Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2565

กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2565

Published by Kan09 Kan09, 2022-06-12 05:57:45

Description: กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2565

Search

Read the Text Version

ประเภทรางวัล ตาบลเข้มแข็งตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดีเลิศระดับจงั หวัด ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุร ีจงั หวดั กาญจนบุร ี โดยสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี

คานา สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี ได้ดาเนินการรวบรวมผลงานของตาบลหนองบัว มิติต้านความมั่นคง มิติด้านความม่ันคั่ง และมิติด้านความยั่งยืน ตามกิจกรรมกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจาปี 2565 ประเภทรางวัลตาบลเข้มแขง็ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดีเลิศระดับจงั หวดั ดังน้ัน เอกสารฉบับน้ีจงึ เปน็ การบันทกึ ผลงานในทุกด้านของตาบลหนองบัว ผู้จดั ทาหวังอย่างย่ิงว่า เอกสารฉบบั นี้จะเปน็ ประโยชน์แก่ผู้ทสี่ นใจต่อไป คณะผู้จดั ทา

สารบัญ หน้า เรอ่ ื ง 11-14 15-26 สภาพท่ัวไปและข้อมูลพื้นฐาน 27-29 1. มิติด้านความม่ันคง 30 31 1.1 ด้านความม่ันคงทางอาหาร 32-41 1.2 ด้านความมั่นคงในชวี ติ 1.3 ด้านความสามัคคีปรองดอง 43-46 1.4 ด้านการยดึ หลักประชาธปิ ไตย 47 1.5 ด้านการปลอดอบายมุข และปลอดยาเสพติด 48-50 1.6 ด้านการบรหิ ารจดั การชุมชน 52-56 2. มิติด้านความม่ันคั่ง 57 2.1 ด้านการสรา้ งโอกาสและลดความเหลื่อมลา้ ทางสังคม 58-65 2.2 ด้านแหล่งทุนชุมชน 66-72 2.3 ด้านเศรษฐกิจชุมชนเขม้ แข็ง 73-95 3. มิติด้านความย่ังยนื 3.1 ด้านการน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ 3.2 ด้านการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 3.3 เพ่ือการส่งเสรมิ การเรยี นรเู้ พ่ือการพ่ึงตนเอง 3.4 ด้านการสรา้ งเครอื ข่ายภาคีการพัฒนา ภาคผนวก

วสิ ยั ทศั น์ตำบลหนองบวั



1 สภาพทวั่ ไปและข้อมลู พ้ืนฐาน ประวัติความเป็นมา ตาบลหนองบัว เปน็ ตาบลหนง่ึ ในอาเภอเมืองกาญจนบุร ี ไม่ปรากฏว่ามีแต่สมัยใดจากคาบอกเล่า พบว่า ตาบลหนองบัวมีการต้ังชุมชนมานานกว่า 200 ปี การท่ีในตาบลหนองบัวมีหนองน้าใหญ่และมีดอกบัวขึ้นอยู่ มากมาย จงึ ทาให้ผู้ที่ผ่านมาเรยี กวา่ “หนองบัว” ต่อมาได้มีการต้ังบ้านเรอื นมากข้ึนจนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ และจัดต้ังเป็นตาบลหนองบัว จากการบันทึกประวัติของหลวงพ่อยิ้ม กล่าวไว้ว่า ตาบลหนองบัวเป็นตาบล ที่เจ้านายและข้าราชการผู้ใหญ่จะมาเยี่ยมเยียนเสมอ เน่ืองจากมีหลวงพ่อเฒ่าย้ิมท่ีเป็นพระอาจารย์ชื่อดัง เก่ียวกับเครอ่ ื งรางของขลัง หลวงพ่อเฒ่ายิ้มจะทาเครอ่ ื งรางของขลัง ชนิดใดก็ขลังไปทุกอย่าง จนกิตติศัพทข์ องหลวงพ่อเล่ืองลือไปหลาย หัวเมือง จนกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ (เจา้ ชายอาภากรเกียรติวงษ์) ซึ่งโปรดทางวชิ าไสยศาสตรไ์ ด้เดินทางมาตาบลหนองบัว เพื่อขอ เรยี นวชิ า จากหลวง พ่อเฒ่ายิ้ม ตาบลหนองบัวมีคาขวัญคื อ “หลวงปู่ยิ้ม-เหรยี ญลือเลื่อง พระเครอ่ ื งดี ประเพณีรอ่ ยพรรษา สถานศึกษา ม.ราชภัฏแจ่มจารสั พิพิธภัณฑ์ ค่าอนันต์พระทองคา สวยล้าพระบาทไม้ เย็นสบายสวนสาธารณะ ถ้าพุพระ-ถ้ามะเกลือ อรอ่ ยเหลือแกงบวน ชาวบา้ นล้วนนามสกุล “บวั ” แผนท่ตี ้ังตาบล แผนท่เี ทศบาลตาบลหนองบัว แผนทข่ี อบเขตตาบลหนองบัว

2 1 ด้านกายภาพ 1.1 ขนาดพ้ืนท่ี ตาบลหนองบัว มีเน้ือท่ี 293 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 183,125 ไร่ มีการแบ่งเขต 2 เขต คือ เทศบาลตาบลหนองบัวและองค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว -เทศบาลตาบลหนองบัว พื้นท่ี 8.5 ตารางกิโลเมตร อาณาเขต ทศิ เหนือ ติดต่อกับ ตาบลแก่งเสี้ยน ทิศใต้ ติดต่อกับ แม่นา้ แควใหญ่ ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับ ตาบลแก่งเส้ียน ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลลาดหญ้า -องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว อาณาเขต ทศิ เหนือ ติดต่อกับ ตาบลแก่งเสี้ยน ทศิ ใต้ ติดต่อกับ ตาบลบา้ นเก่า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตาบลหนองหญ้า ทศิ ตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลลาดหญ้า 1.2 ด้านประชากร ตาบลหนองบวั มีประชากรทั้งสิ้น 7,563 คน เปน็ ชาย 3,649 คน หญิง 3,914 คน มจี านวนครวั เรอื น 2,838 ครวั เรอื น (ข้อมูลจาก จปฐ ปี 2564) หมู่ท่ี /บา้ น /ชุมชน ชาย หญิง รวม จานวนครวั เรอื น หมู่ท่ี 1 ชุมชนห้วยหอยกาบ 378 381 759 321 หมู่ท่ี 2 ชุมชนท้ายตลาดหนองบวั 379 442 821 252 หมู่ที่ 3 ชุมชนตลาดหนองบวั 339 341 680 230 หมู่ที่ 4 บ้านพุพระ 653 712 1,365 537 หมู่ที่ 5 บ้านพุเลียบ 487 544 1,031 341 หมู่ที่ 6 บา้ นปา่ นางเยอ้ 486 484 970 335 หมู่ท่ี 7 บ้านพุประดู่ 437 458 895 293 หมู่ที่ 8 บา้ นตลิ่งแดง 490 552 1,042 530 3,649 3,914 7,563 2,839 รวม 1.3 สภาพภูมิประเทศ เทศบาลตาบลหนองบัวลักษณะภูมิประเทศในพ้ืนท่ีเขตเทศบาลเป็นพ้ืนท่ีราบลุ่มแม่น้า โดยพื้นท่ีด้านใต้ ติดกับแม่น้าแควใหญ่ตลอดแนว และพื้นที่ทิศเหนือมีลักษณะเป็นท่ีราบ ดินมีสภาพอุดมสมบูรณ์จงึ ทาให้เป็น พ้ืนทเี่ กษตรกรรมในการปลูกอ้อยและนาข้าวตลอดปี องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว ลักษณะภูมิประเทศโดยท่ัวไปเป็นภูเขา ท่ีราบเชงิ เขาและพื้นท่ีราบ รมิ ฝ่ ังแม่นา้ มีแม่น้าศรสี วัสด์ิ(แควใหญ่)ไหลผ่าน

3 1.4 ลกั ษณะภูมิอากาศ ฤดูรอ้ น ระหว่าง กลางเดือนกุมภาพันธถ์ ึงกลางเดือนพฤษภาคม มีลมฝ่ายใต้พัดมาปกคลุม ทา ให้มี อากาศรอ้ นอบอ้าวทัว่ ไป โดยมีอากาศรอ้ นจดั อยู่ในเดือนเมษายน ฤดูฝน ระหวา่ งกลางเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนพฤศจกิ ายน ในระยะนี้เปน็ ชว่ งทล่ี มมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดปกคลุม ทาให้มีฝนตกชุกทสี่ ุดในเดือนกันยายน ฤดูหนาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยในช่วงน้ี ความกดอากาศสูง จากประเทศจีนและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุม ทาให้อากาศหนาวเย็นและความแห้งแล้ง แผ่ปกคลุมจงั หวดั กาญจนบุร ี 1.5 ลกั ษณะของดิน ในด้านทรพั ยากรดิน พ้ืนที่ส่วนใหญ่ของจังหวัดกาญจนบุรมี ีภูเขาสลับซับซ้อน พ้ืนท่ีเหมาะสาหรบั เกษตรกรรม คือ ทร่ี าบระหว่างภูเขาซงึ่ มีแม่นา้ และลาน้าสายต่างๆ ไหลผ่าน ดินมีปฏิกิรยิ าเป็นกลางหรอื เป็นด่าง มีความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงดี จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกพืชไรท่ ่ีสาคัญของประเทศ เช่น อ้อย ข้าวโพด มันสาปะหลัง หนองบัวมีพื้นท่ีบางส่วนเปน็ ท่ีราบต่ามีการทานาข้าวแต่ไม่มากนัก 1.6 ลักษณะของแหล่งนา้ แหล่งน้าธรรมชาติที่สาคัญของพื้นท่ีตาบลหนองบัว ได้แก่ แม่น้าแควใหญ่ เพื่ออุปโภคบรโิ ภคสาหรบั เกษตรในพื้นท่ี 2. ด้านการเมืองการปกครอง หมู่ท่ี ชอ่ื หมู่บา้ น ชอื่ ผู้นาชุมชน 1 บา้ นห้วยหอยกาบ นายชยันต์นิธิ บวั วัฒนมงคล 2 บา้ นหนองบวั นายปัญญา มีเท 3 บา้ นหนองบวั นางลินจง พันธวุ าสิฏฐ์ 4 บ้านพุพระ กานันนพรตั น์ สระบวั 5 บา้ นพุเลียบ นายชยั วนาถ ใบบัว 6 บา้ นปา่ นางเยอ้ นายจรญั เอ่ียมสาอาง 7 บา้ นพุประดู่ นายสมบุญ กระต่ายทอง 8 บา้ นตล่ิงแดง นางเบ็ญจา ดอกบวั

4 3. ด้านสังคม 3.1 การศึกษา ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก มี 4 แห่งคือ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นหนองบัว - ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านพุเลียบ - ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบ้านป่านางเย้อ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นพุประดู่ โรงเรยี นประถมศึกษา จานวน 4 แห่ง เป็นโรงเรยี นในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน - โรงเรยี นบา้ นหนองบวั - โรงเรยี นบ้านพุเลียบ - โรงเรยี นสมาคมศิษย์เก่าราชนิ ี - โรงเรยี นบ้านพุประดู่ - โรงเรยี นวดั ศรอี ุปลาราม โรงเรยี นมัธยมศึกษา จานวน 2 แห่ง - โรงเรยี นวดั ศรอี ุปลาราม - โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎกาญจนบุร ี โรงเรยี นขยายโอกาสระดับมัธยมศึกษา จานวน 1 แห่ง เปน็ โรงเรยี นขยายโอกาสถงึ ระดับมัธยมศึกษา - โรงเรยี นบ้านพุเลียบ โรงเรยี น/สถาบนั ข้ันสูง จานวน 1 แห่ง - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบุร ี 3.2 ด้านสาธารณสุข - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลหมู่บ้าน จานวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพบ้านหนองบัว - รา้ นขายยา จานวน 2 แห่ง - อัตราการมีและใชส้ ้วมราดนา้ 100 % 3.3 ด้านอาชญากรรม - ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลตาบลหนองบัว จานวน 1 แห่ง - ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยองค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบวั จานวน 1 แห่ง 3.4 ด้านยาเสพติด เขตพื้นท่ีตาบลหนองบัว ปัญหายาเสพติดลดน้อยลง เพราะมีการออกตรวจพื้นที่และเฝ้าระวังรว่ มกับ ผู้นาชุมชน ตารวจอย่างต่อเน่ือง

5 3.5 ด้านสังคมสงเคราะห์ อง ค์ก ารบรหิ ารส่ วนตาบล หนอง บัว ไ ด้ ประ สานงานและ ให้ ความช่วยเหลื อผู้ ยากไร้ทุกก รณี เช่นบ้านไฟไหม้ ประสานกับสานักงานเหล่ากาชาดจังหวัด สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จงั หวัดกาญจนบุร ีเพ่ือให้ความชว่ ยเหลือ สาหรบั ข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยโรคเอดส์ มีดังน้ี 1. ผู้สูงอายุ 994 คน 2. ผู้พิการ 238 คน 3. ผู้ป่วยเอดส์ 10 คน 4. ระบบบรกิ ารพ้ืนฐานการคมนาคมขนส่ง การคมนาคมขนส่งภายในตาบลหนองบัว ทางบกมีรถประจาทางผ่านหลายสาย เช่น สายมหาวทิ ยาลัย ราชภัฎกาญจนบุร ี,สายกาญจนบุร-ี สังขละบุร ี,สายกาญจนบุร-ี บ้องตี้ ,สายกาญจนบุร-ี บ้านเก่า ,สายกาญจนบุร-ี พุน้ารอ้ น และภายในตาบลมีถนนคอนกรตี เสรมิ เหล็ก ถนนลาดยาง และถนนลูกรัง เพื่อรองรบั การสัญจรของประชาชน มีสะพานจานวน 2 แห่ง ต้ังอยูห่ มู่ที่ 2 และหมู่ท่ี 8 ข้ามแม่นา้ แควใหญ่ การไฟฟ้า ในเขตตาบลหนองบวั ใชก้ ระแสไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกาญจนบุร ีนอกจากน้ีตามถนนและซอยต่างๆ ภายในตาบลหนองบวั ได้จดั ให้มีไฟฟ้าสาธารณะ เพ่ือประชาชนทีส่ ัญจรไปมา มีความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน การประปา ประชาชนในตาบลหนองบวั ใชน้ า้ ประปาจากการประปาหมู่บ้าน ในการอุปโภคบรโิ ภค ประมาณ 90 % และใช้ น้าประปารว่ มกับน้าจากบ่อบาดาลอีกประมาณ 10% 5. ระบบเศรษฐกิจอาชพี 5.1 อาชพี เกษตรกรรม เกษตรกรรม เชน่ ทานา ปลูกข้าวโพด ปลูกอ้อยโรงงาน ปลูกมันสาปะหลังโรงงาน ปลูกยางพารา พืชผัก และผลไม้ 5.2 การประมง ในเขตตาบลหนองบัว มีการประมงเพ่ือใชก้ ารบรโิ ภคเท่านั้น 5.3 การปศุสัตว์ เกษตรกรในตาบลหนองบัว มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบรโิ ภคและการค้า และสัตว์ที่นิยมเล้ียงท่ีสุด ได้แก่ ไก่ เปด็ สุกร โค โคนมและแพะ

6 5.4 การท่องเท่ียว ในเขตตาบลหนองบัว มีสถานท่ีทอ่ งเทีย่ วทเี่ ป็นธรรมชาติ อันสวยงามหลายแห่ง คือ (1) วัดศรอี ุปลาราม (วัดหนองบัว) เป็นวัดที่มีช่อื เสียง มีพระเกจชิ ่อื ดัง คือ หลวงปู่ยิ้มและหลวงปู่เหรยี ญ เป็นที่เครารพนับถือแก่คนทวั่ ไปและมีนักทอ่ งเท่ียวสักการะรปู เหมือนเปน็ ประจาและทางวดั มีการจดั งานประจาปี หลวงปูย่ ้มิ หลวงปูเ่ หรยี ญ ระหว่างชว่ งปลายเดือนพฤศจกิ ายนถึงต้นเดือนธนั วาคม เป็นประจาทกุ ปี (2) สวนสาธารณะรมิ แม่น้าแควใหญ่ มีพ้ืนท่ีประมาณ 19 ไร่ ประกอบด้วย ลานกิจกรรม ลานจอดรถ สวนสุขภาพ หาดทราย สวมหย่อม รา้ นค้าจาหน่ายอาหารสินค้าต่างๆ ปัจจุบันมีนักท่องเท่ียวเดินทางมาเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ เล่นนา้ และรบั ประทานอาหาร โดยเฉพาะในฤดูรอ้ นจะมีนักท่องเที่ยวมาใชบ้ รกิ ารมากกว่าปกติ ใชเ้ ป็นสถานทีจ่ ดั กิจกรรมต่างๆ ของตาบลหนองบัว เชน่ จดั งานประเพณีลอยกระทง 6. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 6.๑ การนับถือศาสนา สถาบันและองค์กรศาสนา ในเขตตาบลหนองบัว อาเภอเมื อง จังหวัดกาญจนบุร ี ประกอบด้วยวัด จานวน 7 แห่ง สานักสงฆ์ จานวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. วัดศรอี ุปลาราม(วดั หนองบวั ) หมู่ 3 2. วดั ถา้ ขุนแผน หมู่ 4 3. วัดถ้ามะเกลือ หมู่ 5 4. วัดทงุ่ แสงสว่างเจรญิ ธรรม หมู่ 6 5. วดั พุเลียบธรรมมาราม หมู่ 5 6. วดั ถ้าประทุน หมู่ 5 7. วดั พุประดู่ หมู่ 7 8. สานักธรรมเขาแหลม หมู่ 4 9. สานักสงฆ์เจโตวมิ ุตติ หมู่ 6 10. สานักสงฆ์ทงุ่ สิรธิ รรม หมู่ 8 6.๒ ประเพณีและงานประจาปี - ประเพณีวนั ขึ้นปีใหม่ - ประเพณีวันสงกรานต์ - ประเพณีแห่เทยี นพรรษา - ประเพณีวนั ลอยกระทง - งานประจาปีหลวงปู่ยิ้ม – หลวงปูเ่ หรยี ญ

7 6.๓ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ตาบลหนองบัว เป็นชุมชนที่มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน เป็นขุมทรพั ย์แห่งปัญญา มีภูมิปัญญาท่ี ทรงคณุ ค่า เปน็ คลังสมองของทอ้ งถ่ินที่รว่ มกันสืบทอดตั้งแต่อดีตจนถึงปจั จุบนั ดังนี้ 1) ภูมิปัญญาท้องถ่ินของประชาชนในพื้นทต่ี าบลหนองบวั ส่วนใหญ่มีภูมิปญั ญาด้าน การทาอาหาร เชน่ การทาแกงบวน การทาแยมหยวก การทาพรกิ แกงเผ็ด การทาน้าพรกิ กะปิมอญ การทาขนม กะลอจ๊ี การทาอาหารจากบวั เชน่ เมี่ยงดอกบวั ยาหลดบัว น้ารากบวั การจกั สานตะกรา้ จากเส้นใยพลาสติก 2) มีปราชญ์ชุมชนที่มีองค์ความรดู้ ้านหมอยาสมุนไพร หมอตั้งศาลพระภูมิ และคณะแม่ครเู พลงรอ่ ยพรรษา 6.๔ สินค้าพ้ืนเมืองและของท่ีระลึก ของท่รี ะลึกส่วนใหญ่เป็นสินค้าแปรรูปทางการเกษตรของวสิ าหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านตลิ่ง แดง เช่น พรกิ แกงเผ็ด,พรกิ แกงส้ม,พรกิ เผา,พรกิ นรก,พรกิ เห็ดกรอบ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(อ้อย) 4 ศูนย์จดั การศัตรูพืชชุมชน(ข้าว)หมู่ 2 ศูนย์จดั การดินปุ๋ยชุมชนหมู่ 8 6.5 กลุ่มอาชพี และองค์กร กลุ่มอาชพี เกษตรกรเลี้ยงโค กลุ่มค้าขาย กลุ่มเลี้ยงโคขุน กลุ่มอาชพี เพาะเห็ดนางฟ้า กลุ่มเกษตรกรปลูก พืชสมุนไพร (ดีปลี) กลุ่มอาชพี เลี้ยงแพะ กลุ่มปลูกมันสาปะหลัง กลุ่มอาชพี ขายเสื้อผ้าตลาดนัด กลุ่มอาชพี เล้ียง ไก่เน้ือพันธุ์พ้ืนเมือง กลุ่มอาชีพเกษตรผสมผสานกลุ่มอาชีพทาลูกประคบสมุนไพร กลุ่มอาชีพทาไรอ่ ้อย กลุ่มน้าพรกิ แกง สภาวัฒนธรรมตาบลหนองบัว สภาเด็กและเยาวชนตาบล สภาองค์กรชุมชนตาบลหนองบัว

8 โครงสร้างคณะกรรมการตาบลหนองบวั นายนพรัตน์ สระบัว กานนั ตาบลหนองบัว ประธานคณะกรรมการ กรรมการ จานวน 10 ท่าน นายชยนั ต์นธิ ิ บวั วฒั นมงคล นายปัญญา มเี ท นางลินจง พนั ธวุ าสฏิ ฐ์ นายชัยวนาถ ใบบวั ผใู้ หญบ่ ้าน หมูท่ ่ี 1 ผใู้ หญ่บ้าน หม่ทู ่ี 2 ผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ี่ 3 ผู้ใหญ่บา้ น หม่ทู ่ี 5 นายจรัญ เอย่ี มสาอาง นายสมบญุ กระต่ายทอง นางเบ็ญจา ดอกบวั นายสมพงษ์ ใจดี ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 6 ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ 7 ผใู้ หญ่บา้ น หม่ทู ่ี 8 แพทย์ประจาตาบล นายวษิ ณุ ธนะฤกษ์ นางสาวดวงตา ชยั เจริญ สารวตั รกานัน สารวัตรกานนั

9 โครงสรา้ งคณะทางานสภาองคก์ รชุมชน 1. นายนพรัตน์ สระบัว ประธานสภา 2. นายชยนั ตน์ ธิ ิ บวั วฒั นมงคล รองประธาน 3. นายมณฑล ธนะสนั ต์ เหรัญญกิ 4. นางเบ็ญจา ดอกบัว เลขานุการ 5. นายคนอง ชานาญวธุ ผูช้ ่วยเลขานกุ าร 6. นางดวงอาพร คามรักษ์ ผ้ชู ่วยเหรญั ญกิ 7. นายประดิษฐ์ ลาใย ผู้ประสานงาน 8. ร.ต.บุญเชาว์ บุญชู ผปู้ ระสานงาน 9. นายภทั รต์ ิพงษ์ เหลืองทอง ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 10.นางกนกวรรณ เงนิ งาม ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 11.นายณัฐภูเมศ เสรมิ สขุ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ 12.นางอมราลักษณ์ ใบบวั ผู้ทรงคุณวุฒิ 13.นายจักรกฤษ โพธแ์ิ พงพุ่ม ท่ปี รกึ ษา 14.นายสรรญา ชัยเจรญิ ที่ปรึกษา 15.นายดาวร่งุ บวั จูม ทีป่ รกึ ษา 16.นายจรี ศกั ด์ิ มว่ งสุข กรรมการ 17.นายชวน หม่ืนอาจวัฒนะ กรรมการ

10 1. มิติด้านความมั่นคง

11 1. มติ ิด้านความมนั่ คง 1.1 ด้านความม่ันคงทางอาหาร จานวนครวั เรอื นตาบลหนองบัวปลูกพืชผักสวนครวั หรอื เลี้ยงสัตว์ ถนอมอาหารหรอื แปรรูปอาหาร รอ้ ยละ 95 ของครวั เรอื นท้ังหมดในตาบล ดังน้ี กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาชุมชน คณะกรรมการพัฒนาสตรตี าบลหนองบัว สภาองค์กรชุมชนและ ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) ตาบลหนองบัว เป็นแกนนาท่ีสาคัญของตาบล ในการส่งเสรมิ การปลูกผักสวนครวั โดยสภาองค์กรชุ มชน ได้เสนอโครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ผู้มีรายได้น้อยในตาบล ประจาปี 2564 โดยวเิ คราะห์สถานการณ์ความเดือดรอ้ นจากสถานการณ์ การแพรเ่ ชื้อของโรคติดเช้ือโควดิ -19 ท่ีมีการ แพรร่ ะบาด ในจังหวัดกาญจนบุร ี และในพื้นท่ีตาบลหนองบัว เสนอไปยังสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) ซงึ่ ได้พิจารณาการสนับสนุนงบประมาณในการสรา้ งความมั่นคงทางอาหารให้แก่พี่น้องในตาบลหนองบัวและคนที่ ได้รบั การผลกระทบจากเศรษฐกิจ ทไ่ี ม่สามารถดาเนินการประกอบอาชพี ได้ตามปกติ โดยสภาองค์กรชุมชนตาบล หนองบัว ได้มีการหารอื รว่ มกับท้องถ่ิน แกนนาชุมชน ในวางแผน สารวจ และประสานขอใชพ้ ื้นที่ส่วนกลางของ ตาบล ทาพื้นท่ีเพาะปลูกพืชผักสวนครวั ที่จะทาให้พี่น้องสามารถนาผลผลิตไปบรโิ ภค นาไปสู่การประหยัด รายจา่ ยของครวั เรอื นได้ รวมถึงได้ประสานแกนนาของแต่ละหมู่บ้านสารวจผู้ที่ได้รบั ผลกระทบ จากสถานการณ์ โค วดิ -19 เชน่ กลุ่มคนปว่ ยติดเตียง คนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุ และมีรายได้น้อย ในการแจกถุง ยังชพี บรรเทาความ เดือดรอ้ นและมีการประสานแผนงานไปยังท้องถิ่น โดยได้รบั การสนับสนุนวทิ ยากรจากเกษตรอาเภอ ในสรา้ ง พื้นทท่ี างการเกษตรเพ่ือสรา้ งความมั่นคงทางอาหารให้มีความยงั่ ยนื สามารถเก็บผลผลิตในระยะยาวได้

12 นอกจากนี้ผู้นาตาบลหนองบวั ได้ส่งเสรมิ การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ การบรโิ ภคปลอดภัย ปลูกผักเองไมต่ ้องซอ้ื ผลผลิตเก็บสดๆตลอดปี โดยดาเนินกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นท่ีของตนเองตามความเหมาะสม ทาให้ ประชาชน มีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีข้ึน โดยครวั เรอื นรอ้ ยละ 95% ได้ปลูกผักสวนครวั ไวร้ บั ประทานเองและไวส้ าหรบั ขาย โดยผักสวนครวั ท่ีนิยมปลูก ได้แก่ ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว พรกิ กระเพรา โหระพา ชะอม เป็นต้น และ เกษตรกรส่วนใหญ่ มีอาชพี เสรมิ ในการเลี้ยงสัตว์ สัตวท์ ่นี ิยมเลี้ยงได้แก่แพะ โค โคขุน เน่ืองจากเลี้ยงง่ายและใช้ เวลา ไม่นาน มีตลาดรองรบั นอกจากน้ียังมีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่นพรกิ แกง น้าพรกิ รสชาติต่างๆ เนื่องจาก ในตาบล มีวตั ถดุ ิบในการผลิตพรกิ แกงจานวนมาก 13

13 1.1.2 มีการแบ่งปนั อาหารในชุมชน ตาบลหนองบวั มีกิจกรรมแลกเปล่ียนหรอื แบง่ ปันอาหารระหว่างกัน ของสมาชกิ ในหมู่บ้าน/ชุมชน จานวน 6 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรมตู้เย็นข้างบ้าน เป็นกิจกรรมท่ีผู้นาชุมชนรว่ มประชาชนในตาบลหนองบัว นาผักผลไม้ ท่ีเก็บได้สดๆ จากข้างบา้ นของตนเอง มาแบง่ ปันแลกเปล่ียนซง่ึ กันและกัน 2) กิจกรรมตู้ปันสุขตาบลหนองบัว เป็นกิจกรรมที่ประชาชนในตาบลหนองบัว ที่พอจะมีทุนทรพั ย์ ชว่ ยเหลือประชาชนด้วยกัน โดยวธิ นี าเครอ่ ื งอุปโภคบรโิ ภค ผักผลไม้ มาใส่ตู้ปันสุข เพ่ือแบ่งปันให้แก่ประชาชน ในตาบลหนองบัว ท่ีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์โรคติดเชอื้ โควดิ -19 3) กิจกรรมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เปน็ กิจกรรมท่ีผู้นาชุมชนได้ส่งเสรมิ ให้ชาวบ้าน ปลูกผัก สวนครวั รอบรวั้ กินได้ และดาเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เง่อื นไข โดยบางหมู่บ้าน ได้ส่งเสรมิ การเลี้ยงไก่ไข่ และแบ่งปนั ไข่ไก่และผักผลไม้แก่เพื่อนบา้ น 4) กิจกรรมสตรปี ันรกั ปลูกพืชผักปลอดภัย เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้สตรปี ลูกผักกินเอง เพื่อสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร ในช่วงสถานการณ์โรคติดเช้ือ โควดิ -19 และนาเมล็ดพันธุ์และผลผลิตที่ได้ มาแจกจา่ ยแบ่งปนั กัน 5) โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ผู้มีรายได้น้อยในตาบล เป็นโครงการที่แจกพันธผุ์ ัก และถุงยังชพี ให้แก่กลุ่มเปราะบาง ผู้มีรายได้น้อย โดยผลผลิตจากโครงการได้นามามาแบง่ ปันกัน 6) กิจกรรมสรา้ งความม่ันคงทางอาหาร เป็นกิจกรรมที่ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) ส่งเสรมิ การปลูกผัก โดยผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) ตาบลหนองบัว รว่ มกับผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นา อช.) อาเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุร ี และกานันผู้ใหญ่บ้าน/ชุมชน ผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชน จัดกิจกรรมปลูกผักสวนครวั รอบรว้ั กินได้ ดาเนินการท่ีวัดพุประดู่ หมู่ท่ี 7 ตาบลหนองบัว แปลงกสิกรรมไรส้ ารพิษ โรงเรยี นผู้นาพลตรจี าลอง ศรเีมือง หมู่ท่ี 7 ตาบลหนองบัว และปลูกผักกระชาย และฟ้าทะลายโจร เพ่ือต้านโควดิ -19 ที่ศูนย์พัฒนาอาชพี หนองบัว ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุร ี

14 1.1.3 การบรโิ ภคอาหารปลอดภัย ผู้นาตาบลหนองบัวได้ส่งเสรมิ การทาเกษตรทฤษฎีใหม่ การบรโิ ภคอย่างปลอดภัย โดยปลูกผักเอง ไม่ต้องซอื้ ซงึ่ ตาบลหนองบัว มีจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ความปลอดภัยของอาหาร จานวน 6 กิจกรรม ดังน้ี 1) กิจกรรมส่งเสรมิ ให้ชาวนาปลูกข้าวแบบปลอดสารเคมี โดยตาบลหนองบัว มีศูนย์จดั การ ศัตรูพืชชุมชนตาบลหนองบัว (ข้าว) หรอื โรงเรยี นชาวนา ตั้งอยู่หมู่ท่ี 2 ตาบลหนองบัว โดยเป็นศูนย์เรยี นรู้ ท่ีให้ความรเู้ กี่ยวกับการทานา ส่งเสรมิ ให้เกษตรกรปลูกข้าวและขายข้าวที่ปลอดภัยให้แก่ผู้บรโิ ภค 2) กิจกรรมส่งเสรมิ การทาการทาปุ๋ยหมัก การทานา้ หมักชวี ภาพ สารชวี ภัณฑ์ท่ีจาเป็น เชน่ เชอ้ื รา ไตรเดอรม์ า สามารถนาไปใช้กับพืชท่ัวไป ได้แก่ ผลไม้ ไม้ยืนต้น และพืชผัก ป้องกันโรครากเน่าโคนเน่าในไม้ผล ไม้ยืนต้น และป้องกันกาจัดโรคพืชในผัก โดยมีศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน หมู่ที่ 4 ตาบลหนองบัว เป็นแหล่ง เรยี นรเู้ ปน็ การลดการใชส้ ารเคมีในพืชผัก 3) กิจกรรมการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยวธิ กี ล โดยใช้แมลงหางหนีบ จาจัดแมลงในพืช เชน่ ในอ้อย ตะไคร้ เปน็ การกาจดั แมลงโดยใชแ้ มลง เป็นการลดการใชส้ ารเคมีในพืชผัก 4) กิจกรรมขยับกายสลายพุง เป็นกิจกรรมที่ส่งเสรมิ กิจกรรม 5 อ. (อาหาร ออกกาลังกาย อารมณ์ อนามัยชุมชน อโรคยา) เพ่ือสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี 5) โครงการอาหารปลอดภัย เป็นการสอนการใชเ้ กลือไอโอดีนในการถนอมอาหารทาปลาแดดเดียว 6) กิจกรรมการล้างสารพิษ การกินอาหารที่เป็นประโยชน์แก่รา่ งกาย การปลูกผักแบบไรส้ ารพิษ โดย โรงเรยี นผู้นา หรอื สถาบันฝึกอบรมผู้นา มูลนิธพิ ลตรจี าลอง ศรเี มือง (Leadership School) เป็นสถาบัน พัฒนาคุณภาพชีวติ ที่ปลูกจิตสานึกให้ทุกคนพัฒนาตนเอง โดยฝึกฝนการใชช้ ีวติ ตามแนวทางแบบเศรษฐกิจ พอเพียง การกินอาหารทีเ่ ปน็ ประโยชน์แก่รา่ งกาย การล้างพิษ ให้ความรูก้ ารปลูกผักแบบไรส้ ารพิษ เป็นต้น

15 1.2 ด้านความม่ันคงในชวี ติ 1.2.1 การมีอาชพี และรายได้ จานวนครวั เรอื ในชุมชนมีการประกอบอาชพี และมีรายได้รอ้ ยละ 90 ของครวั เรอื นในตาบล จากการจดั เก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2564 ข้อมูลหมวดที่ 4 การมีอาชพี และรายได้ พบว่าในพื้นที่ตาบล หนองบัวและเทศบาลตาบลหนองบัว ครวั เรอื นมากกว่ารอ้ ยละ 90 ของจานวนครวั เรอื นท้ังหมดมีอาชีพและ มีรายได้ โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรรม รบั จา้ งทัว่ ไป ค้าขาย เปน็ ต้น

16 ตาบลหนองบัวมีกิจกรรมส่งเสรมิ การประกอบอาชพี เสรมิ เพ่ือให้ประชาชนมีรายได้เพ่ิมขึ้นจากอาชพี หลัก ดังน้ี  ส่งเสรมิ กิจกรรมสรา้ งคนสรา้ งงานจากการสานตะกรา้ พลาสติก  การอบรมหลักสูตรระยะส้ัน เชน่ การทาเม่ียงดอกบวั การทาพรกิ แกง เปน็ ต้น  ส่งเสรมิ กิจกรรมแสดงสินค้า OTOP และผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร

17  ส่งเสรมิ ฝกึ อาชพี นักเรยี นนักศึกษาระหว่างปดิ ภาคเรยี น ภายใต้กิจกรรมพ่ีสอนน้อง  ส่งเสรมิ ให้ทุกครวั เรอื นใช้พ้ืนท่ีว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ภายใต้นโยบาย “ของดีบ้านฉัน บา้ นฉันมีดี ตาบลหนองบวั ”  ปศุสัตว์จังหวัด เกษตรจงั หวัด ให้ความรูก้ ับประชาชนในเรอ่ ื งพืชเศรษฐกิจ ปุ๋ย การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชเศรษฐกิจ 3 อย่างคือ มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าว

18  ส่งเสรมิ การฝึกอาชพี ของดีในชุมชนเพื่อมาจาหน่าย เชน่ การทาพรกิ แกง การทาเม่ียงดอกบัว การแปรรปู อาหาร การทาดอกไม้ผ้าใยบัว การทาไม้กวาด การทามีด การทาผ้ามัดยอ้ ม การทาขลุ่ย เปน็ ต้น

19  ส่งเสรมิ ให้ประชาชนได้มีรายได้ทุกเดือน โดยนาสินค้าทางการเกษตร ส่งิ ประดิษฐ์ อาหาร คาวหวาน สินค้าแปรรูปมาวางจาหน่าย

20 1.2.2 การออมเงนิ ครวั เรอื น รอ้ ยละ 90 ของจานวนครวั เรอื นทงั้ หมดในตาบล มีการออมเงนิ จากการจดั เก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2564 ข้อมูลหมวดท่ี 4 การมีอาชพี และรายได้ พบว่าครวั เรอื นรอ้ ยละ 50 ของจานวนครวั เรอื นท้งั หมด ในตาบลหนองบัวมีการออมเงนิ โดยคณะกรรรมการกองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ในตาบลหนองบวั ได้ส่งเสรมิ ให้สมาชกิ ออมเงนิ ซง่ึ ตาบลหนองบวั มีศูนย์เรยี นรูด้ ้านธนาคารชุมชน ต้ังอยู่ที่กองทุน หมู่บ้านห้วยหอยกาบ หมู่ท่ี 1 ตาบลหนองบัว ซ่ึงเป็นแหล่งเรยี นรูด้ ้านธนาคารชุมชน ที่มีผู้มาศึกษาดูงาน เน่ืองจากเป็นกองทุนหมู่บ้านท่ีให้บรกิ ารครบวงจร มีการทางานท่ีเป็นระบบและมีการใชเ้ ทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาใชใ้ นการทางาน มีการส่งเสรมิ ให้สมาชกิ การออมเงนิ โดยให้ดอกเบ้ียสูง (รอ้ ยละ 6 บาท/ปี) นอกจากน้ีตาบล หนองบัว ยงั มีกลุ่มทรพั ยบ์ า้ นตลิ่งแดง ซงึ่ เป็นแหล่งออมเงนิ ที่ใหญ่ท่สี ุดในตาบลหนองบวั

21 นอกจากน้ี ตาบลหนองบัวยังมีกองทุนสวัสดิการชุมชนตาบลหนองบัว (ออมวันละ 1 บาท) ปัจจุบัน มีสมาชิก จานวน 105 คน จานวนเงนิ กองทุนสวัสดิการสะสมถึงปัจจุบันรวม 955,066.77 บาท ข้อมูล ณ วันที่ 30 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 มีสวัสดิการ ดังนี้ - เข้าโรงพยาบาลได้ปลี ะ 1 ครง้ั จา่ ย 600 บาท - คลอดบุตร จา่ ยครง้ั ละ 500 บาท - เสียชวี ติ จา่ ย 5,000 บาท มอบพวงหรดี 1 พวง ตาบลหนองบัวได้ดาเนินส่งเสรมิ วนิ ัยการออมให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีตาบล ตามโครงการส่งเสรมิ วนิ ัยการออมกับกองทุนการออมแห่งชาติ กอช. ส่งเสรมิ ให้ชาวบ้านมีวนิ ัยการออมเงนิ และมีโอกาสได้เข้าถึง มาตรการส่งเสรมิ การมีรายได้เพ่ือเป็นหลักประกันในการดารงชพี ยามเกษียณ

22 1.2.3 ความมั่นคงด้านทีอ่ ยูอ่ าศัย ครวั เรอื นมีบ้านหรอื ที่อยู่อาศัย อย่างม่ันคง แข็งแรงและปลอดภัย รอ้ ยละ 90 ของจานวนครวั เรอื น ท้ังหมดในตาบล จากการจดั เก็บข้อมูล จปฐ. ปี 2564 ข้อมูลหมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม ตัวช้ีวัดที่ 8 ครวั เรอื นมีความ มั่นคงในท่ีอยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร พบว่าครวั เรอื นรอ้ ยละ 99.50 ของจานวนครวั เรอื นในตาบล หนองบวั และเทศบาลตาบลหนองบัว บา้ นมีสภาพบ้านคงทนถาวร

23 ซง่ึ การแก้ปัญหาในเรอ่ ื งความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย ตาบลหนองบัว โดยสภาองค์กรชุมชนได้จัดทา โครงการบ้านพอเพียง เพื่อมาซอ่ มแซมที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อย กลุ่มคนเปราะบาง ให้มีความม่ันคงแข็งแรง ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ สรา้ งบ้านให้แก่ผู้ยากไร้ เป็นการสรา้ งโอกาสเข้าถึงสวัสดิการสังคมและที่อยู่อาศัย โดย ได้รบั งบประมาณ 205,000 บาท และได้ซอ่ มแซมบ้านผู้ยากไร้ ดังน้ี

24

25

26

27 1.3 ด้านความสามัคคีปรองดอง ในรอบ 1 ปีมีกิจกรรมเพ่ือสาธารณประโยชน์ของชุมชน ความสามัคคีของคน ในชุมชนมากกว่า 12 ครง้ั ดังน้ี)  กิจกรรมตามโครงการจติ อาสาพระราชทาน การดาเนินกิจกรรมก่อให้เกิดการรวมพลงั จติ อาสา ในพื้นท่ีหมู่บา้ นตาบล เพ่ือทาความสะอาดถนนในตาบล

28  กิจกรรมการปรบั ปรุงภูมิทัศน์เน่ืองในวันพ่อวันแม่ จานวน 8 หมู่บ้านๆละ 2 ครง้ั รวมปีละ ประมาณ 16 ครง้ั  โครงการจติ อาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ทาความสะอาดศูนย์พักคอยของเทศบาลตาบลหนองบัว และศูนย์พักคอยองค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบวั เพ่ือรองรบั ผู้มีความเสี่ยงติดเชอื้ โควดิ -19  โครงการจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ทาความสะอาด ณ สะพานปู่ย้ิม-ปู่เหรยี ญ รว่ มใจ ณ วดั ศรอี ุปลาราม  โครงการจติ อาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ทาความสะอาดปรบั ปรุงภูมิทศั น์บรเิวณทา่ นา้ หนองบวั  โครงการจิตอาสา “เราทาความดีด้วยหัวใจ” ออกเยี่ยมประชาชนท่ีได้รบั ผลกระทบจากการ แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โควดิ -19

29 1.3.2 ความสามัคคีของคนในชุมชน ตาบลหนองบัวมีกิจกรรมที่แสดงถึงความสามัคคี การสงเคราะห์ และจิตสานึกสาธารณะของคน ในชุมชน จานวน 6 กิจกรรม ดังน้ี 1) กิจกรรมเยี่ยมยามถามไถ่ประชาชนในพ้ืนทห่ี นองบัว เชน่ ผ้พู ิการ ผู้ยากจน ผู้สูงอายุ 2) กิจกรรมต้นแบบการลด/คัดแยกขยะ เป็นการสรา้ งจติ สานึกรกั ษาส่ิงแวดล้อม 3) กิจกรรมออกเยี่ยมประชาชนทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โควดิ -19 4) กิจกรรมแข่งขันกีฬาต้านภัยยาเสพติด 5) กิจกรรมการปรบั ปรุงภูมิทศั น์เน่ืองในวนั สาคัญต่างๆ เชน่ วนั พ่อ วนั แม่ 6) กิจกรรมจติ อาสาต่างๆ เชน่ กิจกรรม ทาความสะอาดศูนย์พักคอยของเทศบาลตาบลหนองบัว และ ศูนย์พักคอยองค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว เพ่ือรองรบั ผู้มีความเส่ียงติดเชอ้ื โควดิ -19

30 1.4 ด้านการยึดหลักประชาธปิ ไตย (การส่งเสรมิ วถิ ีประชาธปิ ไตยและการมีส่วนรว่ มในกิจกรรมสาธารณะ การปฏิบัติตามหลักประชาธปิ ไตย) สมาชกิ ในชุมชนปฏิบตั ิตามสิทธแิ ละหน้าท่ขี องพลเมืองโดยไม่เห็นแก่อามิสสินจา้ ง รอ้ ยละ 90 ของจานวน ครวั ทัง้ หมดในตาบล โดยมีกิจกรรมทีใ่ ห้โอกาสสมาชกิ ในชุมชนได้เข้ามาแก้ปญั หาหรอื พัฒนา จานวน 5 กิจกรรม ดังน้ี  การประชาคมจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ดาเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ 2565  การประชาคมจัดทาแผนพัฒนาเทศบาลตาบลหนองบัว และอบต.หนองบัว ดาเนินการใน เดือนมีนาคม 2565  การประชาคมจดั ทาแผนพัฒนาตาบลหนองบัว ปี 2564-2568 โดยสภาองค์กรชุมชน  การประชุมสภา แสดงความคิดเห็นต่างๆ  การมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น ในการจดั ประชุม ประชาคมภายต่างๆในหมู่บ้านแสดง ให้เห็นถึงการมีส่วนรว่ มของคนในชุมชนทมี่ ีความพรอ้ มในการรว่ มกันพัฒนา รว่ มกันแก้ไขปัญหา เพราะทกุ คนมีความเปน็ เจา้ ของชุมชนของตนเอง

31 1.5 ด้านการปลอดอบายมุข และปลอดยาเสพติด 1.5.1 มีการส่งเสรมิ การป้องกัน ลด ละ เลิก อบายมุข และยาเสพติด มีผลการการดาเนินงานด้านการ ปลอดอบายมุขและยาเสพติดที่เป็นรูปธรรม จานวน 5 กิจกรรม ดังน้ี 1) กิจกรรมด้านยาเสพติดกองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกิจกรรมท่ีคัดกรองผู้ติดยาเสพติดในหมู่บ้าน โดยใชส้ ันติวธิ ี และส่งเสรมิ อาชพี แก่ผู้เคยติดยาเสพติด 2) กิจกรรมนาผู้เสพยา/ผู้ติดยา เข้ารบั การฟ้ ืนฟูบาบดั 3) กิจกรรมติดตามผลให้ความชว่ ยเหลือผู้เสพยา/ผู้ติดยาที่ผ่านบาบัดฟ้ ืนฟูด้วยการส่งเสรมิ และ พัฒนาอาชพี 4) กิจกรรมควบคมุ ไม่ให้มีแหล่งมั่วสุมยาเสพติดในพ้ืนที่ 5) กิจกรรม “กีฬาต้านยาเสพติด” โดยกลุ่มเป้าหมายจะเปน็ เยาวชนและประชาชนตาบลหนองบัว - โครงการชุมชนย่งั ยืน เพื่อแก้ปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตรช์ าติ

32 1.6 ด้านการบรหิ ารจดั การชุมชน 1.6.1 มีการใช้ข้อมูลและเครอ่ ื งมือเพ่ือการพัฒนาชุมชน ขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชนโดยชุมชน การบูรณาการความรว่ มมือด้วยแผนพัฒนาตาบล ผู้นาชุมชนรว่ มกับสภาองค์กรชุมชนตาบลหนองบัว ใช้เครอ่ ื งมือ SWOT รว่ มกับข้อมูล จปฐ. ข้อมูล กชช.2ค และข้อมูลจากแผนพัฒนาหมู่บา้ น รว่ มกับวเิ คราะห์สภาพปัญหาต่างๆในตาบล และรว่ มกันจดั ทา แผนพัฒนาตาบลในเดือนพฤษภาคม 2564 โดยสภาองค์กรชุมชนตาบลหนองบัวได้มีการยกรา่ งแผนพัฒนาตาบล มีการประสานเชอ่ื มโยงไปยังหน่วยงานเทศบาลตาบลหนองบัว,องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว ในการที่จะมี ส่วนรว่ มต่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของภาคประชาชน อย่างมีส่วนรว่ ม ท้ังนี้ในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล โดยภาคประชาชน เพื่อเสนอปัญหาและความต้องการพัฒนาพ้ืนท่ีของตนเองต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการ จดั ทาแผนดังกล่าว มีผู้เข้ารว่ มประกอบด้วย กานัน ผู้ใหญ่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรยี น พัฒนาชุมชน เป็นต้น ผลจากการวเิ คราะห์พื้นที่ สรุปได้ดังนี้ 1.จุดแข็ง (Strengths) 1) ตาบลเปน็ พ้ืนทีท่ ก่ี ารคมนาคมสะดวก รวดเรว็ เส้นทางการคมนาคมเชอ่ื มโยงติดกับ หลายอาเภอ 2) มีแหล่งเรยี นรภู้ ูมิปญั ญาชาวบา้ นท่หี ลากหลาย 3. แกนนา ผู้นาส่วนใหญ่มีจติ อาสา 4. มีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีชอ่ื เสียงเป็นที่รูจ้ ักแพรห่ ลาย สรา้ งรายได้ให้กับคนในตาบล เชน่ กลุ่มแม่บ้านสัมมาชพี ชุมชนบ้านตล่ิงแดง “อรอ่ ยเด็ด เผ็ดกาลังดี” 5. มีวดั วาอารามเป็นศูนยก์ ลางของประชาชนในพ้ืนที่ 6. มีวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นท่ีเก่าแก่ เลื่องลือ เช่น งานประจาปีครบรอบวัน มรณภาพหลวงปู่เฒ่ายิม้ -หลวงพ่อเหรยี ญ ซงึ่ จดั เปน็ ประจาทุกปี 7. ประชาชนมีความรกั และความสามัคคีกันดี 8. มีทรพั ยากรธรรมชาติได้แก่แหล่งนา้ ที่อุดมสมบูรณ์ 9. มีหน่วยงานสาคัญในพื้นที่

33 2.จุดอ่อน (Weaknesses) 1) แกนนาและชาวบา้ นบางส่วนยังขาดความรู้ ความเข้าใจกฎหมายใกล้ตัว 2) รายได้ในครวั เรอื นลดลงหลังจากเกิดวกิ ฤตโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19) 3) เกิดโรคระบาดในโคเนื้อของเกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์ ทาให้รายได้เกษตรกรลดลงและ อาจเกิดการสูญเสียชวี ติ ของสัตว์ จากโรคลัมปี สกิน 4) ขาดการส่งเสรมิ การวางผังเมือง และ ท่อี ยู่อาศัยคนด้อยโอกาสทรดุ โทรม 5) พื้นทสี่ ่วนมากมีปัญหาการถือครองกรรมสิทธ์ิ 6) การปล่อยสิ่งปฏิกูลลงแม่นา้ 7) มลภาวะทางอากาศโรงงานอุตสาหกรรมยังไม่ได้ให้ความรว่ มมือในการควบคุมและ ตรวจสอบมลพิษ 8) มีแหล่งเสื่อมโทรมม่ัวสุมทาให้เด็กและเยาวชนไปมั่วสุม 9) กลุ่มอาชพี ยังไม่มีระบบการจดั การที่ดีพอขาดส่งเสรมิ การจดั ตั้งศูนย์สาธติ การตลาด ยงั ไม่เพียงพอ 10) เกษตรกรยงั นิยมใชส้ ารเคมีทาเกษตร 11) ยงั ขาดพื้นท่ีส่วนกลางในการเพาะปลูกพืชพันธผุ์ ัก เพ่ือลดค่าใชจ้ า่ ย,จากผลกระทบ โควดิ -19 12) สวัสดิการในตาบลยังไม่ครอบคลุมถั่วถึง 3. โอกาส (Opportunity) 1) ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานต่าง ๆ ในการพัฒนา เชน่ เทศบาลและ องค์การบรหิ ารส่วนตาบล ในด้านต่างๆ อย่างต่อเน่ือง 2) ประชาชนในตาบลใชช้ วี ติ ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) รฐั ให้การสนับสนุนภาคประชาสังคม ประชาชนมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจดั การ และ แก้ไขปญั หาท้องถ่ิน อย่างทว่ั ถึงและต่อเน่ือง 4.อุปสรรค/ข้อจากัด (Threats) 1) สภาพส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติไม่เป็นปกติ ในบางปีมีฝนตกมากเกิดปัญหาน้าท่วมขัง ทาให้ ถนนสายหลักชารุด เสียหาย 2) ระเบยี บ กฎหมาย บางฉบบั ไม่เอ้ือต่อการปฏิบัติงานของภาคประชาชนและสังคม 3) ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศถดถอย 4) สภาวการณ์ทางการเมืองที่ไม่ม่ันคง นโยบายรฐั บาลท่ีไม่มีความต่อเนื่องส่งผลต่อ การ บรหิ ารงานขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 5) ผลกระทบจากสถานการณ์แพรร่ ะบาดโควดิ -19 ทาเศรษฐกิจในตาบลชะลอตัว จากปัญหาและแนวทางการแก้ไขข้างต้น นามาสู่การกาหนดวสิ ัยทัศน์ เป้าหมาย และ ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนงานตาบลดังนี้

34 เป้าหมาย 1. ส่งเสรมิ สนับสนุนการสรา้ งเครอื ข่าย เชอ่ื มโยงกลุ่มอาชพี ของคนในตาบลหนองบัว ในการ เสรมิ รายได้ ยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ 2. ส่งเสรมิ พัฒนาศักยภาพแกนนาชุมชน เครอื ข่ายชุมชน กลุ่มองค์กรในการมีส่วนรว่ มในการ วางแผนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านคณุ ภาพชวี ติ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ ของคนในชุมชน 3. พัฒนา สนับสนุนการรวมกลุ่ม สรา้ งกลไก ในการประสานงาน บูรณาการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาของชุมชน แผนพัฒนาตาบลหนองบัว มีด้วยกันท้ังหมด 3 ด้าน แบ่งเป็นด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรพั ยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม โดยมีแผนงาน/ กิจกรรมในแต่ละด้าน ดังน้ี ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ 1. ส่งเสรมิ กลุ่มอาชพี และสนับสนุนให้กลุ่มอาชพี ได้รบั พัฒนาทักษะการทาผลิตภัณฑ์โดยการ สรา้ งมูลค่า การแปรรปู และ การอบรมการตลาด 2. สนับสนนุ การเชอ่ื มโยงภาคีหน่วยงาน ชอ่ งทางการตลาดออนไลน์ 3. วางแนวทางการสรา้ งความม่ันคงทางอาหารให้กับชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ด้านสังคม ได้แก่ 1. การสรา้ งความตระหนักถึงปัญหาและการป้องกันจากโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 / โรคติดต่อ 2. ส่งเสรมิ สนับสนนุ กองทนุ สวสั ดิการชุมชน 3. การแก้ไขปัญหาคณุ ภาพชวิ ติ และทีอ่ ยูอ่ าศัย ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ 1. ส่งเสรมิ การจดั การระบบทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมในชุมชนอย่างมีส่วนรว่ ม กระบวนการเชอื่ มโยงแผนพัฒนาตาบลกับแผนของหน่วยงาน ในปี 2564 ตาบลหนองบัวได้มีการเชอ่ื มโยงแผนพัฒนาภาคประชาชนกับแผนของหน่วยงาน โดยได้รบั การสนับสนุนจากองค์การบรกิ ารส่วนตาบลหนองบัว โครง การส่งเสรมิ อาชีพในชุมชน เพื่อพัฒนาการประกอบอาชีพประชาชนมีรายได้เพ่ิมข้ึน จานวน 20,000 บาท โครงการสนับสนุน สวัสดิการชุมชน สนับสนนุ งบประมาณกองทุนสวสั ดิการชุมชนตาบลหนองบวั จานวน 83,000 บาท

แผนพัฒนาตาบล มีจานวน 3 ด้านดังนี้ แผนพัฒนาต ด้านเศรษฐกิจ สภาองค์กรชุมชนตาบลหน ลาดับ แผนงาน/กิจรรม วธิ กี าร ระยะเวลา 64 65 66 6 1 โครงการสนับสนนุ กล่มุ อาชพี แปร อบรมให้ความรคู้ นในชุมชน นาผลติ ผล √ √ √ √ รปู ผลผลติ ทางการเกษตรนา้ ด่ืม ทางการเกษตรในชุมชนมาแปรรปู เป็น สมนุ ไพร สมนุ ไพรอบแห้ง เชน่ ตะไคร้ อัญชญั ใบเตย มะรุม ฯลฯ 2. โครงการสง่ เสรมิ การทาบรรจุ สง่ เสรมิ ด้านการตลาด บรรจุภัณฑ์และให้ √√√√ ภัณฑ์กลมุ่ พรกิ แกง ความรเู้ รอ่ ื งการจดมาตรฐาน อย.ให้กล่มุ พรกิ แกง เพื่อสนับสนุนคนในชุมชนมี รายได้และบรโิ ภคสินค้ามคี ณุ ภาพ 3. โครงการส่งเสรมิ สรา้ งความม่นั คง ประสานหน่วยงานภาคีในการมีส่วนรว่ ม √√√√ ทางอาหารให้กับชุมชนตาม การพฒั นาพ้ืนทว่ี ่างเปลา่ สรา้ งความม่นั คง แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทางอาหาร/ครวั เรอื นทารว้ั กินได้/

35 ตาบลหนองบวั นองบวั จงั หวัดกาญจนบุร ี การดาเนินการ เป้าหมาย/ผลลัพธ์ 67 68 งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ √√ 20,000 ทาเอง ทารว่ ม หนว่ ยงาน √√ 50,000 √ 40 คน สมาชกิ สภาองค์กรชุมชนตาลล √ ได้รบั การพฒั นา หนองบวั เกษตร อ. ความรแู้ ละมี เมอื ง ผลิตภัณฑ์จาหน่าย สภาองคก์ รชุมชนตาลล ในตาบลเกิดความ หนองบวั ,ศูนย์ ตระหนักรจู้ ากการ การศึกษานอกโรงเรยี น ใชว้ ัตถดุ ิบในชุมชน ในการลดต้นทุน สภาองคก์ รชุมชนตาบล 45 คนสมาชกิ ได้รบั หนองบวั /พัฒนาชุมชน ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู ้ อ.เมือง แ ล ะ มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เกษตร อ.เมือง จาหน่ายในตาบล/มี บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ที่ ทนั สมยั √ √ 45,000 √√ ชุมชน/ครวั เรอื นได้ สภาองค์กรชุมชนตาบล มีพื้นที่ส่วนกลาง หนองบัว/ตัวแทนแกน จดั ทาความมัน่ คง นาชุมชน ทางอาหารปลกู ผกั ปลอดสาร/ผกั ครวั เรอื น

ด้านสังคม ลาดับ แผนงาน/กิจรรม วธิ กี าร ระยะเวล 64 65 66 1 โครงการรณรงคใ์ ห้ความรกู้ ารป้องกัน จดั อบรมให้ความรู้ ทาเจลล้างมอื √√√ โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา แอลกอฮอร์ เยบ็ หน้ากากอนามยั 2019 จากผ้า √√√ 2 โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุนกองทนุ สรา้ งความเข้าใจการจดั สวสั ดิการ สวสั ดิการชุมชน ชุมชน 3 การแก้ไขปัญหาคุณภาพชวิ ติ และทอี่ ยู่ สารวจข้อมูลเดือดรอ้ นทุกมิติ/จดั ทา √ √ √ อาศัย ซอ่ มแซมบา้ นและห้องน้าให้กับ ผู้ด้อยโอกาส ผเู้ ปราะบางและผู้ ยากไร้

36 ลา การดาเนินการ เป้าหมาย/ 67 68 ผลลัพธ์ √√ งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ 50,000 ทาเอง ทารว่ ม หน่วยงาน √ 80 คน สภาองคก์ รชุมชน ตาบล/ อบต./และอ่นื ๆ √ √ 100,000 √ 5,484 ครวั เรอื น กองทนุ สวสั ดิการ ชุมชน/เทศบาล,อบต/ รพ.สต. √ √ 160,000 √ 160 คน เทศบาล,อบต. , ฝ่ายปกครองอาเภอ

ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ลาดับ แผนงาน/กิจรรม วธิ กี าร ระยะเวลา 64 65 66 1 .โครงการสง่ เสรมิ การจดั การระบบ สง่ เสรมิ ให้รว่ มจติ อาสาพฒั นา √√√ ทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อมในชุมชนอยา่ ง รว่ มกัน/งดการเผาขยะในชุมชน , มีส่วนรว่ ม ครวั เรอื นงดปล่อยสิ่งปฏิกูลลงแมน่ า้ แคว

37 า การดาเนินการ เป้าหมาย/ ผลลัพธ์ 67 68 งบประมาณ ผูร้ บั ผดิ ชอบ ทาเอง ทารว่ ม หน่วยงาน √ √ √ 100,000 สภาองคก์ รชุมชน ตาบล/เทศบาล,อบต./ แกนนาตาบลเทศบาล ,อบต.

38 กระบวนการเชอื่ มโยงแผนพฒั นาตาบลกับแผนของหน่วยงาน หน่วยงานภาคีที่ กระบวนการเชอื่ มโยงแผน เรอ่ ื งทใ่ี ห้การสนับสนุน เก่ียวข้อง นาเสนอชุดยกรา่ งแผนตาบลแก่ เทศบาล -ส่งเสรมิ และสนับสนนุ พืชพันธผ์ ักเพ่ิมเติม, เทศบาลและองค์การ และอบต. ในการเชอ่ื มโยงแผนงานท่ี พื้นทใ่ี นการเพาะปลกู เมล็ดพนั ธ/์ อุปกรณ์ใน บรหิ ารส่วนตาบล เกี่ยวข้องกัน การเพาะปลูก สง่ เสรมิ อาชพี ในชุมชน และ กองทนุ สวัสดิการชุมชน เกษตรอาเภอเมือง ประสานหนงั สือในการตรวจคณุ ภาพอาหาร สนับสนุนค่มู ือการจดั ทาเกษตรปลอดสาร พัฒนาชุมชนอาเภอ แปรรูป (สินค้า OTOP) พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้ได้มาตรฐาน

39 ภาพผลการดาเนินงานตามแผน โครงการส่งเสรมิ การทาบรรจุภัณฑ์กลุ่มพรกิ แกง

40 โครงการส่งเสรมิ สรา้ งความม่ันคงทางอาหารให้กับชุมชนตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง.

41 โครงการแก้ไขปญั หาคุณภาพชวิ ติ และท่ีอยูอ่ าศัย 42

42 2. มติ ิดา้ นความม่งั ค่งั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook