Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง

กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง

Published by Kan09 Kan09, 2022-06-12 05:38:50

Description: กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง

Search

Read the Text Version

กิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจาปี 2565 ประเภทรางวัล กลุ่ม/องค์กรชุมชนแกนหลักสาคญั ในการพัฒนาหมบู่ า้ น ดีเด่นระดับจงั หวดั กลุ่มแม่บา้ นสัมมาชพี ชมุ ชนบา้ นตลงิ่ แดง หมู่ท่ี 8 ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบรุ จี ังหวดั กาญจนบรุ ี โดยสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอเมอื งกาญจนบุร ี

คานา สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี ได้ดาเนนิ การรวบรวมผลงานและกจิ กรรมของ กลุ่มแม่บ้านสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง ซึ่งสร้างผลงานเป็นที่ประจักษ์แก่ชุมชน และได้รบั การ ยอมรบั ในฐานะกลมุ่ /องค์กรตัวอยา่ งที่เป็นแบบอยา่ งทีด่ ีแกก่ ลมุ่ /องค์กรอ่ืนๆ และสรา้ งคณุ ประโยช น์ อย่างมากมายตอ่ คณุ ภาพชีวติ ของคนในพื้นที่ ดังนน้ั เอกสารฉบับนี้จงึ เปน็ การบนั ทกึ องคค์ วามรแู้ ละผลงานในแทบทกุ ดา้ นของกล่มุ /องค์ก ร ผ้จู ัดทาหวงั เป็นอยา่ งยิ่งวา่ เอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์แกบ่ ุคคลทีส่ นใจจะเรยี นรตู้ ่อไป คณะผ้จู ัดทา

สารบัญ เรอ่ ื ง หน้า ขอ้ มูลทว่ั ไปของกลมุ่ 1–2 ความสามารถในการบรหิ ารจัดการกลมุ่ /องค์กร อย่างต่อเนื่องและชดั เจน 2-7 - กาบรหิ ารจัดการกลมุ่ ตามหลัก 5 ก 8 - สมาชกิ มสี ว่ นรว่ มวางแผนและการตดั สินใจ 8 - แผนงานขับเคลอื่ นและกากบั ติดตามการดาเนนิ กจิ กรรม/กิจการทช่ี ดั เจน 9 - การแสวงหาความรว่ มมอื จากองค์กรภายนอก-พันธมิตร 10 - การดาเนินกจิ กรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความสามารถในการจดั การกิจกรรม/กิจการ ของกลมุ่ /องค์กร 10 - ทุนทางสงั คม-วฒั นธรรม พลงั ภูมิปัญญา ใหเ้ ปน็ พลังในการสรา้ งสรรคก์ ารดาเนนิ งาน 11 - การดาเนินงานทรี่ เิ รม่ ิ สรา้ งสรรค์หรอื เป็นนวัตกรรม 11 - มีการขยายผลหรอื ถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หก้ ับผสู้ นใจทวั่ ไป 11 - มกี ารบูรณการความรว่ มมอื จากภายนอกและสรา้ งเครอื ขา่ ยเช่ือมโยงกิจกรรม/กจิ การ 12 - มีการอนุรกั ษ์และสบื ทอดกจิ กรรม/กจิ การของกลมุ่ /องคก์ รจากรนุ่ สู่รนุ่ 13 - มีการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธก์ จิ กรรม/กจิ การ ในรูปแบบตา่ งๆ 14-15 ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม การสรา้ งผลประโชนแ์ ก่สังคมและสาธารณะ 15-16 - สรา้ งรายได้แก่สมาชกิ หรอื สนบั สนุนให้เกดิ การพฒั นาต่อประชาชนชมุ ชนและสงั คมอยา่ งตอ่ เน่ือง 16 - มีการจัดแบ่งผลกาไร หรอื จดั กจิ กรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ 17 - เปน็ ตวั อย่างแก่กล่มุ /องค์กรอื่นๆในท้องถน่ิ ได้ การยดึ มน่ั ในหลักธรรมาภบิ าล 17-19 - บรหิ ารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล 20 - กลมุ่ องค์กร ได้รบั รางวลั /คาชนื่ ชม ทปี่ รากฏแกส่ าธารณะ 21-32 ภาคผนวก

1 ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์พิจารณาการประกวดกิจกรรม กลุ่ม/องคก์ รชุมชนแกนหลกั สาคัญในการพัฒนาหมู่บา้ น ดีเด่นระดบั จงั หวดั ขอ้ มูลทว่ั ไปของกลมุ่ วัตถุประสงคก์ ารจัดตั้งกล่มุ 1.เพื่อทากจิ กรรมรว่ มกันในชมุ ชน ผลิตสนิ ค้าจาหน่าย เพม่ิ รายได้ สรา้ งอาชพี ให้แกค่ นในชมุ ชน 2. เพ่อื สรา้ งความสามคั คีชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันละกัน 3. เพอื่ ให้เกิดการพฒั นาตนเอง สงั คมและท้องถ่ินอยา่ งย่งั ยนื เกดิ ความเข้มแขง็ และสามารถ พึ่งพาตนเองได้ ท่ีตั้งตาบลหนองบวั ต้ังอยู่ทางทิศตะวันตก อย่หู ่างจากตวั อาเภอเมืองกาญจนบุร ี ระยะทาง 15กโิ ลเมตร พน้ื ที่ ตาบลหนองบัวมพี นื้ ทท่ี ้ังหมด ประมาณ 42,793.75 ไร่ ขอบเขต ตาบลหนองบวั มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั ตาบลต่างๆ ดังน้ี ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั เขตตาบลแกง่ เส้ียน ทิศใต้ ตดิ ต่อกบั ตาบลบา้ นเก่า ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับเขตตาบลหนองหญ้า ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกบั ตาบลลาดหญ้า เขตการปกครอง เขตการปกครองแบง่ ออกเปน็ เทศบาล 1 แห่ง คือ สานักงานเทศบาลตาบลหนองบัว ซ่ึงประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หม่ทู ี่ 1,2,3 และหมู่ที่ 8 บ้านตลิ่งแดง มีพ้นื ทีป่ ระมาณ 5,312.5 ไร่ อบต. 1 แห่ง คือ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหนองบัว ซึ่งประกอบด้วย 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หม่ทู ่ี 4,5,6,7 มีพนื้ ทป่ี ระมาณ 37,481.25 ไร่ ตาบลหนองบวั มีพ้นื ทก่ี ารเกษตรท้ังหมด 19,710 ไร่ ครวั เรอื นทั้งหมด 3,752 ครวั เรอื น ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ปลูกข้าว ปลูกอ้อย ปลูกมันสาปะหลัง และ พชื ผกั อาชพี รอง เช่น รบั จา้ ง กลุ่มแมบ่ า้ นสัมมาชีพชุมชนบ้านตล่ิงแดง ต้งั อยู่บรเิ วณศาลาอเนกประสงค์ ตดิ กับท่ที ากา ร ผ้ใู หญบ่ ้าน หมู่ที่ 8 บา้ นตลงิ่ แดง ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุร ี จงั หวดั กาญจนบรุ ี สถานที่ ใกล้เคียง คือ วัดศรอี ุปลาราม และโรงเรยี นวดั ศรอี ปุ ลาราม การเดินทางจากอาเภอเมอื งกาญจน บุรใี ช้ ถนนเส้นมุ่งหนา้ สตู่ าบลลาดหญ้า เลีย้ วซา้ ยเข้าทางซุ้มวัดหนองบัว ว่งิ ตรงประมาณ 1 กโิ ลเมตร แผนท่ีขอบเขตตาบลหนองบวั แผนทเ่ี ทศบาลตาบลหนองบวั

2 ความคดิ รเิ รม่ ิ เน่ืองจากตาบลหนองบัวประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น นาข้าว ไร่อ้อย ไรม่ ันสาปะหลัง และพชื ผกั รวมถึงพืชสมุนไพรในครวั เรอื น หลังจากเสรจ็ สน้ิ ภารกิจทานา ทาไร่แล้ว เกษตรกร บางรายไม่มีอาชีพเสรมิ ต้องรบั จ้าง หรอื บางรายว่างงาน ทาใหข้ าดรายได้ จึงเกดิ การรวมตัว กันของบุคคล ในชุมชนเพ่ือคิดสร้างอาชีพเสรมิ ที่ลงทุนไม่มากแต่สร้างรายได้ต่ อ เนื่ อง และใช้ ผลิตภัณฑท์ ่มี ใี นชุมชนมาแปรรูปเพ่ือสรา้ งรายได้ ประกอบกบั ในชมุ ชนมีการปลกู พชื สมุนไพร เช่น มะกรดู ตะไคร้ ข่า และสมาชิกกลมุ่ บางรายมี ความรู้ความสามารถในการผลิตน้าพรกิ แกง ข้ันตอนการผลิตไม่ยุ่งยาก และในปัจจุบันประชาชน ส่วนมากเร่งรบี กบั การดาเนนิ ชีวติ รักความสะดวกสบาย พรกิ แกงสาเรจ็ รูปจึงเป็นทางเลือกหนึ่งท่ี น่าจะมีติดครวั เรอื นทุกบ้าน จึงเกดิ แนวคดิ ผลิตนา้ พรกิ แกงจาหน่ายโดยการทดลองปรับเปลี่ยน สูตร เพือ่ ใหต้ รงตามความต้องการของผู้บรโิ ภคในชมุ ชน เดิมมผี ลติ ภัณฑ์ ได้แก่ น้าพรกิ แกงเผ็ด น้าพรกิ แกงสม้ นา้ พรกิ เผา ปัจจุบันได้พฒั นาเพิม่ อัตราการผลิตมากข้นึ และคดิ สรา้ งผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ เป็ น ผลิตภัณฑ์พรกิ แกงอบแห้ ง เพ่ือสรา้ งความหลาก หลา ย และสร้างรายได้ใ ห้กลุ่ม กาลังดาเ นิ น การสรา้ งห้องผลิตทไ่ี ดม้ าตรฐานและขอรบั การรบั รองมาตรฐาน อย.ในอนาคต เพ่ือการพฒั นาทไ่ี ม่หยุ ด อยู่กับที่ สร้างโอกาส และสร้างตลาดให้เพ่ิมมากข้ึน นอกจากน้ีในชุมชนยังได้รับการสนั บสนุ น งบประมาณ สนบั สนนุ องคค์ วามรจู้ ากหน่วยงานตา่ งๆ ทาให้สามารถสรา้ งผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นเอกลักษ ณ์ ของชมุ ชนมากยง่ิ ข้ึน ไดแ้ ก่ ไมก้ วาดทางมะพรา้ ว ผลิตภัณฑ์จกั สานจากเสน้ พลาสติก ผลไมแ้ ช่อ่ิมตาม ฤดกู าล เปน็ ต้น 1. มีความสามารถในการบรหิ ารจดั การกลุ่ม/องค์กร อย่างตอ่ เนอ่ื งและชดั เจน 1.1 กาบรหิ ารจัดการกลุม่ ตามหลกั 5 ก (รวมกลุ่ม กรรมการ กติกา กองทนุ กิจกรรม) ชื่อกลุ่ม : กลุ่มแมบ่ ้านสมั มาชีพชมุ ชนบา้ นตล่ิงแดง จดั ต้งั กลุม่ ครง้ั แรก : เม่อื วนั ท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ.2560 จัดตง้ั เป็นกลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชน : เมือ่ วนั ท่ี 18 ธันวาคม 2561 ทะเบียนวสิ าหกจิ ชมุ ชนเลขที่ : 2-71-01-06/1-0021 ท่ที าการกลุม่ : หมูท่ ี่ 8ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุร ี จังหวดั กาญจนบรุ ี โทรศพั ท์ : 081-1972603 Facebook : นา้ พรกิ แกงบ้านหนองบวั Line @ : น้าพรกิ แกงบา้ นหนองบัว พิกดั ทีต่ ง้ั กลุ่ม : 47 P X 547679 Y 1554915

3 1.1.1 คณะกรรมการ นางสาวดวงตา ชยั เจรญิ ประธาน นางนันทน์ ภัส สระบัว นางดวงอาพร คามรกั ษ์ นางวงเดือน เกษมโศธน์ นางศรญั ญา มงคล รองประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรญั ญกิ นางปวติ รา บญุ น้อม นางสมุ าลี บญุ น้อม ประชาสมั พนั ธ์ ประชาสัมพันธ์ นางเบ็ญจา ดอกบัว นางดวงกมล ดวงสรอ้ ยทอง นายพรี พฒั น์ ดวงสรอ้ ยทอง ผปู้ ระสานงาน ผูป้ ระสานงาน ผู้ประสานงาน

4 1.1.2 การรวมกลมุ่ รายช่ือสมาชิกกลุ่ม มดี งั น้ี 1. นางสาวดวงตา ชัยเจรญิ ประธาน 2. นางนันทน์ ภัส สระบัว รองประธาน 3. นางดวงอาพร คามรกั ษ์ รองประธาน 4. นางศรญั ญา มงคล เหรญั ญกิ 5. นางสุมาลี บุญนอ้ ม ประชาสัมพันธ์ 6.นางปวติ รา บุญน้อม ประชาสัมพันธ์ 7. นางวงเดอื น เกษมโศธน์ เลขานุการ 8. นางเบญ็ จา ดอกบัว ผู้ประสานงาน 9. นางดวงกมล ดวงสรอ้ ยทอง ผปู้ ระสานงาน 10. นายพรี พฒั น์ ดวงสรอ้ ยทอง ผู้ประสานงาน 11.นางเตม็ เดอื น ไกรเทพ ทีป่ รกึ ษา 12. นางสาวสายฝน พงษ์ไพบูลย์ สมาชกิ 13. นางสาวรงุ่ เรอื ง สุขเอ่ียม สมาชิก 14. นางเซโ่ ม่ย สระบัว สมาชิก 15. นางพิศวาส นุชเกษม สมาชิก 16. นางวณัฐ จริ กาญจนไ์ พศาล สมาชกิ 17. นางสาวจรรยา เกษมโศธน์ สมาชกิ 18. นายบุญศร ี ติ้วเครอื สมาชกิ 19. นางมทั นา มงคล สมาชิก 20. นายวเิ ชียร ขาวสะอาด สมาชกิ 21. นางสาวชณดิ าภา บวั ทอง สมาชิก 22. นางสาววลิ นา แยม้ มาลี สมาชิก 23. นางสาวจาเนยี ร คาคม สมาชกิ 24. นางสมพร มะกรครรภ์ สมาชกิ 25. นางบุญเน่ือง สัตยกาญจน์ สมาชกิ 26. นางจาเนียร พูนทรพั ย์ สมาชิก 27. นางบุญยัง ปรยิ าปัญจางค์ สมาชกิ 28. นางสถิดาภรณ์ นอ้ ยใจรกั ษ์ สมาชิก 29. นางไพลิน ประยรู ไทย สมาชิก 30. นางปราณี ป้ นั พพิ ัฒน์ สมาชกิ 31. นางสาวแรกขวญั ภาคย์ทองสุข สมาชิก 32. นางสมควร แสงทอง สมาชกิ 33. นางนวลละออง ขาวผ่อง สมาชกิ 34. นายธานนิ ทร์ บุญนอ้ ม สมาชิก 35. นางอมราลกั ษณ์ ใบบัว สมาชิก 36. นางญาดา วงษ์เพช็ ร สมาชิก 37. นางสาวอษุ า คลา้ ยนมุ่ สมาชิก

บทบาท หน้าท่ี ของสมาชกิ 5 ฝ่ายจดั เตรยี มวตั ถุดบิ ฝา่ ยผลิต 1. น.ส.ดวงตา ชยั เจริญ 1. นางศรญั ญา มงคล 2. น.ส.อษุ า คลา้ ยนุม่ 2. นายวเิชยี รขาวสะอาด 3. นางปวิตรา บญุ น้อม 3. นางเซโมย่ สระบัว 4. นางนนั ท์นภัส สระบวั 5. นางพสิ วาท นชุ เกษม ฝ่ายประสานงาน 1. นางเบญ็ จาดอกบัว 2. นายพีระพัฒน์ดวง สรอ้ ยทอง 3. นางดวงกมล ดวงสรอ้ ยทอง ฝา่ ยบญั ชีและฝาก/ถอน ฝ่ายขาย 1. นางเบ็ญจา ดอกบัว 1. นางศรัญญา มงคล 2. นางวงเดอื น เกษม 2. นางวงเดอื น เกษมโศธน์ 3. นางดวงอาพร คามรักษ์ โศธน์ 4. น.ส.อุษา คล้ายนมุ่ 3. นางศรญั ญา มงคล 5. นางบุญยัง ปริยาปัญ จางค์ 1. สมาชิกมกี ารแบ่งบทบาทหน้าทช่ี ัดเจน โดยมาจากมตทิ ป่ี ระชุมกลมุ่ แบง่ ตามความ ถนัด ความสามารถ และความสมัครใจ ไดแ้ ก่ -ฝา่ ยจัดหาวตั ถุดิบ มีหนา้ ที่ ผลิตสนิ คา้ ทางการเกษตร จดั หาสินคา้ วัตถดุ ิบตา่ งๆใหฝ้ ่ายผลิต -ฝ่ายผลติ มหี น้าที่ ผลิตสนิ ค้าตามความต้องการของตลาด ตามคาสั่งซอ้ื ของลูกคา้ - ฝ่ายขาย มีหน้าที่ หาตลาด ให้บรกิ ารลูกคา้ จาหน่ายสนิ ค้า และออกงานแสด งสินค้า -ฝา่ ยบัญชีและฝาก/ถอน มหี นา้ ที่ ทาบัญชี รบั -จ่าย ทารายงานผลทางบัญชีนาเ สน อให้ สมาชกิ กล่มุ ทราบ และมีอานาจหน้าทใ่ี นการฝาก ถอนเงนิ ของกลุม่ -ฝ่ายประสานงาน มหี น้าท่ี ประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ งๆ และแจง้ เตือนรายงาน ขา่ วสารให้สมาชกิ กลมุ่ ทราบ 2. รว่ มกนั ผลิตนา้ พรกิ แกงทม่ี คี ุณภาพมาตรฐาน สะอาด และไม่ใชส้ ารกันบูด 3. รว่ มกันคิดคน้ พฒั นาและสรา้ งผลติ ภณั ฑ์ชนิดใหม่ ใหม้ ีความหลากหลาย เพิ่มรายได้ 4. สามารถถ่ายทอดความรใู้ ห้กบั ผทู้ ส่ี นใจได้ 5. มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ว่ มกนั อยา่ งสมา่ เสมอ

6 1.1.3 กฎระเบยี บของกลมุ่ 1. มกี ารประชุมกลุ่ม จานวน 6 ครง้ั ตอ่ ปี หรอื ทกุ ๆ 2 เดอื น เพ่ือแลกเปลี่ยน ช้แี จง รายงาน ความก้าวหน้าขอ้ มลู กลุ่ม 2. สมาชกิ หา้ มขาดการประชมุ กลมุ่ เกิน 2 ครงั้ หากเกนิ ถกู ตดั สิทธกิ์ ารเปน็ สมาชกิ กลมุ่ 3. สมาชกิ ต้องเขา้ รว่ มกจิ กรรมของกลุ่มทกุ ครง้ั 4. การประชุม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู าน จะมีการให้สมาชิกหมุนเวยี นกันไป 5. คณะกรรมการกลุ่มกาหนดอยู่ในวาระคราวละ 3 ปี โดยจะทาการคัดเลือกในวนั ประชุมครง้ั แรกของกล่มุ ในเดอื นมกราคม 6. กลุ่มมกี ารจัดทาบัญชีรบั จา่ ยเงนิ ของกลมุ่ อยา่ งเปน็ ระเบียบ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ 1.1.4 เงนิ ทนุ หมุนเวยี นในการผลิต และการบรหิ ารงบประมาณ ปัจจบุ นั กลุม่ มเี งนิ หมนุ เวยี นในการผลติ (รวมดอกเบยี้ ) จานวน 156,125.32 บาท แหล่งงบประมาณ และหน่วยงานทส่ี นบั สนุน 1) กรมส่งเสรมิ การเกษตร โดยสานักงานเกษตรอาเภอเมืองกาญจนบุรสี นับสนุน งบประมาณตามโครงการ 9101 ตามรอยเท้าพอ่ ภายใต้รม่ พระบารมี เพ่อื การพัฒนาการเกษตรอย่า ง ย่งั ยืน ปี 2560 เปน็ ค่าวสั ดุอปุ กรณ์สินทรพั ยถ์ าวร วัสดอุ ปุ กรณ์ในการทาพรกิ แกง และคา่ จ้างแรงงาน ในการผลติ เฉพาะระยะเวลาระยะเวลาโครงการ รวมเปน็ เงนิ 106,600 บาท 2) กรมส่งเสรมิ การเกษตร โดยสานักงานเกษตรอาเภอเมืองกาญจนบุร ี สนับสนุน งบประมาณตามโครงการเสรมิ สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย ปี 2561 เป็นค่าวัสดุอุปกรณ์ สนิ ทรพั ยถ์ าวร รวมเป็นเงนิ 150,000 บาท 3) กรมส่งเสรมิ การเกษตร โดยสานักงานเกษตรอาเภ อเมืองกาญจนบุร ี สนับสนุน งบประมาณอบรมพัฒนาศักยภาพกลุ่ม ปี 2561 จานวน 2 ครง้ั รวมเป็นเงนิ 6,800 บาท และ สนบั สนนุ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมเป็นเงนิ 3,000 บาท 4) กรมส่งเสรมิ กา รเก ษตร โดยสานักงา นเกษ ตรจังหวั ดกา ญจ นบุ ร ี สนับสนุ น งบประมาณอบรมพฒั นาศักยภาพกลุ่ม ปี 2561 จานวน 1 ครง้ั รวมเปน็ เงนิ 3,000 บาท 5) กรมส่งเสรมิ การเกษตร โดยสานักงานเกษตรอาเภอเมืองกาญจนบุร ี สนับสนุน งบประมาณอบรมพัฒนาศักยภาพกลุ่ม ปี 2563 จานวน 2 ครั้ง รวมเป็นเงนิ 6,000 บาท และ สนับสนนุ การพฒั นาจุดเรยี นรปู้ ระจากลุม่ รวมเป็นเงนิ 7,000 บาท 6) กรมการพฒั นาชุมชน โดยสานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี สนบั สนุน งบประมาณในการจัดซอื้ วสั ดุในการผลิตนา้ พรกิ แกง ปี 2563 จานวน 30,000 บาท

7 1.1.5 กิจกรรมผลิตน้าพรกิ แกง นา้ พรกิ เผา และพรกิ แกงอบแหง้ รายได้จากการจาหนา่ ย นา้ พรกิ ชนิดต่างๆ (ตัดยอด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564) รายได้ปี 2662 รายได้ปี 2563 รายได้ปี 2564 จ า น วนเงนิ (บาท) ชนิดผลิตภณั ฑ์ (บาท) (บาท) (บาท) 1. นา้ พรกิ แกงเผ็ด 133,157 152,037 241,595 526,789 2. น้าพรกิ แกงส้ม 16,440 20,640 24,300 61,380 3. น้าพรกิ เผา 18,630 14,340 22,580 55,550 4. พรกิ แกงเผด็ อบแห้ง - - 5,438 5,438 รวม 168,227 187,017 293,913 649,157 หมายเหตุ รายได้ทง้ั หมดยงั ไม่หักค่าใชจ้ ่าย รายได้จากการผลติ น้าพรกิ แต่ละชนิด คือ ตน้ ทุนประมาณ 60 เปอรเ์ ซ็นต์ กาไรประมาณ 40 เปอรเ์ ซ็นต์ อตั ราการผลติ น้าพรกิ แกงในปัจจุบนั นา้ พรกิ แกงเผ็ด ผลิต 250 กโิ ลกรมั ตอ่ เดอื น นา้ พรกิ แกงสม้ ผลิต 50 กโิ ลกรมั ตอ่ เดอื น นา้ พรกิ เผา ผลติ 30 กโิ ลกรมั ตอ่ เดือน น้าพรกิ แกงอบแห้ง ผลิต 10 กโิ ลกรมั ต่อเดือน การบรหิ ารจดั การรายได้ และการบรหิ ารเงนิ ทนุ หมนุ เวยี น 1. สมาชิกที่มาผลิตพรกิ แกงจะไดร้ บั คา่ จ้างในอัตราวันละ 400 บาท 2. เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากการจาหน่าย แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คือ ส่วนท่ี 1 เกบ็ กาไรฝากเขา้ บญั ชีธนาคาร ส่วนท่ี 2 จา่ ยคา่ จา้ งแรงงาน ค่านา้ ค่าไฟฟ้า และคา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ๆ ส่วนท่ี 3 เปน็ ต้นทนุ ในการผลติ ครง้ั ถัดไป วทิ ยากรประจากลุ่ม วทิ ยากรประจากลุ่ม (วทิ ยากรหลกั ) 3 คน 1) นางสาวดวงตา ชัยเจรญิ มคี วามเชีย่ วชาญด้าน การผลิตนา้ พรกิ 2)นางสาวดวงอาพร คามรกั ษ์ มคี วามเชี่ยวชาญดา้ น การจกั สานเสน้ พลาสตกิ 3) นายพรี พฒั น์ ดวงสรอ้ ยทอง มีความเชย่ี วชาญด้าน การเพาะเห็ดนางฟ้า 4) นายบุญศร ี ตว้ิ เครอื มคี วามเชย่ี วชาญดา้ น การทาไม้กวาดทางมะพรา้ ว วทิ ยากรประจากลุ่ม (วทิ ยากรผูช้ ว่ ย) 5 คน 1) นางสาวอุษา คลา้ ยนมุ่ มีความเช่ยี วชาญด้าน การผลติ นา้ พรกิ 2) นางปวติ รา บุญนอ้ ม มคี วามเช่ยี วชาญดา้ น การผลติ นา้ พรกิ 3) นางนันทน์ ภสั สระบัว มีความเชย่ี วชาญดา้ น การผลิตนา้ พรกิ 4) นางดวงกมล ดวงสรอ้ ยทอง มคี วามเชี่ยวชาญด้าน การเพาะเห็ดนางฟ้า 5) นางศรญั ญา มงคล มคี วามเช่ียวชาญดา้ น การจักสานเสน้ พลาสตกิ

8 1.2 สมาชกิ มสี ่วนรว่ มวางแผนและการตัดสินใจ กลุ่มมีการประชุมกลุม่ จานวน 6 ครงั้ ต่อปี หรอื ทกุ ๆ 2 เดอื น เพอื่ ช้แี จงสมาชิก พร้อมทั้ง หาขอ้ ตกลงรว่ มกนั เพอ่ื ต้ังกฎระเบียบ ขอ้ ปฏบิ ัตกิ ลุ่มรว่ มกัน รว่ มกนั ดาเนนิ กิจกรรมของกลุ่มโด ยแบ่ ง บทบาทหน้าท่ตี ามความถนดั มีการวางแผนในอนาคตเรอ่ ื งการแบ่งปนั ผลประโยชน์ การระดมหนุ้ และ การปันผล ซ่ึงในปัจจบุ นั ยงั ไมไ่ ดแ้ บ่งปันผลประโยชนใ์ ห้สมาชกิ เน่ืองจากอยูใ่ นระ หว่างหารายได้เ พ่ื อ สร้างและพัฒนาสถานท่ีผลิตที่ตรงตามมาตรฐาน และขอการรบั รองมาตรฐานต่อไป การพัฒนา คณะกรรมการและสมาชกิ กล่มุ สมาชกิ กลุ่มเข้ารว่ มอบรมถา่ ยทอดความรูก้ ับหนว่ ยงานต่างๆ เสมอ เพ่ือใหเ้ กดิ การพฒั นาศักยภาพ ทั้งด้านการผลิต บรรจภุ ณั ฑ์ การแปรรูป การเปน็ วทิ ยากร และการเป็น จดุ เรยี นรู้ 1.3 แผนงานขับเคล่ือนและกากบั ตดิ ตามการดาเนินกิจกรรม/กิจการทช่ี ดั เจน ดังนี้ - เพิ่มอัตราการผลติ สนิ คา้ แตล่ ะชนดิ ให้สงู ขน้ึ - พัฒนาและสรา้ งผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่เพ่ือสรา้ งโอกาสในการจาหนา่ ยสินค้า เชน่ นา้ พรกิ เห็ด ผลิตภัณฑแ์ ปรรปู จากเห็ด เปน็ ต้น - เพม่ิ ช่องทางการจาหนา่ ยสินคา้ เชน่ หาตลาดเพิ่มมากข้ึน การจาหน่ายสนิ ค้าออนไลน์ - ปรบั ปรุงอาคารและสรา้ งห้องผลิตน้าพรกิ แกง เพอ่ื ใหต้ รงตามมาตรฐาน และสามารถพัฒนา ไปสู่ของการรบั รองมาตรฐาน อย.ได้ - ขอการรบั รองมาตรฐาน อย. และมาตรฐานสินคา้ อ่ืนๆ เพื่อสรา้ งความน่าเช่ือถือสรา้ งโ อกา ส ในการพัฒนาด้านการตลาด - ระดมหนุ้ จากสมาชิก เพ่อื ให้กลมุ่ มีเงนิ ทุนสารองและเงนิ ทุนหมนุ เวยี นในการพัฒนา สิน ค้า เสมอและมกี ารปันผลให้สมาชกิ ทกุ สิ้นปี - พัฒนาวทิ ยากรประจากลุม่ เพ่ิมมากขน้ึ - ส่งเสรมิ ให้สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ผลิตวตั ถุดิบในการผลิตน้าพรกิ แกงเพิ่มมากข้ึน เพ่ือสร้าง รายไดใ้ ห้สมาชกิ เพ่มิ มากข้ึน ผลสัมฤทธิข์ องการดาเนนิ กจิ กรรมของกลุ่มฯ 1. ประธาน กรรมการ และสมาชิกกลุ่มได้รบั ความรู้ ได้รบั การพฒั นาดา้ นต่างๆ ทางดา้ นการ บรหิ ารงานกลุ่ม การทาบัญชีอย่างถูกตอ้ ง โปรง่ ใส ดา้ นการเพิม่ ทกั ษะในการเป็นวทิ ยากร 2. มวี ทิ ยากรประจากล่มุ สามารถถา่ ยทอดความรใู้ หแ้ ก่สมาชิกและผสู้ นใจได้ จานวน 9 คน 3. เกดิ ความสามคั คี สมาชกิ ได้ชว่ ยเหลอื กนั ชว่ ยเหลือสงั คม เกิดความภาคภูมิใจ 4. กลมุ่ ไดร้ จู้ กั การวเิ คราะห์ บรบิ ทภายใน ภายนอก สามารถพฒั นาวางแผนกลมุ่ ได้ 5. มรี ายไดเ้ ขา้ กลุ่มอยา่ งต่อเนื่อง และเป็นคา่ จา้ งใหส้ มาชกิ มรี ายได้ 6. พฒั นาสนิ ค้า บรรจุภณั ฑเ์ สมอ และเพมิ่ ชนิดสนิ คา้ เพ่ือสรา้ งความหลากหลาย

9 ปัญหา อปุ สรรค - งบประมาณสาหรบั ต่อเตมิ ปรบั ปรุงหอ้ งผลติ เพ่ือให้ตรงตามมาตรฐานยังไมเ่ พียงพอ - สมาชิกกลมุ่ ยังไมใ่ หค้ วามสาคัญในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเท่าท่ีควร และยงั ไม่กลา้ แสดงออก - ตลาดในการสง่ สินค้าจาหน่ายยงั มนี ้อย - สมาชิกลุ่มยังขาดความรู้ ทกั ษะ ในการบรหิ ารทางด้านการเงนิ และการพัฒนาสนิ ค้าในรูปแบบกลุ่ม แนวทางแกไ้ ขปัญหา และอปุ สรรค - กลมุ่ นาเงนิ เก็บออกมาปรบั ปรงุ ห้องผลิตและรว่ มกนั ผลิตสนิ ค้าเพมิ่ มากข้ึนเพ่ือเขา้ หาก ลุ่ม รวมถงึ เข้า รว่ มกจิ กรรมและขอรบั การสนบั สนนุ งบประมาณจากหน่วยงานต่างๆ - จดั กิจกรรมสรา้ งความสมั พันธ์ระหว่างสมาชกิ กลุ่ม ใหส้ มาชิกกลุ่มตระหนกั ถึงความ สาคั ญ รกั และหวงแหนองคก์ ร ใหค้ วามสาคัญกับสมาชิกทุกคนได้แสดงออก รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ และ ไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมทกุ คน - หากลุ่มลูกค้า แหล่งจาหน่ายสินค้าเพิ่มมากขึ้น เพิ่ม ช่องทางการจาหน่ายสินค้า เพ่ือให้ สามารถมีตลาดรองรบั กับการผลติ ท่ีเพม่ิ มากขนึ้ - หาทีป่ รกึ ษา เพมิ่ ทักษะ ความรู้ และสรา้ งประสบการณ์ทางดา้ นการบรหิ ารการเงนิ และการ พัฒนาสนิ ค้าในรูปแบบกลมุ่ เพ่ือให้กลมุ่ เขม้ แขง็ และยัง่ ยืน 1.4 การแสวงหาความรว่ มมือจากองค์กรภายนอก-พนั ธมติ ร หน่วยงานของรัฐในกา รสนับสนุ นกลุ่มฯ ในทุกด้านทั้งด้านการรวมกลุ่ม การสนับสนุ น งบประมาณท้ังด้านการผลิต และการประชาสัมพันธ์ การให้คาปรกึ ษา แนะนา ตลอดจนร่วมแก้ไข ปัญหาต่างๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ รวมทัง้ การอบรมฝกึ ทกั ษะ ให้สมาชกิ กลุ่มสามารถเปน็ วทิ ยากรถ่ายทอดความ รู้ แกผ่ ู้สนใจ โดยไดร้ บั การสนับสนนุ จาก - สานกั งานเกษตรจงั หวดั กาญนบรุ ี - สานักงานเกษตรอาเภอเมอื งกาญจนบุร ี - สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี - สานกั งานเทศบาลตาบลหนองบัว - มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ี - ธนาคารออมสิน - ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร บูรณาการรว่ มกับหน่วยงานตา่ งๆ

10 1.5 การดาเนนิ กจิ กรรมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กลุม่ แมบ่ ้านสัมมาชีพชุมชนบ้านตลง่ิ แดง ไดส้ ่งเสรมิ การทาเกษตรทฤษฎใี หม่ การบรโิ ภคปลอดภัย ปลูกผกั เอง ไมต่ อ้ งซอ้ื โดยครวั เรอื นรอ้ ยละ 95% ได้ปลกู ผกั สวนครวั ไว้รับประทานเองและไว้สาหรับ ขาย โดยผักสวนครัวท่ีนิยมปลูก ได้แก่ ข่า ตะไคร้ มะกรูด มะนาว พรกิ กระเพรา โหระพา ชะอม เปน็ ตน้ นอกจากน้ยี งั มีการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เชน่ พรกิ แกง น้าพรกิ รสชาตติ า่ งๆ เนื่องจากในตาบล มี วัตถดุ ิบในการผลิตพรกิ แกงจานวนมาก จากการดาเนินงานของกลุ่มแม่บ้านสมั มาชีพชุมชนบา้ นตลิ่งแดงในข้อ 1.2 แสดงใหเ้ ห็ นว่า กลุ่มสัมมาชีพชุมชนบ้านตล่ิงแดง มีการดาเนินงานโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ความ พอประมาณ มีเหตุผล และมภี ูมคิ ้มุ กันในตวั ท่ีดี พรอ้ มทัง้ ควบคกู่ ับการแสวงหาความรูแ้ ละคุณ ธรรม ดงั นี้ ความรู้ คือการที่กลุ่มแม่บ้านสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง มีการศึกษาหาความรู้ พัฒนา ผลติ ภัณฑข์ องกลุ่มใหม้ ีนวัตกรรมใหม่ๆ มีความหลากหลายมากย่ิงข้ึน เพื่อตอบโจทยค์ วามต้องกา ร ของผบู้ รโิ ภค ทาให้ยอดขายเพมิ่ ขน้ึ สมาชกิ และคนในชมุ ชนมรี ายได้เพิม่ มากขน้ึ ดว้ ย คุณธรรม คือการที่กลุ่มแม่บ้านสัมมาชพี ชุมชนบ้านตลิ่งแดง มีความซ่ือสัต ย์ต่ออาชีพของ ตวั เอง ผลติ สินคา้ ทมี่ คี ณุ ภาพเหมาะสมกบั ราคา ไมเ่ อาเปรยี บผู้บรโิ ภค ทาใหส้ นิ คา้ มมี าตรฐานและเป็น ท่ียอมรบั 2. มีความสามารถในการจดั การกจิ กรรม/กิจการ ของกลมุ่ /องคก์ ร 2.1 ทนุ ทางสังคม-วฒั นธรรม พลังภูมปิ ัญญาให้เป็นพลังในการสรา้ งสรรคก์ ารดาเนินงาน ตาบลหนองบวั ประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกร เชน่ นาข้าว ไรอ่ ้อย ไรม่ นั สาปะหลัง และพชื ผัก รวมถึงพืชสมุนไพรในครวั เรอื น ชาวบา้ นสว่ นใหญ่จะปลูกพืชผัก ไว้รบั ประทานเอง จากการ เปลย่ี นแปลงทางสังคมในปจั จุบนั ประชาชนส่วนมากเรง่ รบี กับการดาเนินชีวติ รกั ความสะดวกสบา ย แม่บา้ นในหมูบ่ ้านตล่ิงแดงจึงมคี วามคดิ ทีจ่ ะรวมตัวกันผลิตสนิ ค้าทีม่ วี ัตถดุ บิ อยใู่ นครวั เรอื นของตัวเอง อยแู่ ลว้ ประกอบกับในหมู่บ้านน้ีมคี นทมี่ ีความรคู้ วามสามารถในด้านการทานา้ พรกิ แกงทอ่ี รอ่ ย, ทาไม้ กวาดทางมะพรา้ ว มาเปน็ ผู้ท่ีถ่ายทอดความรใู้ ห้แกช่ าวบา้ นท่ีมคี วามสนใจ จึงได้เกดิ การรวมตั วของ แมบ่ า้ นตัง้ กลมุ่ แม่บา้ นสัมมาชีพชุมชนบา้ นตล่ิงแดง ผลิตนา้ พรกิ แกง และไม้กวาดทางมะพรา้ ว ขาย ใหก้ บั คนในหมู่บ้านและคนทัว่ ๆ ไป

11 2.2 มีการดาเนนิ งานที่รเิ รม่ ิ สรา้ งสรรคห์ รอื เปน็ นวตั กรรม กลมุ่ ไดม้ ีการผลติ น้าพรกิ แกงจาหนา่ ยโดยการทดลองปรับเปล่ยี นสูตรเพื่อให้ตรงตามคว าม ต้องการของผู้บรโิ ภคในชุมชน เดิมมีผลิตภัณฑ์ ได้แก่ น้าพรกิ แกงเผ็ด น้าพรกิ แกงส้ม น้าพรกิ เผา ปจั จุบันไดพ้ ัฒนาเพ่มิ อัตราการผลิตมาก ขึน้ และคิดสรา้ งผลิตภณั ฑ์ชนิดใหม่เปน็ ผลิตภัณฑ์พรกิ แก ง อบแห้ง เพื่อสร้างความหลากหลาย และสรา้ งรายได้ให้กลุ่ม กาลังดาเนิน การสร้างห้องผลิตที่ได้ มาตรฐานและขอรบั การรบั รองมาตรฐาน อย.ในอนาคต เพื่อการพฒั นาที่ไม่หยดุ อยู่กับท่ี สรา้ งโอกาส และสรา้ งตลาดให้เพ่มิ มากข้ึน นอกจากนใ้ี นชุมชนยังได้รับการสนับสนนุ งบประมาณ สนับสนุน องค์ ความรจู้ ากหน่วยงานตา่ งๆ ทาใหส้ ามารถสรา้ งผลติ ภณั ฑท์ ่ีเปน็ เอกลักษณข์ องชมุ ชนมากยิ่งขนึ้ ผลิตภัณฑพ์ รกิ แกงอบแห้ง เครอ่ ื งอบพรกิ แกงแหง้ 2.3 มีการขยายผลหรอื ถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หก้ ับผู้สนใจทว่ั ไป สมาชกิ กลุ่มเข้ารว่ มอบรมถา่ ยทอดความรกู้ บั หน่วยงานตา่ งๆ เสมอ เพ่อื ให้เกดิ การพฒั นา ศกั ยภาพ ท้งั ดา้ นการผลิต บรรจภุ ัณฑ์ การแปรรปู การเปน็ วทิ ยากร และการเป็นจุดเรยี นรู้ 2.4 มีการบรู ณาการความรว่ มมอื จากภายนอกและสรา้ งเครอื ขา่ ยเชอื่ มโยงกจิ กรรม/กจิ การ กลุ่มแม่บ้านสัมมาชีพชุมชนบ้านตล่ิงแดงได้รับความรว่ มมือจากภาคีเครอื ข่ายท้ังจากภ าค รฐั และภาคเอกชนในการสนับสนุนกลุ่มฯ ในทกุ ดา้ นทั้งด้านการรวมกลุ่ม การสนับสนุนงบประมา ณ ทั้ ง ด้านการผลิต และการประชาสัมพันธ์ การให้คาปรกึ ษา แนะนา ตลอดจนร่วมแก้ไขปัญหาต่า งๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น รวมทงั้ การอบรมฝึกทักษะ ให้สมาชกิ กลมุ่ สามารถเป็นวทิ ยากรถ่ายทอดความรูแ้ กผ่ ู้ สนใจ เช่น - สานกั งานเกษตรจังหวดั กาญจนบุร ี - สานักงานเกษตรอาเภอเมืองกาญจนบุร ี - สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี - สานกั งานเทศบาลตาบลหนองบัว

12 - มหาวทิ ยาลัยราชภฏั กาญจนบุร ี - ธนาคารออมสนิ - ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - กลุ่มองค์กรตา่ ง ๆ ในชุมชน 2.5 มีการอนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดกจิ กรรม/กิจการของกลุ่ม จากรนุ่ สู่รนุ่ เน่ืองจากตาบลหนองบัวประชาชนส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น นาข้าว ไรอ่ ้อย ไรม่ ันสาปะหลัง และพืชผกั รวมถงึ พืชสมุนไพรในครวั เรอื น วา่ งจากอาชพี หลกั ครวั เรอื นกจ็ ะหันมาทา อาชีพเสรมิ เพ่ือเพมิ่ รายได้ หรอื อาจะทาไวใ้ ช้เองในครวั เรอื น วสั ดทุ ี่ใช้กม็ ีอยใู่ นครวั เรอื นของตน อยู่ แลว้ พอ่ แมจ่ ะถา่ ยทอดความรใู้ หแ้ ก่ลกู ๆ เพื่อนาไปใช้ประโยชนต์ ่อไป

13 2.6 ด้านการประชาสัมพนั ธเ์ ผยแพรก่ จิ กรรมกลุ่ม - กลมุ่ เข้ารว่ มกจิ กรรมออกรา้ นจาหนา่ ยสินค้าของหน่วยงานต่างๆ เสมอ (ภาคผนวก) - กลุ่มมี Facebook และ Line สาหรบั การประชาสมั พนั ธส์ ินคา้

14 3. มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม กลุ่มแมบ่ ้านสมั มาชพี ชุมชนบ้านตลิง่ แดง มกี ารสรา้ งสรรค์สนิ ค้า/ผลติ ภัณฑ์ กิจกรรม หรอื การ จดั การใหมท่ ีต่ อบสนองต่อสมาชิกและชมุ ชน มกี ารนาเทคโนโลยี ความรใู้ หม่มาใช้ในการดาเนิน งา น มีการยกระดับความรูด้ ว้ ยกระบวนการจัดการความรู้หรอื ถอดบทเรยี น โดยทางกลุ่มได้ลงทะเบียน ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP เมือ่ ปี 2562 ไดแ้ กไ่ มก้ วาดทางมะพรา้ ว พรกิ แกงเผ็ด (แบบกระ ปุก ) จาหนา่ ยท้งั ในจงั หวดั และตา่ งจงั หวัด ได้รบั การตอบรบั ดีจากลกู ค้าเปน็ อย่างดใี นเรอ่ ื งรสชาติ ที่ไม่เผ็ด จนเกินไป สะดวกตอ่ การใช้ แตส่ าหรบั แม่บ้านท่ีไม่ถนดั ในเรอ่ ื งของการทาอาหาร จะมคี วามกงั วลวา่ จะ ใชพ้ รกิ แกงในปรมิ าณมากทาให้น้าแกงเข้มขน้ เกินไป และหากเก็บรกั ษาไมด่ พี รกิ แกง จะช้นื และขึ้นรา ได้ กล่มุ แมบ่ ้านสัมมาชพี ชุมชนบ้านตล่ิงแดง จึงไดป้ ระชุมสมาชกิ ที่จะคิดค้ นพรกิ แกงในรูปแบบที่ ตรง ตามความต้องการของกลุ่มลูกค้า ท่ีไม่ถนัดในเร่อื งการทาอาหาร และปรกึ ษาหน่วยงานภาค รัฐ ภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้อง ใหส้ ามารถเกบ็ รกั ษาได้ยาวนานขึ้น และตอ้ งการพัฒนารูปแบบผลิตภั ณ ฑ์ใ ห้ ทนั สมัย ซ่งึ ในปี 2564 อาเภอเมืองกาญจนบุร ี ไดค้ ัดเลอื กกลุ่มฯ เขา้ รว่ มโครงการพฒั นาศกั ยภาพ เครอื ข่ายองค์ความรู้ KBO จังหวัด ส่งผลิตภณั ฑ์ พรกิ แกงเผ็ดอบแห้ง เขา้ รว่ มพฒั นาผลิตภัณ ฑ์ใหม่ “พรกิ แกงเผด็ อบแห้ง (แบบกระปุก)” ทาในลักษณะอัดแข็งเป็นก้อนสี่เหลี่ยม คล้ายผงปรุงรสค น อร์ หรอื รสดตี ามท้องตลาด ซงึ่ พรกิ แกงเผด็ ทอี่ ดั เป็นกอ้ น จะทาใหใ้ ชส้ อยได้สะดวก 1 ก้อน/1 ชาม แตก่ ็ ยงั ไมป่ ระสบผลสาเรจ็ เท่าทค่ี วร เนื่องจากพรกิ แกง หากอบไมแ่ ห้ง ยังมีความช้ืนอยู่ จะทาให้เกดิ เชื้อรา จากการเข้ารว่ มโครงการฯ กลุ่มได้รบั ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถเก็บได้ยาวนานขน้ึ สะดวกในการพรอ้ มใช้ จากพรกิ แกงอบแหง้ แบบกระปกุ ที่อยู่ในลักษณะก้อนสี่เหลี่ยม มาเป็นพรกิ แกง ปรุงสาเรจ็ บรรจุในขวดพลาสตกิ สะดวกตอ่ การใช้ ประหยดั เวลา เพราะพรกิ สามารถละลายในนา้ เ ดือด ไดท้ นั ที โดยไม่ต้องมีการปรุงรสเพ่ิมเตมิ โดยการนาเทคโนโลยี และความรใู้ หมๆ่ ท่ไี ดจ้ ากการเข้าร่วม โครงการฯ ของหนว่ ยงานภาครฐั เช่น มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั กาญจนบุร ี มาพัฒนาผลิตภณั ฑ์ของก ลุ่ม ฯ ใหส้ ามารถผลิตไดในปรมิ าณมาก ใชเ้ วลานอ้ ย มคี ุณภาพคงท่ี เตรยี มพรอ้ มส่กู ารขอมาตรฐาน อย. และ เพิม่ ชอ่ งทางการตลาด เพอ่ื นาไปจาหนา่ ยในห้างสรรพสินค้า รา้ นสะดวกซื้อ ภาพการเข้ารว่ มโครงการพฒั นาศักยภาพเครอื ขา่ ยองคค์ วามรู้ KBO

15 BEFORE AFTER 4. การสรา้ งผลประโชนแ์ กส่ ังคมและสาธารณะ 4.1 สรา้ งรายได้แกส่ มาชิก หรอื สนับสนนุ ใหเ้ กิดการพฒั นาต่อประชาชน ชุมชน และสังคมอยา่ ง ต่อเนื่อง กลมุ่ แม่บา้ นสัมมาชพี ชมุ ชนบา้ นตลิ่งแดงไดม้ กี ารพัฒนา ต่อยอดกิจกรรมในกลมุ่ สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่สมาชกิ โดยนาวตั ถุดิบที่มอี ยใู่ นชุมชน เช่น ตะไคร้ ใบมะกรดู เป็นต้น เปน็ การกระจาย รายได้ให้แก่ชมุ ชน มาเป็นสว่ นประกอบในการผลิตน้าพรกิ แกงตา่ งๆ ซง่ึ รายได้จากการจาหนา่ ยมี ดังนี้ รายได้ปี 2662 รายได้ปี 2563 รายได้ปี 2564 จ า น วนเงนิ (บาท) ชนิดผลิตภณั ฑ์ (บาท) (บาท) (บาท) 1. นา้ พรกิ แกงเผด็ 133,157 152,037 241,595 526,789 2. นา้ พรกิ แกงสม้ 16,440 20,640 24,300 61,380 3. น้าพรกิ เผา 18,630 14,340 22,580 55,550 4. พรกิ แกงเผด็ อบแหง้ - - 5,438 5,438 รวม 168,227 187,017 293,913 649,157 หมายเหตุ รายไดท้ ั้งหมดยงั ไม่หกั คา่ ใชจ้ า่ ย รายได้จากการผลิตน้าพรกิ แกงแตล่ ะชนิด จาแนกเป็น ต้นทนุ ประมาณ 60 เปอรเ์ ซน็ ต์ กาไรประมาณ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์

16 อตั ราการผลติ นา้ พรกิ แกงในปจั จบุ ัน นา้ พรกิ แกงเผด็ ผลติ 250 กิโลกรมั ต่อเดอื น ตอ่ เดือน นา้ พรกิ แกงส้ม ผลติ 50 กิโลกรมั ต่อเดือน ตอ่ เดือน น้าพรกิ เผา ผลิต 30 กิโลกรมั น้าพรกิ แกงอบแห้ง ผลิต 10 กโิ ลกรมั กล่มุ แมบ่ า้ นสมั มาชพี ชุมชนบา้ นตลิง่ แดง รว่ มเป็นสว่ นหนง่ึ ในการชว่ ยเหลือคนในชุมชนในช่วง ทม่ี ีโรคระบาด โควดิ -19 โดยการช่วยสนับสนุนการทาอาหารเพอ่ื แจกให้กับกลุม่ คนทีม่ ีความเส่ียง แล ะ ติดเชือ้ โควดิ -19 ดว้ ย 4.2 มีการจัดแบง่ ผลกาไร หรอื จดั กจิ กรรมเพอ่ื สาธารณะประโยชน์ 1. สมาชิกที่มาผลติ พรกิ แกงจะไดร้ บั คา่ จ้างในอัตราวนั ละ 400 บาท 2. เงนิ ทไ่ี ดร้ บั จากการจาหนา่ ย แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น คอื ส่วนที่ 1 เกบ็ กาไรฝากเข้าบัญชธี นาคาร สว่ นท่ี 2 จ่ายค่าจา้ งแรงงาน คา่ น้า ค่าไฟฟ้า ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ และกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ตา่ งๆ ส่วนที่ 3 เปน็ ตน้ ทุนในการผลติ ครงั้ ถดั ไป ปจั จุบนั กลุ่มมีเงนิ ทนุ หมุนเวยี นในการผลิต (รวมดอกเบี้ย) จานวน 156,125.32 บาท

17 4.3 เป็นตัวอยา่ งแก่กลมุ่ /องคก์ รอืน่ ๆในทอ้ งถ่ินได้ กล่มุ แม่บา้ นสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแดง มกี ารบรหิ ารจดั การกล่มุ ตามหลกั 5 ก (รวมกลุ่ม กรรมการ กติกา กองทนุ กิจกรรม) มวี ทิ ยากรประจากล่มุ ทเ่ี ช่ียวชาญและมคี วามรู้ความสามารถ ใน การถา่ ยทอดความรดู้ ้านการผลิตน้าพรกิ การจกั สานเสน้ พลาสติก การเพาะเห็ดฟาง การทาไมก้ วาด ทางมะพรา้ ว สามารถเปน็ ตัวอย่างใหแ้ ก่กลมุ่ /องคก์ รในท้องถิ่น ในด้านการบรหิ ารจดั การกลมุ่ ด้านการ เปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดความรู้ วทิ ยากรประจากลุ่ม (วทิ ยากรหลกั ) 4 คน 1) นางสาวดวงตา ชัยเจรญิ มีความเช่ียวชาญดา้ น การผลติ น้าพรกิ 2) นางสาวดวงอาพร คามรกั ษ์ มคี วามเช่ยี วชาญด้าน การจักสานเส้นพลาสติก 3) นายพีรพัฒน์ ดวงสรอ้ ยทอง มีความเช่ียวชาญดา้ น การเพาะเห็ดนางฟ้า 4) นายบุญศร ี ติว้ เครอื มีความเชย่ี วชาญด้าน การทาไมก้ วาดทางมะพรา้ ว วทิ ยากรประจากลุ่ม (วทิ ยากรผชู้ ว่ ย) 5 คน 1) นางสาวอุษา คล้ายนุ่ม มคี วามเชย่ี วชาญดา้ น การผลิตนา้ พรกิ 2) นางปวติ รา บุญน้อม มีความเชย่ี วชาญด้าน การผลติ นา้ พรกิ 3) นางนนั ทน์ ภัส สระบัว มีความเชยี่ วชาญด้าน การผลิตน้าพรกิ 4) นางดวงกมล ดวงสรอ้ ยทอง มีความเชยี่ วชาญด้าน การเพาะเหด็ นางฟ้า 5) นางศรญั ญา มงคล มคี วามเชี่ยวชาญดา้ น การจกั สานเสน้ พลาสตกิ 5. การยึดมั่นในหลกั ธรรมาภิบาล 5.1 บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภิบาล นิติธรรม การแบง่ อานาจความรบั ผิดชอบ ทกุ คนเท่าเทียมกัน กล่มุ แม่บา้ นสัมมาชีพชุมชนบ้านตลิ่งแด งมี คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มและมีบทบาทหน้าที่ชัดเจน ตามความสามารถและความสมคั รใจ โดยมวี าระ ครงั้ ละ 3 ปี - ฝ่ายจดั หาวตั ถดุ บิ มีหนา้ ที่ ผลติ สินค้าทางการเกษตร จดั หาสนิ ค้าวัตถุดบิ ต่างๆให้ฝา่ ยผลิต - ฝ่ายผลิต มีหน้าท่ี ผลิตสนิ ค้าตามความต้องการของตลาด ตามคาส่ังซอื้ ของลูกค้า - ฝ่ายขาย มหี นา้ ท่ี หาตลาด ให้บรกิ ารลูกค้า จาหนา่ ยสนิ ค้า และออกงานแสดงสินคา้

18 - ฝ่ายบัญชีและฝาก/ถอน มีหน้าท่ี ทาบัญชี รบั -จ่าย ทารายงานผลทางบัญชีนาเสนอให้ สมาชกิ กลมุ่ ทราบ และมีอานาจหนา้ ทใ่ี นการฝาก ถอนเงนิ ของกล่มุ - ฝ่ายประสานงาน มีหน้าที่ ประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ และแจ้งเตือนรายงา น ข่าวสารให้สมาชิกกล่มุ ทราบ คุณธรรม - ปลอดจากการทจุ รติ การทาผิดมาตรฐานและการคอรปั ช่ัน - มกี ารจัดทารายงาน ความก้าวหนา้ ขอ้ มลู กลุ่มและมกี ารจัดทาบญั ชรี บั จา่ ยเงนิ ของกล่มุ อย่าง เป็นระเบยี บ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ และชแ้ี จงใหส้ มาชิกรบั ทราบในที่ประชุม - มกี ารตรวจสอบคณุ ภาพมาฐานในการผลิตอย่างสมา่ เสมอ มีการกาหนดสูตรอั ตราส่วนใ น การผลิตทาให้ผลิตภัณฑ์มีคณุ ภาพได้มาฐาน ไม่มีการนาส่วนผสมที่ไมไ่ ด้คุณภาพนามาผลิตเพื่อให้ ตน้ ทุนลงหรอื เพ่ือหวังกาไรท่มี ากข้ึน - คณะกรรมการและสมาชกิ มคี วามพึงพอใจในการดาเนนิ งาน และไม่มีข้อรอ้ งเรยี น ความโปรง่ ใส - คณะกรรมการบรหิ ารกลุ่มและมบี ทบาทหน้าท่ีชดั เจนและจัดให้มีการประชมุ จานวน 6 คร้งั ตอ่ ปี หรอื ทกุ ๆ 2 เดือน เพ่ือแลกเปล่ียน ช้ีแจง รายงาน ความก้าวหน้าข้อมูลกลุ่มและมีการจั ด ทา บญั ชีรบั จา่ ยเงนิ ของกลมุ่ อย่างเปน็ ระเบียบ โปรง่ ใส สามารถตรวจสอบได้ - มกี ารจัดทาการประชาสัมพนั ธ์ ทาให้สมาชิกสามารถติดตามข่าวสารการดาเนินงานของก ลุ่ม ได้อยา่ งตอ่ เน่ือง - มกี ารกาหนดและประกาศให้สมาชกิ ได้รบั ทราบแนวทางการบรหิ ารจดั การรายได้ และการ บรหิ ารเงนิ ทุนหมนุ เวยี นอย่างชดั เจน ได้แก่ 1. สมาชิกท่มี าผลิตพรกิ แกงจะไดร้ บั คา่ จา้ งในอัตราวนั ละ 400 บาท 2. เงนิ ท่ีได้รบั จากการจาหน่าย แบ่งออกเปน็ 3 ส่วน คือ สว่ นท่ี 1 เก็บกาไรฝากเขา้ บัญชีธนาคาร

19 สว่ นที่ 2 จ่ายคา่ จ้างแรงงาน ค่าน้า ค่าไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายอนื่ ๆ ส่วนที่ 3 เปน็ ตน้ ทนุ ในการผลิตครง้ั ถดั ไป มีส่วนรว่ ม - กลุ่มดาเนินการประชุมชแี้ จงสมาชิก พรอ้ มท้ังหาข้อตกลงรว่ มกันเพื่อต้ังกฎระเบียบข้อ ปฏบิ ตั กิ ลมุ่ รว่ มกนั - รว่ มกันดาเนนิ กจิ กรรมของกลุ่มโดยแบ่งบทบาทหน้าที่ตามความถนัด - รว่ มในการวางแผนในอนาคตเรอ่ ื งการแบ่งปันผลประโยชน์ การระดมหนุ้ และการปนั ผล ซงึ่ ในปจั จุบันยงั ไม่ได้แบง่ ปนั ผลประโยชน์ให้สมาชิกเนื่องจากอยู่ในระหวา่ งหารายไดเ้ พ่ือสรา้ งและ พัฒนา สถานที่ผลติ ทตี่ รงตามมาตรฐาน และขอการรบั รองมาตรฐานต่อไป - รว่ มในการปลกู พชื สมุนไพร เชน่ มะกรูด ตะไคร้ ข่า เพือ่ ส่งขายเป็นวัตถุดิบให้กับกลุ่ม สานึกรบั ผิดชอบ -กลุ่มมกี ารกาหนดเป้าหมายรว่ มกันมีการวางแผนในอนาคต ทกุ คนเปน็ เจ้าของโดยการรวมหุ้น -กลมุ่ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางสงั คมของชุมชนเสมอ โดยการสนบั สนุนผลติ อาหารให้ชุมชนในช่วง วกิ ฤตโรคระบาดโควดิ 19 และสาหรบั กจิ กรรมต่างๆ - กลุม่ มกี ารผลติ นา้ พรกิ แกงทมี่ คี ุณภาพมาตรฐาน สะอาด และไมใ่ ช้สารกันบูด ทาใหป้ ลอดภัย กบั ผู้บรโิ ภค ค ว า มคุ้มคา่ ๑.กลุ่มมีการใช้ทรพั ยากรในชุมชนเป็นหลักในการผลิตและมีการส่งเสรมิ ให้สมาชิกแล ะ ประชาชนท่ัวไปได้เพาะปลกู พืชทีใ่ ชเ้ ปน็ วตั ถุดิบเพื่อส่งจาหน่ายใหก้ ับกลมุ่ ๒.เพ่ือสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ใหด้ ีข้นึ กลุม่ ไดด้ าเนนิ การดงั น้ี - กลุม่ ไดพ้ ยายามคิดค้นพัฒนารปู แบบของผลิตภณั ฑ์เป็นผลติ ภัณฑ์ใหม่ๆเสมอ - สนับสนุนการสรา้ งผลิตภัณฑ์ใหม่ของสมาชิก เพ่ือเพิ่มความหลากหลายของสินค้า เชน่ น้าพรกิ เห็ด ผลิตภณั ฑ์แปรรูปจากเหด็ เปน็ ตน้ - การพัฒนาทักษะและความรคู้ ณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มเข้ารว่ มอบรมถา่ ยทอดความ รู้กับ หน่วยงานต่างๆ เสมอ เพ่ือให้เกิดการพัฒนาศักยภาพ ทั้งด้านการผลิต บรรจุภัณฑ์ การแปรรูป การเป็นวทิ ยากร และการเปน็ จดุ เรยี นรู้ - มีแผนเพมิ่ อตั ราการผลิตสนิ ค้าแตล่ ะชนิดใหส้ ูงขึ้น - เพ่มิ ชอ่ งทางการจาหนา่ ยสนิ ค้า เช่น หาตลาดเพ่ิมมากขึ้น การจาหน่ายสินคา้ ออนไลน - ปรบั ปรงุ อาคารและสรา้ งห้องผลิตนา้ พรกิ แกง เพือ่ ให้ตรงตามมาตรฐาน และสามารถพัฒนา ไปสู่ของการรบั รองมาตรฐาน อย.ได้ - พฒั นาวทิ ยากรประจากลุ่มเพ่มิ มากขึ้น - ส่งเสรมิ ให้สมาชิกกลุ่มเป็นผู้ผลิตวตั ถุดิบในการผลิตน้าพรกิ แกงเพิ่มมากข้ึน เพื่อสร้าง รายไดใ้ หส้ มาชิกเพ่ิมมากข้นึ

20 5.2 กลุ่มองค์กร ได้รบั รางวัล/คาชนื่ ชม ทป่ี รากฏแก่สาธารณะ ❖ ปี พ.ศ. 2564 ไดร้ บั เกยี รติรบั รางวัลชนะเลิศอันดับท่ี 1 ประเภทกลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกรดเี ด่น ❖ ปี พ.ศ. 2564 ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี1 ประเภทสถาบัน เกษตรกรดีเด่น (กลุ่มแม่บา้ นเกษตรกร) ❖ ปี พ.ศ. 2564 ไดร้ บั เกยี รติรบั รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับ 2 กลมุ่ แม่บา้ นสัมมาชพี บา้ นตล่งิ แดง

21 ภาคผนวก

22 กิจกรรมอบรมพฒั นาศักยภาพคณะกรรมการกลุ่มและสมาชกิ กลุ่ม จากการสนับสนนุ ของหน่วยงานตา่ งๆ

23 กิจกรรมจกั สานเส้นพลาสตกิ กิจกรรมทาไม้กวาดทางมะพรา้ ว 18 การผลติ นา้ พรกิ แกง นา้ พรกิ เผาและพรกิ แกงอบแห้งแบบต่างๆ

24 การผลิตนา้ พรกิ แกง น้าพรกิ เผาและพรกิ แกงอบแหง้ แบบตา่ งๆ ผลิตภัณฑ์พรกิ แกงอบแหง้ ผลิตภัณฑ์พรกิ แกงเผด็ พรแิ กงส้มและพรกิ เผา

25 การผลิตนา้ พรกิ แกง น้าพรกิ เผาและพรกิ แกงอบแหง้ แบบตา่ งๆ (ต่อ) กระบวนการและขน้ั ตอนการผลิต

26 สมาชกิ กลมุ่ เขา้ รว่ มกิจกรรมของหน่วยงานต่างๆ เชน่ การออกรา้ นจาหน่ายสินค้า การแสดงสินค้าในงานต่างๆและเขา่ รว่ มกิจกรรมทางสังคมอยเู่ สมอ

27 ผลิตภัณฑข์ องกลุม่ สัมมาชพี ชมุ ชนบา้ นตล่ิงแดงเขา้ ถวายเพอื่ จาหนา่ ยในรา้ นภฟู ้า อาทิ น้าพรกิ แกงเผด็ อบแหง้ พรกิ แกงส้มอบแห้งและนา้ พรกิ เห็ดกรอบ ฯลฯ และไดเ้ ขา้ รบั เสด็จองค์สมเด็จพระเทพอยา่ งใกล้ชดิ

28 รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 1 ประเภทกลมุ่ แมบ่ า้ นเกษตรกรดีเด่น

29 รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี1 ประเภทสถาบันเกษตรกรดเี ดน่ (กลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกร)

30 รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 2 กลุ่มแม่บา้ นสมั มาชพี บา้ นตลิง่ แดง

31 ประกาศนียบัตร กิจกรรมเสรมิ สรา้ งและพฒั นาภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ปี 2562 “ออมสินยุวพฒั นร์ กั ษ์ถ่นิ ”

32 เกียรติบัตร หลกั สูตร การพัฒนาผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP กลุ่มปรบั ตัวสูก่ ารพัฒนา (Quadrant D)

สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเมืองกาญจนบุร ี จังหวดั กาญจนบุร ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook