Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit 6

unit 6

Published by 6032040028, 2018-08-18 18:47:27

Description: unit 6

Search

Read the Text Version

สาย LAN สายแลน (Lan Cable) เป็นสายนาสัญญาณท่ีใช้ต่อกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายอย่าง Switch หรือHub และสายแลนก็ใช้ต่อกับ โมเด็มเราเตอร์เพื่อเช่ือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วย การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์โดยตรงก็สามารถท่ีจะใช้สายแลนในการเช่ือมต่อได้เช่นกัน สายแลนการเลือกซ้ือสายแลนน้ันเราควรเลือกซ้ือให้เข้ากับอุปกรณ์เช่ือมต่อ อาทิ Switch HUB Modem Router โดยส่วนใหญ่แล้วอุปกรณ์เหล่าน้ีจะมีอัตราความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลอยู่ท่ีประมาณ 10/100/1000 Mbps ซึ่งสายแลนท่ีนิยมใช้งานมากที่สุดจะเป็นสายแบบ UTP (UNSHIELD TWISTED PAIR)คือ สายตีเกลียวที่ไม่มีตัวป้องกัน โดยสายแลนต้องมีการเข้าหวั ต่อเพอ่ื เช่อื มเขา้ อปุ กรณ์ ซงึ่ หัวนเ้ี รยี กวา่ RJ45สายแลนมีกป่ี ระเภท1.แบ่งตามการใช้ภายนอกและภายในอาคาร โดยท่ีสายภายนอกอาคารจะมีปลอกหุ้มที่แข็งกว่าและหนากว่าสายภายในเพื่อให้ทนต่อสภาพอากาศภายนอกอาคาร

2.แบ่งตามลักษณะการหุ้มฉนวน มีต้ังแต่ฉนวนอย่างเดียวไม่มีฟอยล์ มฟี อยล์นอก และมฟี อยล์ห้มุ ทง้ั หมด3. แบง่ ตามคณุ ภาพความถีท่ ีร่ องรับได้– ประเภทท่ีหนึ่ง คือ UTP UTP CAT5 คือ สายแลน ที่เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่า ความเร็วสูงสุดอยู่ท่ี 100 Mbps สายชนิดนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้งานกันซักเท่าไรเนื่องด้วยอความเร็วในการถา่ ยโอนข้อมลู ทต่ี ่า– ประเภทที่สอง UTP CAT5e คอื สายแลนท่ีเป็นสายทองแดงท่ีมีความเรว็ ที่ตา่ ความเรว็ สูงสุดอยทู่ ่ี 1 Gpbs– ประเภทที่สาม UTP CAT6 คือ สายแลนท่ีเป็นสายทองแดงท่ีมีความเร็วที่ต่า ความเร็วสูงสุดอยทู่ ่ี 10 Gpbs BANWIDTH อยู่ท่ี250MHz– ประเภทท่ีสี่ UTP CAT7 คือ สายแลนที่เป็นสายทองแดงท่ีมีความเร็วที่ต่า ความเร็วสูงสุดอยทู่ ่ี 10 Gpbs BANWIDTH อยู่ท่ี600MHz4. แบง่ ตามการเข้าหวั ของสายแลนตามลกั ษณะการใชง้ านสายแลน เปน็ สายนาสัญญาณทเ่ี ราควรเลือกให้เหมาะกับอุปกรณ์ทีเ่ ชือ่ มตอ่ และการเข้าหวั ของสายแลนกม็ สี ว่ นสาคญั อกี สว่ นหนึง่ ท่ีจะทาให้การเชือ่ มต่อมีความเสถียรภาพและการสง่ ขอ้ มูลที่ลื่นไหลมากยง่ิ ข้ึน ท้งั นีท้ ้งั น้นั การเลอื กใช้งานสายแลนเรากค็ วรเลอื กตามลักษณะงานที่เราจะใช้งานด้วยเชน่ กนั

การด์ ที่ใช้ในการเช่อื มต่อเครอื ข่ายการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย หรือเรียกว่าการ์ด LAN เป็นการ์ดสาหรับต่อเครื่องพีซี เข้ากับสายเคเบิล ดังนั้นจึงต้องมีพอร์ตสาหรับเสียบสายแบบใดแบบหน่ึงท่ีจะใช้ หรืออาจมีพอร์ตสาหรับสายหลายแบบกไ็ ด้ เช่น มพี อรต์ สาหรบั สายโคแอกเชียล และสาหรับสายคู่ตีเกลียว แต่สาหรับการ์ดรุ่นใหม่ๆ มักจะเหลือแต่พอร์ตสาหรับสายค่ตู เี กลียวเพราะปัจจบุ นั กาลังเป็นท่ีนิยม นอกจากน้ียังมีการ์ดที่ทามาสาหรับใช้ต่อกับสายใยแก้วนาแสงซึงมักจะมีราคาแพงและใช้เฉพาะบางงานการด์ LAN จะมสี ลอ็ ตทีใ่ ชอ้ ยู่ 2 ชนดิ คอื ISA 8 และ 16 บิต การ์ดแบบน้ีจะสามารถรับส่งข้อมูลกับเคร่ืองพีซีได้ทีละ 8 หรือ 16 บิตท่ีความถี่ประมาณ 8 MHzเท่าน้ัน โดยผ่านบัสและสล็อตแบบ ISA ตัวอย่างเช่น การ์ดNE1000 และ NE2000 ที่ผลิตตามแบบของบริษัท Novell เป็นต้น ซึ่งความเร็วในการทางานจะต่ากว่าแบบ PCI ซึ่งในปัจจุบันแทบจะไมพ่ บแล้ว PCI 32 บิต เป็นการ์ดท่ีใช้อยู่ท่ัวไปในปัจจุบัน ซ่ึงสามารถรับสง่ ข้อมลู ไดท้ ีละ 32 บติ ผา่ นบัสแบบ PCI ด้วยความเร็วสงู ถงึ 33 MHz ปจั จบุ ันการ์ดแบบสลอ็ ต PCI ราคาลดลงมาก

อุปกรณท์ ี่ใชใ้ นการเช่อื มโยง1. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card) หรือการ์ดแลนหรืออีเทอร์เน็ตการ์ด ทาหน้าที่ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยูเ่ ข้ากบั ระบบเครือข่ายได้2. ฮับ (Hub) คือ อุปกรณ์ท่ีรวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ท่ีจุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลท่ีรับ-ส่งผ่านฮับจากเคร่ืองหน่ึงกระจายไปยงั ทกุ สถานีท่ีตดิ ตอ่ อยบู่ นฮบั นัน้

3. สวิตช์ (Switch) คือ อุปกรณ์รวมสัญญาณท่ีมาจากอุปกรณ์รับ-ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ คือ การฮับ-ส่งขอ้ มลู จากสถานีหรอื อุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ท้ังนี้เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลหรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่าแอดเดรสของสถานหี ลายทางไปท่ีใด4. บริดจ์ (Bridge) คือ บริดจ์สามารถอ่านเฟรมข้อมูลท่ีส่งมาได้ว่ามาจากเครื่องในเซ็กเมนต์ใด จากนั้นจะทาการส่งข้อมูลไปยังเครื่องซ่ึงอาจอยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันหรือต่างเซ็กเมนต์ก็ได้ ซึ่งความสามารถดังกล่าวทาให้ช่วยลดปัญหาความคับค่ังของข้อมลู ในระบบได้

5. รีพีตเตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณเพ่ือให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลข้ึน คือ รีพีตเตอร์จะปรับรูปแบบเดิม เพ่ือได้สัญญาณสามารถส่งต่อไปได้อีก เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายแลนหลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซ่ึงความยาวของแต่ละเซ็กเมนต์น้ันจะมีระยะทางที่จากัด ดังนั้น อุปกรณ์อย่างรีพีตเตอร์จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้6. โมเด็ม (Modem) คือ อุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอรใ์ ห้สามารถเช่ือมคอมพิวเตอร์ท่ีอยูร่ ะยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าท่ีแปลงสัญญาณ ซงึ่ แบง่ ออกเป็นท้ังภาคสง่ และภาครบั

7. เราเตอร์ (Router) ในการเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกัน ดังน้ัน จึงมีเส้นทางเข้า - ออกของข้อมูลได้หลายเสน้ ทาง และแตล่ ะเสน้ ทางอาจใช้เทคโนโลยเี ครือขา่ ยทต่ี ่างกนั8. เกตเวย์ (Gateway) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีช่วยในการส่ือสารข้อมูล หน้าท่ีหลักของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 เครือข่าย หรอื มากกวา่ ท่มี ลี ักษณะไม่เหมือนกนั

เครื่องคอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ในระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ท่ีทาหน้าท่ีเป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ในระบบเครือข่ายท้องถ่ิน (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรยี กเครือ่ งท่ีรอรับบรกิ ารวา่ ลกู ข่ายหรอื สถานีงานเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีนามาต่อเช่ือมเข้ากบั ระบบเครือขา่ ย เพ่ือทาหนา้ ท่ีเป็นสถานีงาน ซึ่งถูกใช้โดยบุคคลท่ัวไป ที่เก่ียวข้องกับงานน้ันๆ ในระบบเครือข่ายเครื่องคอมพิวเตอร์น้ีจะทา การประมวลผลส่วนใหญ่จะกระทาที่สถานีงาน และใชท้ รพั ยากรทเ่ี ก็บอย่ใู นเคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ มข่ า่ ย (Server)

ซอฟต์แวรเ์ ครอื ข่ายซอฟต์แวร์เครือข่าย Cisco (IOS, XE, XR และ NX-OS) เป็นซอฟต์แวร์เครือข่ายท่ีถูกใช้อย่างแพร่หลายท่ีสุดในโลก ผสานรวมเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด บริการธุรกิจที่สาคัญ และสนับสนุนแพลตฟอรม์ ฮาร์ดแวร์ในวงกวา้ งคุ ณ ส า ม า ร ถ ไ ด้ รั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ซ อ ฟ ต์ แ ว ร์ ท่ี แ บ่ ง ปั น แ ล ะความสามารถในการรักษาความคงที่ด้วยโค้ดที่ใช้ซ้าได้ทั่วทั้งเครือข่าย ช่วยให้คุณส่งมอบบริการได้เร็วข้ึนและได้พัฒนานวตั กรรม

โปรโตคอลโปรโตคอลคือชุดของกฎสาหรับรูปแบบข้อความและโพรซีเดอร์ท่ีอนุญาตให้เครื่องและแอ็พพลิเคชันโปรแกรมแลกเปลี่ยนข้อมูลกฎเหล่านี้ต้องเป็นไปตามเครื่องแต่ละเครื่องที่เกี่ยวข้องในการสื่อสาร เพ่ือให้โฮสต์การรับสามารถเข้าใจข้อความนั้นๆชดุ TCP/IP ของโปรโตคอลสามารถเข้าใจได้ในรูปของ เลเยอร์รูปภาพนี้แสดงเลเยอร์ของโปรโตคอล TCP/IP จากด้านบนสุดประกอบด้วย Application Layer, Transport Layer, NetworkLayer, Network Interface Layer และ Hardware

โมเดม็ เป็นอุปกรณ์สาหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสมั ผสั กบั โลกภายนอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สาหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของคุณสามารถส่ือสารกับคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ได้ท่ัวโลก โมเด็มจะสามารถทางานของคุณให้สาเร็จได้ก็ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่หน่ึงซึ่งโมเด็มจะทาการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคสู่ ายโทรศัพท์โมเดม็ แตล่ ะประเภทจะมคี ณุ ลกั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกันดงั น้ี1. ความเร็วในการรับ – ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ท่ีโมเด็มสามารถทาการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็มอื่นๆมีหน่วยเป็นบิต/วินาที (bps) หรอื กิโลบิต/วนิ าที (kbps)2. ความสามารถในการบบี อัดข้อมูล ข้อมูลข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้นสามารถทาให้มีขนาดกะทัดรัดด้วยวิธีการบีบอัดข้อมูล(compression) ทาให้สามารถส่งข้อมูลได้คร้ังละเป็นจานวนมากๆ เป็นการเพ่มิ ความเร็วของโมเด็มในการรบั - ส่งสัญญาณ

3. ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ๆสามารถสง่ และรบั โทรสาร ได้ดีเชน่ เดยี วกบั การรับ - ส่งข้อมูลหากคุณมีซอฟท์แวร์ท่ีเหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้แฟคซ์โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์(printer)ได้เม่ือคุณพิมพ์เข้าไปที่แฟคซ์โมเด็มมันจะส่งเอกสารของคุณไปยังเคร่ืองโทรสารท่ีปลายทางได้4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้วิธีการควบคุมความผิดพลาด ต่างๆ มากมายหลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันว่าจะไม่มีข้อมูลใดๆสูญหายไประหวา่ งการสง่ ถา่ ยข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปยังอีกเครือ่ งหนงึ่5. ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอกโมเด็มท่ีจาหน่ายในท้องตลาดทั่วๆ ไปจะมี 2 รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติดต้ังภายนอก และ แบบติดตงั้ ภายใน6. ใช้เป็นโทรศัพท์ได้โมเด็มบางรุ่นมีการใส่วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถในการรับ - ส่งข้อมูลและโทรสารด้วย

จดั ทาโดยนางสาวภัทรวรนิ ทร์ ย้ิมนาโพธิ์ ปวส. 2 คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ หอ้ ง 1 เลขที่ 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook