศิลปศาสตร,มุ:งส:งเสริมการผลิตผลงานวิจัยและงานวิชาการที่มีคุณภาพ และให0บริการทาง วิชาการแก:สังคมโดยบูรณาการเข0ากับการเรียนการสอนเพื่อมุ:งสู:ความเป4นเลิศทางวิชาการและสร0าง ชื่อเสียงในระดับชาติและนานาชาติ ตลอดจนมุ:งเน0นการสร0างความเข0มแข็งให0แก:บุคลากรวิจัยเพื่อให0 ผลิตผลงานวิจัยท่ีมีคุณภาพ 2.1 ผลงานทางวิชาการของอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีผลงานตีพิมพ,เผยแพร:ทั้งในการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับ นานาชาติ รวมทั้งวารสารระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ รวมทั้งสิ้นจำนวน 44 เรื่อง และตีพิมพ, เผยแพรใ: นส่ือสงิ่ พมิ พ,อื่น ๆ จำนวน 7 เร่อื ง รายละเอยี ดดังนี้ วารสารระดับนานาชาติ 40 23 วารสารระดับชาติ 20 การประชุมวิชาการระดบั นานาชาติ 10 6 7 การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ 5 อืน่ ๆ (book, magazine ฯลฯ) 0 แผนภาพที่ 2.3 จำนวนผลงานทางวิชาการของอาจารย:และนักศึกษา ประจำปA 2563 คณะศิลปศาสตร: 31

2.1.1 การตีพมิ พ์ผลงานวิจัยในวารสารวชิ าการ 2.1.1.1 การตีพมิ พผ์ ลงานวจิ ัยในวารสารวิชาการระดบั นานาชาติ จำนวน 23 รายการ 1) Armatthat, S. & Jaturapitakkul, N. (2020). Thai students’ preferences regarding the personas of English language teachers. LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 13(1), January - June, 275-293. 2) Boonsem, A. & Charoensupmanee, T. (2020). Determining the factors of teaching effectiveness for physical education. International Education Studies, 13(3), 43-50. 3) Chontanawat, J. (2020) Relationship between energy consumption, CO2 emission and economic growth in ASEAN: Cointegration and causality model. Energy Reports, 6, 660–665. 4) Chontanawat, J., Wiboonchutikula, P. & Buddhivanich, A. (2020). An LMDI decomposition analysis of carbon emissions in the Thai manufacturing sector. Energy Reports, 6, 705-710. 5) Chontanawat, J., Wiboonchutikula, P. & Buddhivanich, A. (2020). Decomposition analysis of carbon emissions of the manufacturing industrial sector in Thailand. Energies, 13, 798(1-23). 6) Chamratrithirong, A., Lucktong, A., Jampaklay, A. & Ford, K. (2020). An analysis of the resilience process: The stimulus of mental strength and the role of community and family support amidst the civil violence in Thailand. Current Psychology. (Published online: 25 August 2020) 7) Chontanawat, J. (2020). Dynamic modelling of causal relationship between energy consumption, CO2 emission and economic growth in SE Asian countries. Energies, 13(24), 6664. 8) Intraboonsom, C., Darasawang, P. & Reinders, H. (2020). Teacher’s practices in fostering learner autonomy in a Thai university context. Journal of Language Teaching and Research, 11(2), March, 194-203. 9) Janmaimool, P. & Chudech, S. (2020). Effect of domestic and global environmental events on environmental concern and environmental responsibility among university students. Sustainability, 12(4), 1-20. 10) Kanchanapoomi, T. & Trakulkasemsuk, W. (2020). Laughter: A communication strategy in business meeting between Thai and Burmese professionals. rEFLections, 27(1), January-June, 22-43. 32

11) Lucktong, A. & Pandey, A. (2020). Perceived-development of soft skills support confidence to obtain a job: An evidence among science-tech graduates in Thailand. Asia-Pacific Social Science Review, 20(1), 66-77. 12) Lin, H., Trakulkasemsuk, W. & Jimarkon Zilli, P. (2020). When queer meets teacher: A narrative inquiry of the lived experience of a teacher of English as a Foreign Language. Sexuality & Culture, 24,1064–1081. 13) Le Trung, H. & Boonmoh, A. (2020). Thai students' production of English coda clusters: An experiment on sonority with Thai university students taking an English fundamental course. Human Behavior, Development and Society, 21(2), June, 17-29. 14) Nakamura, S., Phung, L. & Reinders, H. (2020). The effect of learner choice on L2 task engagement. Studies in Second Language Acquisition, 1-14. (Published online:13 October 2020) 15) Pandee, M., Tepsuriwong, S. & Darasawang, P. (2020). The dynamic state of pre-service teachers’ self-efficacy: A critical incident study in Thailand. Issues in Educational Research, 30(4), 1442-1462. 16) Reinders, H. (2020). Fostering autonomy: Helping learners take control. English Teaching, 5(2), Summer, 35-147. 17) Tian, W. & Louw, S. (2020). It’s a win-win situation: Implementing appreciative advising in a pre-service teaching training programme. Reflective Practice, 21(3) 384-399. 18) Tian, W. & Padua Dumlao, R. (2020). Impacts of positioning, power, and resistance on EFL learners’ identity construction through classroom interaction: A perspective from critical classroom discourse analysis. The Qualitative Report, 25(6), 1436-1460. 19) T. Palayon, R., Watson Todd, R. & Vungthong, S. (2020). The language of destructive cults: Keyness analyses of sermons. Communication & Language at Work, 7(1), 42-58. 20) Thawarom, T. & Singhasiri, W. (2020). Lexical richness of one-minute speaking task by science and technology university students. The Journal of Asia TEFL, 17(1), Spring, 70-86. 21) Watson Todd, R. (2020). Teachers’ perceptions of the shift from the classroom to online teaching. International Journal of TESOL Studies, 2(2), 4-16. 22) Watson Todd, R. & Pojanapunya, P. (2020). Shifting attitudes towards native speaker and local English teachers: an elaborative replication. Journal of Multilingual and Multicultural Development. Published online: 19 Feb 2020. 23) Watson Todd, R. (2020). How has business communication changed in the last 4,000 years?. rEFLections, 27(2), July -December, 124-139. (Online at Jul 1, 2020) 33

2.1.1.2 การตีพมิ พผ์ ลงานวจิ ัยในวารสารวชิ าการระดับชาติ จำนวน 10 รายการ 1) G. Towns, S. (2020). Which word list should I teach? Using word lists to support textbook vocabulary instruction. THAITESOL Journal, 33(1), June, 20-35. 2) Molingit Balintag, C. & Dawala Wilang, J. (2020). QR codes utilization in EFL classroom: Affective language learning attributes in writing. Script Journal: Journal of Linguistic and English Teaching, 5(1), April, 1-13. 3) Pandey, A. & Lucktong, A. (2020). Contribution of Social Media and Cultural Intelligence on Indian-Thai B2B. AU-GSB e-Journal, 13(1), 90-111. 4) Seyitkulyyev, D., Keyuravong, S. & Bunsom, T. (2020). Investigation of grammatical errors committed by Turkmen learners of English. Journal of Humanities and Social Sciences University of Phayao, 8(1), January - June, 96-117. 5) Sairattanain, J. & Dawala Wilang, J. (2020). Language and what Else? Academic integration of international students in a Thai university. Human Behavior, Development and Society, 21(3), September, 38-46. 6) Thanasitrittisorn, P. & Boonmoh, A. (2020). Communication technology (ICT) tools in preparation process by EFL teachers in a Thai university. Journal of Liberal Arts Prince of Songkla University, 12(2), July – December, 158-196. 7) พระเทพสรุ ีย์ จันขาว และปยิ ะพงษ์ จันทรใ์ หมม่ ูล. (2563). การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เร่ือง “การจดั การขยะมลู ฝอย” เพ่อื สง่ เสรมิ ความรู้ จิตสํานึก และการมีสว่ นร่วมในการจัดการขยะ มูลฝอย: กรณศี กึ ษานักเรียนระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนวัดแจงรอ้ น เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร. e-Journal of Education Studies, Burapha University, 2(1), มกราคม - มนี าคม, 1-18. 8) ศริ พิ ันธ์ นันสนุ านนท์. (2563). แผนทช่ี ุมชนและการออกแบบเสน้ ทางการท่องเท่ียวโดยชมุ ชน ในเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 21(2), มกราคม - มิถุนายน, 83-93. 9) อักษราภคั หลักทอง. (2563). ความสมั พันธร์ ะหว่างการเรยี นรู้ดว้ ยใจผ่านเจตคตติ ่อการเรยี น กับลักษณะความใฝ่รู้เพื่อพัฒนาตนเองของเยาวชนในมหาวิทยาลัย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้, 8(1), มกราคม-มถิ ุนายน, 32-45. 10) องั คนา บญุ เสม. (2563). ผลของโปรแกรมสรา้ งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมท่ีมตี อ่ การ เปลี่ยนแปลงสมรรถภาพทางกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารการแพทย์และ วทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ, 27(1), เมษายน, 47-58. 34

2.1.2 การนําเสนอผลงานทางวิชาการในการประชมุ วชิ าการ 2.1.2.1 การประชุมวชิ าการระดบั นานาชาติ 1)จำนวAนlba5laรwาnยeกhา,รR. & Tepsuriwong, S. (2020). Scaffolding strategies used in teaching listening comprehension to young learners. Proceedings from the 40th Thailand TESOL-PAC International Conference “Harmony in Diversity: ELT in Transcultural Society” (pp. 45-57). Bangkok, Thailand: Thailand TESOL Association. 2) Khrongsakun, C. & Wiriyakarun, P. (2020). Learning English vocabulary through non-educational online games. Proceedings from the 40th Thailand TESOL-PAC International Conference “Harmony in Diversity: ELT in Transcultural Society” (pp. 138-160). Bangkok, Thailand: Thailand TESOL Association. 3) Puvacharoonkul, P. & Boonmoh, A. (2020). Perceptions of mitigated speech used in high-risk situations: A phenomenological study. Proceedings from ICE2020: The 1st International Conference on Education: Innovation and Development for Classrooms in the 21st Century (pp. 140-146). Undon Thai, Thailand. 4) Puvacharoonkul, P. & Dawala Wilang, J. (2020). Exploring the mindsets of Thai graduate students in English language learning: A preliminary study. Proceedings from the 40th Thailand TESOL-PAC International Conference “Harmony in Diversity: ELT in Transcultural Society”(pp. 223-235). Bangkok, Thailand: Thailand TESOL Association. 5) Sittiviboon, N. & & Thepsiri, K. (2020). Retaining vocabulary through poetry: A Haiku a day makes memory stay. Proceedings from the 40th Thailand TESOL-PAC International Conference “Harmony in Diversity: ELT in Transcultural Society” (pp. 90-108). Bangkok, Thailand: Thailand TESOL Association. 2.1.2.2 การประชุมวิชาการระดับชาติ จำนวน 6 รายการ 1) กอ้ งกาญจน์ วชริ พนงั วรรณชร ไชยเดช และธีมา เหลอื งอรุณ. (2563). การพัฒนาสมรรถนะ ด้านการบริหารจดั การผ่านการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการโค้ช ร่วมกบั การเรียนรโู้ ดยใช้ โครงงานเป็นฐาน. หนังสอื ประมวลบทความในการประชมุ วชิ าการ ครั้งท่ี 15 ประจําปี 2563 \"การพฒั นาระบบและกลไกอดุ มศึกษาไทย ในยุคพลิกผนั \" ระบบออนไลนผ์ า่ น โปรแกรม Zoom (น. 66-81). กรุงเทพฯ, ไทย: สาํ นักงานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม. 35

2) กุลกานต์ สุทธิดารา อาทติ ยา บินฮาซัน และปาริฉัตร เมืองประแกว้ . (2563). การพฒั นา รปู แบบงานแปลขา่ วสารภาษาองั กฤษ โดยประยกุ ตใ์ ชเ้ วบ็ ไซตร์ วบรวมข่าวประชาสัมพนั ธ์. การประชุมวิชาการวิจยั ระดับชาติ สาํ หรบั บุคลากรสายสนบั สนุนในสถาบนั อุดมศกึ ษา คร้ังที่ 12 “ธรรมรกั ษาวชิ าการ : สังคมปรวิ รรต พพิ ัฒนอ์ นาคต\" (น. 70-76). กรุงเทพฯ, ไทย: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี. 3) กติ ติพร วฒั นพานิช และเสาวลกั ษณ์ ค้มุ ทอง. (2563). การปรบั ปรุงกระบวนการจดั หลกั สตู ร การสอนปรบั พ้นื ฐานภาษาอังกฤษ ใหก้ ับนกั ศึกษาใหมร่ ะดบั ปรญิ ญาตรี ดว้ ยหลักการ ECRS. การประชุมวชิ าการวจิ ัยระดับชาติ สําหรับบุคลากรสายสนับสนนุ ในสถาบนั อุดมศกึ ษา ครง้ั ที่ 12 “ธรรมรกั ษาวิชาการ : สงั คมปรวิ รรต พิพฒั นอ์ นาคต\" (น. 77-84). กรงุ เทพฯ, ไทย: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี. 4) พุธทา แก้วศรีใจ. (2563). การปรบั ปรุงกระบวนการรบั สมัครนักศึกษาใหมช่ าวตา่ งชาติ ระดับ บัณฑติ ศกึ ษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. การประชมุ วิชาการวจิ ยั ระดับชาติ สาํ หรบั บุคลากรสายสนับสนนุ ในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ครง้ั ที่ 12 “ธรรมรกั ษาวชิ าการ : สังคมปรวิ รรต พิพฒั นอ์ นาคต\" (น. 100-109). กรุงเทพฯ, ไทย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุร.ี 5) อนัญญา พลายเลก็ และนฤมล ชินธนไพศาล. (2563). การใช้ระบบฐานข้อมูลวทิ ยากร สํานกั งานวิชาศึกษาทั่วไป มจธ. โดยเว็บแอปพลเิ คชันสาํ หรบั จัดการฐานขอ้ มลู . การประชุม วิชาการวจิ ยั ระดบั ชาติ สําหรับบุคลากรสายสนบั สนุนในสถาบันอดุ มศกึ ษา คร้ังท่ี 12 “ธรรมรักษาวชิ าการ : สงั คมปริวรรต พิพัฒน์อนาคต\" (น. 64-69). กรงุ เทพฯ, ไทย: มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 6) เอกพงษ์ โสมา และสุรพงษ์ ชูเดช. (2563). การจัดการเรียนรสู้ ่ิงแวดลอ้ มศึกษาแบบบูรณาการ เพื่อพัฒนาจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนนวมินทรา ชินูทิศ เบญจมราชาลัย เขตคลองสามวา-กรุงเทพมหานคร. การประชุมวิชาการและนําเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง “นวัตกรรมการเรียนรู้สู่การพัฒนาชุมชน” (น. 411- 423). ขอนแก่น, ไทย. 2.1.3 อนื่ ๆ จำนวน 5 รายการ 2.1.3.1 International book/Chapter in international book Darasawang, P., Wiriyakarun, P., Sangsri, P., Mahjoor, H., Vazquez Breton, R., Wongpornprateep, P., Kaewkascholkul, N., Thanasitrittisorn, P., Ou, S. & Chanuntika, N. (2020). การสะท้อนความคดิ เกย่ี วกับการทําให้ผู้เรียนเรียนรู้ ด้วยตนเองไดใ้ นบริบทของประเทศไทย: จากทฤษฎีสู่การลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Reflections on fostering autonomy in A Thai context: From theory to practice). In C. Ludwig, M. G. Tassinari & J. Mynard (Eds.), Navigating Foreign Language Learner Autonomy (pp. 455-478). Hong Kong: Candlin & Mynard. 36

2.1.3.2 National book/Chapter in national book อมรา ประสิทธ์ิรฐั สนิ ธ์ุ พิมพ์ภัทร ชมุ แก้ว พรี ะ ผิวนิม่ รชั นี เดอร์ซงิ ห์ และสะเกษษ์ พุทธพิทักษ์. (2563). การใชภ้ าษาในแวดวงสําคญั ของประเทศฟลิ ิปปินส์: บทบาทและหนา้ ทีข่ อง ภาษาฟิลิปโิ นและภาษาองั กฤษ (Language use in important domains in the Philippines: The roles and functions of Filipino and English). กรุงเทพฯ: สายธรุ กจิ โรงพมิ พ์ บรษิ ทั อมรนิ ทรพ์ ริ้นตงิ้ แอนดพ์ ับลิชซง่ิ จาํ กดั (มหาชน). (222 หน้า) 2.1.3.3 Megazine Dawala Wilang, J. (2020). The power of gratitude in the language classroom. Modern English Teacher, 29(2), 39-42. Kong, S. (2020). Designing a coherent lesson. Modern English Teacher, 29(4), 59-62. Kong, S. (2020). What can ESL/EFL teachers do with COVID-19?. Humanising Language Teaching, 22(3), June. Retrieved from https://www.hltmag.co.uk/june2020/what-can-esl/efl-teachers-do-with- covid-19 2.1.4 รายงาน จำนวน 2 รายการ 1) Watson Todd. R., เสาวลกั ษณ์ เทพสุริวงศ์ ปญั จพร พจนปัญญาวรรณภา ตระกูลเกษมสุข ณตั จริ ี จาตรุ พิทกั ษก์ ลุ ดวงใจชนก พรรษา G. Towns, S. ผอ่ งเพชร พงษ์ศาสตร์ ขนษิ ฐา พบิ ลู ยค์ ณารกั ษ์ และนวยิ า จนั จุฬา. (2563). โครงการวจิ ยั การสาํ รวจแนว ปฏิบตั ิด้านการวัดและประเมินผลรายวชิ าภาษาองั กฤษทใ่ี ช้ในโรงเรยี นไทยในปจั จบุ ันโดย เน้นแนวปฏบิ ัตทิ ส่ี ่งผลกระทบเชงิ บวก. (รายงานผลการวจิ ัย). สํานกั งานการวจิ ัยแหง่ ชาติ และสาํ นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม, กรุงเทพฯ: คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ .ี 2) พรนภสิ ดาราสว่าง Watson Todd. R., สนธิดา เกยูรวงศ์ ปญั จพร พจนปัญญา พนติ พิมพ์ โศจศิ ิรกิ ุล สาวติ รี แสงมณี และองั ค์วรา เหลอื งนภา. (2563). สองทศวรรษแหง่ การสอน ภาษาอังกฤษในประเทศไทย: การศึกษาเชิงวิพากษ.์ (รายงานผลการวจิ ัย). สํานกั งาน คณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.), กมุ ภาพันธ์, กรุงเทพฯ: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ .ี 37

2.2 การได้รับเงินสนบั สนุนการทาํ วจิ ัย 2.2.1 แหลง่ ทุนวจิ ยั ภายใน ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีเงินที่ใช0สนับสนุนโครงการวิจัยภายในจำนวน 7 โครงการ เป4นเงิน 42,000 บาท เป4นโครงการวิจัยของบุคลากรจำนวน 5 โครงการ และโครงการวิจัยของนักศึกษา จำนวน 2 โครงการ ดังมีรายละเอียดต:อไปน้ี บคุ ลากร หัวหนาR โครงการ/นกั วิจยั งบประมาณ แหลงF ทนุ วจิ ยั (บาท) ตารางท่ี 4 รศ.ดร.ปยิ ะพงษ์ จนั ทรใ์ หมม่ ลู 5,000 ทุนอดุ หนนุ วิจยั ผศ.ดร.สุรพงษ์ ชูเดช คณะศิลปศาสตร์ ลำดบั ชื่อโครงการ 1 ปฏกิ ิริยาของนักศึกษาระดับ ปรญิ ญาตรตี อ่ ปัญหา สงิ่ แวดล้อมระดับทอ้ งถิ่นและ ระดับสากล และความร้สู ึก รับผิดชอบตอ่ ส่งิ แวดล้อม 2 Lexical competence: ดร.ปณุ ยภา แสงศรี 10,000 ทุนอุดหนนุ วิจัย คณะศลิ ปศาสตร์ Evidence from students' รศ.ดร.อธิปัตย์ บุญเหมาะ writing production 2,000 ทนุ อุดหนนุ วิจยั คณะศิลปศาสตร์ 3 Steering towards the อ.รณกฤต รงั สฤษติกลุ Savvy: Students’ Perceptions of Intercultural Competence and their EFL Classroom Instruction of intercultural Learning 4 การศึกษาเรือ่ ง อปุ สรรคและ รศ.ดร.ปิยะพงษ์ จันทรใ์ หม่มลู 10,000 ทนุ อุดหนุนวิจยั 5,000 คณะศลิ ปศาสตร์ ปญั หาของการเรียนผา่ นระบบ อ.ศริ พิ ันธ์ นนั สนุ านนท์ ออนไลน์ และมาตรการแกไ้ ข รศ.ดร.จารวุ รรณ ชนม์ธนวัฒน์ ทนุ อุดหนนุ วิจยั คณะศลิ ปศาสตร์ ปญั หาและอุปสรรคของผเู้ รียน 5 กลไกทางสังคมและจิตวทิ ยา รศ.ดร.จารวุ รรณ ชนม์ธนวัฒน์ เพ่ือสง่ เสริมพฤตกิ รรม รศ.ดร.ปยิ ะพงษ์ จันทร์ใหมม่ ลู การประหยัดพลงั งาน รวมงบประมาณทัง้ หมด 32,000 38

นักศกึ ษา ตารางที่ 5 ลำดับ ช่ือโครงการ หวั หนRาโครงการ/นกั วจิ ัย งบประมาณ แหลงF ทุนวิจยั (บาท) 1 การสอนสง่ิ แวดลอ้ มศึกษา นายเอกพงษ์ โสมา 5,000 ทุนอดุ หนนุ วิจัย คณะศิลปศาสตร์ แบบบรู ณาการเพื่อพัฒนา จรยิ ธรรมสง่ิ แวดล้อม ของ 5,000 ทุนอดุ หนุนวิจยั คณะศิลปศาสตร์ นักเรยี นระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนนวมินทราชินทู สิ 10,000 เบญจมราชาลัย เขตคลอง สามวา กรุงเทพมหานคร 2 ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ การมีสว่ นร่วม น.ส. นรศิ รา นพคณุ ในการดาํ เนินงานพัฒนา อนามยั ส่งิ แวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ของโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข จังหวดั เพชรบุรี รวมงบประมาณท้ังหมด 2.2.2 แหลง่ ทุนวจิ ัยภายนอก ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีเงินที่ใช0สนับสนุนโครงการวิจัยภายนอกจำนวน 10 โครงการ ทั้งน้ี มีงบประมาณสนับสนุนโครงการวจิ ัยจำนวน 13,678,352 บาท ดงั มีรายละเอยี ดตอ: ไปนี้ ตารางที่ 6 ลำดบั ชือ่ โครงการ หัวหนาR โครงการ/นักวจิ ยั งบประมาณ แหลFงทนุ วิจยั (บาท) 1 สองทศวรรษแห่งการ รศ.ดร.พรนภสิ ดาราสวา่ งAssoc. 495,000 สาํ นกั งาน สอนภาษาองั กฤษใน Prof. Dr. Richard Watson Toddร ประเทศไทย: การศกึ ษา รศ.สนธิดา เกยูรวงศ์ คณะกรรมการส่งเสริม เชงิ วิพากษ์ (ก.ย. 61 - . ผศ.ดร.ปญั จพร พจนปญั ญา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและ ก.พ. 63) ดร.พนิตพมิ พ์ โศจศิ ริ กิ ลุ อ.สาวิตรี แสงมณี นวัตกรรม (สกสว.) ดร.องั คว์ รา เหลืองนภา 39

ตารางท่ี 6 (ตอF ) ลำดับ ชอื่ โครงการ หัวหนRาโครงการ/นกั วจิ ยั งบประมาณ แหลงF ทนุ วจิ ัย (บาท) 2 การสำรวจแนวปฏบิ ตั ิ Assoc. Prof. Dr. Richard สำนักงานการวจิ ยั ดา0 นการวัดผลและ Watson Todd 1,895,000 แห:งชาติ (วช.) และสำนกั งาน ประเมินผลรายวชิ า ผศ.ดร.เสาวลกั ษณ, เทพสรุ วิ งศ, คณะกรรมการส:งเสริม วิทยาศาสตร, วจิ ัยและ ภาษาอังกฤษท่ีใชใ0 น รศ.ดร.วรรณภา ตระกลู เกษมสขุ นวตั กรรม (สกสว.) โรงเรียนไทยในปจn จุบัน ผศ.ดร.ณัตจริ ี จาตรุ พทิ ักษ,กุล โดยเน0นแนวปฏิบัตทิ ่ี ผศ.ดร.ปญn จพร พจนปnญญา สง: ผลกระทบเชงิ บวก อ.นวยิ า จนั จุฬา (14 ก.ย. 61 - 13 ก.พ. อ.ดวงใจชนก พรรษา 63) Mr. Stuart G. Towns อ.ผ:องเพชร พงษศ, าสตร, อ.ขนิษฐา พบิ ลู ยค, ณารกั ษ, สถาบันคลงั สมอง 3 โครงการการวจิ ัยเชิง ผศ.ดร.สนั ติ เจรญิ พรพัฒนา 1,064,000 แหง: ชาติ นโยบายเพือ่ ศึกษาปnจจยั ดร.วรรณา เต็มสริ พิ จน, (วิจัยรว: ม) ความสำเรจ็ ของการเปน4 ผศ.ดร.ศศธิ ร สุวรรณเทพ มหาวิทยาลยั ในกำกับ ดร.สรุ ตั น, ช:ุมจติ ต, ของรฐั ภายใตบ0 รบิ ท น.ส. ชมพูนุช สวนกระตา: ย อดุ มศึกษาของไทย (ก.ย. 62 - ม.ิ ย. 63) คณะกรรมการวิจัย 4 วิถชี วี ติ พฤติกรรม และ รศ.ดร.ปย[ ะพงษ, จันทรใ, หม:มูล แห:งชาติและ ความต0องการ การใช0 ผศ.ดร.ภาสนนั ท, อศั วรกั ษ, 165,600 สำนักงาน ประโยชนพ, ื้นที่ช:มุ นำ้ รศ.ดร.จารวุ รรณ ชนม,ธนวฒั น, 303,012 คณะกรรมการ (ต.ค. 62 - ก.ย. 63) ผศ.ดร.สุรพงษ, ชูเดช นโยบายวิทยาศาสตร, อ.ศิริพันธ, นนั สนุ านนท, เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแหง: ชาติ 5 Evaluation of ผศ.ดร.ปญั จพร พจนปญั ญาดร. British Council Continuing สมพธู หวงั ทอง (Thailand) Professional ดร.ปรินดา จันโทริ Development ดร.องั ค์วรา เหลอื งนภาAssoc. following the Prof. Dr. Richard Watson Regional English Todd (ที่ปรกึ ษา)รศ. สนธิดา เกยรู วงศ์ (ท่ปี รึกษา) Training Centre Project 40

ตารางที่ 6 (ตFอ) งบประมาณ (บาท) ลำดบั ชือ่ โครงการ หัวหนาR โครงการ/นกั วจิ ยั แหลงF ทนุ วจิ ัย 1,500,000 สถาบนั พัฒนาระบบ 6 ผลกระทบข0ามชาติ อ.สมพร เพง็ คำ่ (วิจยั รว: ม) ประเมนิ ผลกระทบ โครงสรา0 งความเหลือ่ มล้ำ อ.ปกรณ, เลศิ เสถียรชัย ทางสขุ ภาพโดยชุมชน กับการเปลย่ี นผ:านส:คู วาม ผศ. ดร.ภาสนนั ทน, อัศวรักษ, 4,000,000 ยั่งยนื กรณีโรงไฟฟ‹าหงสา (วจิ ยั รว: ม) สำนักงาน สาธารณรฐั ประชาธิปไตย คณะกรรมการวจิ ยั 1,500,000 ประชาชนลาว (วจิ ัยรว: ม) แห:งชาติ (1 ก.ย. 62 - 30 ก.ย. 63) 7 การสรา0 งความเขา0 ใจใน รศ.ดร.จลุ นี เทียนไท สำนักงานเลขาธกิ าร คณุ ลกั ษณะ พฤตกิ รรม และ ผศ.ดร.ภทั รพรรณ ทำดี สภาการศึกษา ทัศนคติในอนาคตของ อ.ฐิตนิ ันทน, ผวิ นลิ ชาวดิจิทัลไทย ดร.ปุณณฑรีย, เจยี วิริยบญุ ญา (พ.ค. 62 - ม.ิ ย. 63) ผศ.ดร.ภาสนันทน, อศั วรกั ษ, 8 การศกึ ษาแนวทางการ ดร.วรรณา เตม็ สริ ิพจน, พฒั นาระบบสารสนเทศ ผศ.ดร.สนั ติ เจริญพรพฒั นา เพอื่ การจดั สรรงบประมาณ ผศ.ดร.ศศธิ ร สวุ รรณเทพ ด0านการศกึ ษาตรงสู:ผ0เู รยี น ดร.สุรัตน, ชมุ จิตต, (พ.ค. - พ.ย. 63) น.ส. ชมพนู ุท สวนกระตา: ย 9 The long term impact รศ.ดร.อารี จำปากลาย 2,240,000 University of of diverse parental ดร.อักษราภัค หลักทอง (วจิ ยั ร:วม) Hong Kong migration experiences on youth transition to adulthood: Thailand as a case study (1 ก.ค. 62 - 30 มิ.ย. 64) 10 Rapid Assessment of รศ.ดร.อารี จำปากลาย the Situation of ดร.อกั ษราภคั หลักทอง 515,740 UNICEF ประเทศไทย (วิจยั รว: ม) Children Left Behind Due to COVID-19 (10 เม.ย. - 25 พ.ค. 63) 13,678,352 รวมงบประมาณทั้งหมด 41

2.2.3 งานวิจยั ท่ไี มไ่ ด้ขอสนบั สนนุ ทนุ วจิ ยั ในปงี บประมาณ 2563 ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีโครงการวิจัยที่ไม:ได0ขอสนับสนุนทุนวิจัยในการดำเนิน โครงการ จำนวน 8 โครงการ รายละเอยี ดดังตอ: ไปน้ี ตารางท่ี 7 ลําดับ ชือ่ โครงการ หวั หนา้ โครงการ/นักวจิ ยั 1 Social media use for business-to-business cross-cultural sales performance mediated through cultural intelligence, adaptive Dr. Arti Pandey selling behavior and customer-oriented selling behavior ดร.อกั ษราภัค หลกั ทอง 2 การศกึ ษาความรoู ความเช่อื และทัศนคตเิ กี่ยวกบั บหุ รไี่ ฟฟาƒ ของเยาวชนไทย ผศ.ดร.สรุ พงษ7 ชเู ดช รศ.ดร.ปย„ ะพงษ7 จันทร7ใหมม> ูล 3 The Influence of the Benchmark Corpus on Keyword Analysis ผศ.ดร.ปMญจพร พจนปญM ญา Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd 4 Examining English Usage for Japanese Students in a Short-term ผศ.ดร.ณัตจิรี จาตรุ พิทกั ษ7กลุ Study Abroad Program in Thailand Assoc. Prof. Dr. Paul Horness 5 ‘It’s a win-win situation’: Implementing appreciative advising in a Dr. Wenwen Tian pre-service teaching training programme Dr. Stephen Louw 6 การปรับปรุงกระบวนการจัดหลักสูตรการสอนปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษ ใหoกับ น.ส. กิตติพร วัฒนพานิช นกั ศึกษาใหม>ระดับปรญิ ญาตรี ดoวยหลักการ ECRS 7 การใชรo ะบบฐานขอo มลู วิทยากร สำนักงานวิชาศกึ ษาทั่วไป มจธ. โดยเว็บแอป น.ส. อนัญญา พลายเล็ก พลเิ คชนั สำหรับจดั การฐานขอo มลู น.ส. นฤมล ชนิ ธนไพศาล 8 การปรบั ปรุงกระบวนการรบั สมคั รนักศกึ ษาใหมช> าวตา> งชาติ ระดับ นางพธุ ทา แกoวศรใี จ บัณฑิตศกึ ษา คณะศลิ ปศาสตร7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลoาธนบรุ ี 2.3 การได้รับรางวลั ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร,มีบุคลากรได0รับรางวัลหรือมีผลงานวิจัยที่ได0รับรางวัลจากสถาบันต:าง ๆ อาทิ 2.3.1 รางวลั Education Leadership Award 2020 วันศุกร,ที่ 10 มกราคม 2563 ผู0ช:วยศาสตราจารย, ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดีคณะศิลปศาสตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรี ได0รับเชิญ จาก World Education Congress ซึ่งเป4นองค,กรในการ พิจารณามอบรางวัลด0านผู0นำทางการศึกษา จากการทำ วิจัยสัมภาษณ,ตัวแทนบุคลากรในแวดวงการศึกษา และ คณะกรรมการพิจารณาผลงานที่ผ:านมา ให0รับรางวัล “Thailand Education Leadership Award 2020 ” 42

ณ ดิ แอทธินี โฮเทล โดยรางวัลดังกล:าวมอบให0แด:บุคคล ที่เป4นผู0นำสถาบันทางการศึกษาที่เป4นแบบอย:างที่ดี มี ความเป4นผู0นำ และมีผลงานการบริหารสถาบันการศึกษา อย:างโดดเดน: ในทวีปเอเชยี 2.3.2 รางวัลบทความนวัตกรรมการ จัดการเรียนการสอนดีเดน่ วันพฤหัสบดีที่ 30 กรกฎาคม 2563 ดร.ก0องกาญจน, วชิรพนัง นายวรรณชร ไชยเดช และนางสาวธีมา เหลือง อรุณ ได0รับรางวัลบทความนวัตกรรมการจัดการเรียนการ สอนดีเด:น จากการนำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง การพัฒนา สมรรถนะด0านการบริหารจัดการผ:านการเรียนรู0 โดยใช0 กระบวนการโค0ชร:วมกับการเรียนรู0โดยใช0โครงงานเป4น ฐาน ในการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 15 ประจำปi 2563 เรื่อง \"การพัฒนาระบบและกลไกอุดมศึกษาไทยในยุค พลิกผัน\" ณ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร, วิจยั และนวัตกรรม กรงุ เทพฯ 2.3.3 รางวลั การนําเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) กลุ่มมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ วันศุกร,ที่ 7 สิงหาคม 2563 นางสาวกุลกานต, สุทธิดารา นางสาวอาทิตยา บินฮาซัน และนางสาว ปาริฉัตร เมืองประแก0ว ได0รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอผลงานแบบบรรยาย (Oral Presentation) กลุ:มมนุษยศาสตร,และสังคมศาสตร, เรื่อง “การพัฒนา รูปแบบงานแปลข:าวสารภาษาอังกฤษ โดยประยุกต,ใช0 เว็บไซต,รวบรวมข:าวประชาสัมพันธ,” ในการประชุม วิชาการวิจัยระดับชาติ สำหรับบุคลากรสายสนับสนุนใน สถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 12 “ธรรมรักษาวิชาการ : สังคมปริวรรต พิพัฒน,อนาคต ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล0าธนบุรี กรุงเทพฯ 43

2.3.4 รางวัล Status of Fellow (FHEA) Achievement วันจันทร,ที่ 5 ตุลาคม 2563 ดร.สมพธู หวังทอง อาจารย,สายวิชาภาษา ได0รับการรับรองคุณภาพด0านการเรียน การสอนตามกรอบมาตรฐานอาจารย,มืออาชีพจากประเทศ อังกฤษ The UK Professional Standards Framework (UK PSF) ในระดบั Fellow จากสถาบนั Advance HE (Date of Fellowship: 05/10/2020) 2.3.5 รางวลั Status of Senior Fellow (SFHEA) Achievement วันพุธที่ 21 ตุลาคม 2563 อาจารย,ปาณเลิศ ศิริวงศ, หัวหน0าสำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป (Date of Fellowship: 21/10/2020)วันจันทร,ที่ 2 6 ต ุล าค ม 2 5 6 3 ผ ู0ช:วย ศาสตราจารย, ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ คณบดีคณะศิลปศาสตร, (Date of Fellowship: 26/10/2020) และวันจันทร,ที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ผู0ช:วยศาสตราจารย, ดร.ภาสนันทน, อัศวรักษ, (Date of Fellowship: 16/11/2020) อาจารย,สาย วิชาสังคมศาสตร,ฯ ได0รับการรับรองคุณภาพด0านการเรียนการ สอนตามกรอบมาตรฐานอาจารย,มืออาชีพจากประเทศอังกฤษ The UK Professional Standards Framework (UK PSF) ในระดบั Senior Fellow จากสถาบัน Advance HE 44

2.3.6 รางวัลนักวจิ ยั ดาวรงุ่ มจธ. วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 รองศาสตราจารย, ดร.ป[ยะพงษ, จันทร,ใหม:มูล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล0าธนบุรี ได0รับรางวัล “รางวัลนักวิจัยดาวรุ:ง มจธ.: รางวัลด0านวิชาการ เน0นคุณค:าเชิงนโยบาย” ครั้งที่ 9 ประจำปi 2563 2.4 กิจกรรมส่งเสรมิ การผลติ งานวิจยั ในปiงบประมาณ 2563 คณะศิลปศาสตร, ได0จัดกิจกรรมหลายโครงการเพื่อพัฒนาความเข0มแข็งด0านการวิจัย ไดแ0 ก: 2.4.1 การอบรมเชิงปฏบิ ัติการเรือ่ ง “Corpus Tools” วันจันทร,ที่ 3 กุมภาพันธ, 2563 กลุ:มงานวิจัย การวัดและประเมินผล คณะศิลปศาสตร, จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “Corpus Tools” ณ ห0อง SoLA 907 ชั้น 9 คณะศิลปศาสตร, มจธ. โดย ผศ.ดร.ปnญจพร พจนปnญญา นักวิจัย ให0เกียรติเปน4 วทิ ยากร โดยมีวตั ถปุ ระสงค,เพื่อให0บุคลากรและนักศึกษาคณะศิลปศาสตร,ได0รู0จกั และทดลองใชโ0 ปรแกรม และเว็บไซต,ที่มีประโยชน,ในการวิเคราะห,ข0อมูลภาษาอังกฤษและภาษาไทย เช:น AntConc, KeyBNC, LexTo และ เว็บไซต, https://www.english-corpora.org/ ซึ่งสามารถนำไปใช0ประโยชน,ในงานวิจัยที่ต0องวิเคราะห,ชุดข0อมูล เช:น คำตอบที่ได0จากข0อคำถามปลายเป[ดในแบบสอบถามจำนวนมาก และคลังข0อมูลขนาดใหญ: โดยมีบุคลากรและ นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก คณะศลิ ปศาสตร,เข0ารว: มการอบรมจำนวนท้งั ส้นิ 15 คน 45

2.4.2 การจัดการเสวนาออนไลน์ผ่าน 2.4.3..การจั ดการอบรมเชิ ง ระบบ Zoom “Research into SoLA ปฏิบัติการ “Efficiency in Online Online Teaching” Teaching” วันจันทร,ที่ 20 เมษายน 2563 กลุ:มงานวิจัย การวัด วันจันทร,ที่ 15 มิถุนายน 2563 กลุ:มงานวิจัย และประเมินผล คณะศิลปศาสตร, นำโดย Assoc. Prof. การวัดและประเมินผล คณะศิลปศาสตร, นำโดย Dr. Richard Watson Todd ได0จดั การเสวนาออนไลน, Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd ผ:านระบบ Zoom เรื่อง “Research into SoLA Online รองคณบดีฝpายวิจัย ได0จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ Teaching” โดยมีเป‹าหมายเพื่อส:งเสริมการพัฒนางาน เรื่อง “Efficiency in Online Teaching” โดยมี วิจัยด0านการจัดการเรียนการสอนผ:านระบบออนไลน, เป‹าหมายเพื่อให0บุคลากรที่จัดการเรียนการสอน สืบเนื่องมาจากสถานการณ, (การแพร:ระบาดของโรค ผ:านระบบออนไลน,ในภาคการศึกษาที่ผ:านมา COVID-19) ในประเทศไทยและทั่วโลก ได0ส:งผลต:อการ (ภาคการศึกษา 2/2562) ได0มีโอกาสแลกเปลี่ยน จัดการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาทุกแห:ง คณะ ประสบการณ,ระหว:างกัน โดยเฉพาะอย:างยิ่งประเด็น ศิลปศาสตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล0าธนบุรี ปnญหาที่พบและวิธีการแก0ไขที่นำไปใช0ในการจัดการ ได0ปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนมาเป4นแบบ เรียนการสอน ซึ่งคณะผู0จัดหวังว:าอาจารย,ผู0สอนแต: ออนไลน,ครั้งแรก โดยเฉพาะอย:างยิ่งในครึ่งหลังของภาค ละหน:วยงานจะได0เรียนรู0ปnญหาและวิธีแก0ไขปnญหา การศึกษา 2/2562 ระหวา: งกนั จนเกิดการนำไปประยกุ ตใ, ชใ0 นการจัดการ ด0วยเหตุนี้เพื่อเป4นการหาแนวทางการพัฒนาการ เรียนการสอนแบบออนไลน,ในภาคการศึกษาต:อไปให0 เรียนการสอนผ:านระบบออนไลน,ให0มีประสิทธิภาพมาก มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดการพัฒนา ขึ้น กลุ:มงานวิจัยฯ คณะศิลปศาสตร, จึงส:งเสริมให0 งานวิจัยที่เกี่ยวข0อง ซึ่งในการอบรมครั้งนี้ได0มีการ บุคลากรสายวิชาการของคณะฯ พัฒนางานวิจัยใน แลกเปลี่ยนเรียนรู0ประเด็นต:อไปนี้ คือ Providing หัวข0อที่เกี่ยวข0องกับการเรียนการสอนแบบออนไลน, เช:น stimulating activities, Getting students to Teacher choices, Student reactions, Problems interact และ Giving feedback and solutions, Student participation, Teacher- student interaction, และ Large-scale studies related to online teaching เป4นต0น ทั้งนี้หัวข0อวิจัยแต: ละหัวข0อได0กำหนดให0มีอาจารย,ที่เชี่ยวชาญทำหน0าที่ให0 คำปรึกษา นอกจากนี้ยังส:งเสริมให0เผยแพร:งานวิจัยใน วารสารวิชาการระดับนานาชาติอีกด0วย 46

2.5 การใหบ้ ริการวิชาการ 2.5.1.2 โครงการฝƒกอบรมภาษาอังกฤษสำหรับ คณะศิลปศาสตร,ดำเนินการตามพันธกิจของคณะฯ นักเรียนโรงเรียนมัธยมพระราชทานนายาว ที่มุ:งเน0นการสร0างผลงานวิชาการที่มีคุณภาพระดับสากล ประจำป] 2563 ณ โรงเรียนมัธยมพระราชทาน และให0บริการวิชาการอย:างมืออาชีพเพื่อสร0างชื่อเสียง ให0แก:คณะฯ โดยผ:านโครงการหรือกิจกรรมที่ตอบสนอง นายาว อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชงิ เทรา ความต0องการของชุมชน เพื่อเผยแพร:องค,ความรู0ของ วันศุกร,ที่ 7 ถึงวันอาทิตย,ที่ 9 กุมภาพันธ, 2563 คณะฯ และบูรณาการการให0บริการทางวิชาการแก:สังคม เขา0 กบั การเรียนการสอน และการทำวจิ ยั สายวิชาภาษา คณะศิลปศาสตร, ได0จัดโครงการ ฝcกอบรมภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียน โรงเรียนมัธยม 2.5.1 การให้บริการวชิ าการแกห่ น่วยงาน พระราชทานนายาว ประจำปi 2563 ณ โรงเรียนมัธยม 2.5.1.1 โครงการ “SoLA สรRางสุข” ณ โรงเรียน พระราชทานนายาว อำเภอสนามชัยเขต จังหวัด บาR นแมFประจัน ฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงค,เพื่อมุ:งผลิตบัณฑิตที่มี วันพุธที่ 25 ถึงวันศุกร,ที่ 27 ธันวาคม 2562 งาน บริการสังคมและชุมชน คณะศิลปศาสตร,ได0จัดโครงการ ความรู0ความชำนาญในด0านการเรียน การสอน “SoLA สร0างสุข” ขึ้น ณ โรงเรียนบ0านแม:ประจัน ตำบล ภาษาอังกฤษ เข0าถึงจริยธรรมของครูและประยุกต,ใช0 ยางหัก อำเภอปากท:อ จังหวัดราชบุรี ให0แก:นักเรียน ประถมศึกษา จำนวน 25 คน โดยมี วัตถุประสงค,เพื่อ ความรู0ที่ได0เรียน ในรายวิชาด0านการสอนเน0นวิธีการ สร0างบรรยากาศการเรียนรู0 จากการปรับปรุงห0องเรียน เรียนการสอนที่มีผู0เรียนเป4นศูนย,กลาง ตลอดจนเพื่อ และเสริมสร0างศักยภาพของนักเรียนผ:านฐานการเรียนรู0 ต:าง ๆ ได0แก: ฐานการเรียนรู0ด0านสุขภาพและพลานามัย, ยกระดับความสามารถในการใช0ภาษาอังกฤษ ฐานการเรียนรู0ด0านวิทยาศาสตร,, ฐานการเรียนรู0ด0าน ทำให0ผู0เข0ารับการอบรมมีแนวทางในการจัดค:าย ภาษาไทย และฐานการเรียนรู0 internet แสนสนุก นอกจากนี้กิจกรรมดังกล:าวยังเป4นการส:งเสริมด0านการ ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาภาษาอังกฤษนักเรียนของ บำเพ็ญประโยชน, การปลูกฝnงจิตอาสาให0แก:บุคลากรของ ตนเอง ในการเข0าร:วมกิจกรรมครั้งนี้ ผู0เข0าร:วมจะได0 คณะฯ อีกทั้งฝcกการทำงานร:วมกัน และสร0างสัมพันธ,อันดี ระหว:างบุคลากรกับชุมชน และได0มอบเงินที่ได0รับจากการ เรียนรู0ทั้งทักษะทางภาษา และได0เรียนรู0ความแตกต:าง บริจาคเพื่อเป4นทุนการศึกษาให0แก:ทางโรงเรียน จำนวน 8,900 บาท อกี ดว0 ย ทางวัฒนธรรมที่มีผลต:อการใช0ภาษาอังกฤษเพื่อ พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษต:อไป การอบรมครั้งนี้ได0รับความร:วมมือและความสนใจจาก ผเ0ู ข0าอบรม จำนวน 96 คน เปน4 อย:างดี 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook