Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9-สุนันทา พังสาลี-ปวช1-3

9-สุนันทา พังสาลี-ปวช1-3

Published by Sunantha Pangsalee Mo, 2021-07-09 06:04:53

Description: 9-สุนันทา พังสาลี-ปวช1-3

Search

Read the Text Version

9-สุนนั ทา พงั สาลี-ปวช1-3 หน่วยที่ 7 จริยธรรมกบั ความรับผดิ ชอบ และผลกระทบในการใช้คอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ในงานอาชีพ เน่ืองจากสังคมเทคโนโลยสี ารสนเทศ (IT : Information Technology) และระบบสารสนเทศ (IS : Information System) ในโลกยุคปัจจบุ นั เริ่มเขา้ มามีบทบาทเป็นอย่างมากในการดาเนินชีวิตของมนุษข์ โดยเฉพาะในเชิงธุรกจิ ไม่วา่ จะเป็นเร่ืองการเงนิ การลงทุน และการคา้ ระหว่างประเทศ ตลอดจนการศกึ ษา และการบริการต่างๆ กต็ าม สิ่งเหล่าน้ีลว้ นแลว้ แตอ่ าศยั เทคโนโลยีสารสนเทศในการอานวยความสะดวก แทบท้งั ส้ิน เพระสามารถประหยดั เวลาประหขดั ตนั ทุน มคี วามรวดเร็ว และสามารถเช่ือมนั่ ในความถกู ตอ้ ง แม่นยาของขอ้ มลู ไดเ้ ป็นอยา่ งดี หลายองคก์ รไดย้ อมรับและใชเ้ ป็นมาตรฐานในการช้ีถึงความน่าเชื่อถือ โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้ เชน่ สหรฐั อเมริกา องั กฤย กลุม่ ประเทศในแถบยโุ รป อย่างไรก็ดี ความเหลอื มล้ากนั ทางเทคโนโลยไี มว่ ่าจะดว้ ยปจั จยั ใดกต็ าม ทาใหเ้ กดิ ชอ่ งว่าง ระหวา่ งการรบั รู้และการเขา้ ถงึ ขา่ วสารของผมู้ ขี ่าวสารและผูไ้ ร้ขา่ วสาร หรือท่ีเรียกกนั ว่า“Digital Devide” ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั ของโอกาสในการเขา้ ถงึ เทคโนโลยีเหล่าน้ีส่งผลถึงการละเมิดสิทธิตา่ ง ๆ มากมาย อาจจะดว้ ยความต้งั ใจหรือไม่ต้งั ใจทจี่ ะทาก็ตาม สิ่งหน่ึงท่ตี อ้ งทาควบคู่กนั ไปกบั การแกป้ ัญหา คือการ ป้องกนั โดยการเสริมสร้างจริยธรมในการใชค้ อมพิวเตอร์ส่งเสริมให้ทุกคนไดเ้ รียนรูแ้ ละเหน็ คณุ ค่าของ ปัญหาท่จี ะเกดิ ข้นึ ท้งั โดยคนเองและส่วนรวม

ความหมายของจริยธรรม (Ethics) จริยธรรม จากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง ธรรมทเ่ี ป็น ขอ้ ประพฤติปฏิบตั ิ ศลี ธรรม และกฎศีลธรรม จากการสัมมนาของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ ไดส้ รุปนิยามไวว้ ่า จริยธรรม คือ แนวทางประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนเพอื่ การบรรดูถงึ สภาพชีวติ อนั ทรงคณุ ค่า พึงประสงคโ์ ดยทวั่ ไป จริยธรรมมกั อิงอยกู่ บั ศาสนา ท้งั น้ี เพราะคาสอนทางศาสนามีส่วนระบบจริยธรมใหส้ ังคม แต่ท้งั น้ีไม่ได้ หมายความว่าจริยธรรมองิ อยกู่ บั หลกั คาสอนทางศาสนาเพียงอย่างเดียว แทท้ จ่ี ริงจริยธรรมหยง่ั รากอยู่บน วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และดยนยั น้ี บางทานรียกหลกั แห่งความประพฤติฮนั เนื่องมาจากคา สอนทางศาสนาวา่ ศีลธรรม และเรียกหลกั แห่งความประพฤตอิ นั พฒั นามาจากแหลง่ อื่นวา่ จริยธรรม คาว่า Ethics ในภาษาองั กฤษ มี 2 ความหมาย ดงั น้ี ความหมายแรกคอื จริยธรรม (Ehics) หมายถงึ ประมวลกฎหมายที่กลมุ่ ชน หรือสังคมหน่ึง ๆ ขอมรบั เป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพอ่ื แยกแยะให้เหน็ ว่าอะไรควรหรือ ไปกนั ไดก้ บั การบรรถวตั ถปุ ระสงคข์ องกลุ่ม Ethics ท่ใี ชใ้ นความหมายน้ีเป็นอนั เดียวกบั จริยธรรม เช่น Medical Ethics (จริยธรรมทางการแพทย)์ ซ่ึงตรงกบั ความหมายของ Medical Ethics ในภาษาองั กฤษวา่ The rules or principles governing the professional conduct of Medical practitioners. - ความหมายท่ีสองของ Ethics เป็นความหมายทใ่ี ชใ้ นภาษานกั ปรัชญา และ Ethics ในความหมาน้ีแปลเป็นไทยวา่ จริยศาสตร์ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ไดใ้ หค้ วามหมายของจริยศาสตร์ไวว้ า่ ปรัชญาสาขาหน่ึงว่าดว้ ยการแสวงหาความดีสูงสุดของ ชีวิตมนุษข์ แสวงหาเกณฑใ์ นการตดั สินความประพฤตขิ องมนุษขว์ ่า อะไรถูก อะไรผิด หรือ อะไรควร อะไรไม่ควร

คาวา่ จริยธรรม อาจมผี ูร้ ูใ้ ห้คาอธิบายแตกตา่ งกนั ออกไปตามสาขาวิชา แตโ่ ดย สรุปแลว้ จริยธรรมก็คอื กฎเกณฑค์ วามประพฤตขิ องมนุษยซ์ ่ึงเกิดข้นึ จากธรรมชาตขิ องมนุษยเ์ อง ไดแ้ ก่ ความเป็นผมู้ ปี ัญญาและเหตุผลหรือปรีชาญาณ ทาใหม้ นุษยม์ ีมโนธรรมและรู้จกั ไตร่ตรอง แยกแยะความดี-ความชวั่ , ถกู -ผิด, ควร-ไมค่ วร เป็นการควบคุมตวั เองและเป็นการควบคมุ กนั เอง ในกลมุ่ หรือเป็นศลี ธรรมเฉพาะกล่มุ ความหมายของจรรยาบรรณ (Code of Conduct) จรรยาบรรณ จากพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถงึ ประมวล ความประพฤติทผ่ี ปู้ ระกอบอาชีพการงานแตล่ ะอยา่ งกาหนดข้ึนเพอ่ื รกั ษาและส่งเสริมเกยี รติคณุ ชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือไมก่ ไ็ ด้ เชน่ จรรยาบรรณ แห่งวชิ าชีพ (Professional Code of Conduct) ความหมายของศีลธรรม ( Moral) ศีลธรรม เป็นศพั ทพ์ ระพุทธศาสนา หมายถงึ ความประพฤตทิ ่ีดี ทชี่ อบ หรือธรรม ในระดบั ศลี คาว่า ศีลธรรม ถา้ พิจารณาจากรากศพั ทภ์ าษาละดนิ Moralis หมายถงึ หลกั ความประพฤตทิ ีด่ สี าหรับบุคคลพึงปฏิบตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook