Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สือการสอนการแบ่งยุคของของดนตรีไทย

สือการสอนการแบ่งยุคของของดนตรีไทย

Published by kasitsak92, 2019-10-25 03:12:12

Description: Thai Music
ครูคศิษฐ์ศักดิ์ จิตตรง ครูดนตรีไทย โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี เอกสารประกอบการสอนวิชาดนตรีไทย

Search

Read the Text Version

การแบ่งยคุ สมยั ของดนตรีไทย

การแบง่ ยุคสมัยของดนตรีไทย สมยั ก่อนสุโขทยั สมยั ทวารวดี สมยั สุโขทยั สมัยอยุธยา สมยั ธนบุรี สมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์

สมยั กอ่ นกรงุ สุโขทยั

กลองมโหระทกึ

วัฒนธรรมดองชอน วัฒนธรรมยุคสาริด ของเวยี ดนาม ขอบกลองตกแตง่ ด้วย สญั ลักษณห์ น้ากลอง ทา่ ทางของกบ เป็ นรูปเปลวไฟ ทตู ของความสมบรู ณ์ ลักษณะคล้าย ทรงกระบอก หน้า โลหะผสมทองแดง กลองและฐานผายออก

กลองมโหระทกึ กลองมโหระทกึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พัฒนาการดา้ นความสามารถของมนุษย์ เป็ นโบราณวตั ถุทกี่ ระจา่ ยไปท่วั เอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ และสันนิษฐานวา่ มาสู่ ดนิ แดนไทย ทางแมน่ า้ โขง

ภาพลกั ษณะคลา้ ย ขบวนแห่ ของผู้คน เพอื่ ทา พธิ กี รรมอยา่ งใดอย่างนึง มีคน ช่วยกนั หา้ มฆ้องหรอื กลองทม่ี ี ขนาดใหญ่ ภาพเขียนสถี า้ ตาด้วง จ.กาญจนบุรี





สมยั ทวาราวดี

ภาพนักดนตรีหญิงหา้ คน แตง่ กาย หม่ สไบไม่สวม เสอื้ เกล้ามวยผมทรงสูง ภาพปนู ปั้นประดับฐานพระเจดยี ท์ เ่ี มอื งคบู วั อาเภอเมอื งคบู วั จ.ราชบุรี

นักร้อง กรับ ฉ่ิง พณิ นา้ เต้า พณิ ๕ สาย

สมยั สุโขทยั

“เสยี งพาทย์ เสยี งพณิ เสยี งเลอื่ น เสยี งขับ ใครจักมัก เล่น เลน่ ใครจักมักหวั หวั ใคร จักมักเลอื่ น เลอ่ื น” ( ศิลาจารึก ภาคท่ี ๑ หน้า ๕๕ )

“บา้ งเต้น บา้ งรา บา้ งฟ้อน ระบา บนั ลอื เพลง ดุรยิ ะดนตรี บา้ งดดี บา้ งสี บา้ งตี บ้างเป่ า บา้ งขับสพั พสาเนียง เสยี งหมู่ นักคุนจุนไป เดยี รดาษ พนื้ ฆ้องกลองแตรสงั ข์ ระฆังกังสดาล มโหระทกึ กกึ กอ้ ง ทานุกดี” ( ดนตรีในไตรภมู ิ พระร่วง )

วงบรรเลงพิณ

วงขบั ไม้ เป็นวงท่ีเก่าแกท่ ่ีสดุ ในดา้ นดนตรี เพ่ือการขบั กลอ่ ม มีบทบาทในพระราชพิธี สมโภชของพระมหากษัตรยิ แ์ ละเจา้ นาย ชน้ั สงู กลอ่ มพระบรรทม



วงป่ีพาทยเ์ ครอ่ื ง ๕ วงปี่ พาทยเ์ คร่ืองหา้ ชนิดเบา

วงป่ีพาทยเ์ ครอ่ื งหา้ ชนิดหนกั

สมยั อยธุ ยา

การดนตรสี มยั นี้ มีการปรบั ปรุงตงั้ แตส่ มยั อยธุ ยาตอนตน้ จนถงึ ตอนปลาย มีเครอ่ื ง ดนตรที ่เี พ่ิมขนึ้ ดงั ปรากฏหลกั ฐานในกฎมณเฑียรบาลสมยั พระบรมไตรโลกนาถวา่ “หา้ มรอ้ งเพลงเรอื เป่าขลยุ่ สีซอ ดดี กระจบั ป่ี ดีดจะเข้ ตีโทนทบั ใน เขตพระราชฐาน”

การประสมวงในสมยั อยธุ ยา วงป่ี พาทยเ์ คร่ืองหา้

วงมโหรเี ครอ่ื งส่ี

วงมโหรเี ครอ่ื งหก

สมยั กรงุ ธนบุรี เน่อื งจากระยะเวลาในสมัยธนบรุ มี ีเพียง ๑๕ ปี และสภาพ บ้านเมอื งอยใู่ นระยะฟน้ื ฟบู ูรณะประเทศหลงั สงคราม จงึ ไม่ปรากฏ หลกั ฐานการเปลย่ี นแปลงใด ๆ เกย่ี วกบั เครื่องดนตรไี ทย โดยยังคง ยึดแบบมาจากสมัยอยธุ ยา

สมยั รัตนโกสินทร-์ ปัจจบุ นั

รชั การท่ี ๑ สมยั อยธุ ยา

รชั การท่ี ๒

พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลศิ หลา้ นภาลยั ทรงพระปรีชา สามารถดา้ นการบรรเลงซอสาม สายเป็นอยา่ งยิง่ ซอสามสายส่วน พระองคม์ ชี อื่ เรียกวา่ “ซอสายฟ้า ฟาด”

รชั การท่ี ๓

รชั การท่ี ๔

วงมโหรเี ครอ่ื งใหญ่

วงเครอ่ื งสายป่ีชวา

วงป่ีพาทยน์ างหงส์

รชั การท่ี ๕ วงป่ีดกึ ดาบรรพ์

รชั การท่ี ๖ วงป่ีพาทยม์ อญ

หลวงประดิษฐ์ ไพเราะ (ศรศลิ ปะบรรเลง ) ได้ นาองั กะลงุ จากชวา มาดัดแปลงใหม้ คี รบ ๗ เสียง (แตเ่ ดิม มี ๕ เสยี ง)

ขมิ ไทย

วงเครอ่ื งสายผสม

รชั การที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ไดพ้ ระราชนพิ นธ์ บทเพลงอันไพเราะยง่ิ ๓ เพลง โหมโรงคลืน่ กระทบฝง่ั เขมรลออองค์ เถา ราตรีประดบั ดาว เถา

พ.ศ. ๒๔๗๕ ดนตรไี ทยซบเซาลง เพราะ เปน็ ช่วง หวั เร้ียวหวั ต่อทางการเมือง ประกอบกับน โยบาลของรฐั บาลท่ีตอ้ งการใหป้ ระเทศไทย ทดั เทยี มกบั อารยประเทศ จึงห้ามมใิ ห้เล่น ดนตรี ถา้ ไมไ่ ด้รับอนุญาตกอ่ น นับแตน่ น้ั ดนตรไี ทยกซ็ บเซาลง

รชั การที่ ๘ การดนตรีไทยไมม่ กี ารปรบั ปรุงใด ๆ เพยี งแคค่ งรปู แบบเดมิ ไว้เทา่ น้นั

รชั การท่ี ๙

วงมหาดรุ ยิ างค์

พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในพระบรมโกศ “ ทไ่ี ดฟ้ งั ไปก็เกิดความรู้สกึ ปติ ิอย่างยง่ิ เพราะเห็นว่าดนตรไี ทยน้บี รรเลง ดว้ ยวงใหญ่ทาให้เกดิ พลัง ทาใหเ้ กดิ ความมหัศจรรย์ทีเดียว เมอื่ ได้แสดงเชน่ นั้น เลย คดิ ว่าดนตรีไทยนจ้ี ะทาให้ใหญโ่ ตก็ทาได้ ในการนีเ้ ป็นที่น่าชนื่ ชมและชมเชยวา่ ทา ด้วยความพากเพียรยา่ งย่ิง เพราะว่าจะต้องฝกึ กันอย่างมากท่ีจะให้วงใหญอ่ ยา่ งนี้ บรรเลงด้วยความไพเราะได้อย่างดี หมายถึงจะตอ้ งฝึกมากและต้องรักษาวนิ ยั ใหจ้ ง ดี ท้งั นกี้ แ็ สดงให้เหน็ ว่าทกุ คนมีความตง้ั ใจที่จะรักษาวฒั นธรรมของบา้ นเมอื ง คือ ดนตรขี องเรา ดนตรไี ทย “

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้ความสนพระราช หฤทัย พระองคท์ รงปรชี าสามารถในดา้ นดนตรีไทยจนเปน็ ทปี่ ระจักษ์ ทาให้ หน่วยงาน สถาบนั ต่าง ๆ หันมาจดั กิจกรรมดนตรไี ทยเพอ่ื สนองเบอ้ื งพระยุคลบาท ของพระองค์



รัฐบาลกาหนดใหม้ ปี รี ณรงค์วัฒนธรรมไทย มีการประกวดดนตรไี ทยใน ระดับตา่ ง ๆ รวมท้ังเยาวชนร่นุ ใหมใ่ ห้ความสนใจดนตรีไทยเพ่ิมข้นึ จงั หวงั ไดว้ ่า ดนตรไี ทยยงั คงอยคู่ ู่สงั คมไทยตลอดไปนานเท่านาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook