Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.6_02เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา

1.6_02เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา

Description: 1.6_02เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

1 เทคนิคการวจิ ยั ทางการศึกษา อาจารย์ ดร. สังวรณ์ งัดกระโทก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2

3 ความหมายของการวจิ ัย (Research) •การค้นหาความจรงิ ดว้ ยกระบวนการทีเ่ ป็น ระบบ •การศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งปรากฏการณ์ที่ สงั เกตไดอ้ ยา่ งมรี ะบบ มีการควบคมุ มหี ลักฐาน เชงิ ประจักษ์ และมีวิจารณญาน ( เคอร์ลงิ เจอร์, 1986)

4 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 1.เพอ่ื ค้นคว้าหาคาตอบในเรื่องทย่ี งั ไมร่ ู้ หรอื เพ่ิมพูนความรู้ท่มี ี อย่เู ดมิ ให้สมบูรณย์ ิง่ ข้นึ 2.เพอื่ ศกึ ษาหาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปรากฏการตา่ งๆท่เี กดิ ข้นึ 3.เพอ่ื ประดิษฐส์ ิง่ ใหมๆ่ 4.เพื่อสรา้ งหลักเกณฑ์ ทฤษฎีและแนวคิดใหมๆ่ 5.เพ่ือให้เป็นพื้นฐานในการวางแผน 6.เพื่อแก้ปญั หาต่างๆ

5 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ •การกาหนดปญั หา •กาหนดคาตอบที่คาดเดาล่วงหนา้ ดว้ ยการ ตง้ั สมมตฐิ าน •เกบ็ รวบรวมข้อมูลเพ่ือตรวจสอบสมติฐาน •สรุปและกาหนดปัญหาที่ตอ้ งทาต่อ

6 หลกั การของการทาวิจัยทางการศึกษา • ตั้งคาถามวจิ ัยที่สามารถตรวจสอบไดเ้ ชงิ ประจักษ์ • เช่อื มโยงการวิจัยกับทฤษฎี • ใชว้ ิธีการวจิ ยั ที่ตรวจสอบคาถามวจิ ัยได้โดยตรง • ใชเ้ หตุผลในการอภปิ รายผลการวิจยั ขอ้ จากัด ความคลาดเคลอ่ื น • สามารถทาวจิ ัยซ้าได้ • เผยแพร่งานวจิ ัยส่ชู ุมชนนกั วจิ ัย

7 การออกแบบการวิจัย • การกาหนดโครงสร้างหรือเค้าโครงของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ี ผู้วจิ ัยจะตอ้ งทา เร่มิ ตัง้ แตก่ ารกาหนด สมมตฐิ าน การ กาหนดตวั แปร คานิยาม ไปจนถงึ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู นอกจากนี้ยังเปน็ การกาหนดวิธีการและ แนวทางต่าง ๆ ท่ี จะใช้ให้ไดม้ าซง่ึ ข้อมลู ทต่ี อบปัญหาของการวจิ ยั ตาม วัตถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไวไ้ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง แม่นยา มคี วาม เป็น ปรนัย และ ประหยัด

8 หลักการออกแบบการวิจยั • MAX เพม่ิ ความแปรปรวนอย่างมีระบบ • MIN ลดความแปรปรวนของความคลาดเคล่ือน • CON ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรแทรกซอ้ น

9 คณุ ภาพของการวจิ ัย •ความตรงภายใน (internal validity) •ความตรงภายนอก (external validity)

10 คาถามวจิ ัย (research Question) • ปญั หาวจิ ัยเปน็ ประเด็น หัวขอ้ หรอื คาถามท่ที าให้นกั วจิ ัยตอ้ งศกึ ษา อาจ เปน็ ปญั หาในเชิงทฤษฎี ปัญหาในการปฏิบตั ิ หรือผสมผสานกัน • ปัญหาวิจยั ท่ีดีควรมีความน่าสนใจ และเชื่อมโยงกบั ความรู้และงานวจิ ยั ท่ีผา่ นมา • ในการกาหนดปญั หาวิจยั ควรอธิบายใหเ้ หน็ จุดประสงคแ์ ละขอบเขต ของการวจิ ัยอย่างชัดเจน คอื อธิบายปัญหา คาถาม หรอื ประเดน็ ทก่ี าร วิจัยมุ่งหาคาตอบ บริบทของการศกึ ษา วิธกี ารแก้ปญั หา รวมถึงอธิบายว่า ทาไมการวิจัยจงึ มีความสาคัญ

11 ประเภทของคาถามวจิ ัย • Existence questions—qualitative, Quantitive • Questions of description and classification— qualitative , quantitative • Questions of compositions—factor analysis • Relationship questions--Correlation • Descriptive-comparative questions—t-test, ANOVA • Causal questions—SEM • Causal-comparative questions—regression analysis • Causal-comparative interaction questions – moderator analysis

12 คาถามวจิ ยั วา่ อะไรกาลังเกดิ ขน้ึ •การประมาณค่าคณุ ลกั ษณะของประชากร •ความสมั พนั ธอ์ ย่างง่าย •อธิบายสิ่งทเ่ี กดิ ขึ้นบริบทยอ่ ยๆ

13 มผี ลเชงิ ระบบเกิดข้ึนหรอื ไม่ –causal effect • X----->Y • การศึกษา causal effect เมือ่ ทาการทดลองได้ • การศกึ ษา causal effect เมอื่ ทาการทดลองไมไ่ ด้

14 คาถามวจิ ยั วา่ X เกิดขึ้นอย่างไร ทาไม จึงเกดิ ขึ้น •การศกึ ษาเมื่อทฤษฎรี องรับหนักแนน่ เพยี งพอ •การศึกษาเมื่อทฤษฎรี องรับอ่อน

15 เทคนิคการวจิ ยั ทางการศกึ ษา • การวจิ ยั เชิงทดลอง (experimental Research) • การวิจยั กึง่ ทดลอง (Quasi-experimental Research • การวิจยั เชิงสหสัมพนั ธ์ (Correlation Research) Path Analysis, Multilevel Analysis • การวจิ ยั เชิงสารวจ (Survey Research) • การวิจัยเพื่อระบสุ าเหตุ-ผลลัพธจ์ ากการวจิ ัยเชงิ สารวจ (Propensity score matching)

16 การวิจยั เชิงปริมาณ: การวิจัยเชิงทดลอง • มี treatment หรือตวั แปรอิสระ • เลอื กกล่มุ ตวั อยา่ งมาอย่างส่มุ เพ่ือให้มีความคลา้ ยกนั • แบง่ กลุ่มตัวอยา่ งออกเป็นสองกลมุ่ กล่มุ หนงึ่ ได้รับ treatment อกี กลมุ่ ไม่ไดร้ ับ treatment • ดาเนินการวิจยั • วัดและประเมินผลท่เี กดิ ข้ึนวา่ มาจาก treatment หรอื ไม่

17 การวิจยั เชงิ ทดลอง • สามารถทา Randomization: random selection + random assignment ROXO RO O

18 การวิจยั ก่งึ ทดลอง •การทาการทดลองท่ีไมม่ ี Randomization NOXO NO O

19 การวจิ ัยเชงิ สารวจ • การวจิ ัยเชิงสารวจเป็นการวิจัยท่เี นน้ การศึกษารวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ ท่ี เกดิ ขน้ึ ในปจั จบุ นั การดาเนินการวิจยั ไม่มกี ารสรา้ งสถานการณ์ เพือ่ ศกึ ษาผลทตี่ ามมา แตเ่ ปน็ การค้นหาขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณ์ ต่างๆ ที่ เกดิ ข้นึ อยู่แล้ว นกั วจิ ยั ไม่สามารถจดั กระทาตวั แปรได้ เชน่ ▫ การสารวจความคิดเห็นของนกั เรียน/นกั ศกึ ษาตอ่ การจดั การเรียนการ สอนของโรงเรียน และ ▫ เพศชายและเพศหญิงจะมคี วามคดิ เหน็ ตา่ งกันหรือไม่

20 ประเภทของการวจิ ยั เชงิ สารวจ • Descriptive Research • Correlation Research • Trend • Cohort data • Panel data

21 การวเิ คราะหแ์ นวโนม้ X1 X2  β ������ ������ 0 2 1 1 1 3 11 Y1 Y2 Y3 Y4 ������1 ������2 ������3 ������4

22 Cohort-sequential Design

23 การวเิ คราะหเ์ ส้นทาง การวิเคราะหเ์ ส้นโยง Path Analysis การวิเคราะหอ์ ทิ ธพิ ล การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์เชิงสาเหตุ การวิเคราะหอ์ ิทธิพลเชิงสาเหตุ

รปู แบบความสมั พันธ์ของตวั แปร 24 XY X ZY Z Z XY Z X Y Z XY XY

25 ตวั แปรปรบั (Moderator) ประเทศ X คะแนน

26 แนวคิดของการวเิ คราะห์ multiple groups วิเคราะห์คร้งั ที่ 1 วเิ คราะหค์ รัง้ ท่ี 2 ไทย X a Y Xc Y ญ่ีปุ่น X b Y X cY  2  A, df1  C  2  B, df2  D 1 2 Likelihood Ratio Test (LR)=B-A df  D  C

27 ตวั แปรค่ันกลาง (mediator variable) H3 New Values H1 Amount of H2 Audience Media Coverage Attention (Deviance & Social Significance)

28 Deviance .05 .21* .39** Amount of Audience Attention .24* Media Coverage Social Significance .32*

29 ตวั แปรแฝง e4 e5 e6 Depress1 Depress3 Depress3 1 1 Depression Family Physical 1 Self e7 Support Health MD e8 1 e9 2 # visits Self Spousal Kid to MD e1 e2 e3

30 ทฤษฏพี หรุ ะดบั (multilevel theory) • (บางครัง้ ) การสมุ่ ตวั อยา่ งอยา่ งส่มุ (simple random) ใช้ ไม่ได้ เพราะใชง้ บประมาณมาก ในการเก็บข้อมลู • บางครงั้ นักวจิ ยั ต้องการสุ่มกลมุ่ ตัวอย่างแบบ multi-stage sampling เพราะตอ้ งการศกึ ษาความสัมพันธข์ องตวั แปรตา่ ง ระดับ ในกรณนี ้ี ความไม่เปน็ อสิ ระต่อกนั ของกลุ่มตวั อยา่ งเป็นสง่ิ ท่ี นกั วิจยั ต้องคานึงถึง และกลมุ่ ของขอ้ มลู (cluster of data) ทา ใหเ้ กิดปัญหาในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู • การใชก้ ารสุ่มตัวอย่างอยา่ งสมุ่ ไมเ่ หมาะสมในกรณนี ี้

31 Multilevel modeling ____ Level1:Yij   j   j (SESi j  SES)  Ri j Level2 :  j    U0 j  j  1  U1 j

32 รปู แบบของ intercept และslope ของแต่ละกลมุ่ YY X AB X X CD YY X

33 รปู แบบการวจิ ยั Z xy

34 รปู แบบการวจิ ยั xy

35 รปู แบบการวจิ ยั Y Z

รปู แบบการวจิ ยั 36 ZZ Z yx y x y

37 Propensity Score Matching • Propensity score = ความนา่ จะเปน็ ของกล่มุ ตวั อย่างทจ่ี ะได้อยูก่ ลมุ่ ทดลอง • Propensity Score Matching ใชใ้ นการ ประเมนิ ผลนโยบาย โครงการ หรอื intervention ท่ีไมส่ ามารถทาการทดลองแทจ้ รงิ ได้

38 กลมุ่ ควบคมุ กลมุ่ ทดลอง

39 กลมุ่ ควบคมุ กลมุ่ ทดลอง

40 Origin Of Propensity Score Matching Nonsmok Cigarett Cigar & er e Pipe อัตราการตาย 13.5 13.5 17.4 อายุเฉลยี่ 57 53 60 Confounding

41 Nonsmoker Cigarette Cigar & Pipe เด็ก ? ?? ผูใ้ หญ่ ? ?? ผูส้ งู อายุ ? ??

42 Subclassification อตั ราการตายทีป่ รับแก้ Non Cigarett Cigar & smoke e Pipe -2 subclasses -3 subclasses r 16.4 14.9 17.7 14.2 - 9-11 13.5 21.2 13.7 subclasses 13.5 13.5

43 Estimate the propensity score • ความนา่ จะเปน็ ในการได้รบั treatment (ภายใต้เงื่อนของตวั แปรภมู ิหลัง X) • คานวณได้จาก logistic regression • มีคา่ ตั้งแต่ 0-1 log Pr(y 1| x)     X Pr(y  0| x)

.70 44 .20 กลมุ่ ควบคมุ .50 0.1 กลมุ่ ทดลอง

45 การวจิ ัยเชิงคุณภาพ •เรยี กว่าการวจิ ยั แบบตีความ เพราะเปน็ การอธิบาย บริบท เหตุการณ์ สถานการณ์ •ใช้กับเรอื่ งทีย่ งั มีความรนู้ อ้ ย •มกั ใชอ้ ธบิ ายความเชอ่ื ความคิด ทัศนคติ ของคนใน บรบิ ทหนึ่งๆ

46 การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ  historical research  grounded theory  ethnography  phenomenology  ethology  case study  ethnomethodology  action research  symbolic interaction

47 คณุ ภาพของเครือ่ งมือวจิ ยั • ความตรง (validity)=appropriateness ▫ Content validity ▫ Concurrent validity ▫ Predictive validity ▫ Construct validity

48 คณุ ภาพของเครอื่ งมอื วจิ ัย •ความเทย่ี ง (reliability)--->ความคงเสน้ คงวาของคะแนน ▫ Test retest ▫ Split –half ▫ Parallel forms ▫ Internal consistency –KR20, KR21, Cronbach’s Alpha


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook