Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลาสติกพลิกโลก1

พลาสติกพลิกโลก1

Published by 945sce00478, 2020-04-30 02:44:05

Description: การรู้เกี่ยวกับพลาสติกจะทำให้เราเลือกใช้ตามความจำเป็นและไม่ให้เกิดปัญหากับสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

พลาสติก พลาสตกิ คอื อะไร พลาสติก คือ เป็นสารประกอบอนิ ทรยี ์ทีส่ ังเคราะห์ขึน้ ใชแ้ ทนวสั ดุธรรมชาติ บางชนิดเมือ่ เยน็ กแ็ ขง็ ตวั เมอื่ ถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนดิ แขง็ ตวั ถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใชท้ ำส่ิงต่าง ๆ เชน่ เสอ้ื ผา้ ฟิล์ม ภาชนะ สว่ นประกอบของยานพาหนะ (จาก http://th.wikipedia.org) ในทางเคมี พลาสติก หมายถึง สารประกอบของไฮโดรคาร์บอนทีม่ ีน้ำหนักโมเลกุลสูงประกอบดว้ ย โมเลกุลซ้ำๆ ต่อกันเปน็ โมเลกุลสายยาว ประกอบด้วยธาตสุ ำคัญ 3 ชนิด คือ คาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน นอกจากน้อี าจมีธาตอุ ่นื ๆ ทีถ่ ูกเติมลงไปเพ่ือเพม่ิ คุณสมบัติพิเศษบางประการให้กับวัสดุ ได้แก่ ไนโตรเจน, ฟลูออรนี , คลอรีน และกำมะถัน เป็นต้น (จาก http://www.mtec.or.th National Metal and Materials Technology Center-MTEC ) พลาสตกิ เปน็ สารสังเคราะห์วิทยาศาสตร์ สังเคราะห์มาจากเซลลูโลส (Cellulos) ซ่งึ มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น น้ำมนั ดิบ ยางไม้ เซลลูโลสประกอบด้วยธาตุคารบ์ อน ออกซิเจน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และ คลอรีน นำมา สงั เคราะหโ์ ดยขบวนการ \" โพลเิ มอร์ไรเซช่นั \" กจ็ ะได้พลาสตกิ พลาสตกิ ทำมาจากอะไร จากน้ำมนั ดิบท่เี ราขดุ เจาะขึ้นมา หรอื กา๊ ซธรรมชาติ นำมาเขา้ กระบวนการปิโตรเลียม-กลั่นนำ้ มันดิบ ออกมาเปน็ เอธิลนี (Ethylene) , พรอพพลิ นี (Propylene) เป็นตน้ แล้วเอาผลิตเปน็ HDPE, LLDPE, LDPE โดยจาก 100% ของปริมาณน้ำมนั ที่มาเขา้ กระบวนการจะมีอยู่ 4% เท่านน้ั ทีน่ ำมาผลิตเปน็ พลาสติก HDPE (credit to http://www.bottle2bottle.com/education_zone) วิธที ำพลาสตกิ คือ นำมาผา่ นกระบวนการ crack แล้วทำออกมาเปน็ เม็ด เรยี กว่า Plastic Granules แล้วเอา เข้าเครื่องจักรกลสำหรับฉดี หรอื เปา่ เม็ดพลาสตกิ ออกมาเป็น ฟลิ ม์ นำไปผลิตเปน็ ถุงพลาสตกิ หรอื นำไป molding (เป่า)ฉีดเป็นรูปรา่ งต่างๆ เชน่ ขวดนำ้ ,ถาดสำหรบั ใส่อาหาร,ชนิ้ สว่ นรถยนต์ เป็นตน้ พลาสตกิ เปน็ สารประกอบอนิ ทรียท์ ่ีสงั เคราะหข์ น้ึ ใชแ้ ทนวสั ดธุ รรมชาติบางชนดิ เมือ่ เย็นก็แข็งตัว เม่อื ถกู ความรอ้ นก็ออ่ นตัว บางชนดิ แข็งตวั ถาวร มหี ลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทยี ม ใช้ทำสงิ่ ตา่ ง ๆ เช่น เสอ้ื ผา้ ฟลิ ม์ ภาชนะ ซึง่ เปน็ ส่วนประกอบ ส่วนหน่งึ ของขยะในทะเล พลาสติกเป็นวสั ดทุ ่ีมนษุ ย์คดิ ค้นและประดษิ ฐข์ ึ้นเพอื่ ชว่ ยให้เรามชี วี ิตที่ สะดวกสบายยง่ิ ข้ึน ในอดีตเราไม่เคยรู้จกั พลาสตกิ เลยจนกระท่งั กลางศตวรรษที่ 19 วสั ดุ ด้ังเดิมท่มี นษุ ยค์ ้นเคยและใช้อยทู่ ่ัวไปในชีวติ ประจำวนั ในยคุ กอ่ นหน้านล้ี ว้ นเป็นวสั ดจุ าก ธรรมชาตทิ ้ังสิ้นไมว่ า่ จะเปน็ แก้ว ไม้ กระดาษ โลหะ ยาง หรือ ขนสัตว์ ส่ิงเหลา่ น้ีเคย

เปน็ วัสดทุ ต่ี อบสนองความตอ้ งการของมนุษยไ์ ดเ้ ปน็ อย่างดี อยา่ งไรกต็ ามมนษุ ยย์ งั คง พยายามคน้ หาวสั ดุใหมๆ่ มาใช้งานอยเู่ สมอ พลาสตกิ จดั เปน็ สารประกอบพวกไฮโดรคารบ์ อนที่มนี ำ้ หนักโมเลกลุ สงู ประกอบดว้ ย โมเลกลุ ซ้ำๆ กันต่อกนั เปน็ โมเลกลุ สายยาวๆ ประกอบด้วยธาตุสำคัญ คือ คาร์บอน, ไฮโดรเจน, และออกซเิ จน นอกจากน้อี าจมธี าตอุ ื่นๆเป็นส่วนประกอบยอ่ ย ซ่งึ ได้แก่ ไนโตรเจน, ฟลอู อรีน, คลอรีน, และกำมะถัน เปน็ ตน้ บางครั้งพบว่ามกี ารใชค้ ำว่า \"พลาสตกิ \" และ \"โพลเิ มอร\"์ ในความหมายเดียวกัน หรอื ใกล้เคยี งกนั แตค่ ำว่า \"โพลิเมอร์\" มักหมายถงึ วัสดุประเภทพลาสตกิ ยาง เสน้ ใย และกาว ส่วนคำวา่ \"พลาสตกิ \" จะหมายถงึ สารผสมระหว่างโพลิเมอร์และสารเติมแต่ง เชน่ สี สารพลาสตกิ ไซเซอร์ สารเพมิ่ เสถยี รภาพ และฟลิ เลอร์ ทถี่ ูกนำมาใช้งานเป็น ผลติ ภณั ฑส์ ำเร็จรปู โดยการขน้ึ รูปให้มรี ูปทรงตา่ งๆเชน่ ถัง จาน และชอ้ นเปน็ ตน้ หาก แปลตามรากศพั ทค์ ำวา่ โพลเิ มอร์ หรอื polymer มาจากคำกรกี 2 คำ คือคำว่า poly แปลว่ามาก และคำวา่ mer แปลว่าหนว่ ย โพลเิ มอรจ์ ึงแปลวา่ สารทม่ี โี มเลกลุ ประกอบด้วยหนว่ ยซำ้ ๆกันตอ่ กันเปน็ สายยาวๆ

ประวตั พิ ลาสติก พลาสติกท่ัวไปทเ่ี ราคนุ้ เคยและใชก้ นั อยู่ในปัจจุบนั นี้ไดถ้ กู สงั เคราะห์ขนึ้ ด้วยฝมี อื มนษุ ย์ในชว่ งรอ้ ยกวา่ ปีท่ผี า่ นมาน้ีเองสำหรบั การใช้งานในดา้ นตา่ ง ๆเชน่ บรรจภุ ณั ฑ์ อุปกรณ์ของใช้ และเครอ่ื งมือตา่ งๆ หากเราจะย้อนกลับไปศึกษาประวตั ิการสังเคราะห์ พลาสติกชนิดแรกของโลก คงจะต้องกลับไปเรมิ่ ต้นที่ปี ค.ศ. 1863 เมือ่ บริษทั ผลติ ลกู บลิ เลียดในประเทศสหรฐั อเมริกาได้ประกาศใหร้ างวัล 10,000 เหรียญแก่ผูท้ ่สี ามารถหา วสั ดทุ ดแทนงาชา้ งเพอื่ ใชใ้ นการทำลกู บลิ เลยี ด ซ่ึงในขณะนัน้ เปน็ กฬี าทไี่ ดร้ ับความนยิ ม สงู จึงเปน็ เหตุใหช้ ้างปา่ ในแถบแอฟรกิ าจำนวนมากถูกล่าเพอื่ เอางาจนเกือบสูญพนั ธ์ุ นายจอหน์ เวสลยี ์ ไฮเอตต์ (John Wesley Hyatt) ชา่ งไม้ชาวอเมริกากเ็ ปน็ บุคคลหนึ่งที่ สนใจและพยายามค้นหาวัสดุทสี่ ามารถนำมาใชแ้ ทนงาชา้ ง หลังจากทำการทดลองอยู่ หลายปี คืนหนึง่ เขาได้รบั อุบตั เิ หตุจากของมีคมบาดมือขณะทำการผสมขเี้ ลื่อยกับกาว เขาจึงใส่แผลดว้ ยคอลอเดยี น (colodion) ยาสมานแผลซงึ่ ทำจากไนโตรเซลลโู ลสละลาย อยู่ในอีเธอร์และแอลกอฮอล์ และด้วยความบังเอญิ เขาได้ทำยาหกลงบนพ้ืนโตะ๊ เม่ือ กลบั มาดอู กี คร้ังพบวา่ ยาแหง้ เปน็ แผ่นเหนยี วๆ นายไฮเอตตท์ ำการทดลองตอ่ จนพบว่าหากเตมิ การบรู ลงไปในของผสมอเี ทอร์จะไดว้ สั ดุ ซง่ึ ตอ่ มาเรยี กว่าเซลลลู อยด์ (celluloid) ซ่ึงเปน็ วสั ดุที่มสี มบตั เิ หมาะสมในการนำมาทำ เป็นลูกบิลเลยี ด และผลติ ภณั ฑต์ ่างๆ เนอื่ งจากมีสมบตั ทิ นทานตอ่ นำ้ มนั นำ้ และกรด ใส หรอื ทำใหม้ สี สี ันสวยงามไดง้ า่ ย และมรี าคาถกู นิยมนำมาทำเป็นลูกบลิ เลยี ด และคยี ์ เปยี โนแทนงาช้างหรือทำหวแี ทนกระดองสัตว์ นอกจากนย้ี ังนยิ มนำมาทำเปน็ เครื่องประดับ ปกเสื้อ กระดมุ ของเลน่ เดก็ และฟลิ ม์ ภาพยนตรแ์ ละถา่ ยภาพ จึงถอื วา่ เซลลลู อยด์เป็นพลาสตกิ กง่ึ สังเคราะหช์ นดิ แรกของโลกทเ่ี กิดจากการปรับปรุงโครงสรา้ ง ของเซลลูโลสซึง่ เป็นวสั ดจุ ากธรรมชาติ นบั เปน็ จดุ เริม่ ต้นของอสุ าหกรรมพลาสตกิ แต่ เนื่องจากเซลลลู อยส์ เป็นพลาสติกทต่ี ิดไฟงา่ ยและระเบดิ ได้หากมปี ริมาณหม่ไู นโตร (NO2) สูง จึงไมเ่ ปน็ ท่นี ยิ มในเวลาตอ่ มา ทำให้วสั ดุที่ทำจากเซลลลู อยสห์ าได้ไมง่ ่ายนกั ใน ปจั จบุ ัน แตย่ งั นิยมนำมาทำเปน็ ลูกปิงปอง เซลลูลอยสท์ ีย่ ังมใี หเ้ ห็นกันอยสู่ ว่ นใหญ่จะ เปน็ ของเกา่ ซึ่งเปน็ ทต่ี อ้ งการของนกั สะสม

ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1907 นักเคมชี อื่ นายลโี อ เบคแลนด์ (Leo Baekeland) ไดค้ ้นพบ วิธีการผลติ เบคเคอไลต์ (Bekelite) ซงึ่ ไดช้ ือ่ วา่ เป็นพลาสตกิ สังเคราะหช์ นิดแรกของโลก ขึ้นเป็นครัง้ แรกจากสารอนิ ทรยี โ์ มเลกลุ เล็กๆ ซงึ่ เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหวา่ งฟอรม์ ลั ดไี ฮดแ์ ละฟนี อล เบคเคอไลต์ เป็นพลาสติกแขง็ ทนความรอ้ นได้ดี และสามารถขึน้ รูปให้ มีรูปรา่ งต่างๆ ได้ตามแมพ่ ิมพ์โดยใชค้ วามรอ้ น ทำใหม้ ีสีสันสวยงามไดแ้ ละมรี าคาไมแ่ พง ในช่วงแรกเบเคอไลต์ถกู นำมาทำเป็นฉนวนเคลือบสายไฟและช้นิ ส่วนเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ตอ่ มาใช้ผลติ เป็นผลิตภณั ฑใ์ นครวั เรอื น ของใช้ และเครอื่ งประดับต่าง ๆ มากมายทมี่ ี สสี ันสวยงาม และราคาไม่แพง และกลายเป็นวสั ดุที่ไดช้ ่อื ว่าถกู นำมาใชง้ านในดา้ นตา่ งๆ นบั พันอย่าง \"the material of a thousand uses\" ในช่วงทศวรรษท่ี 30-40 จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1942 ซงึ่ เปน็ ช่วงที่เกิดสงครามโลกคร้งั ที่ 2 เบเคอไลต์ถูกนำมาผลติ เป็นโทรศัพท์ แว่นตาสำหรับนกั บนิ และดา้ มอาวุธต่าง ๆ จาก ผลิตภณั ฑท์ ม่ี สี ีสันต่าง ๆ ทีเ่ คยมมี ากมายกลบั กลายเป็นสีดำ จนกระทงั่ สงครามส้นิ สุด ลง เทคโนโลยีการฉีดขนึ้ รูปพลาสติก (injection mold) ไดถ้ กู พฒั นาขนึ้ และพลาสตกิ ชนิดใหม่ ๆ เชน่ ไนลอน (nylon) ไวนลิ (vinyl) หรืออะครลิ กิ (acrylic) ไดถ้ ือกำเนดิ ขึน้ จากการค้นควา้ วิจยั ของนักวิทยาศาสตร์ จึงมกี ารใชเ้ บเคอไลตน์ อ้ ยลงอย่างมาก อย่างไร ก็ตามปัจจุบันยงั คงมกี ารใชเ้ บเคอไลตเ์ ปน็ สารเคลอื บผิว และผลิตช้ินสว่ นอปุ กรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ทม่ี คี ณุ ภาพและทนทานต่อความรอ้ นเป็นพิเศษ เครอ่ื งใชแ้ ละอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทีท่ ำจากเบเคอไลตใ์ นอดีตไดก้ ลบั กลายมาเปน็ ของเก่าท่เี ปน็ ท่ตี อ้ งการของนักสะสมในปจั จุบนั ทำให้มีการทำของลอกเลยี นแบบโดยใชเ้ รซนิ หรือพลา

สตกิ ชนิดอน่ื เชน่ อะครลิ กิ การเลอื กซ้อื เบเคอไลตท์ ี่เปน็ ของเกา่ แท้ ๆ ตอ้ งทดสอบโดยผู้ ชำนาญ วธิ กี ารท่ดี ีทสี่ ดุ ในการตรวจสอบ คอื แชใ่ นน้ำอนุ่ ถา้ เป็นเบเคอไลต์แทจ้ ะมีกล่ิน คล้ายสารเคมี (ฟอรม์ ลั ดไี ฮด์) หากเป็นเซลลลู อยสจ์ ะมกี ล่ินเหมอื น วกิ ส์วาโปรบั (การบูร) แตข่ องลอกเลยี นแบบจะไม่มีกลิ่นใด ๆ พลาสติกแบง่ ตามลักษณะของการถูกความร้อนได้ 2 ประเภท คอื 1. เทอร์โมพลาสตกิ (Therinoplastic) เปน็ ชนดิ ท่ีถูกความร้อนแลว้ จะหลอมตัว กลายเปน็ ของเหลวได้ พลาสติกชนดิ น้ี มีโครงสรา้ งเปน็ สายยาง ทำใหท้ นต่อแรงดึงได้สงู เช่น 1.1 โพลธิ ีน (Polythene) เป็นพลาสตกิ อ่อน สขี าวขนุ่ อ่อนตวั ไดร้ าคาไมแ่ พง ใชใ้ นทอ้ งตลาดมาก ทสี่ ดุ เปน็ ฉนวนไฟฟา้ นำ้ หนักเบาทำจากกา๊ ซเอธลิ ีน เชน่ ถุงบรรจุอาหาร ตุ๊กตาเดก็ เล่น ฟิล์ม ถาดทำนำ้ แข็ง เป็นตน้ 1.2 โพลิไวนลี คลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) หรอื P.V.C. ทำจากอะเซทีลีน กบั กรดเกลือ โดย ขบวนการโพลเี มอไรเซชัน่ คุณสมบตั ิพเิ ศษ คือ สามารถเป่าดว้ ยลมร้อน ให้ติดกันได้ทนตอ่ กรด แอลกอฮอล์ และพวกอลั คาไล P.V.C. มที ั้งแขง็ และอ่อน ใชท้ ำฉนวนห้มุ สายไฟ เสอ้ื กนั ฝน กระเบ้อื งยาง เบาะเกา้ อี้ ข้อเสยี ของ P.V.C. คอื ไม่ทนต่อความรอ้ น และแสงแดด 1.3 โพลสิ ไตลีน (Polysthylene) เป็นพลาสติกมีความใสเหมือนแก้ว ไมม่ สี ีและสามารถย้อมสไี ด้ เปราะมีคุณสมบัติทน กรด ด่าง และเกลือ ละลายได้ดใี นเบนซิน และตัวทำละลายพวกออแกนนิค ผิวเป็นรอย ขดี ขว่ นได้ง่าย ใช้ทำโฟม ไมบ้ รรทัด แปรงสฟี ัน เป็นตน้ 1.4 โพลิโปรไบลนี (Polypropylene) ทำจากก๊าซโปรเทน ใช้ทำถุงพลาสติกรอ้ น เชอื กมดั ของ กลอ่ งแบตเตอร่ี 1.5 ไนลอ่ น (Nylon) เป็นโพลเิ มอร์ที่สมบรูณ์แบบที่สดุ ทนต่อด่าง กรด อนิ ทรีย์และสารละลาย อนิ ทรียไ์ ดด้ ี แต่ไม่ทนต่อกรดแสงแดด และความรอ้ น ใช้ทำผ้ารม่ ผา้ ชนดิ ต่างๆ โดยผสมกบั ฝ้าย อวน ใบเรอื เชอื ก เปน็ ตน้ ชนดิ ของพลาสติกใน ตระกลู เทอรโ์ มพลาสติก ได้แก่ • พอลเิ อทิลีน (Polyethylene: PE) เปน็ พลาสติกท่ีไอนำ้ ซึมผ่านไดเ้ ลก็ น้อย แต่อากาศผ่านเขา้ ออกได้ มี ลักษณะขุน่ และทนความร้อนได้พอควร เป็นพลาสติกท่ีนำมาใช้มากท่ีสดุ ในอุตสาหกรรม เช่น ทอ่ นำ้ ถัง ถุง ขวด แท่นรองรับสนิ ค้า • พอลโิ พรพิลีน (Polypropylene: PP) เป็นพลาสตกิ ทไี่ อน้ำซึมผ่านไดเ้ ล็กน้อย แขง็ กว่าพอลเิ อทิลีนทน ตอ่ สารไขมนั และความร้อนสงู ใช้ทำแผ่นพลาสตถิ ุงพลาสติกบรรจุอาหารทท่ี นร้อน หลอดดดู พลาสติก เปน็ ตน้ • พอลสิ ไตรีน (Polystyrene: PS) มีลกั ษณะโปรง่ ใส เปราะ ทนต่อกรดและด่าง ไอน้ำและอากาศซึมผา่ น ได้พอควร ใชท้ ำช้นิ สว่ นอปุ กรณไ์ ฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ เครอ่ื งใช้สำนกั งาน เป็นต้น

• SAN (styrene-acrylonitrile) เป็นพลาสตกิ โปร่งใส ใชผ้ ลิตชิน้ ส่วน เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ชน้ิ ส่วนยานยนต์ เปน็ ตน้ • ABS (acrylonitrile-butadiene-styrene) สมบตั คิ ลา้ ยพอลสิ ไตรนี แต่ทนสารเคมีดกี ว่า เหนยี วกว่า โปรง่ แสง ใชผ้ ลิตถ้วย ถาด เปน็ ตน้ • พอลิไวนลิ คลอไรด์ (Polyvinylchloride: PVC) ไอนำ้ และอากาศซึมผา่ นได้พอควร และป้องกันไขมนั ได้ ดมี ลี กั ษณะใส ใชท้ ำขวดบรรจุนำ้ มันและไขมนั ปรงุ อาหาร ขวดบรรจเุ ครอ่ื งด่ืมที่มแี อลกอฮอล์ เชน่ ไวน์ เบียร์ ใช้ทำแผ่นพลาสตกิ ห่อเนยแข็ง ทำแผน่ แลมิเนตชัน้ ในของถงุ พลาสติก • ไนลอน (Nylon) เปน็ พลาสติกทมี่ ีความเหนยี วมาก คงทนต่อการเพมิ่ อุณหภูมิ ทำแผน่ แลมเิ นตสำหรับ ทำถุงพลาสติกบรรจุอาหารแบบสญุ ญากาศ • พอลเิ อทลิ ีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate: PET) เหนียวมากโปร่งใส ราคาแพง ใชท้ าแผน่ ฟิลม์ บาง ๆ บรรจอุ าหาร • พอลคิ าร์บอเนต (Polycarbonate: PC) มีลกั ษณะโปร่งใส แขง็ ทนแรงยึดและแรงกระแทกไดด้ ี ทนความร้อนสูง ทนกรด แต่ไมท่ นดา่ ง เป็น รอยหรือคราบอาหาร จบั ยาก ใชท้ าถว้ ย จาน ชาม ขวดนมเดก็ และขวดบรรจุอาหารเดก็ 2. เทอรโ์ มเซตตงิ (Thermosetting Plastic) เป็นพลาสตกิ ทถี่ กู ความรอ้ นแล้วไม่ ออ่ นตวั ได้แก่ 2.1 ฟโี นล - เฟอร์มาดีไฮน์ เรซิน (Phenolformaldehyde resin) รจู้ กั กนั ดีในนามเบเคไลท์ (Bekelite) เกิดจากปฏิกิรยิ าระหว่าง Phonol กับ formoldehyde ทำให้แห้งโดยใชค้ วามรอ้ นคุณสมบัติ คือ แข็งทนต่อความร้อนใช้ทำฉนวนไฟฟ้า ตู้ วทิ ยุ อปุ กรณไ์ ฟฟ้าอน่ื ๆ 2.2 ยเู รีย - ฟอรม์ าดีไฮด์เรซิน (Urea Formaldyhile Resin) เปน็ ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ ง formaldyhile กบั Urea เป็นพลาสติกท่ีแตกง่ายมีสขี าวใส สามารถย้อมเป็นสีตา่ งๆ ได้ ไมท่ นต่อกรด ดา่ ง และแรงกระแทก ใช้ทำกาวไม้อัด ทำป่มุ จบั ดา้ มเครือ่ งมอื เปน็ ต้น 2.3 เมลามนี - ฟอร์มาดไี ฮด์ เรซนิ (Malamin Formaldyhile Resin) เป็นปฏกิ ริ ิยาระหวา่ ง formaldyhide กบั Malamine ทนตอ่ ความร้อนได้ถึง 250 ํ C ทนตอ่ สารละลาย และแรงกระแทก และรอยขดี ขว่ นตา่ งๆ ส่วนใหญใ่ ช้ทา พลาสตกิ อยา่ งดีราคาแพง ฉนวนไฟฟา้ เป็นต้น เมลามนี ฟอร์มาลดีไฮด์ (melamine formaldehyde,MF) มสี มบัตทิ างเคมีทนแรงดนั ได้ 7,000- 135,000 ปอนดต์ อ่ ตารางนิว้ ทนแรงอัดได้ 25,000-50,000 ปอนดต์ ่อตารางน้ิว ทนแรงกระแทก ได้ 0.25-0.35 ทนทานตอ่ การเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิ ทนความร้อนสงู ได้ถึง 140 องศาเซลเซียส มี ความแข็งแกร่งมาก ตา้ นทานการขีดข่วนได้ดี และทนปฏิกิรยิ าเคมีไดด้ ี เกิดคราบและรอยเปอ้ื น ยาก นิยมนำมาผลติ เป็นภาชนะพลาสตกิ บรรจุอาหารหลายชนิด และนยิ มใชก้ ันมาก มที ง้ั ทเี่ ปน็ สี เรยี บและลวดลายสวยงาม ข้อเสียคือ น้ำส้มสายชจู ะซึมเข้าเนื้อพลาสติกได้งา่ ย ทำใหเ้ กิดรอยดา่ ง แต่ไมม่ พี ิษภยั เพราะไมม่ ีปฏกิ ริ ยิ ากบั พลาสติก

ฟนี อลฟอร์มาดไี ฮต์ (phenol-formaldehyde,PE) หรอื เรยี กสนั้ ๆวา่ เบกคไิ ลต์ (Bakelite)มี ลักษณะแขง็ มาก ไม่ยดื หย่นุ ทนความรอ้ น ได้ถึง 200 องศาเซลเซียส นยิ มนำมาผลติ เป็นด้ามจบั มือ หูหม้อ กระทะ ฝาจุกขวด ปเุ่ ปน็ ต้น อพี อ็ กซี (epoxy) ใชเ้ คลือบผวิ ของอปุ กรณภ์ ายในบ้านเรือน และทอ่ เก็บกา๊ ซ ใชใ้ นการเชอ่ื ม ส่วนประกอบโลหะ แก้ว และเซรามิก ใชใ้ นการหล่ออปุ กรณ์ทที่ ำจากโลหะและเคลือบผวิ อปุ กรณ์ ใช้ใสใ่ นส่วนประกอบของอุปกรณ์ไฟฟา้ เสน้ ใยของทอ่ และท่อความดนั ใชเ้ คลือบผิวของพน้ื และ ผนัง ใชเ้ ปน็ วสั ดุของแผ่นกำบังนวิ ตรอน ซีเมนต์ และปูนขาว ใช้เคลือบผวิ ถนน เพ่ือกนั ลื่น ใช้ ทำโฟมแขง็ ใช้เปน็ สารในการทำสีของแกว้ พอลิเอสเตอร์ (polyester) เปน็ พลาสติกท่ีมีลักษณะเนเส้นใย ท่คี ิดคน้ เพอ่ื นำมาใชแ้ ทนวัสดจุ าก ธรรมชาติ มขี อ้ ดใี นหลายๆดา้ น ทำให้นยิ มนำมาใช้เปน็ วตั ถุดิบในการผลิต เครื่องนงุ่ หม่ กระเป๋า และของใชต้ ่างๆ ยรู ีเทน (urethane) ชือ่ เรียกทัว่ ไปของเอทิลคารบ์ าเมต มสี ูตรทางเคมีคอื NH2COOC2H5 พอลิยรู ีเทน (polyurethane, PU) พอลิเมอรป์ ระกอบด้วยหม่ยู รู เี ทน (–NH•CO•O-) เป็นวัสดทุ ีม่ ี จุดเดน่ ในด้านความเหนียวและแขง็ แรง มกั นำมาเป็นสว่ นประกอบในของตา่ งๆ เชน่ พนื้ รองเทา้ ผา้ ใบ วัสดเุ คลือบผวิ ต่างๆ เช่น โซฟา ผวิ ลกู ฟตุ บอล พลาสตกิ ตามหมายเลขกำกบั เราสามารถแบง่ พลาสตกิ ตามหมายเลขกำกับ ดังนี้ – โพลีเอทลิ ีน เทเรฟทาเลต (PET) พลาสตกิ ประเภทนคี้ อื ขวดพลาสตกิ ใสๆ มองทะลไุ ด้ เช่น ขวดน้ำเปลา่ ขวดนำ้ อดั ลม ขวดนำ้ มันพชื และขวดเครอื่ งปรุงอาหาร ให้เราจำ สญั ลักษณ์ เบอร์ 1 และ PET

– โพลีเอทลิ ีนความหนาแนน่ สูง (HDPE) บรรจุภัณฑ์พลาสตกิ สขี าวและสอี ่นื ทเ่ี ปน็ สที บึ (ให้นกึ ถึงพวกขวดนมสขี นุ่ ๆ) ขวดชนิดนจี้ ะเหนยี วและทนทานกวา่ PET ยกตวั อย่างเชน่ ขวดนม ขวดแชมพู ขวดน้ำยาปรับผา้ นมุ่ ผลิตภณั ฑ์ซกั ผ้า กระปกุ ยา เปน็ ต้น สามารถ สงั เกตสัญลักษณ์ เบอร์ 2 และ HDPE/HD-PE – โพลไี วนลิ คลอไรด์ (PVC) หรอื ทเ่ี ราเรยี กกนั ติดปากวา่ พีวีซี เปน็ วสั ดทุ เ่ี ปน็ แบบแข็ง หรอื เป็นยาง นอกจากทอ่ พีวซี ที ่ใี ช้เป็นอปุ กรณก์ อ่ สรา้ งแลว้ พวกของเลน่ เดก็ ผา้ ม่าน หอ้ งนำ้ แฟม้ ใส่เอกสาร บตั ร หลอดพลาสตกิ แบบแข็ง ก็ผลิตจากพวี ซี ที งั้ สน้ิ ท้งั นท้ี งั้ น้ัน พลาสตกิ ชนิดน้สี ารประกอบคลอรนี เปน็ องคป์ ระกอบสามารถตกค้างเป็นมลพษิ ตอ่ สุขภาพเราและส่งิ แวดลอ้ มได้ และเปน็ พลาสตกิ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มน้อยทสี่ ุดอีก ดว้ ย ส่วนสญั ลกั ษณ์ของ พีวีซี คอื เบอร์ 3 หรอื PVC/V

– พลาสตกิ เบอร์ 4 พอลเิ อทลิ ีนความหนาแน่นต่ำ หรอื LDPE พลาสตกิ เบอร์ 4 นี้ เปน็ ฟลิ ม์ พลาสติกทีย่ ดื หยนุ่ ได้ เช่น ถุงพลาสตกิ มีหหู ิว้ หลอดพลาสตกิ พลาสตกิ แรปห่อ อาหาร – โพลีโพพลี ีน (PP) พลาสตกิ แข็ง ถกู ใชเ้ ปน็ บรรจภุ ัณฑอ์ าหาร เช่น ถว้ ยโยเกริ ต์ ถว้ ยบะหมีกึง่ สำเร็จรูปแบบแขง็ สญั ลกั ษณข์ องพลาสติกชนิดน้คี อื เบอร์ 5 หรือ PP

– โพลีสไตรนี (PS) สญั ลักษณเ์ บอร์ 6 หรอื PS เปน็ พลาสติกมลี กั ษณะแขง็ และมนั วาว แตเ่ ปราะแตกง่าย ยกตัวอยา่ งเชน่ ช้อน สอ้ มพลาสตกิ ตามรา้ นสะดวกซือ้ ภาชนะโฟม ฝาแกว้ กาแฟ

– พลาสตกิ อืน่ ๆ มสี ญั ลักษณ์เบอร์ 7 หรอื มคี ำว่า OTHER กำกบั ไว้ เปน็ พลาสติกแขง็ ใช้ซำ้ ได้ ยกตัวอย่างเช่น ขวดนมเด็ก ขวดน้ำดมื่ กลอ่ งใสอ่ าหาร พลาสตกิ ชนดิ นี้แมใ้ ชซ้ ำ้ ได้แตต่ อ้ งระมดั ระวงั สาร Bisphenol A ท่ีเราเรยี กวา่ BPA ซ่งึ สารนี้เมือ่ ปนเปอ้ื นเข้าสู่ รา่ งกายจะส่งผลเสียตอ่ เซลล์สมอง ระบบประสาท และสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบสบื พนั ธ์ุ รวมไปถึงการหล่ังฮอรโ์ มนการเจรญิ เติบโต นอกจากน้ยี งั สามารถแบ่งพลาสตกิ ตามลกั ษณะของบรรจุภัณฑ์ไดอ้ กี ดว้ ย คือ 1.Multi-Layered Plastic พลาสตกิ ชนดิ น้จี ะซอ่ นอยใู่ นบรรจุภัณฑ์ท่ีมลี ักษณะไม่ เหมอื นพลาสตกิ โดยเปน็ พลาสติกหลายช้ันประกอบกบั วสั ดุชนดิ อนื่ เช่น กล่องนม กล่องนำ้ ผลไม้ ซองขนม และหลอดยาสฟี ัน เป็นต้น 2.Single-Layered Plastic เปน็ ฟลิ ม์ พลาสตกิ ทยี่ ืดหยนุ่ ไดแ้ ละเปน็ ฟลิ ม์ บางๆเพยี งชัน้ เดยี ว เชน่ ถงุ พลาสติกมหี ูห้วิ หลอดพลาสติก พลาสติกแรปห่ออาหาร พลาสตกิ เบอร์ 1 PET เป็นพลาสติกที่ถูกรไี ซเคลิ เยอะทสี่ ดุ เพราะมีการจดั การท่งี า่ ยทส่ี ุด ในบรรดาบรรจุภณั ฑพ์ ลาสตกิ สว่ นพลาสติกบางชนิดยกตัวอย่างเช่น พลาสติกเบอร์ 6

PS หรือ พลาสติกเบอร์ 3 PVC มกั จะเป็นพลาสตกิ ท่ีไม่ถกู จดั การอยา่ งเหมาะสม จน กลายเปน็ มลพษิ ขยะพลาสตกิ ออกสมู่ หาสมุทร ยกตวั อย่างขวดเครอ่ื งดม่ื ทีป่ ระกอบไปด้วยพลาสติกหลายแบบ ขวดอาจประกอบไปด้วย ฝาขวดพลาสติกทีท่ ำจากพลาสตกิ เบอร์ 2 หรอื 5 ตวั ขวดทที่ ำจากพลาสตกิ เบอร์ 1 และ ฟิล์มพลาสติกห่อขวดเพอ่ื บอกฉลากซ่ึงทำจากพลาสตกิ เบอร์ 3 พลาสตกิ แต่ละชนิดมกี ระบวนการในการรีไซเคลิ แตกต่างกัน นจ่ี ึงเปน็ สาเหตุสำคญั ท่ี แม้ว่าในบางประเทศจะมกี ารแยกขยะพลาสตกิ อยา่ งละเอียด แตก่ ย็ งั มพี ลาสตกิ หลดุ รอด จากกระบวนการการรีไซเคลิ ไปได้ ซึ่งตามเกณฑผ์ ลกระทบส่งิ แวดล้อมและสุขภาพซ่งึ กรีนพซี ได้สำรวจและออกแบบเป็นข้อมลู พรี ะมดิ พบว่าพลาสตกิ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อม น้อยทสี่ ุดคอื พลาสตกิ ชนิดเบอร์ 3 หรอื PVC

(แมว้ า่ ไบโอพลาสติกจะเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อมมากทสี่ ดุ ในบรรดาพลาสตกิ แต่กไ็ ม่ได้ หมายความว่าปลอดภยั ต่อทะเลนะจะ๊ เพราะหากไมถ่ ูกหลอมดว้ ยความรอ้ นสูงกจ็ ะไม่ ยอ่ ยสลาย การเลกิ ใช้พลาสตกิ ทใ่ี ช้ครง้ั เดียวทงิ้ จึงเป็นทางเลือกที่ดที ส่ี ุดในตอนน)้ี แม้วา่ ทผ่ี า่ นมามีการประกาศหยุดใช้พลาสติกหมุ้ ฝาขวดนำ้ ดม่ื ตั้งแต่วันท่ี 1 เมษายน 2561 ซ่งึ เปน็ หนึง่ ในสาเหตุการตายของสตั วท์ ะเล กค็ งไมย่ ากหากแบรนดผ์ ผู้ ลิตจะเริ่ม ลดผลิตบรรจภุ ณั ฑพ์ ลาสติกซ้ำซอ้ น หรือเริ่มมองหานวัตกรรมบรรจุภณั ฑท์ ย่ี ่งั ยืนตง้ั แต่ ตอนนี้ เพ่ือมหาสมุทร สตั ว์ทะเลและมนษุ ยเ์ รา https://www.greenpeace.org/thailand/story/2242/plastic-101/

พลาสติกรีไซเคิล พลาสตกิ เป็นวสั ดุทเ่ี ข้ามามีบทบาทในชวี ติ ประจำวนั ของเราเป็นอยา่ งมากและมีแนวโนม้ การใชง้ านทเี่ พ่มิ มากขึ้นเพราะใชท้ ดแทนทรพั ยากรธรรมชาติ เชน่ ไม้และเหลก็ ได้เป็น อยา่ งดี และมีราคาถูก น้ำหนักเบาสามารถผลติ ใหม้ สี มบตั ติ ่างๆ ตามที่ต้องการไดจ้ าก การเลอื กชนดิ ของวัตถดุ บิ ปฏิกิรยิ าเคมี กระบวนการผลิตและกระบวนการข้นึ รปู นอกจากนยี้ งั สามารถปรุงแต่งสมบัตไิ ดง้ า่ ยโดยการเตมิ สารเติมแตง่ (Additives) เชน่ สารเสริมสภาพพลาสตกิ (Plasticizer) สารปรบั ปรงุ คุณภาพ (Modifier) สารเสรมิ (Filler) สารคงสภาพ (Stabilizer) สารยับยง้ั ปฏกิ ิรยิ า (Inhibitor) สารหลอ่ ล่ืน (Lubricant) และผงสี (Pigment) เป็นตน้ ด้วยเทคโนโลยีการผลติ ทีก่ า้ วหนา้ และทนั สมัยในปัจจุบันทำให้เรามีผลติ ภณั ฑพ์ ลาสติก หลากหลายรปู แบบ และสีสันใหเ้ ลอื กใชอ้ ยา่ งมากมาย ด้วยสมบตั ิทโี่ ดดเดน่ หลายด้านทำ ให้พลาสตกิ ได้รบั การยอมรบั อย่างรวดเรว็ และมปี รมิ าณการใชง้ านเพม่ิ สูงขึ้นเร่อื ยๆ ส่งผลให้เกดิ ขยะพลาสตกิ ในปรมิ าณสงู มากขึน้ ตามด้วย ดังนั้นการนำพลาสตกิ กลับมาใช้ ใหมห่ รือการ รีไซเคลิ จึงไดร้ ับความสนใจเปน็ อยา่ งมากเพราะนอกจากจะช่วยลดปรมิ าณ ขยะพลาสตกิ แล้วยังเป็นการใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มคา่ อีกดว้ ย การพัฒนาทางเทคโนโลยี ในชว่ งหลายปีท่ผี า่ นมาทำใหก้ ารรีไซเคลิ พลาสตกิ มอี ยูด่ ว้ ยกันหลายวธิ ี โดยแบ่งเป็น 4 ประเภทหลัก คือ การรไี ซเคิลแบบปฐมภูมิ (Primary recycling) การรไี ซเคิลแบบทุติย ภูมิ (Secondary recycling) การ รีไซเคลิ แบบตติยภูมิ (Tertiary recycling) และการ รไี ซเคลิ แบบจตภุ มู ิ (Quaternary recycling) 1. การรไี ซเคลิ แบบปฐมภมู ิ เปน็ การนำขวดหรอื เศษพลาสติกทเ่ี ปน็ ประเภทเดยี วกันและไม่มสี ่งิ ปนเปือ้ น ทเ่ี กิดใน กระบวนการผลิตหรือขน้ึ รปู กลบั มาใชซ้ ำ้ ภายในโรงงาน โดยสามารถนำมาใช้ซ้ำ ทงั้ หมดหรือเตมิ ผสมกบั เม็ดใหมท่ ่อี ตั ราสว่ นต่างๆ 2. การรไี ซเคลิ แบบทุติยภมู ิ การรีไซเคิลแบบทุติยภมู หิ รือกระบวนการหลอมขึ้นรปู ใหม่ เป็นการนำพลาสติกที่ ผา่ นการใช้งานแลว้ มาทำความสะอาด บด หลอมและข้ึนรปู กลับไปเปน็ ผลติ ภัณฑ์ พลาสติกอีกครัง้ การรไี ซเคิลแบบทุตยิ ภมู ิน้ยี งั สามารถแบง่ ยอ่ ยไดเ้ ป็นหลายเทคนคิ คอื

o การรีไซเคลิ เชงิ กล (Mechanical recycling) เป็นเทคนคิ ที่ง่ายและนยิ มใช้มากทีส่ ุดในปัจจุบัน โดยการเกบ็ พลาสติกทผี่ ่านการ ใชง้ านแล้วมาคดั แยกตามประเภท และสมี าลา้ งทำความสะอาดกอ่ นนำมาบดเป็น ชน้ิ เล็กๆ และหลอมเปน็ เมด็ พลาสตกิ เกรดสองหรือเมด็ พลาสติกรีไซเคลิ เพอื่ นำ กลบั ไปใช้เป็นวตั ถุดิบในการผลิตเป็นผลิตภัณฑใ์ หม่หรือนำมาผสมกับเมด็ ใหม่ เพ่อื ใหไ้ ด้สมบตั ทิ ่ตี อ้ งการก่อนนำไปผ่านกระบวนการขน้ึ รปู โดยคณุ ภาพของเมด็ พลาสติกรีไซเคิลน้จี ะเปน็ ตัวกำหนดการนำไปใช้งานและปรมิ าณการผสมที่ ต้องการ ปัญหาในกระบวนการรีไซเคลิ พลาสตกิ คอื หลังจากผา่ นกระบวนการรี ไซเคลิ ในแตล่ ะครง้ั พลาสตกิ จะมคี ณุ ภาพตำ่ ลงปฏิกริ ิยาการขาดของสายโซ่ โมเลกลุ ของ ทำให้ไมส่ ามารถนำไปใชใ้ นเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด และมรี าคาถกู ลง เรอื่ ยๆ จนบางครั้งไมค่ มุ้ ตอ่ การลงทนุ สาเหตุทส่ี ำคญั เนอ่ื งมาจากมกี ารปนเป้ือน ของส่งิ สกปรก ฉลากเลก็ ๆ หรอื เศษกาวทำใหเ้ ม็ดพลาสตกิ รไี ซเคลิ มสี ีเข้มขน้ึ หรอื มคี วามใสลดลง นอกจากน้ีความชื้นในพลาสติก และความร้อนทีใ่ ชใ้ นการหลอม พลาสตกิ ยงั เปน็ ปจั จัยสำคญั ทท่ี ำใหเ้ กิดการสลายตัว หรือเกิดการขาดของสายโซ่ โมเลกลุ ของโพลิเมอร์ทใี่ ชท้ ำพลาสติก ทำให้เมด็ พลาสตกิ รีไซเคลิ มสี ีเหลอื ง และมี สมบตั เิ ชงิ กลลดลงด้วย o การปรบั ปรงุ โดยวิธที างเคมี (Chemical modification) เนอ่ื งจากเม็ดพลาสตกิ รีไซเคลิ มีข้อจำกัดในด้านสมบตั ิ การขึน้ รปู และการใชง้ าน ดงั น้ัน การปรบั ปรุงโดยวธิ ีการทางเคมจี ะชว่ ยลดขอ้ จำกดั ดงั กลา่ วหรอื ทำใหเ้ ม็ดรี ไซเคิลมีลกั ษณะใกลเ้ คยี งกบั เมด็ ใหมไ่ ด้ การปรับปรุงน้สี ามารถใชไ้ ด้กับทัง้ พลาสติกชนดิ เดยี วหรอื พลาสติกผสม ถ้าเปน็ พลาสตกิ ชนดิ เดียวกจ็ ะใช้การเติม สารเคมีหรอื ใช้วธิ ีการผา่ นดว้ ยรงั สี แตถ่ า้ เป็นพลาสตกิ ผสมมักใชส้ ารชว่ ยในการ ผสมใหเ้ ข้ากนั ทร่ี ้จู กั กนั โดยท่ัวไปว่า Compatibilizer o การหลอมอดั รีดร่วมและการฉีดร่วม (Coextrusion and Coinjection moulding) เปน็ อกี เทคนิคหน่งึ ของการรีไซเคิลแบบทุตยิ ภมู ซิ ึ่งเหมาะสำหรบั ใชผ้ ลติ บรรจุ ภัณฑท์ ี่ตอ้ งสัมผัสกับอาหาร ผลติ ภณั ฑพ์ ลาสตกิ ทผี่ ลติ ได้จากกระบวนการน้จี ะมี ลักษณะโครงสรา้ งเปน็ ชั้นๆ เหมือนแซนดว์ ิช โดยท่ีผิวหนา้ เปน็ ช้ันที่ผลติ จาก

พลาสตกิ ใหม่ซ่งึ มคี วามต้านทานตอ่ แรงดงึ สงู ปอ้ งกันการขีดข่วนได้ดีและมสี สี ัน น่าใช้ สว่ นชนั้ กลางเปน็ ชั้นของพลาสติกรไี ซเคิล 3. การรไี ซเคิลแบบตตยิ ภมู ิ การรีไซเคิลแบบตตยิ ภมู ิแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ การรีไซเคิลทางเคมแี ละทาง ความร้อน o การรไี ซเคิลทางเคมี (chemical recycling) เป็นกระบวนการท่ที ำใหโ้ ครงสร้างสายโซข่ องพอลเิ มอร์เกิดการขาดหรอื แตกออก (Depolymerisation) ไดม้ อนอเมอร์ (Monomer) หรือโอลิโกเมอร์ (Oligomer) เปน็ ผลิตภณั ฑเ์ ม่ือนำมาทำให้บริสุทธโ์ิ ดยการกลนั่ และตกผลึกไดเ้ ปน็ สารตั้งต้นท่ีมี คุณภาพสงู ซง่ึ สามารถนำไปใชผ้ ลติ เปน็ เพทได้ใหม่ o การรีไซเคลิ ทางความรอ้ น (Thermolysis) โครงสร้างของเพทสามารถเกดิ การแตกหรอื ขาดไดโ้ ดยใชค้ วามรอ้ น เรยี กวา่ Thermolysis แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 วธิ ี คือ แบบไม่ใช้ออกซิเจน (Pyrolysis )แบบ ใชอ้ อกซเิ จน (Gasification) และ การเติมไฮโดรเจน (Hydrogenation) Pyrolysis เป็นกระบวนการทท่ี ำให้สายโซ่พอลิเมอรเ์ กดิ การแตกออกโดยใช้ ความร้อนแบบไมใ่ ชอ้ อกซิเจน ผลิตภณั ฑท์ ่ีไดจ้ ากการควบแนน่ เป็น ของเหลวท่ี เรียกวา่ นำ้ มันดบิ สงั เคราะห์ (Synthetic crude oil) สามารถนำกลบั ไปใชใ้ นโรง กล่นั และสว่ นทไ่ี ม่เกดิ การควบแนน่ จะถกู นำกลบั มาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการให้ ความรอ้ นภายในกระบวนการ Gasification เป็นกระบวนการทีท่ ำให้สายโซพ่ อลเิ มอรข์ องเพทเกิดการแตก ออกโดยใชค้ วามรอ้ นแบบใช้ออกซเิ จน กระบวนการน้เี กดิ ขึน้ ท่อี ุณหภมู ิสงู กว่า Pyrolysis ผลลพั ธ์ทไ่ี ดค้ ือ Syngas ซ่งึ ประกอบดว้ ยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์และ ไฮโดรเจน สามารถนำมาใช้เปน็ เชือ้ เพลิงไดโ้ ดยตรง แตถ่ า้ ทำการแยกก่อน นำมาใช้ในรปู ของสารเคมจี ะมมี ลู ค่าสูงขนึ้ 2 – 3 เท่า Hydrogenation เปน็ เทคนคิ ท่ปี รบั ปรงุ มาจากกระบวนการกลั่นนำ้ มนั แบบใช้ ตวั เรง่ ปฏิกริ ิยา โดยสายโซ่พอลเิ มอร์ของเพทจะถูกทำใหแ้ ตกหรอื ขาดออกจากกัน

ดว้ ยความรอ้ นและสมั ผสั กับไฮโดรเจนที่มากเกนิ พอทค่ี วามดันสงู กวา่ 100 บรรยากาศ จนเกดิ ปฏิกริ ยิ าแตกตัว (Cracking) และเกดิ การเตมิ ไฮโดรเจน (Hydrogenation) อยา่ งสมบรู ณ์ ผลิตภณั ฑ์ทไี่ ดส้ ่วนใหญเ่ ป็นเช้อื เพลงิ เหลว เชน่ นำ้ มันแกส็ โซลีนหรอื ดีเซล กระบวนการรไี ซเคลิ ทางความรอ้ นถอื ได้วา่ เป็นเทคโนโลยที ม่ี ีประโยชนแ์ ละค้มุ คา่ กวา่ การรีไซเคิลทางเคมเี พราะสามารถจดั การขยะทีเ่ ปน็ พลาสติกผสมทม่ี ีส่ิง ปนเป้ือนอ่ืนๆ ทไี่ มใ่ ชพ่ ลาสตกิ ได้ ในขณะที่การรไี ซเคลิ ทางเคมตี อ้ งใช้พลาสตกิ ที่ มคี วามสะอาดค่อนขา้ งสงู และมีการผสมหรอื ปนเปื้อนไดเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย ทำใหม้ ี ค่าใชจ้ า่ ยในการเตรยี มวตั ถดุ ิบสูง อยา่ งไรก็ตามพลาสตกิ เพทท่จี ะนำมารไี ซเคลิ ทางความรอ้ นกค็ วรมีการคดั ขนาดหรอื กำจัดสง่ิ ปนเปือ้ นออกบ้าง 4. การรไี ซเคิลแบบจตุภมู ิ พลาสตกิ สามารถนำมาเผาไหม้เปน็ เชอื้ เพลิงทดแทน โดยการเผาไหมข้ องพลาสตกิ ให้ ค่าความรอ้ นใกล้เคยี งกบั ถา่ นหนิ (23 MJ/kg) ชว่ ยในการเผาไหม้ส่วนที่เปน็ ขยะ เปยี ก ทำใหล้ ดปรมิ าณเชือ้ เพลิงท่ีตอ้ งใช้ในการเผาขยะ แม้วา่ ทกุ วนั นี้การรีไซเคลิ พลาสตกิ ยงั ไมไ่ ดร้ บั ความนยิ มมากนกั แตก่ ก็ ำลงั ได้รบั ความ สนใจอยา่ งกวา้ งขวาง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในช่วงเวลาทเ่ี ราให้ความสำคญั กบั สงิ่ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ การนำพลาสตกิ ทผี่ า่ นการใช้งานแลว้ กลบั มารไี ซเคิลใชซ้ ำ้ จงึ เป็นอีกหนทางหน่งึ ทจี่ ะช่วยให้เรารกั ษาความสวยงามและความอดุ มสมบูรณข์ อง ทรพั ยากรธรรมชาตไิ วไ้ ด้ ซึง่ อกี ไม่นานเรากจ็ ะก้าวข้ามเข้าสศู่ ตวรรษใหมท่ ว่ี ิทยาการและ เทคโนโลยีตา่ งๆ จะได้รบั การพัฒนาให้ก้าวหนา้ ยง่ิ ข้นึ คนแหง่ ศตวรรษใหมอ่ าจตอ้ ง เปลยี่ นวิสยั ทศั นเ์ กีย่ วกบั พลาสติก เมอื่ พลาสตกิ ท่ีผ่านการใช้งานแลว้ ในศตวรรษหน้า ไมไ่ ด้กลายเป็นขยะอีกตอ่ ไป แต่กลบั กลายเปน็ ทรพั ยากรสำคญั ในการผลติ ผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื อนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม ประเภทของพลาสติกยอ่ ยสลายได้ ประเภทของพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ โดยทวั่ ไป เราสามารถแบ่งกลไกการยอ่ ยสลายของพลาสติกเป็น 4 ประเภทใหญๆ่ คอื

1. การย่อยสลายได้โดยแสง (Photodegradation) การยอ่ ยสลายโดยแสงมักเกดิ จาก การเตมิ สารเติมแตง่ ทมี่ คี วามวอ่ งไวตอ่ แสงลงในพลาสติกหรือสงั เคราะห์โคพอลิเมอร์ ใหม้ ีหมูฟ่ ังกช์ ันหรอื พนั ธะเคมีทีไ่ ม่แขง็ แรง แตกหักง่ายภายใตร้ งั สี (UV) เช่น หมคู่ ี โตน (Ketone group) อยู่ในโครงสรา้ ง เมอ่ื สารหรอื หมฟู่ งั ก์ชนั ดังกล่าวสัมผัสกับรังสี ยูวจี ะเกดิ การแตกของพนั ธะกลายเปน็ อนมุ ลู อสิ ระ (Free radical) ซงึ่ ไมเ่ สถยี ร จงึ เขา้ ทำปฏิกิรยิ าต่ออย่างรวดเรว็ ทพ่ี นั ธะเคมีบนตำแหน่งคารบ์ อนในสายโซพ่ อลเิ มอร์ ทำให้เกดิ การขาดของสายโซ่ แตก่ ารยอ่ ยสลายนจ้ี ะไม่เกดิ ข้นึ ภายในบ่อฝงั กลบขยะ กองคอมโพสท์ หรอื สภาวะแวดล้อมอน่ื ทม่ี ืด หรือแม้กระท่ังช้ินพลาสตกิ ทีม่ กี ารดว้ ย หมึกทหี่ นามากบนพ้นื ผวิ เนื่องจากพลาสตกิ จะไม่ไดส้ มั ผสั กบั รงั สียูวโี ดยตรง 2. การยอ่ ยสลายทางกล (Mechanical Degradation) โดยการให้แรงกระทำแกช่ ้ิน พลาสติกทำให้ชิน้ สว่ นพลาสติกแตกออกเปน็ ชิน้ ซงึ่ เปน็ วธิ ีการทีใ่ ช้โดยทว่ั ไปในการ ทำให้พลาสติกแตกเป็นช้นิ เลก็ ๆ 3. การยอ่ ยสลายผา่ นปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชนั (Oxidative Degradation) การยอ่ ยสลาย ผา่ น)ฏกิ ริ ยิ าออกซิเดชนั ของพลาสตกิ เปน็ ปฏกิ ริ ิยาการเติมออกซิเจนลงในโมเลกลุ ของพอลเิ มอรซ์ ึ่งสามารถเกดิ ขนึ้ ไดเ้ องในธรรมชาตอิ ย่างชา้ ๆ โดยมอี อกซเิ จน และ ความร้อน แสงยวู ี หรอื แรงทางกลเป็นปจั จยั สำคัญ เกิดเปน็ สารประกอบไฮโดรเปอร์ ออกไซด์ (hydroperoxide, ROOH) ในพลาสตกิ ทไี่ มม่ ีการเตมิ สารเติมแตง่ ท่ที ำ หน้าทเี่ พมิ่ ความเสถยี ร (stabilizing additive) แสงและความรอ้ นจะทำให้ ROOH แตกตัวกลายเปน็ อนมุ ลู อสิ ระ RO และ OH) ท่ีไม่เสถยี รและเข้าทำปฏิกริ ยิ าตอ่ ที่ พันธะเคมีบนตำแหน่งคาร์บอนในสายโซพ่ อลิเมอร์ ทำใหเ้ กิดการแตกหกั และสญู เสยี สมบตั เิ ชิงกลอยา่ งรวดเรว็ แตด่ ้วยเทคโนโลยีการผลิตทไ่ี ดร้ บั การวจิ ัยและพฒั นาขึน้ ในปัจจบุ ันทำให้พอลิโอเลฟินเกิดการยอ่ ยสลายผา่ นปฏกิ ิริยาออกซิเดชนั กบั ออกซิเจน ได้เร็วขึน้ ภายในช่วงเวลาท่ีกำหนด โดยการเตมิ สารเตมิ แต่งทเี่ ปน็ เกลือของโลหะ ทรานสชิ นั ซึง่ ทำหน้าทคี่ ะตะลสิ ตเ์ ร่งการแตกตวั ของสารประกอบไฮโดรเปอร์ ออกไซด์ (Hydroperoxpide, ROOH) เปน็ อนมุ ลู อสิ ระ (Free radical) ทำใหส้ ายโซ่ พอลเิ มอร์เกดิ การแตกหักและสญู เสยี สมบตั ิเชิงกลรวดเรว็ ย่งิ ขนึ้

4. การยอ่ ยสลายผา่ นปฏิกริ ิยาไฮโดรไลซสิ (Hydrolytic Degradation) การย่อยสลาย ของพอลเิ มอรท์ ่มี ีหมเู่ อสเทอร์ หรอื เอไมด์ เชน่ แป้ง พอลเิ อสเทอร์ พอลิแอน ไฮดรายด์ พอลคิ าร์บอเนต และพอลยิ รู เิ ทน ผา่ นปฏกิ ริ ยิ ากอ่ ให้เกดิ การแตกหกั ของ สายโซ่พอลเิ มอร์ ปฏิกริ ยิ าไฮโดรไลซิสทเ่ี กดิ ข้นึ โดยทั่วไปแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื ประเภทที่ใช้คะตะลสิ ต์ (Catalytic hydrolysis) และไม่ใชค้ ะตะลสิ ต์ (Non- Catalytic Hydrolysis) ซ่ึงประเภทแรกยังแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 แบบคอื แบบท่ใี ช้คะตะ ลิสต์จากภายนอกโมเลกลุ ของพอลเิ มอร์เร่งให้เกดิ การยอ่ ยสลาย (External Catalytic Degradation) และแบบท่ีใชค้ ะตะลสิ ตจ์ ากจากภายในโมเลกลุ ของพอลิ เมอรเ์ องในการเร่งให้เกดิ การย่อยสลาย (Internal catalytic degradation) โดยคะ ตะลิสตจ์ ากภายนอกมี 2 ชนิด คือ คะตะลสิ ตท์ เี่ ป็นเอนไซมต์ า่ งๆ (Enzyme) เชน่ Depolymerase lipase esterase และ glycohydrolase ในกรณนี ้ีจัดเปน็ การย่อย สลายทางชีวภาพ และคะตะลสิ ตท์ ่ีไมใ่ ชเ่ อนไซม์ (Non-enzyme) เช่น โลหะแอล คาไลด์ (alkaline metal) เบส (base) และกรด(acid) ทม่ี อี ยใู่ นสภาวะแวดลอ้ มใน ธรรมชาติ ในกรณนี ีจ้ ัดเป็นการยอ่ ยสลายทางเคมี สำหรบั ปฏิกิรยิ าไฮโดรไลซสิ แบบที่ ใชค้ ะตะลสิ ตจ์ ากภายในโมเลกลุ ของพอลเิ มอรน์ น้ั ใชห้ มู่คารบ์ อกซลิ (Carboxyl Group) ของหมู่เอสเทอร์ หรือเอไมดบ์ ริเวณปลายของสายโซพ่ อลิเมอรใ์ นการเร่ง ปฏกิ ริ ิยาการยอ่ ยสลายผา่ ปฏิกริ ยิ าไฮโดรไลซสิ 5. การย่อยสลายทางชวี ภาพ (Biodegradation) การยอ่ ยสลายของพอลิเมอรจ์ ากการ ทำงานของจลุ นิ ทรยี โ์ ดยท่วั ไปมกี ระบวนการ 2 ขั้นตอน เนอื่ งจากขนาดของสายพอลิ เมอรย์ ังมขี นาดใหญ่และไมล่ ะลายนำ้ ในขนั้ ตอนแรกของของการยอ่ ยสลายจึงเกิดข้นึ ภายนอกเซลลโ์ ดยการปลดปล่อยเอ็นไซมข์ องจลุ นิ ทรยี ซ์ ึ่งเกิดได้ท้ังทั้งแบบใช้ endo- enzyme หรอื เอนไซมท์ ท่ี ำใหเกิดการแตกตัวของพนั ธะภายในสายโซพ่ อลเิ มอร์ อยา่ งไม่เป็นระเบยี บ และแบบ exo-enzyme หรอื เอนไซม์ทที่ ำใหเ้ กดิ การแตกหัก ของพนั ธะทลี ะหน่วยจากหนว่ ยซ้ำทเี่ ลก็ ทส่ี ุดทอ่ี ยูด่ า้ นปลายของสายโซพ่ อลเิ มอร์ เมอ่ื พอลเิ มอร์แตกตวั จนมขี นาดเลก็ พอจะแพร่ผา่ นผนังเซลลเ์ ข้าไปในเซลล์ และเกิดการ ยอ่ ยสลายตอ่ ในขัน้ ตอนท่ี 2 ไดผ้ ลติ ภณั ฑใ์ นข้นั ตอนสุดท้าย (ultimate

biodegradation) คอื พลังงาน และสารประกอบขนาดเล็กที่เสถียรในธรรมชาติ (Mineralization) เชน่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ มีเทน นำ้ เกลือ แรธ่ าตตุ ่างๆ และมวลชีวภาพ (biomass) *มวลชีวภาพหมายถงึ มวลรวมของสสารทเ่ี กิดขนึ้ จากกระบวนการในการดำรงชวี ติ และเตบิ โตของสิง่ มชี ีวติ ซึง่ รวมถงึ พชื สัตว์ และจลุ ินทรยี ์ นอกจากนี้ยงั พบวา่ มกี ารใช้คำวา่ พลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดใ้ นสภาวะแวดลอ้ มธรรมชาติ (Environmentally Degradable Plastics, EDP) ซึง่ หมายถึง พลาสติกท่สี ามารถ เกิดการเปลีย่ นแปลงสมบัตเิ นื่องจากปัจจัยตา่ งๆ ในสภาวะแวดล้อม เชน่ กรด ดา่ ง น้ำ และออกซเิ จนในธรรมชาติ แสงจากดวงอาทติ ย์ แรงเค้นจากการกระทบของเม็ด ฝนและแรงลม หรอื จากเอนไซมข์ องจลุ นิ ทรีย์ ทำใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ ง ทางเคมี กลายเปน็ สารท่ถี ูกดดู ซมึ และย่อยสลายต่อไดอ้ ยา่ งสมบูรณโ์ ดยจุลินทรยี ไ์ ด้ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ น้ำ สารอนนิ ทรยี ์ และมวลชีวภาพ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ขัน้ สดุ ทา้ ย โดยการยอ่ ยสลายและการดูดซมึ นต้ี อ้ งเกิดขน้ึ ได้รวดเร็วเพยี งพอท่ีจะไม่ทำให้ เกดิ การสะสมในสภาวะแวดลอ้ ม และคำว่า พลาสตกิ ท่เี ปน็ มิตรตอ่ สภาวะแวดลอ้ ม (Environmental Friendly Plastics) หรอื พลาสตกิ สเี ขยี ว (Green Plastics) หมายถึง พลาสตกิ ท่ีทำให้ภาระในการจัดการขยะลดลง และสง่ ผลกระทบโดยรวมตอ่ สภาวะแวดลอ้ มนอ้ ยกวา่ พลาสติกที่ใชก้ ันอยู่ท่ัวไปในปจั จบุ นั • พลาสตกิ ย่อยสลายไดท้ างชีวภาพ ในอนาคตมีแนวโน้มการใช้งานพลาสติกยอ่ ยสลายได้เพมิ่ ขึ้นเนือ่ งจากหลายสาเหตุ เชน่ มกี ารค้นพบและพฒั นากระบวนการผลิตใหมๆ่ ทำให้พลาสตกิ มีราคาทต่ี ำ่ ลงและมสี มบัติ ต่างๆ ดขี ้นึ มกี ฎข้อบงั คบั รวมถงึ การท่มี คี า่ ใชจ้ า่ ยในการกำจดั ขยะท่ีสงู ขนึ้ ทำให้บริษัท ตา่ งๆ ทำการผลิตพลาสติกยอ่ ยสลายไดท้ มี่ ีสมบตั ิท่ีหลากหลายแตกต่างกนั บางครั้ง ผลิตภัณฑ์เหลา่ นไ้ี มเ่ กิดการยอ่ ยสลายผา่ นกระบวนการทางชวี ภาพอยา่ งแทจ้ ริง เพื่อ ควบคมุ คุณภาพของผลติ ภัณฑด์ ังกล่าว ปจั จุบนั จงึ มหี ลายองคก์ รทวั่ โลกไดด้ ำเนินการ จดั ทำมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ย่อยสลายได้ทางชวี ภาพ (Biodegradable Plastics) ขน้ึ และ

ให้คำจำกัดความของพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดท้ างชีวภาพซึ่งมคี วามแตกต่างกันเลก็ น้อยไว้ ดงั นี้ • ASTM D6400-99 – biodegradable plastic is a degradable plastic in which the degradation results from the action of naturally occurring microorganisms such as bacteria, fungi and algae. พลาสตกิ ย่อยสลายได้ทางชวี ภาพคือ พลาสติกทย่ี อ่ ยสลายไดเ้ นอื่ งมาจากการทำงาน ของจลุ ินทรยี ท์ ม่ี อี ย่ใู นธรรมชาติ เช่น แบคทีเรยี ราและสาหรา่ ย • ISO 472:1998 – Biodegradable plastics are plastic designed to undergo a significant change in its chemical structure under specific environmental conditions resulting in a loss of some properties that may vary as measured by standard test methods appropriate to the plastics and application in a period of time that determines its classification. The change in chemical structure results from the action of naturally occurring microorganisms พลาสติกยอ่ ยสลายไดท้ างชวี ภาพ คอื พลาสตกิ ท่ถี ูกออกแบบมาใหเ้ กิดการ เปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งทางเคมภี ายใต้สภาวะแวดล้อมทกี่ ำหนดไว้โดยเฉพาะ เปน็ สาเหตุทำให้สมบตั ิตา่ งๆ ของพลาสตกิ ลดลงภายในชว่ งเวลาหน่ึงซงึ่ สามารถวดั ไดโ้ ดย ใช้วธิ ที ดสอบมาตรฐานทเี่ หมาะสมกบั ชนดิ ของพลาสติกและการใช้งาน ผลการ ทดสอบสามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑใ์ นการจำแนกประเภทของพลาสตกิ ย่อยสลายได้ ทางชีวภาพ โดยการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งทางเคมีดงั กล่าวตอ้ งเกิดจากการทำงาน ของจลุ นิ ทรยี ์ในธรรมชาติเท่านั้น • BPS Japan (1994) – Biodegradable plastics are polymeric materials which are changed into lower molecular weight compounds where at least one step in the degradation process is through metabolism in the presence of naturally occurring organism. พลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพ คอื วสั ดุพอลเิ มอร์ ทีส่ ามารถเกดิ การเปลย่ี นแปลง เปน็ สารประกอบที่มนี ำ้ หนกั โมเลกลุ ลดต่ำลงได้ โดยมอี ย่างนอ้ ย 1 ข้ันตอนใน กระบวนการยอ่ ยสลายนเ้ี กดิ ผ่านกระบวนการเมทาบอลิซมึ ของจลุ ินทรยี ์ท่มี อี ยใู่ น

ธรรมชาติ • DIN FNK103.2 (1993) – A plastic materials is called biodegradable if all its organic compounds undergo a complete biodegradation process Environmental condition and rates of biodegradation are to be determined by standardized test methods. วัสดุพลาสติกจะได้ชอื่ วา่ เป็นพลาสตกิ ท่ยี อ่ ยสลายได้ทางชวี ภาพ กต็ อ่ เมือ่ สารประกอบอินทรยี ์ทง้ั หมดถกู ย่อยสลายอย่างสมบูรณโ์ ดยจุลินทรยี ์ ทมี่ อี ยใู่ น สภาพแวดลอ้ ม และมอี ตั ราการยอ่ ยสลายอยู่ภายใตข้ อ้ กำหนดในการทดสอบตาม มาตรฐาน • CEN (1993) – A degradable material in which the degradation results from the action of microorganisms and ultimately materials is converted to water, carbon dioxide and/or methane and a new cell biomass วสั ดยุ ่อยสลายได้ คอื วสั ดทุ ่ีการยอ่ ยสลายเป็นผลมาจากการทำงานของจลุ นิ ทรยี ท์ ำ ใหว้ สั ดเุ กิดการเปลย่ี นแปลงเปน็ นำ้ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และ/ หรอื แกส๊ มีเทน และมวลชวี ภาพใหม่ เปน็ ผลิตภัณฑใ์ นขัน้ ตอนสดุ ท้าย สำหรับคำวา่ biodegradation (หรอื การยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพ) ยอ่ มาจาก biotic degradation ในมาตรฐานต่างๆ มคี ำจำกัดความทใี่ ช้พ้ืนฐานแนวคดิ เดียวกนั คอื เปน็ การทำงานของจลุ ินทรยี ์ท่ีมตี ่อช้นิ วสั ดุ เปน็ ผลให้วสั ดุเกดิ การเปลย่ี นแปลงไปเปน็ แก๊ส คารบ์ านไดออกไซด์หรอื แก๊สมเี ทนและนำ้ • การใช้งานผลิตภัณฑพ์ ลาสติกย่อยสลายได้ 1.การใชง้ านทางการแพทย์ พลาสติกย่อยสลายไดถ้ กู พัฒนาข้ึนเพอ่ื ใช้ในการผลิตวสั ดุทางการแพทย์ เช่น ผิวหนงั เทียม ยาท่ถี ูกออกแบบมาให้สามารถควบคุมการปลดปล่อยตัวยาอย่างช้าๆ ภายใน ร่างกายในช่วงระยะเวลาหนงึ่ หรือไหมละลาย อปุ กรณ์ประเภทสกรู และแผ่นดาม

กระดกู ท่ไี ดร้ บั การผา่ ตดั และฝงั อยูใ่ นรา่ งกายที่สามารถยอ่ ยสลายได้เองภายหลงั จากการ ทำหน้าท่ีตามทไี่ ด้รบั การออกแบบไวแ้ ล้วเสรจ็ สนิ้ ทำให้ไม่ต้องทำการผา่ ตดั ซำ้ เพ่อื นำ วสั ดทุ ใี่ ช้ในการรกั ษาเสรจ็ แลว้ ออกจากร่างกายผู้ป่วย 2.สารเคลอื บกระดาษ หรอื โฟม ปจั จุบันมีการนำพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพมาใช้งานเป็นสารเคลอื บกระดาษ สำหรับหอ่ แฮมเบอร์เกอร์ หรอื ถว้ ยน้ำชนิดใชแ้ ลว้ ทิ้ง 3.ฟลิ ม์ คลมุ ดิน และวสั ดุสำหรบั การเกษตร ฟิลม์ คลมุ ดนิ สำหรบั การเกษตรเป็นอุปกรณท์ างการเกษตรที่สำคญั ในการเพาะปลูกพชื บางชนิด เช่น มะเขือเทศ ซง่ึ แผ่นฟิลม์ จะชว่ ยปอ้ งกนั การเตบิ โตของวชั พชื และรกั ษา ความช้ืนในดนิ การใชฟ้ ลิ ์มสามารถผลติ ได้จากพลาสติกย่อยสลายได้ทางชวี ภาพจะช่วย ลดขนั้ ตอนการเก็บและกำจัดฟิล์มภายหลังเสรจ็ สนิ้ การใชง้ าน เนอ่ื งจากสามารถกำจัด โดยการไถพรวนลงดนิ ได้โดยตรง ชว่ ยปอ้ งกันการสญู เสยี แร่ธาตแุ ละสารอาหารบรเิ วณ หนา้ ดนิ ซง่ึ มกั เกดิ ข้นึ ในข้ันตอนการเก็บและกำจัดฟลิ ์ม นอกจากนยี้ งั มกี ารนำพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดม้ าใช้เปน็ วัสดคุ วบคุมการปลดปลอ่ ยสารสำคญั เช่น ตวั ยา ปุ๋ย สารเคมี สำหรบั การเกษตร วสั ดกุ กั เก็บนำ้ สำหรบั การเพาะปลูกพืชในทะเลทราย รวมถงึ ถงุ หรอื กระถางสำหรบั เพาะต้นกล้า 4. ถุงสำหรบั ใส่ของ (shopping bag) ถงุ พลาสตกิ และฟิลม์ พลาสติกสำหรบั การใชง้ านด้านบรรจภุ ัณฑ์ไดร้ ับความนยิ มในการใช้ งานมากขน้ึ ในปจั จุบัน ส่งผลให้มสี ัดส่วนอยใู่ นขยะในปรมิ าณสงู และยงั ไม่ได้รับความนยิ ม นำกลบั มารีไซเคลิ มากนกั เนือ่ งจากมีความยุง่ ยากในขน้ั ตอนการคัดแยกและทำความ สะอาด รวมถงึ มคี า่ ใชจ้ ่ายในการขนสง่ สูง ทำใหไ้ มค่ ุ้มคา่ ทางเศรษฐกจิ พลาสตกิ ย่อย สลายไดจ้ ึงเปน็ พลาสติกที่มีศักยภาพในการนำมาใชแ้ ทนพลาสตกิ ทวั่ ไปเพอ่ื ผลิตเปน็ ถุง และฟลิ ์มในบางโอกาส 5.ฟิลม์ และถุงสำหรับใสข่ ยะเศษอาหาร (Food Waste Film and Bags) ฟิลม์ และถงุ พลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ทางชวี ภาพสำหรับใช้ใส่ขยะเศษอาหาร เหมาะสำหรบั สถานทท่ี ม่ี รี ะบบการกำจัดขยะอนิ ทรยี ด์ ้วยวิธกี ารคอมโพสท์ กำลงั ได้รบั ความนิยมใน ต่างประเทศ เนื่องจากสามารถกำจดั โดยการนำมาทำคอมโพสทพ์ รอ้ มขยะอนิ ทรยี ์อนื่ ๆ

ทำให้เกดิ ความสะดวกไมต่ ้องแยกทิ้ง ปจั จบุ ันมคี วามตอ้ งการใชถ้ ุงพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ สูงขน้ึ อยา่ งมาก ตัวอยา่ งเชน่ ในหลายเมอื งของประเทศอิตาลี ไดใ้ ชพ้ ลาสตกิ ย่อยสลาย ไดท้ างชวี ภาพสำหรับใสข่ ยะเศษอาหารตงั้ แต่ปี ค.ศ. 1998 โดยมบี ริษทั Novamont ซ่ึง เป็นผู้ผลติ หลกั ให้กับประเทศในสหภาพยโุ รป ทำการผลติ ถุงยอ่ ยสลายได้ในสภาวะคอม โพสท์ 10,000 ตันต่อปี ถุงทีผ่ ลิตขน้ึ นสี้ ามารถยอ่ ยสลายได้อย่างสมบรู ณ์ภายใน 8-10 สปั ดาห์ภายใตส้ ภาวะการหมกั ในโรงงานคอมโพสทเ์ ชงิ อตุ สาหกรรม 6. บรรจุภณั ฑ์เพอื่ การบรโิ ภค (Consumer Packaging Materials) ศักยภาพหนึง่ ในการใชง้ านพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดท้ างชวี ภาพ คือ การใชง้ านดา้ นบรรจุ ภณั ฑ์ ซึง่ ตามปกติการใชบ้ รรจุภัณฑอ์ าหารทผ่ี ลติ จากพลาสตกิ ทั่วไปมกั ไม่ได้รบั ความ นิยมนำกลบั มารีไซเคิลมากนกั เนื่องจากมกี ารปนเปอ้ื นสูง ทำให้ไมส่ ะดวกต่อการเกบ็ และทำความสะอาด การนำพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้มาผลิตเปน็ บรรจภุ ัณฑส์ ำหรบั อาหาร เชน่ ถาดย่อยสลายไดส้ ำหรบั อาหารสำเรจ็ รปู และอาหารจานดว่ น จงึ เป็นแนวทางหน่ึงใน การลดปญั หาดา้ นการจดั การขยะบรรจุภณั ฑล์ งได้ 7. โฟมเมด็ กนั กระแทก (Loose fill) โฟมเมด็ กนั กระแทก (loose fill) โดยทั่วไปผลติ จากพอลสิ ไตรนี (PS) เพื่อใช้ประโยชน์ ในด้านการขนส่งสนิ ค้า มีข้อดคี อื มีความยืดหยนุ่ สามารถปอ้ งกันสินคา้ จากแรงกระแทก ระหว่างการเคลือ่ นยา้ ยและขนส่งไดเ้ ปน็ อย่างดี นอกจากนยี้ ังมนี ำ้ หนักเบาทำให้การ ขนสง่ สินคา้ เปน็ ไปไดอ้ ยา่ งสะดวกและประหยดั เชื้อเพลงิ แตป่ ัญหาคอื พอลสิ ไตรีน เป็น พลาสตกิ ท่ยี อ่ ยสลายไดย้ ากและใช้เนือ้ ทีใ่ นการจดั เกบ็ เพือ่ การกำจดั สงู ในกรณีท่ตี อ้ ง กำจัดด้วยการฝงั กลบตอ้ งใชเ้ นอื้ ท่ใี นบอ่ ฝงั กลบมาก แมว้ ่าจะนำมารไี ซเคิลใชใ้ หม่ได้แต่ยัง ไม่เปน็ ทนี่ ิยมแพร่หลายมากนัก ปัจจุบนั มกี ารพฒั นาการผลติ โฟมเมด็ กันกระแทกจาก แป้งและพอลเิ มอรช์ นดิ อ่นื ทีล่ ะลายน้ำและยอ่ ยสลายไดท้ างชีวภาพข้ึน ทำให้ง่ายตอ่ การ ใชง้ านและสะดวกในการกำจดั เมือ่ ส้ินสุดการใชง้ านแลว้ ผลกระทบต่อสภาวะแวดลอ้ ม ผลกระทบดา้ นบวกต่อสภาวะแวดลอ้ ม การประเมนิ ผลกระทบด้านบวกต่อสภาวะแวดลอ้ มของการนำพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดม้ า ใช้งานทดแทนพลาสติกทว่ั ไปในบางโอกาส สามารถทำได้โดยการใช้วธิ ปี ระเมนิ วฏั จกั ร

ชวี ติ (Life cycle assessment) ของพลาสตกิ ย่อยสลายไดท้ างชีวภาพ เปรยี บเทยี บกับ พลาสติกท่วั ไปทผ่ี ลิตจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลยี มเพอ่ื ประเมินผลกระทบทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ สังคมและสภาพแวดล้อมดา้ นต่างๆ เชน่ แหลง่ วัตถุดิบ ซึ่งอาจเป็นแหลง่ วัตถดุ ิบที่ปลูก หรือผลติ ทดแทนขึน้ ใหม่ได้ หรอื เปน็ ผลิตภณั ฑป์ ิโตรเคมี ปรมิ าณการใชน้ ำ้ และพลังงาน ในกระบวนการผลติ การใช้สารเคมใี นการเพาะปลูก และการปลอ่ ยแกส๊ เรือนกระจก เป็นตน้ หากมกี ารนำพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดม้ าใช้งาน และมีการกำจัดอยา่ งมี ประสิทธภิ าพแลว้ จะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในดา้ นอนื่ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. คอมโพสท์ทไ่ี ด้จากการยอ่ ยสลายพลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดท้ างชวี ภาพรว่ มกบั ขยะอนิ ทรีย์ อน่ื ๆ สามารถนำมาใชใ้ นการปรับปรุงคณุ ภาพดินโดยช่วยเพม่ิ สารอนิ ทรยี ์ ความช้ืน และ สารอาหารให้แกด่ ิน พรอ้ มทัง้ ช่วยลดปรมิ าณการใชป้ ุ๋ยและลดการเกดิ โรคในพืช การ หมกั พลาสติกย่อยสลายไดท้ ำใหเ้ กิดการหมนุ เวยี นของธาตุ ในขณะที่การใช้พลาสตกิ มัก ตอ้ งกำจดั ดว้ ยการฝังกลบหรือเผา 2. ลดเนอื้ ที่การใชง้ านของบ่อฝงั กลบขยะ โดยการใชพ้ ลาสตกิ ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และถุงทยี่ ่อยสลายไดท้ ำให้เพม่ิ ศกั ยภาพในการยอ่ ยสลายของเศษอาหารหรือขยะ อนิ ทรยี ์ในบ่อฝงั กลบ และเพม่ิ ศักยภาพในการผลิตแกส๊ มเี ทนสำหรบั ใชเ้ ป็นเชอื้ เพลงิ ใน กรณที ีบ่ อ่ ฝงั กลบไดถ้ ูกออกแบบมาใหผ้ ลติ และใช้ประโยชนจ์ ากแกส๊ มเี ทนได้ การใช้ฟิล์ม พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพเปน็ วสั ดุคลมุ หนา้ บ่อฝังกลบแทนดนิ ในแตล่ ะวนั เป็น การเพ่มิ เนอื้ ทใ่ี หบ้ อ่ ฝังกลบ เน่อื งจากการปิดหนา้ บ่อฝงั กลบดว้ ยดินทุกวนั จะใชเ้ นอื้ ที่รวม 25% ของเนอื้ ท่ใี นบอ่ ฝงั กลบ 3. การใชพ้ ลงั งานในการสงั เคราะห์ และผลติ พลาสติกยอ่ ยสลายไดท้ างชีวภาพนอ้ ยกวา่ การผลิตพลาสตกิ ท่วั ไป ดงั แสดงในตารางขา้ งล่างโดยเทยี บกับพลงั งานทใี่ ช้ในการผลิต HDPE และ LDPE โดยพลังงานที่ใชใ้ นการผลิต PHA ใกลเ้ คยี งกบั ทีใ่ ชใ้ นการผลติ PE หากการผลิตพลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้โดยใชส้ ารอาหารน้ำตาลในน้ำท้ิงจากโรงงานผลิตแป้ง กากนำ้ ตาล ตะกอนจากบ่อนำ้ ทิ้ง จะทำใหก้ ารใชพ้ ลังงานลดลง 4. การปลดปลอ่ ยแก๊สเรอื นกระจกเปน็ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มท่สี ำคญั จากการใช้ พลาสตกิ ยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพ แต่จากการศกึ ษาโดยวิธปี ระเมินวฏั จกั ร ต้ังแต่เร่มิ การ ผลิต จนถึงการกำจดั ภายหลังเสร็จส้นิ การใช้งาน พบว่า พลาสติกยอ่ ยสลายไดก้ ่อให้เกดิ การปลดปลอ่ ยแกส๊ เรอื นกระจกในปรมิ าณท่ีตำ่ กวา่ พอลเิ อทิลีน ซง่ึ เหน็ ได้อยา่ งชัดเจนใน กรณีทเี่ ปน็ พลาสติกทมี่ แี ปง้ เป็นองคป์ ระกอบพน้ื ฐาน ซ่งึ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ท่ี

เกดิ ขน้ึ จากการยอ่ ยสลายของพลาสตกิ จะถกู ใชไ้ ปในการเติบโตของพืชทจ่ี ะปลูกข้ึนมา ใหม่ทำให้เกดิ การหมนุ เวยี นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในธรรมชาติซึ่งเปน็ สว่ นหนึง่ ของวัฏ จักรคารบ์ อน ทำให้เกิดความสมดลุ ของปริมาณแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ผลกระทบดา้ นลบตอ่ สภาวะแวดล้อม 1. ก่อให้เกดิ มลภาวะทางนำ้ จากการเพมิ่ ของคา่ ความตอ้ งการออกซเิ จนทางชีวเคมี (biological oxygen demand, BOD) และคา่ ความตอ้ งการออกซิเจนทางเคมี (chemical oxygen demand, COD) อนั เนอื่ งมาจากการมปี รมิ าณสารอินทรีย์ หรอื สารอาหารในแหล่งน้ำในปริมาณสงู ทำใหจ้ ุลนิ ทรียม์ คี วามตอ้ งการใช้ออกซเิ จนในนำ้ สงู ขึน้ ด้วย ก่อใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงของระบบนเิ วศน์ทางน้ำ 2. เกิดการปนเปือ้ นของผลิตภณั ฑ์ทไี่ ด้จากการยอ่ ยสลายของพลาสติกยอ่ ยสลายไดใ้ น สภาวะแวดลอ้ ม เชน่ การยอ่ ยสลายของพลาสติกในสภาวะการฝังกลบหรอื การคอม โพสท์ อาจทำใหส้ ารเตมิ แต่งตา่ งๆ รวมถึง สี พลาสติกไซเซอร์ สารคะตะลสิ ตท์ ี่ตกคา้ ง รว่ั ไหลและปนเปอ้ื นไปกับแหลง่ นำ้ ใต้ดนิ และ บนดนิ ซ่ึงสารบางชนิดอาจมีความเปน็ พษิ ตอ่ ระบบนิเวศน์ 3. เกดิ มลภาวะจากขยะอนั เนื่องมาจากการใชพ้ ลาสติกยอ่ ยสลายไดท้ างชวี ภาพที่ถกู ทงิ้ หรอื ตกลงในสิง่ แวดลอ้ มทีม่ ีสภาวะไม่เหมาะสมต่อการยอ่ ยสลาย เชน่ ถกู ลมพัด และติด ค้างอยบู่ นกิ่งไม้ ซ่งึ มีปรมิ าณจลุ ินทรยี ไ์ มม่ ากพอก็จะไมส่ ามารถย่อยสลายได้ดี นอกจากนี้ การใชพ้ ลาสติกยอ่ ยสลายไดอ้ าจทำให้ผู้บรโิ ภคเขา้ ใจผดิ วา่ จะสามารถกำจัดได้งา่ ยและ รวดเรว็ ทำให้มีการใชง้ านเพ่มิ ขน้ึ และพลาสตกิ ย่อยสลายได้บางชนดิ อาจใช้เวลานาน หลายปีในการยอ่ ยสลายทางชีวภาพอย่างสมบรู ณ์ และกอ่ ให้เกดิ อันตรายต่อสัตว์ทกี่ ลนื กนิ พลาสตกิ เขา้ ไป เน่อื งจากไมส่ ามารถย่อยสลายไดภ้ ายในกระเพาะของสตั ว์ 4. ความเปน็ พษิ ของคอมโพสทท์ ไ่ี ดจ้ ากการหมกั พลาสติกยอ่ ยสลายได้ทางชีวภาพ เนอ่ื งจากการมสี ารตกคา้ ง หรือใชส้ ารเติมแต่งทมี่ ีความเป็นพษิ และสง่ ผลกระทบต่อพชื และสัตวท์ ี่อาศยั อยูใ่ นดิน เชน่ ไสเ้ ดือน ดงั น้ันจงึ ตอ้ งศกึ ษาความเปน็ พษิ (toxicity) ของ คอมโพสทด์ ้วย ชน้ิ สว่ นทเี่ กิดจากการหกั เปน็ ช้ินเล็กๆ เกดิ การสะสมอยใู่ นดินทีใ่ ชท้ าง การเกษตรในปรมิ าณเลก็ นอ้ ยจะชว่ ยให้เกดิ การหมนุ เวียนของอากาศไดด้ ี จงึ นิยมใช้ใน สวนดอกไม้ ไรอ่ ง่นุ และใสใ่ นกระถางเพอื่ ทำหน้าทีป่ รบั สมบัตขิ องดิน แต่อย่างไรกต็ าม อาจเกดิ การสะสมของเศษพลาสตกิ ในดินมากเกนิ ไปอาจส่งผลตอ่ คุณภาพของดินและ ปริมาณผลติ ผลท่ีเพาะปลูกได้

5. เกดิ สารประกอบท่ีไมย่ อ่ ยสลาย เช่น สารประกอบประเภทแอโรแมติกจากการยอ่ ย สลายของพลาสติกบางชนดิ เชน่ AACs โดยสว่ นท่เี ป็นวงแหวนแอโรแมติกในพอลิเมอร์ จะเกดิ การเปลี่ยนแปลงเป็นสารประกอบขนาดเล็ก เชน่ กรดเทเรฟทาลคิ (terephthalic acid (TPA) ซ่งึ ยอ่ ยสลายทางชวี ภาพไดไ้ ม่ดีนกั 6. การตกคา้ งของสารเติมแต่งท่ีเตมิ ลงในพลาสติกย่อยสลายได้ เพ่ือปรบั สมบัตใิ ห้ เหมาะสมกับการใชง้ าน เช่นเดยี วกับพลาสติกทว่ั ไป เมอ่ื พลาสติกเกดิ การยอ่ ยสลาย สารเติมแต่งเหล่านอี้ าจปนเปอื้ นอย่ใู นสภาวะแวดลอ้ มได้ เช่น สารช่วยในการผสม พลาสตกิ ตา่ งๆ เข้าด้วยกนั เชน่ methylene diisocyanate (MDI) สาร พลาสตกิ ไซเซอร์ทีม่ ักเตมิ ในพลาสตกิ เพือ่ ความยดื หยุ่น เชน่ glycerol, sorbital, propylene glycol, ethylene glycol, polyethylene glycol, triethyl citrate และ triacetine สารตัวเติมทีม่ ักเติมลงในพลาสตกิ เพอ่ื ทำใหร้ าคาถูกลง ส่วนใหญเ่ ปน็ สารอนิ นทรยี ์ จงึ มักเกิดการสะสมในดนิ และสภาพแวดลอ้ ม อยา่ งไรกต็ ามสารตัวเติมมักคอ่ นขา้ ง เสถียร จงึ มักไม่ทำใหเ้ กิดความเป็นพษิ เช่น CaCO3 TiO2 SiO2 และ talc เปน็ ต้น สารคะตะลิสตท์ ี่ใชใ้ นการสงั เคราะห์พลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดม้ กั เปน็ สารประกอบของโลหะ ซึ่งในการผลติ โดยทั่วไปมกั มีคะตะลสิ ต์เหลอื ค้างอยู่ในเน้อื พลาสติกเสมอ หากเป็น พลาสติกทัว่ ไปท่ีไมย่ อ่ ยสลาย คะตะลิสตจ์ ะตดิ คา้ งอยู่ในเนือ้ พลาสตกิ แต่ในกรณีของ พลาสตกิ ย่อยสลายได้เมอ่ื เกดิ การย่อยสลายจะมกี ารปลดปล่อยคะตะลสิ ต์ทเ่ี หลืออยู่ ออกมาสสู่ ภาพแวดล้อมได้ ชนดิ ของโลหะในคะตะลิสตท์ ่ีใชใ้ นการผลิตพลาสติกยอ่ ยสลายได้ ขยะแตล่ ะประเภท ระยะเวลาในการยอ่ ยสลาย นานแค่ไหน ? ระยะเวลาในการยอ่ ยสลาย ของขยะแต่ละประเภท – เศษกระดาษ ใช้เวลา 2-5 เดือน – เชอื ก ใช้เวลา 3-14 เดือน

– ถว้ ยกระดาษเคลือบ ใชเ้ วลา 5 ปี – กน้ กรองบุหรี่ ใช้เวลา 15 ปี – รองเทา้ หนงั ใช้เวลา 25-40 ปี – กระปอ๋ งอลมู เิ นยี ม ใช้เวลา 80-100 ปี – กระปอ๋ งเหลก็ ใช้เวลา 100 ปี – ขวดพลาสตกิ ใช้เวลา 450 ปี – ถงุ พลาสติก ใช้เวลา 450 ปี – ฝาพลาสตกิ ใช้เวลา 450 ปี – หลอดน้ำ ใชเ้ วลา 450 ปี – โฟม ไม่ยอ่ ยสลาย – ขวดแกว้ ไมย่ อ่ ยสลาย • โละแล้วไปไหน? ช่องทางการบรจิ าค ของเกา่ ของหลอื ใช้ เคลยี ร์บา้ นไดบ้ ญุ • การแยกขยะแบบถูกวิธี – รู้จกั กับขยะประเภทต่างๆ ใหม้ ากขนึ้ 1 มอื้ ของเรา ใชเ้ วลายอ่ ยสลายนานเทา่ ไหร่ เคยคิดกันมัย้ ว่า ในแตล่ ะวันทเ่ี ราใชช้ ีวิตกนั เน่ีย เราสร้างขยะไปกี่ชน้ิ แลว้ แต่ละชิ้นมัน ตอ้ งใชเ้ วลากป่ี กี วา่ จะยอ่ ยสลาย ลองไปดูกันหน่อยซิ

เรือ่ งของขยะ นานแคไ่ หน ถึงจะย่อยสลายหมด ? จากทเ่ี หน็ กนั แล้ววา่ ขยะพลาสติกทั้งหลายแหล่ ใชเ้ วลาย่อยสลายหลายร้อยปี แต่ทกุ วนั น้ีคนไทยใชแ้ ลว้ ทงิ้ กนั แบบโนแครโ์ นสน โดยเฉพาะถงุ พลาสตกิ ใช้กนั โดยเฉลย่ี คน ละ 240 ใบ ตอ่ เดอื น ในขณะทฝ่ี ัง่ ยโุ รปใช้แคค่ นละ 5 ใบ ตอ่ เดอื นเทา่ นั้น จะรอให้ยอ่ ย สลาย ขยะกค็ งลน้ โลก จงึ ต้องนำไปรไี ซเคิล

ระยะเวลาการยอ่ ยสลายของขยะในแต่ละประเภท • ผ้าฝา้ ย : 1 - 5 เดือน

• เศษกระดาษ : 2 - 5 เดอื น • เปลือกสม้ : 6 ดอื น • เชือก : 3 - 14 เดอื น • ผา้ ขนสตั ว์ : 1 ปี • ถว้ ยกระดาษเคลอื บ : 5 ปี • ก้นกรองบุหร่ี : 12 ปี • ไม้ : 13 ปี • รองเทา้ หนัง : 25 - 40 ปี • กระป๋องอะลมู เี นียม : 80 - 100 ปี • ถุงพลาสตกิ : 450 ปี • ผ้าออ้ มเด็กสำเร็จรปู : 500 ปี • โฟม : ไมย่ อ่ ยสลาย • ขวดแก้ว : ไมย่ อ่ ยสลาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook