Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 44and51

Description: 44and51

Search

Read the Text Version

ท่ี หัวเรื่อง ตวั ช้ีวดั เนือ้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) - ตัดสนิ ใจเลอื กทางเลือกท่ี เหมาะสมและแกป้ ญั หา อย่างสรา้ งสรรค์ 2 กระบวนการทำงานเปน็ กลมุ่ สามารถทำงานในฐานะผู้นำ/ 1. บทบาทผู้นำ/บทบาท 5 สมาชิกกลุ่ม และใชว้ ธิ ีการตา่ งๆ สมาชกิ กลุ่ม ในการสร้างสัมพนั ธภาพ และ 2. คุณธรรม จริยธรรมในการ ความเขม้ แขง็ ของกลุ่ม รว่ มแรง ทำงาน ร่วมใจกนั ทำงาน รับผิดชอบ 3. วธิ ีการตา่ งๆ ในการสรา้ ง ในผลงาน ใหก้ ำลังใจเพ่ือนรว่ ม สมั พนั ธภาพและความเขม้ งานและ ใหเ้ กยี รติซ่งึ กันและกัน แข็งของกลุ่ม 4. ผลของการร่วมแรงรว่ มใจกนั ทำงาน รับผดิ ชอบ ในผลงาน การให้กำลงั ใจเพอ่ื ร่วมงาน และการให้เกียรตซิ ึง่ กัน และกัน 3 การแสวงหาความรู้ เลือกสรร สามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ แสวงหาความรู้ เลอื กสรร และ 5 เลือกสรรและประยุกต์ใชข้ อ้ มลู ประยกุ ตข์ ้อมลู เก่ียวกับการทำงาน และประยกุ ต์ใช้ขอ้ มลู เกยี่ วกับการทำงาน 1. แหล่งข้อมูล จากแหลง่ ความรูต้ ่างๆ 2. ความหมายและประโยชน ์ ของข้อมลู 3. การรวบรวมข้อมลู 4. ประเภทของข้อมูล 5. การจดั เก็บข้อมลู ในรปู แบบ ท่เี หมาะสม 6. การวิเคราะห์ สังเคราะห ์ และประมวลผลข้อมูลเป็น สารสนเทศ 7. การเลือกสรรและประยกุ ต์ใช้ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การทำงาน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 95 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

ท ่ี หัวเรอื่ ง ตัว ช้ีวดั เน้ือหา จำนวน (ชัว่ โมง) 4 การวเิ คราะหป์ ญั หาสาเหตุของ สามารถวเิ คราะห์ปญั หา สาเหตุ วเิ คราะห์ปัญหา สาเหตุของปญั หา 5 ปญั หา ของปญั หา สรา้ งทางเลือกท่ี สรา้ งทางเลือกทหี่ ลากหลายใน หลากหลายในการแกป้ ญั หา การแกป้ ญั หา ประเมินทางเลอื ก ประเมินทางเลอื กตดั สนิ ใจเลอื ก ตัดสินใจเลอื กทางเลือกท่ีเหมาะสม ทางเลอื กท่ีเหมาะสม และแก้ และแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ปญั หา อยา่ งสร้างสรรค ์ มคี วามมุ่งมน่ั ทำงานจนสำเร็จ 1. มคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงาน 5 5 กิจนสิ ัยในการทำงานเพอ่ื ชีวิต มีจิตสำนึกท่ดี ตี ่อการทำงาน ให้สำเรจ็ ทำงานอย่างมคี วามสขุ และ 2. ทำงานดว้ ยความประณตี และครอบครัว มกี ิจนิสัยในการทำงาน รอบคอบ ปลอดภัย และ ดว้ ยความประณตี รอบคอบ สะอาด ปลอดภยั และสะอาด 3. เหน็ คณุ ค่าของกจิ นสิ ยั ที่ดใี น การทำงาน เพอื่ ชวี ิต และ ครอบครวั มีความรู้และทกั ษะในงานอาชีพ 1. ความสำคญั และประโยชน ์ 20 สุจริตท่สี นใจ ซ่ึงเป็นไปตาม ของการมอี าชีพ 6 ความร้แู ละทกั ษะในงานอาชพี ความต้องการของชมุ ชน และมี 2. การวิเคราะห์ความต้องการ การใช้เทคนคิ วิธกี ารจดั การอยา่ ง ทางอาชพี ของชมุ ชน เปน็ ระบบ 3. ศึกษากระบวนการบริหาร การจัดการการผลิตของอาชีพ ท่ีสนใจ และกฎหมายที่ เกยี่ วข้องกบั งานอาชีพ 4. ฝึกทักษะงานอาชีพสุจรติ ทส่ี นใจ 5. วางแผนและจัดทำโครงงาน เข้าสู่อาชพี มกี ระบวนการเขา้ สอู่ าชีพด้วย 1. หนา้ ทก่ี ารตลาด 15 การนำผลผลติ หรอื บรกิ ารหรอื - แนวคิดการตลาด 7 กระบวนการเข้าสอู่ าชีพ ฝมี ือแรงงานเขา้ ส่ตู ลาดใหเ้ กิด - การวิเคราะหต์ ลาด 96 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ท่ ี หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน (ช่วั โมง) รายได้สร้างและพฒั นาตลาด - การแบ่งส่วนตลาด ให้มัน่ คง - หน้าท่ีการตลาด 2. กลยุทธ์การตลาด - การศึกษาสภาพแวดล้อม ทางการตลาด - การวางแผนการตลาด - การจัดทำแผนกลยทุ ธ ์ ทางการตลาด - การวจิ ยั การตลาดและ ข้อมูลการตลาด 3. ผู้บรโิ ภค - พฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภค - การวเิ คราะหพ์ ฤติกรรม ผู้บริโภค 4. การพฒั นาผลติ ภัณฑ ์ - กลยทุ ธใ์ นการพฒั นา ผลิตภณั ฑ์ - ข้นั ตอนการพฒั นา ผลติ ภัณฑ์ 5. การจดั จำหน่าย - ชอ่ งทางการจัดจำหน่าย - ความจำเป็นในการจดั ตั้ง ตัวแทนจำหน่าย - การควบคุมชอ่ งทางการจัด จำหนา่ ย - การสง่ เสรมิ การจัด จำหน่าย 8 การรวมตวั เปน็ กลมุ่ พัฒนาอาชพี มีความสามารถรวมตัวเปน็ 1. พลงั ทางสงั คม 15 กล่มุ พฒั นาอาชพี ร่วมกันบริหาร - การเห็นคุณคา่ ของ จัดการเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชน สรา้ ง การรว่ มมือกนั ของ กลยุทธท์ างการตลาดของตนเอง คนในชมุ ชน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 97 ตามหลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท่ ี หวั เร่อื ง ตัว ช้วี ดั เนอื้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) และยกระดับมาตรฐานคุณภาพ - การมีภมู ปิ ญั ญา เขา้ ส่ตู ลาดการแขง่ ขัน - ความเปน็ มิตรของคน ในชุมชน 2. การรวมกลมุ่ พัฒนาอาชพี - การรวมกลมุ่ กนั สรา้ ง ความรแู้ ละการใช้ความร ู้ 3. ความยง่ั ยนื ของชมุ ชน - ความยง่ั ยืนของเศรษฐกิจ สงิ่ แวดล้อมและสังคม 4. องค์ประกอบความย่งั ยนื ของ ชมุ ชน - การจัดตั้งองค์กรชมุ ชน ความรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ ของชุมชน 5. การสร้างเศรษฐกิจชมุ ชน - การสร้างเศรษฐกจิ ระดับ พออยูพ่ อกิน - การสรา้ งธุรกจิ ส่วนตวั (SMEs :Small and Medium Enterprises) - การสรา้ งวสิ าหกจิ ชุมชน (CE : Community Enterprises) 6. การบรหิ ารด้วย - ความซาบซ้งึ คณุ คา่ ในวสิ าหกิจชุมชน - การสร้างนโยบาย - การปฏสิ ัมพนั ธ์ตา่ งๆ - การควบคุมสูก่ ารกระทำ 98 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า อช32003 การออกแบบและเทคโนโลยีในงานอาชีพ จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้มีผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อ การดำรงชีวติ มเี งนิ ออมและมีทนุ ในการขยายอาชีพ ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกับเรื่องตอ่ ไปนี้ ความหมาย ความสำคัญของเทคโนโลยี กระบวนการทางเทคโนโลยีในการพัฒนาและปรับปรุง เครอื่ งมอื เครื่องใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ผลติ ภัณฑ์ หรอื วธิ ีการเพอ่ื ใชใ้ นการดำรงชวี ติ ที่ดีขึน้ การออกแบบ และสร้างวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ และผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการทดสอบ ปรับปรุง แก้ไข ประเมินผล นำเสนอแนวคิด กระบวนการ การนำเสนอ แนวทางการออกแบบ การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เจตคติที่ดีต่อการนำ เทคโนโลยีมาใช้ และการเป็นผ้ผู ลติ มากกว่าผบู้ ริโภค การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ สำรวจเทคโนโลยีในชุมชน ศึกษา แลกเปล่ียนเรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ออกแบบเทคโนโลยี แลว้ ทดลอง/ทดสอบใชเ้ ทคโนโลยี บันทึกผลการใช้ ทบทวนและประเมนิ สรุปรายงาน การวดั และประเมินผล ประเมินจากสภาพจริง ผลงาน การฝึกปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ ความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 99 ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา อช32003 การออกแบบและเทคโนโลยีในงานอาชีพ จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้มีผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อการ ดำรงชีวิต มเี งินออมและมีทนุ ในการขยายอาชีพ ท ่ี หวั เร่ือง ตวั ชี้วัด เนื้อหา จำนวน (ช่วั โมง) 1 ธรรมชาติของเทคโนโลย ี เขา้ ใจธรรมชาติของเทคโนโลย ี 1. ความหมายของเทคโนโลย ี 5 2. วิวฒั นาการของเทคโนโลยี 3. ระดบั ของเทคโนโลยี 4. การจดั กล่มุ ของเทคโนโลยี 5. ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยี กบั สาขาวิชาอนื่ ๆ 6. ประโยชน์และผลกระทบ ของเทคโนโลยี 2 กระบวนการทางเทคโนโลย ี เขา้ ใจกระบวนการเทคโนโลย ี 1. ระบปุ ัญหาท่ีสำคัญทาง 20 ในการพัฒนา และปรบั ปรงุ เทคโนโลยี ซงึ่ พบใน เครอ่ื งใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ผลิตภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑท์ ีใ่ ชอ้ ยูเ่ ป็นประจำ หรอื วิธกี ารเพ่อื ใชใ้ นการดำรงชีวติ 2. การรวบรวม วเิ คราะห์ ทีด่ ขี นึ้ สังเคราะห์ข้อมูล หรือความรู้ จากแหลง่ ตา่ งๆ มาใชเ้ พือ่ แสวงหาวธิ ีการแกป้ ญั หา 3. เสนอวิธีการและเปรียบเทยี บ ความแตกตา่ งในการออกแบบ วิธกี ารแก้ปญั หาและขอ้ จำกัด 4. พัฒนากระบวนการทำงาน ท่ีเปน็ รปู ธรรมดว้ ยการจดั ทำ เป็นพมิ พเ์ ขียว แผนผังหรอื แผนภูมิ การออกแบบด้วย คอมพวิ เตอร์ 100 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หัวเร่อื ง ตัว ชว้ี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) สรา้ งสถานการณจ์ ำลองเพอ่ื ใชใ้ นการวางแผนแกป้ ัญหา 5. เลือกเกณฑ์ทใี่ ชใ้ นการตดั สิน ว่าจะใชแ้ บบแผนใดในการ แก้ปัญหา ระบขุ ้อดีขอ้ ด้อยของ วธิ กี ารแก้ปัญหาทม่ี ี และเลือก วธิ ีการแก้ปญั หาทจี่ ะนำไปสู่ ความสำเรจ็ 6. สรา้ งและตรวจสอบตน้ แบบ หรอื จำลองการทำงานจริง โดยใช้วสั ดุอปุ กรณแ์ ละ เทคโนโลยที ีม่ อี ยู่ 7. ประเมนิ ผลการทดสอบภาย ใต้กรอบของเกณฑ์ท่ีกำหนด บันทึกสาเหตุของความผิด พลาด ความคลาดเคลอ่ื น และขอ้ เสนอแนะในการ ปรับปรงุ แก้ไข 8. การปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา กระบวนการผลงานหรอื วธิ กี ารเสนอแนวคดิ กระบวนการ และผลงานสู่ สาธารณะชน 3 การออกแบบ ออกแบบและสรา้ งวสั ดุ อุปกรณ์ การออกแบบและสรา้ งวัสดุ 20 เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ และ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื เครือ่ งใชแ้ ละ ผลติ ภัณฑ์ หรือวธิ ีการทดสอบ ผลิตภัณฑ์ หรือวธิ กี ารทดสอบ ปรบั ปรุง แกไ้ ข ประเมนิ ผล ปรับปรงุ แกไ้ ข ประเมนิ ผล นำเสนอ แนวคดิ กระบวนการ นำเสนอ แนวคดิ กระบวนการ และผลงาน อย่างคุ้มค่า ถกู วิธี และผลงาน อยา่ งคุ้มค่า ถูกวิธี ปลอดภยั ยอมรับความคดิ เห็น ปลอดภยั ยอมรับความคิดเหน็ และผลงานของผอู้ น่ื และผลงานของผอู้ ่ืน แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 101 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ท ่ี หัวเร่ือง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 4 การนำเสนอแนวทางการ นำเสนอแนวทางการออกแบบ ก ารนำเสนอแนวทางการออกแบบ 10 ออกแบบและแนวทางการนำ และแนวทางการนำเทคโนโลย ี และแนวทางการนำเทคโนโลย ี เทคโนโลยีมาใช้ในงานอาชีพ มาใช้ในงานอาชีพ มาใชใ้ นงานอาชีพ 5 การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ย่าง เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่าง สง่ิ แวดลอ้ ม และงานอาชพี 15 สรา้ งสรรค์ต่อชวี ติ สงั คม สร้างสรรคต์ อ่ ชวี ิต สังคม 1. การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ส่ิงแวดลอ้ มและงานอาชพี สงิ่ แวดลอ้ มและงานอาชพี วสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ เครือ่ งใช้ ผลติ ภณั ฑ์หรอื วิธีการท่ไี ดจ้ ากเทคโนโลยที ้งั ระดับประเทศและนานาชาติ 2. เลือกและใชเ้ ทคโนโลย ี โดยคำนงึ ถงึ ความค้มุ คา่ ราคา ประสิทธิภาพ วฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อม และสังคม ตลอดจนผลทจี่ ะเกดิ ขน้ึ จาก การใชเ้ ทคโนโลย ี 3. ใช้เทคโนโลยเี ป็นกลยทุ ธ ์ ในการเพ่มิ และพฒั นาคุณภาพ ผลิตภณั ฑ ์ 6 เจตคตทิ ่ีดีต่อการนำเทคโนโลยี มเี จตคตทิ ่ดี ีตอ่ การนำเทคโนโลยี เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การนำเทคโนโลยี 5 มาใช ้ มาใช้ การเปน็ ผู้ผลติ มากกวา่ มาใช้ การเป็นผผู้ ลิตเทคโนโลยี ผบู้ ริโภค มากกวา่ เปน็ ผู้บรโิ ภคเทคโนโลยี 7 การวางแผนใชก้ ลยุทธ์อยา่ งมี การวางแผนใช้กลยุทธแ์ ละ 1. การวางแผนอยา่ งมีกลยุทธ์ 5 กลยทุ ธ์ ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์ 2. การเลือกใช้ แนะนำการใช้ และเหมาะสมกับงาน และประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลย ี ในการทำงานอย่างสร้างสรรค์ และเหมาะสมกับงาน 102 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา อช32004 เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอาชีพ จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้มีผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อ การดำรงชวี ติ มีเงนิ ออมและมที นุ ในการขยายอาชพี ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรือ่ งตอ่ ไปนี ้ หลักการและวิธีการของเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร ์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบส่ือสารข้อมูล และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บและบำรุงรักษาสารสนเทศ หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการพัฒนาโครงงานท่ีมีการใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศ การใชฮ้ ารด์ แวรแ์ ละซอฟแวร์ใหเ้ หมาะสมกบั งาน การติดตอ่ ส่อื สาร ค้นหาข้อมลู และหาความรู้ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประเมินผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพ่ือประกอบการ ตัดสนิ ใจ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอผลงาน การใชค้ อมพิวเตอรส์ รา้ งงาน การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษา แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน และฝึกทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการทำงาน การบำรุง รกั ษา การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบตา่ งๆ เพื่อการทำงานอยา่ งสร้างสรรค ์ การวดั และประเมินผล ประเมินจากสภาพจริง ผลงาน การฝึกปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ ความรับผิดชอบในการปฏบิ ตั งิ าน แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 103 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า อช32004 เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอาชพี จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้มีผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงต่อ การดำรงชวี ติ มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชพี ท ่ี หัวเรื่อง ตวั ช้วี ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 หลกั การและวธิ ีการของ อธิบายหลกั การและวธิ กี ารของ หลกั การและวธิ ีการของ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 องคป์ ระกอบและหลกั การทำงาน อธบิ ายองคป์ ระกอบและหลักการ องค์ประกอบและหลกั การทำงาน 3 ของคอมพวิ เตอร์ ทำงานของคอมพิวเตอร ์ ของคอมพิวเตอร์ 3 ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบส่ือสาร อธิบายระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบ ระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบสือ่ สาร 2 ขอ้ มลู และระบบเครอื ข่าย ส่อื สารขอ้ มูล และระบบเครอื ข่าย ข้อมูล และระบบเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร ์ คอมพวิ เตอร์ 4 ขอ้ กำหนดของคอมพวิ เตอรแ์ ละ อธบิ ายขอ้ กำหนดของคอมพวิ เตอร์ ข้อกำหนดของคอมพิวเตอรแ์ ละ 2 อปุ กรณท์ เ่ี กยี่ วข้อง และอปุ กรณ์ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง อุปกรณ์ทเี่ กี่ยวขอ้ ง 5 การจดั เก็บและบำรุงรกั ษาสาร จัดเก็บและบำรุงรักษาสารสนเทศ การจดั เก็บและบำรุงรกั ษา 2 สนเทศใหถ้ ูกตอ้ งและเปน็ ปัจจบุ ัน ให้ถูกตอ้ ง และเปน็ ปัจจุบนั สารสนเทศใหถ้ กู ต้อง และเปน็ อย่เู สมอ อยเู่ สมอ ปัจจบุ ันอยเู่ สมอ 6 หลักการและวธิ ีการแก้ปัญหา อธิบายหลักการและวิธีการ หลักการและวธิ กี ารแกป้ ญั หา 5 ดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยี แก้ปัญหาด้วยกระบวนการทาง ดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและ และประสิทธผิ ล ประสทิ ธิผล 104 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สูห่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ที ่ หัวเร่ือง ตัว ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 7 หลักการพัฒนาโครงงานที่มกี าร อธิบายหลักการพฒั นาโครงงาน หลักการพฒั นาโครงงานที่ม ี 5 ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีมกี ารใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 8 การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟแวรใ์ ห้ ใชฮ้ ารด์ แวร์และซอฟแวร ์ ใช้ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟแวร ์ 15 เหมาะสมกับงาน ใหเ้ หมาะสมกับงาน ให้เหมาะสมกบั งาน 9 การติดต่อสอ่ื สาร คน้ หาข้อมลู ติดตอ่ ส่ือสาร คน้ หาขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ส่ือสาร คน้ หาข้อมลู 10 และหาความรู้ผ่านเครอื ข่าย และหาความรู้ผ่านเครือข่าย และหาความรูผ้ า่ นเครอื ข่าย คอมพิวเตอรอ์ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ คอมพวิ เตอร์อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ คอมพวิ เตอร์อย่างมีประสิทธภิ าพ 10 การใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการ ใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยในการ การใช้คอมพวิ เตอรช์ ่วย 12 ประเมนิ ผล ข้อมลู ใหเ้ ปน็ ประเมนิ ผลขอ้ มลู ให้เปน็ ในการประเมนิ ผลข้อมลู ใหเ้ ป็น สารสนเทศ เพอื่ ประกอบการ สารสนเทศ เพือ่ ประกอบการ สารสนเทศ เพอ่ื ประกอบการ ตดั สินใจ ตัดสินใจ ตดั สินใจ 11 การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 12 นำเสนอผลงานในรปู แบบที่ ผลงานในรปู แบบ ท่เี หมาะสมตรง นำเสนอผลงานในรปู แบบ เหมาะสมตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ตามวัตถุประสงค์ของงาน ท่เี หมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ ของงาน ของงาน 12 การใช้คอมพวิ เตอรส์ รา้ งงาน ใช้คอมพวิ เตอรส์ ร้างงาน การใช้คอมพิวเตอร์สรา้ งงาน 10 อย่างมจี ติ สำนึกและม ี อย่างมจี ติ สำนึก อย่างมีจิตสำนกึ ความรับผดิ ชอบ และมคี วามรบั ผดิ ชอบ และมีความรับผดิ ชอบ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน 105 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสูห่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา ทช32004 ชวี ติ และครอบครัว จำนวน 3 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนร้รู ะดบั รู้ เข้าใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม เจตคตทิ ด่ี ี มที กั ษะในการดแู ลและสรา้ งเสริมการมีพฤตกิ รรมสขุ ภาพทีด่ ี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมี สว่ นรว่ มในการส่งเสริมด้านสุขภาพพลานามัยและพฒั นาสภาพแวดล้อมท่ดี ี ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรือ่ งต่อไปนี ้ การสร้างเสริมและดำรงประสิทธิภาพการทำงานของระบบต่างๆ พัฒนาการตามวัยของมนุษย์ ปัจจัยที่ มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ การวางแผนการดุแลสุขภาพ ทักษะที่จำเป็นต่อชีวิต บทบาท และหน้าท่ีของตนเองที่มีต่อชุมชนและสังคม การส่งเสริมสัมพันธภาพท่ีดีในชีวิต ครอบครัวและชุมชน วางแผนชีวิต และครอบครัว การตั้งครรภ์ และการดูแล ทักษะท่ีจำเป็นต่อชีวิต ค่านิยมเก่ียวกับชีวิตครอบครัวและพฤติกรรมทาง เพศ การจัดการกับปัญหาชีวิตและครอบครัว พฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ อิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรม ต่อพฤติกรรมทางเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หลักการ รูปแบบวิธีการออกกำลังกาย ประเภทของกิจกรรม พลศึกษา เกม และชนิดของกีฬา ทักษะการเคล่ือนไหวเฉพาะประเภทกีฬา การประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์ การเคล่ือนไหวในการเล่นกีฬา ความหมาย ความสำคัญของสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายท่ีเหมาะสม ตามเกณฑ์มาตรฐานของเพศและระดับอายุ การทดสอบสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทางกลไก หลักและวิธี การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย การออกแบบโปรแกรม สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพกลไก และสมรรถภาพทางกายของ ตนเองและผู้อ่ืน ประโยชน์ของการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา กฎ กติกา และมารยาทในการเล่นเกมและกีฬา ประเภทตา่ งๆ ออกกำลังกาย โดยการเลน่ เกม และเลน่ กีฬาเปน็ กลมุ่ การจัดประสบการณก์ ารเรียนร ู้ ศึกษาเอกสาร สื่อทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทำชิ้นงาน/ผลงาน จัดแสดงนิทรรศการ ศึกษาดงู าน กิจกรรมค่าย การวัดและประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ชิ้นงาน ผลงาน โดยวิธีการ ทดสอบ สงั เกต สัมภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมิน การปฏบิ ัตจิ รงิ และประเมินสภาพจรงิ 106 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า ทช32004 ชีวิตและครอบครวั จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั รู้ เข้าใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติทีด่ ี มีทกั ษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมีพฤติกรรมสขุ ภาพท่ีดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชนมี สว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามัยและพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี ที ่ หัวเรอื่ ง ตวั ชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 การเจริญเติบโตและพฒั นาการ 1. อธบิ ายกระบวนการสร้าง 1. การสรา้ งเสรมิ และดำรง 20 ของมนุษย ์ เสรมิ และดำรงประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพการทำงานของ การทำงานของระบบอวัยวะ ระบบตา่ งๆ ตา่ งๆ 1.1 อวัยวะภายนอก 1.2 อวยั วะภายใน 2. พฒั นาการตามวัยของมนษุ ย ์ 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญ เติบโตและพัฒนาการของ มนษุ ย ์ 2. อธิบายวธิ ีวางแผนการดูแล 4. การวางแผนการดแู ลสุขภาพ สขุ ภาพ และปฏิบัตติ น ตาม 4.1 การออกกำลงั กาย แผนใหเ้ หมาะสม ตามภาวะ สมำ่ เสมอ การเจรญิ เตบิ โตและ 4.2 ตรวจสขุ ภาพประจำป ี พัฒนาการของตนเองและ ครอบครัว 2 ชวี ติ และครอบครวั 1. อธบิ ายของครอบครวั เพอ่ื น 1. ทกั ษะทจี่ ำเปน็ ตอ่ ชวี ติ 15 สงั คมและวัฒนธรรมทีม่ ตี อ่ 2. บทบาทและหน้าทีข่ องตนเอง พฤติกรรมทางเพศ และการ ท่ีมตี ่อชุมชนและสงั คม ดำเนินชวี ิต 3. การสง่ เสรมิ สมั พนั ธภาพที่ดี 2. มที ักษะในการสรา้ งเสริม ในชวี ิต ครอบครัวและชุมชน สมั พนั ธภาพทีด่ ตี ่อกัน 4. วางวางแผนชวี ติ และครอบครัว แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน 107 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชีว้ ัด เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) 5. การตัง้ ครรภ์ และการดูแล 6. ทกั ษะทจี่ ำเปน็ ตอ่ ชวี ติ 7. คา่ นิยมเกีย่ วกบั ชีวิตครอบครัว และพฤติกรรมทางเพศ 7.1 การสร้างค่านิยมโดย ยดึ ถอื วฒั นธรรมตาม ประเพณีทด่ี ีงาม 8. การจัดการกับปญั หาชวี ติ และครอบครวั 3 เพศศกึ ษา 1. มคี า่ นิยมที่ดีในเร่อื งเพศและ 1. พฤตกิ รรมเบี่ยงเบนทางเพศ 20 เขา้ ใจในธรรมชาติของการ เกิดอารมณท์ างเพศ 2. อธบิ ายวัฒนธรรมทีม่ ผี ลตอ่ 2. อิทธิพลของสงั คมและ พฤติกรรมทางเพศและ วัฒนธรรมต่อพฤติกรรม สามารถจัดการได้ถกู ต้อง ทางเพศ เหมาะสม 3. หลีกเล่ียงและป้องกนั ตนเอง 3. โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พันธ์ จากความเส่ียง ต่อการติดโรค 1. เอดส์ ทางเพศสัมพันธ์ 2. กามโรค ฯลฯ 4 การออกกำลังกาย และเลน่ กีฬา 1. เลน่ กฬี าประเภทบคุ คล กีฬา 1. หลักการ รูปแบบวธิ ีการ 30 ทงั้ ประเภทบคุ คล ประเภททีม ประเภททมี การเคล่ือนไหว ออกกำลังกาย กฬี าไทยและกีฬาสากล ทสี่ ร้างสรรค์ ในการเขา้ ร่วม 2. ประเภทของกิจกรรมพลศกึ ษา กิจกรรมนันทนาการและ เกม และชนดิ ของกฬี า การทำงานต่างๆ 2.1 กีฬาไทยประเภทบคุ คล 2. สรปุ ความคดิ รวบยอดและ เช่น หมากรุก หมากฮอส การเปรียบเทยี บเกย่ี วกบั เป็นตน้ การเคลือ่ นไหวแบบต่างๆ 2 .2 กฬี าไทยประเภททีม และนำไปใช้ในการเลน่ กฬี า เช่น ตะกร้อลอดบว่ ง เซปกั ตะกรอ้ เปน็ ตน้ 108 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ี่ หัวเร่อื ง ตัว ชวี้ ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 2.3 กฬี าสากล ฟตุ บอล วอลเลย์บอล เทเบิล เทนนิส ว่ายนำ้ ฯลฯ 2.4 กฬี าพ้นื บา้ น กฬี าพื้น เมือง 3. ทักษะการเคล่ือนไหวเฉพาะ ประเภทกีฬา 3.1 ว่ายนำ้ 3.2 กรฑี า 3. ยอมรับและเห็นคุณคา่ 4. ประโยชนข์ อง การสรา้ งเสริมวิถีชวี ติ การออกกำลังกาย ท่มี สี ุขภาพดี โดยการ และการเล่นกีฬา ออกกำลงั กายและเลน่ กีฬา เป็นประจำสม่ำเสมอ 4. ถา่ ยทอดความรูเ้ ก่ยี วกับสทิ ธิ 5. กฎ กติกา และมารยาท กฎ กตกิ า ความปลอดภยั ในการเลน่ เกมและกีฬา และกลวิธี ในการเล่น ประเภทตา่ งๆ การแข่งขัน แกผ่ ูอ้ ่ืนและ นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั 5. แสดงความรับผิดชอบของ 6. ออกกำลังกาย ตนเอง ทักษะและให้ความ โดยการเล่นเกม รว่ มมือ ประยกุ ต์หลักการรุก และเลน่ กฬี าเปน็ กลุม่ การป้องกนั และการให ้ ความร่วมมอื ในการ เข้ารว่ มกจิ กรรม การเล่นกฬี า เปน็ กลุ่ม 6. แสดงความมีนำ้ ใจนกั กีฬา มีจติ วญิ ญาณ ช่นื ชมใน สนุ ทรยี ภาพของการเลน่ การชม และการแขง่ ขันกีฬา แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 109 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ท่ ี หวั เร่อื ง ตัว ชวี้ ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 5 การประยุกต์หลกั วิทยาศาสตร์ ประยุกตค์ วามคดิ รวบยอดจาก ก ารประยกุ ต์หลกั วทิ ยาศาสตร ์ การเคลื่อนไหวในการเล่นกฬี า หลักวทิ ยาศาสตร์การเคล่ือนไหว การเคล่อื นไหวในการ ในการออกกำลงั กาย ออกกำลังกายและการเลน่ กฬี า และการเล่นกฬี าได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ทดสอบและสร้างเสรมิ 1. ความหมาย ความสำคัญ 15 6 การทดสอบและสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย เพ่อื การ ของสมรรถภาพทางกาย ออกกำลงั กาย และเลน่ กฬี า 2. สมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกาย ของตนเองและผอู้ ่นื ทเ่ี หมาะสมตามเกณฑ์ เพื่อการออกกำลังกาย มาตรฐานของเพศ และการเลน่ กีฬา และระดบั อาย ุ 3. การทดสอบสมรรถภาพทาง กายและสมรรถภาพทางกลไก 4. หลกั และวธิ ีการสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย ประยุกต์หลักการรกุ การป้องกนั ก ารออกแบบโปรแกรม 10 และการให้ความร่วมมือ สร้างเสริมสมรรถภาพกลไก 7 การออกแบบโปรแกรม ในการเล่นการแขง่ ขันกีฬาและ และสมรรถภาพทางกายของ สร้างเสรมิ สมรรถภาพกลไก การทำงานเป็นกลุ่ม ตนเองและผอู้ ่นื และสมรรถภาพทางกาย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ของตนเองและผู้อ่ืน 110 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวชิ า ทช32005 สขุ ภาพและความปลอดภัยในชีวติ จำนวน 3 หน่วยกิต ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ดี่ ี มีทกั ษะในการดูแลและสร้างเสริมการมีพฤตกิ รรมสขุ ภาพทดี่ ี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชน มสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ ดา้ นสุขภาพพลานามยั และพัฒนาสภาพแวดล้อมทีด่ ี ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรื่องต่อไปนี้ สภาพแวดล้อมกับการส่งเสริมสุขภาพ วิธีจัดสภาพแวดล้อมของครอบครัว และชุมชนที่เอื้อต่อการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ ความหมายและความสำคัญของการมีสุขภาพดี หลักการดูแลสุขภาพเบื้องต้น การป้องกัน การส่งเสริมการรักษาพยาบาลเบ้ืองต้น และการฟื้นฟูสุขภาพ กลวิธีนำไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพด้วยการสร้าง พลังปัญญา การเลือกใช้ภูมิปัญญาไทยเพื่อสุขภาพ ข้อมูลข่าวสาร ผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพ สิทธิผู้บริโภคและ กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง การวางแผนชีวิตเพื่อการมีสุขภาพที่ดี การตรวจสอบและประเมินภาวะสุขภาพ การปรับ พฤตกิ รรมสุขภาพ แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ วิธแี สวงหาและวิธีเลอื กใชข้ อ้ มลู สารสนเทศ การสงั เคราะหแ์ ละประยกุ ต์ใช้ ข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพและสมรรถภาพ หลักการและวิธีการนำเสนอและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ ความปลอดภัย การออกกำลังกายและการเล่นกีฬา วิธีการฝึกสติแบบต่างๆ ประโยชน์ของการมีสติ การประเมิน ระดบั ของการมสี ติ ความหมาย ความสำคัญของการพกั ผอ่ น การใช้เวลาวา่ ง และกิจกรรมนันทนาการ แหล่งบริการ นนั ทนาการ หลักและวิธีการสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพ การทดสอบและประเมินสมรรถภาพทางกาย เพื่อสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยงในการดำรงชีวิต การป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง การป้องกัน หลีกเล่ียงและการให ้ ความช่วยเหลือ เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุ อคั คีภยั และอันตรายจากมลพิษและสารเคมี การจดั ประสบการณ์การเรียนรู ้ ศึกษาเอกสาร สื่อทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทำช้ินงาน/ผลงาน จัดแสดง นิทรรศการ ศกึ ษาดงู าน กิจกรรมค่าย ฯลฯ การวดั และประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ช้นิ งาน ผลงาน โดยวธิ กี าร ทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมนิ การปฏิบัตจิ รงิ และประเมินสภาพจรงิ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน 111 ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า ทช32005 สขุ ภาพและความปลอดภัยในชวี ิต จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดี มีทกั ษะในการดแู ลและสร้างเสริมการมพี ฤติกรรมสขุ ภาพที่ดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดำรงสุขภาพของตนเอง และครอบครัวตลอดจนสนับสนุนให้ชุมชน มีส่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามัยและพัฒนาสภาพแวดลอ้ มทีด่ ี ท่ี หวั เรือ่ ง ตัว ชีว้ ัด เน้อื หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 สุขภาพกบั สงิ่ แวดล้อม วเิ คราะหบ์ ทบาทและความ 1. สภาพแวดลอ้ มกับ 5 รบั ผิดชอบของบุคคลทม่ี ีต่อการ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกันโรค การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ 1.1 สภาพแวดลอ้ มทาง ของครอบครัวและชุมชน ธรรมชาติ 1.2 สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม 2. วธิ จี ดั สภาพแวดล้อมของ ครอบครัว และชุมชนท่เี ออื้ ต่อการพัฒนาพฤตกิ รรม สขุ ภาพ 2 การดูแลสขุ ภาพตนเองและผู้อ่นื ประเมนิ สุขภาพสว่ นบคุ คล 1. ความหมายและความสำคัญ 15 เพ่อื กำหนดกลวธิ ลี ดความเสยี่ ง ของการมสี ุขภาพดี และนำไปใชใ้ นการสร้างเสรมิ สขุ 2. หลกั การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้ ภาพของตนเอง ชุมชน และสังคม การปอ้ งกันการส่งเสรมิ การ รักษาพยาบาลเบ้อื งต้น และ การฟืน้ ฟสู ุขภาพ 3. กลวิธีนำไปสู่การมีพฤตกิ รรม สขุ ภาพด้วยการสรา้ ง พลังปญั ญา 3.1 แนะนำวธิ ีการ ออกกำลังกายทถี่ กู ต้อง และมีขนั้ ตอน 112 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) 3.2 การบริโภคอาหาร ทีถ่ กู หลกั อนามัยและมี ประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย 3.3 การใชย้ าอย่างถูกตอ้ ง 3 สุขภาพผูบ้ รโิ ภค อธิบายเกีย่ วกับสขุ ภาพผูบ้ ริโภค 1. การเลอื กใชภ้ ูมปิ ัญญาไทย 15 เพอื่ สุขภาพ 2. ข้อมูลข่าวสาร ผลิตภณั ฑ์ และบรกิ ารสขุ ภาพ 3. สิทธิผู้บรโิ ภคและกฎหมาย ท่ีเก่ียวข้อง 4 การบรหิ ารจัดการชีวติ เพ่ือ วางแผนชีวติ ตรวจสอบและ 1. การวางแผนชวี ิตเพือ่ การมี 10 ประเมินภาวะและ ปรบั พฤติกรรม สุขภาพทดี่ ี สขุ ภาพ เพ่อื การ มสี ขุ ภาพทดี่ ี 2. การตรวจสอบและประเมิน ภาวะสขุ ภาพ 3. การปรบั พฤตกิ รรมสุขภาพ 1. เลือกใชข้ อ้ มลู ข่าวสารทาง 1. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 10 5 การสังเคราะหแ์ ละประยุกต์ใช้ ด้านสุขภาพ ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 2. วธิ ีแสวงหาและวธิ เี ลอื กใช้ 2. อธิบายหลกั การและวิธีการ ขอ้ มลู สารสนเทศ การ ข้อมูลสารสนเทศดา้ นสขุ ภาพ นำเสนอและเผยแพร่ขอ้ มลู สังเคราะห์และประยุกตใ์ ช้ ความปลอดภยั การออกกำลัง สารสนเทศดา้ นสุขภาพ ข้อมลู สารสนเทศดา้ น กาย และการเลน่ กีฬา ความปลอดภยั สขุ ภาพและสมรรถภาพ การออกกำลงั กาย 3. หลักการและวธิ กี ารนำเสนอ และการเลน่ กีฬา และเผยแพรข่ ้อมูลสาร สนเทศดา้ นสขุ ภาพ ความปลอดภัย การออกกำลังกาย และการเลน่ กฬี า แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 113

ท ี่ หัวเรื่อง ตัว ช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ชัว่ โมง) 6 การมีสติ บอกวิธีการฝกึ สติ ประโยชน ์ 1. วธิ กี ารฝึกสตแิ บบต่างๆ 15 และประเมนิ ระดับของการมีสต ิ 2. ประโยชนข์ องการมีสต ิ 3. การประเมินระดบั ของ การมีสต ิ 7 การพกั ผ่อนและนนั ทนาการ ออกกำลงั กาย พกั ผอ่ น 1. ความหมาย ความสำคญั 10 ฝึกจติ และรว่ มกิจกรรม ของการพักผ่อน การใช้เวลา นนั ทนาการท่ีเหมาะสม ว่าง และกจิ กรรมนันทนาการ จนเปน็ กิจนิสัย 2. แหลง่ บรกิ ารนนั ทนาการ 8 การทดสอบและสร้างเสริม ประเมิน สร้างเสริมและดำรง 1. หลกั และวธิ กี ารสรา้ งเสริม 10 สมรรถภาพทางกายเพือ่ สุขภาพ สมรรถภาพทางกายและทางจิต สมรรถภาพทางกายเพอื่ ตามหลักการสรา้ งเสริม สขุ ภาพ สมรรถภาพ เพอ่ื สุขภาพ 2. การทดสอบและประเมิน สมรรถภาพทางกายเพอ่ื สขุ ภาพ 9 ความปลอดภัยในชีวิต ประเมนิ ความเส่ียงตอ่ สขุ ภาพ 1. ปจั จยั เสย่ี งในการดำรงชีวติ 10 และแสวงหาแนวทางป้องกัน 1.1 สิง่ เสพตดิ อันตรายเพอื่ ความปลอดภยั 1.2 โรคติดตอ่ ทาง ในชวี ิต เพศสมั พนั ธ ์ 1.3 อบุ ัติเหตุ 2. การปอ้ งกันและหลกี เลย่ี ง ปจั จัยเส่ียง 10 การป้องกนั หลกี เลี่ยงและ 1. แสดงทักษะการใหค้ วามช่วย 1. การป้องกนั หลีกเลย่ี ง 20 ทกั ษะการช่วยฟืน้ คืนชีพ เหลือเมอื่ เกดิ สถานการณ์ และการใหค้ วามชว่ ยเหลอื คับขัน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เม่ือเกดิ อุบตั ิเหตุ อัคคภี ัย 2. แสดงทกั ษะการชว่ ยฟนื้ และอนั ตรายจากมลพษิ และ คนื ชพี ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง สารเคมี 2. ทักษะการชว่ ยฟ้ืนคนื ชีพ 114 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชา ทช32006 ทศั นศลิ ป์ จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ทางทศั นศิลป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ สากล และสามารถวิเคราะห์วิพากษ์ วจิ ารณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งตอ่ ไปนี ้ การส่ือความคิด จินตนาการ ความรู้สึก และความประทับใจ การพัฒนางานทัศนศิลป์ การใช้ กระบวนการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ และประยุกต์ใช้ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีในการสร้างงานทัศนศิลป์ การรับร้คู วามงามจากประสบการณแ์ ละจากจินตนาการ การประยุกต์ใชค้ วามรทู้ างทัศนศิลป์ ในการเรยี นรหู้ มวดวชิ า ต่างๆ และการใชใ้ นชวี ิตประจำวนั รูปแบบยคุ สมัย และววิ ฒั นาการทางศลิ ปะ วัฒนธรรมของไทย และสากล การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ แลกเปล่ียนความรู้ซ่ึงกันและกัน ฝึกทักษะเกี่ยวกับทัศนศิลป์ จดบันทึก สรุปองค์ความรู้ และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เรียนรู้ ในหมวดวิชาอ่ืนๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง สร้างสรรค ์ การวดั และประเมินผล ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเหน็ ชิ้นงาน ผลงาน โดยวธิ ีการทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ ์ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน 115 ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ ส่หู ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551



ท ี่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชี้วัด เนอื้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 4 การรับรู้ความงามจาก แสดงออกถึงความรู้สึก ในการ 1. การแสดงออกถงึ ความรู้สึก 15 ประสบการณ์และจากจนิ ตนาการ รบั ร้คู วามงามจากประสบการณ์ ในการรบั รคู้ วามงามจาก จนิ ตนาการโดยใช้หลักและ ประสบการณโ์ ดยใช้หลกั ความงามของทศั นศิลป์ตาม และความงามของทัศนศิลป์ ความถนัดและความสนใจ ตามความถนดั และความสนใจ 2. การแสดงออกถงึ ความรู้สกึ ในการรับร้คู วามงามจาก จินตนาการ โดยใชห้ ลกั และความงามของทัศนศิลป์ ตามความถนดั และความสนใจ 5 การประยุกต์ใชค้ วามรทู้ าง นำความรู้ เทคนิค และวธิ ีการ 1. การนำความรู้ เทคนคิ และ 10 ทศั นศิลป์ในการเรยี นรู้หมวดวิชา ทางทัศนศลิ ป์ ทีต่ นถนดั และ วิธีการทางทัศนศลิ ป์ ทีต่ น ตา่ งๆ และการใชใ้ นชีวติ ประจำวัน สนใจไปประยกุ ตใ์ ช้กบั หมวดวิชา ถนดั และสนใจ ไปประยุกต์ อ่ืนๆ และชีวติ ประจำวัน ใช้กับ หมวดวิชาอืน่ ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 2. การนำความรู้ เทคนิค และ วธิ ีการทางทศั นศิลป์ ท่ตี น ถนดั และสนใจไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั 6 รูปแบบ ยุคสมยั และววิ ัฒนาการ อธบิ ายรปู แบบ ยุคสมยั และ 1. รปู แบบ และยคุ สมยั ของ 5 ทางศิลปะ วฒั นธรรมของไทย ววิ ฒั นาการทางศิลปะ ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และสากล วฒั นธรรมของไทยและสากล และสากล 2. วิวัฒนาการศิลปะ วัฒนธรรมไทย และสากล แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 117 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธิบายรายวิชา ทช32007 ดนตรี จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ สากล และสามารถวเิ คราะหว์ ิพากษ์ วิจารณ์ได้อยา่ งเหมาะสม ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกับเรือ่ งต่อไปนี้ เครื่องดนตรีที่ใช้ในการผสมวง การขับร้องและบรรเลงดนตรี การใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรี องค์ประกอบ และความไพเราะของผลงานดนตรี และบทเพลงประเภทต่างๆ การสร้างสรรค์ทางดนตรี และการนำ ความร้ทู างดนตรีไปใช้กบั การเรียนในหมวดวิชาอน่ื ๆ และในชวี ิตประจำวัน ยคุ สมัยและววิ ฒั นาการของดนตรไี ทย การจัดประสบการณก์ ารเรียนร ู้ ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ แลกเปล่ียนความรู้ซึ่งกันและกัน ฝึกทักษะเก่ียวกับทัศนศิลป์ จดบันทึก สรุปองค์ความรู้ และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้เรียนรู้ ในหมวดวิชาอื่นๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง สรา้ งสรรค ์ การวดั และประเมินผล ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเหน็ ชนิ้ งาน ผลงาน โดยวธิ ีการทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ 118 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551

รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวิชา ทช32007 ดนตรี จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ทางทัศนศิลป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ สากล และสามารถวิเคราะห์วพิ ากษ์ วจิ ารณไ์ ดอ้ ย่างเหมาะสม ท่ี หัวเร่อื ง ตัว ชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 1 เคร่อื งดนตรที ใี่ ช้ในการผสมวง เครือ่ งดนตรที ่ใี ช้ในการผสมวง 1. เคร่ืองดนตรที ใ่ี ช้ในการผสม 10 และทำให้เกดิ ดนตรีประเภทตา่ งๆ วงและทำให้เกดิ ดนตรี ทงั้ ไทย และสากลระบุ ไดว้ ่าดนตรี ประเภทต่างๆ ทั้งไทย และ มีอทิ ธพิ ลตอ่ บุคคลและสงั คม สากล 2. อทิ ธพิ ลของดนตรที ีม่ ีต่อ บคุ คลและสังคม 2 การขบั ร้องและบรรเลงดนตร ี ขบั รอ้ งและบรรเลงดนตรี โดยการ 1. หลกั การขบั ร้องและบรรเลง 40 เลือกผสมผสานองค์ประกอบ ดนตรไี ทย และทักษะดนตรีให้ได้ผลตาม 2. การขบั รอ้ งและการบรรเลง ความตอ้ งการ ดนตรไี ทย 3. หลักการขบั รอ้ งและบรรเลง ดนตรสี ากล 4. การขับร้องและบรรเลงดนตรี สากล 3 การใช้และบำรงุ รักษาเคร่ือง ใช้และบำรงุ รกั ษาเครอื่ งดนตรีดว้ ย การใชแ้ ละบำรงุ รักษา 5 ดนตรี ความระมัดระวังปลอดภัยและมี เครอ่ื งดนตร ี ความรบั ผดิ ชอบ 4 องคป์ ระกอบและความไพเราะ แสดงความคิดเหน็ และวเิ คราะห์ 1. การวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบ 5 ของผลงานดนตรี และบทเพลง องคป์ ระกอบและความไพเราะของ และความไพเราะของผลงาน ประเภทต่างๆ ผลงานดนตรี และบทเพลงประเภท ดนตรแี ละบทเพลงประเภท ต่างๆ ตามหลกั การทางดนตร ี ต่างๆตามหลกั การทางดนตร ี แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 119 ตามหลักสตู รการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 2. การแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กบั องคป์ ระกอบและความ ไพเราะของผลงานดนตรี และ บทเพลงประเภทตา่ งๆ ตาม หลกั การทางดนตรี 5 การสรา้ งสรรค์ทางดนตรี สรา้ งสรรค์ทางดนตรีและนำ 1. การสรา้ งสรรคท์ างดนตร ี 15 ความรแู้ ละหลกั การทางดนตร ี 2. การนำความรู้ และหลกั การ ไปใชก้ บั หมวดวิชาอื่นๆ และใน ทางดนตรไี ปใช้กบั หมวดวชิ า ชวี ติ ประจำวนั ได้อย่างมี อื่นๆ ประสทิ ธิภาพ 3. การนำความรูแ้ ละหลกั การ ทางดนตรไี ปใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั 6 ยุคสมยั และววิ ฒั นาการของ อธบิ ายยุคสมยั และววิ ัฒนาการ ย ุคสมัยและวิวัฒนาการของ 5 ของดนตรีไทย ดนตรไี ทย ดนตรไี ทย 120 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา ทช32008 นาฏศลิ ป์ จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ทางทศั นศิลป์ ดนตรี และนาฏศิลป์ สากล และสามารถวิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์ได้อยา่ งเหมาะสม ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เรื่องต่อไปนี้ การเลือกวรรณกรรมหรือบทละครท่ีใช้ในการแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ในรูปแบบต่างๆ การผสม ผสานองค์ประกอบของนาฏศิลป์ การพูดและเขียนบทวิจารณ์ง่ายๆ ประโยชน์และคุณค่าของนาฏศิลป์ การสืบทอด นาฏศิลป์ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู ้ ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ แลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกันและกัน ฝึกทักษะเก่ียวกับทัศนศิลป์ จดบันทึก สรุปองค์ความรู้ และนำความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้เรียนรู้ ในหมวดวิชาอ่ืนๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง สรา้ งสรรค์ การวัดและประเมินผล ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเหน็ ช้นิ งาน ผลงาน โดยวธิ ีการทดสอบ สงั เกต สมั ภาษณ์ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 121 ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

รายละเอยี ดคำอธิบายรายวิชา ทช32008 นาฏศิลป์ จำนวน 2 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติส่ิงแวดล้อม ทางทัศนศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ สากล และสามารถวเิ คราะหว์ พิ ากษ์ วิจารณไ์ ด้อย่างเหมาะสม ท ่ี หวั เรอื่ ง ตัว ช้ีวดั เนือ้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 การเลือกรปู แบบวรรณกรรม วเิ คราะห์ ตคี วาม วรรณกรรม 1. การเลือกรปู แบบของ 5 และบทละครท่ีใชใ้ นการแสดง หรอื บทละคร โดยเลอื กใชร้ ปู แบบ วรรณกรรมท่ีเหมาะสมมาใช้ ละคร ทเี่ หมาะสมมาใช้ ในการแสดง ในการแสดงละคร ละคร 2. การเลอื กรูปแบบของ บทละครทเ่ี หมาะสมมาใช ้ ในการแสดงละคร 2 แสดงออกทางนาฏศิลป์ใน แสดงออกทางนาฏศลิ ปใ์ นรูปแบบ 1. หลักการแสดงออกทาง 25 รปู แบบต่างๆ ต่างๆ บนหลกั ของความงาม นาฏศลิ ปร์ ปู แบบต่างๆ บนหลักของความงาม 2. การแสดงนาฏศิลปใ์ น รูปแบบตา่ งๆ บนหลักของ ความงาม 3 การผสมผสานองคป์ ระกอบของ เลือกใช้และผสมผสาน 1. หลักการเลือกใช้ และการ 15 นาฏศิลป ์ องค์ประกอบ และพัฒนาทกั ษะ ผสมผสานองคป์ ระกอบทาง ทางนาฏศิลป ์ นาฏศิลป ์ 2. หลักการพฒั นาทักษะทาง นาฏศลิ ป ์ 4 การพูดและเขียนบทวิจารณ์ แสดงความคดิ เหน็ เชิงวิจารณ์ 1. การแสดงความคดิ เหน็ 20 ดว้ ยการพดู และเขียนบทวจิ ารณ์ เชิงวจิ ารณ์ ดว้ ยการพูดและ ง่ายๆ บนพน้ื ฐานของความเข้าใจ การเขยี นบทวจิ ารณ์ง่ายๆ องคป์ ระกอบและสุนทรียภาพ เกี่ยวกับนาฏศลิ ปบ์ นพ้นื ฐาน 122 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551

ท ่ี หัวเรื่อง ตวั ช้วี ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) ของการแสดงนน้ั ๆ ของความเข้าใจองค์ประกอบ และความมสี ุนทรยี ภาพ 2. การฝกึ ปฏิบตั กิ ารแสดง ความคิดเห็นเชิงวจิ ารณ ์ ด้วยการพดู และการเขียน เกี่ยวกับนาฏศลิ ปบ์ นพืน้ ฐาน ของความเขา้ ใจองคป์ ระกอบ และ ความมีสนุ ทรยี ภาพ 5 ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เกีย่ วกบั 1. การวเิ คราะห์ การวจิ ารณ์ 10 ประโยชน์และคณุ ค่า เกีย่ วกบั นาฏศลิ ป ์ นาฏศิลป์ ของนาฏศลิ ป ์ 2. การวจิ ารณ์งานนาฏศลิ ป์ เก่ียวกบั ประโยชน์และคุณคา่ ของนาฏศลิ ป ์ อธิบายการสบื ทอดนาฏศิลป ์ การสบื ทอดนาฏศลิ ป์ ท่ีเก่ยี วข้อง 5 6 การสืบทอดนาฏศิลป ์ ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมไทย กบั วัฒนธรรมไทยและสากล และสากล แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 123 ตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คำอธบิ ายรายวิชา สค32024 สงั คมศกึ ษาเสริม จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ ตระหนกั เก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง ในโลก และนำมาปรับใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ เพื่อความมั่นคงของชาติ ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ ภูมิศาสตร์ ในเรื่องกฎหมายเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม กระบวนการบริหารจัดการด้านทรัพยากร ธรรมชาติ พลังงานสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ ความหมาย ความสำคัญของพื้นท่ีอนุรักษ์ประเภทต่างๆ วิธีการใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการสร้างสรรค์ การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดล้อมทางสังคม ความสัมพันธ์ระหว่าง ขนบธรรมเนียมประเพณีกับการจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ นโยบายและแผนปฏิบัติการระดับ ประเทศ ระดบั โลก เพือ่ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม มาตรการการค้าและการอตุ สาหกรรม ประวัติศาสตร์ ในเรื่องประโยชน์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เปรียบเทียบหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ไทยกับสากล กรณีศึกษาเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคโบราณถึงปัจจุบันท้ังท่ีเป็น อารยธรรมสากลและมรดกไทย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ท่ีมีผลต่อพัฒนาการของมนุษยชาติในภูมิภาคต่างๆ ของโลก แนวทางการอนุรักษ์ ผลงานของบุคคลในประเทศไทยและโลก แนวคิดเกี่ยวกับความเปน็ มาของชนชาติไทย และการ ต้ังอาณาจักรต่างๆ ในประเทศไทย ความสำคัญของภูมิปัญญาต่อ วิถีชีวิตคนไทยในปัจจุบัน มูลเหตุปัจจัยท่ีทำให ้ คนไทยแต่ละทอ้ งถ่ิน คิดสรา้ งสรรค์ผลงานท้องถนิ่ แนวทางการอนุรักษ์ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรม เศรษฐศาสตร์ ในเรื่องความหมาย ความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ หลักการและวิธีการจัดสรร ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อการผลิต คุณธรรมที่เก่ียวข้องกับเศรษฐศาสตร์ หลักการของระบบสหกรณ ์ ในประเทศไทย สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมาย การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาประเทศ ด้านเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของกลุ่มต่างๆ ในโลก องค์กรการเงินระหว่างประเทศและแนวทางการ แกไ้ ขปญั หาทางเศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง ในเร่ืองความหมายและองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม สถาบันทาง สังคม การเปล่ียนแปลงทางสังคม สถานการณ์ที่ต้องเผชิญ กฎหมายเบื้องต้นท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจำวัน กฎหมาย ทีป่ ระชาชนควรรู้ (กฎหมายรฐั ธรรมนญู ) รูปแบบการเมอื งการปกครองของสังคมโลก โครงสรา้ งการเมอื งการปกครอง ของไทย นโยบายการเมือง การปกครองของประเทศไทยและประเทศต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ของสังคมไทย ประเด็นปัญหาและสถานการณ์ทางการเมืองท่ีเกิดขึ้นในสังคมโลกที่มีผลกระทบต่อสังคมไทย ตลอดจนแนวทางการปฏิบตั ิตนเพอื่ กอ่ ให้เกิดประโยชนต์ อ่ สังคมไทยและสังคมโลก 124 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

การจัดประสบการณ์การเรียนรู ้ จดั ให้มกี ารศึกษาจากส่อื การเรยี นรู้ เชน่ เอกสาร ตำรา CD แหลง่ การเรียนรู้ ตลอดจนภมู ปิ ัญญาต่างๆ มกี ารสำรวจ การจัดกลุม่ อภิปราย แลกเปลย่ี น เรียนรู้ สืบค้นข้อมูลโดยวิธกี ารตา่ งๆ เช่น การศึกษา ดงู าน การเก็บ ขอ้ มลู จากองคก์ ร ฟังการบรรยายจากผ้รู ู้ จดั กลมุ่ อภิปราย วิเคราะห์ สรปุ ผลการเรยี นรู้ นำเสนอในรูปแบบตา่ งๆ การวัดและประเมินผล จากการทดสอบ การมอบหมายงาน การสังเกต การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ และจาก ผลงาน ฯลฯ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 125 ตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551

รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า สค32024 สังคมศึกษาเสริม จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนกั เก่ียวกบั ภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการปกครอง ในโลก และนำมาปรบั ใช้ในการดำเนินชวี ติ เพอื่ ความมน่ั คงของชาต ิ ท่ ี หวั เรื่อง ตัว ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 ภูมิศาสตร์ 1. อธบิ ายกฎหมายเฉพาะด้าน 1. กฎหมายเฉพาะด้าน 80 ส่งิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ เช่น ปา่ ไม้ สัตว์ปา่ สัตว์นำ้ ทด่ี นิ ฯลฯ 2. ตระหนกั และรู้วิธีการใช้ 2. กระบวนการบรหิ ารจัดการ ทรัพยากรเพ่ือการพัฒนา ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ ทย่ี ง่ั ยืน พลังงานและส่งิ แวดลอ้ ม 3. ยกตัวอยา่ งการเปล่ียนแปลง 3. การเปล่ียนแปลงภมู ิทัศน ์ ภมู ิทัศน์จากการเปลย่ี นแปลง จากการเปลีย่ นแปลงเจตคติ เจตคตติ อ่ สิง่ แวดลอ้ ม ตอ่ สงิ่ แวดล้อมของมนุษยใ์ น ดา้ นตา่ งๆ เช่น - การเปลี่ยนภูเขาเป็นทร่ี าบ สำหรับเพาะปลกู - การเปลี่ยนพ้นื ท่ีทีน่ ้ำท่วม เป็นพน้ื ที่เกษตร - การสร้างป่าในเขตแหง้ แลง้ - การกำหนดพื้นทอี่ นุรกั ษ์ เชน่ อทุ ยานแหง่ ชาติ วนอทุ ยาน เขตรักษา พันธุ์สัตวป์ ่า อทุ ยาน ประวัตศิ าสตร์ ฯลฯ 126 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

ท่ ี หวั เร่อื ง ตัว ชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน (ช่วั โมง) 4. บอกความหมาย ความสำคัญ 4.1 ความหมาย ความสำคัญของ ของพน้ื ที่ ที่อนรุ ักษ์ประเภท พน้ื ทท่ี อ่ี นรุ กั ษ์ประเภทต่างๆ ต่างๆ และวธิ ีการใชป้ ระโยชน์ 4.2 วิธีการใช้ประโยชน ์ จากสง่ิ แวดลอ้ มในการ จากสิ่งแวดล้อมในการ สรา้ งสรรค์ทมี่ ีลกั ษณะพิเศษ สร้างสรรคท์ ม่ี ีลกั ษณะพเิ ศษ ได้แก่ เขตเมืองใหญ ่ และเขตเกษตรเพือ่ การคา้ 5. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลง 5. การเปล่ยี นแปลงสงิ่ แวดล้อม ส่งิ แวดลอ้ มทางสงั คมตอ่ ทางสงั คม เชน่ ระบบตา่ งๆ - ระบบการขนสง่ - ระบบการส่อื สาร คมนาคม - รูปแบบการบริโภค - รปู แบบการค้าและเศรษฐกิจ - การรวมกลมุ่ ของประเทศ ตา่ งๆ 6. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง 6. ขนบธรรมเนียมประเพณ ี ขนบธรรมเนียมประเพณกี บั ภมู ปิ ญั ญาไทยกบั การจัดการ การจดั การ และการอนรุ ักษ์ และการอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาต ิ ทรัพยากรธรรมชาติ และ สงิ่ แวดล้อม 7. มีเจตคติ และคา่ นิยม 7. คา่ นิยม วถิ ชี ีวติ ทีส่ ง่ เสรมิ ที่ส่งเสริมการอนรุ กั ษ์ การอนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ มทาง ทรัพยากรธรรมชาต ิ ธรรมชาตแิ ละทางสังคม 8. วเิ คราะหป์ ัญหาเฉพาะกรณี 8.1 นโยบาย แผนปฏบิ ตั กิ าร และความพยายามของมนุษย์ มาตรการระดับประเทศและ ในการแก้ปัญหา ระดับโลก เพ่อื การอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อม เช่น แผนปฏบิ ัติ การในศตวรรษท่ี 21 8.2 มาตรการการค้า และการ อุตสาหกรรม มาตรฐาน ไอเอสโอ 14001 มาตรการ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น 127 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ี่ หัวเรื่อง ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) ทางกฎหมายภาษกี ารจัดทำ อนุสัญญาต่างๆ การพัฒนา เทคโนโลยี เพื่อสิง่ แวดล้อม การกำหนดพน้ื ทีเ่ ฉพาะเพอื่ การอนรุ กั ษ์ 9. เสนอแนวคดิ ในการแก้ปัญหา 9.1 จิตสำนึกด้านส่ิงแวดล้อมและ และวิธกี ารอย่างมกี ระบวนการ กระบวนการสรา้ งจิตสำนึก แสวงหาความร่วมมือในการ การสร้างค่านิยม การตัดสนิ ใจ ดำเนนิ งานปฏบิ ตั ติ น เลอื กวิธีปฏิบัติตน เพอ่ื การ เพื่อการอนุรักษ์และพฒั นา อนุรักษ์ และพัฒนาคุณภาพ คณุ ภาพสิง่ แวดลอ้ ม ชีวิต 9.2 กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และดำเนนิ การเพ่อื แสวงหาความร่วมมอื ในการ อนรุ ักษ์ และพัฒนาคณุ ภาพ สง่ิ แวดลอ้ ม 2 ประวัติศาสตร์ 1. บอกประโยชน์ และประเภท 1. ประโยชน์ของหลักฐาน ของหลักฐานทาง ทางประวตั ิศาสตร ์ ประวตั ิศาสตรท์ ี่มีตอ่ การ 2. ประเภทของหลกั ฐาน ศกึ ษาทางประวัตศิ าสตร์ ทางประวัติศาสตร์ (จำแนก 2. ประเมนิ คณุ ค่าของหลักฐาน ตามยุคสมัยตามความสำคัญ) ดว้ ยวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร ์ - หลกั ฐานทางโบราณคดี เช่น กำแพงดิน คนู ำ้ ฯลฯ - หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ เช่น ตำนาน พงศาวดาร จดหมายเหตขุ องชาวตา่ งชาติ เช่น หยวนส่ือ ลาลแู บร ์ ฯลฯ 3. อธบิ ายความแตกตา่ งของ 3. เปรียบเทยี บหลักฐาน หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ทางประวตั ศิ าสตร์ไทยกบั ของไทยและสากล ประวตั ิศาสตร์สากลและ 128 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ที่ หวั เร่อื ง ตวั ช้ีวัด เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) แนวทางการศึกษาวเิ คราะห์ เชน่ - สภาพภูมศิ าสตร์ (ทำเล ทตี่ งั้ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ สภาพภูมอิ ากาศ) - ทรพั ยากรธรรมชาต ิ - ความเชื่อ ค่านยิ ม แนวคิด - ชว่ งเวลา 4. ยกตวั อย่างหลักฐานทาง 4. กรณตี ัวอยา่ งเกีย่ วกบั หลกั ประวตั ิศาสตรท์ ี่ใชใ้ นการ ฐานทางประวัติศาสตร์ตง้ั แต่ ศึกษาพัฒนาการทาง ยุคโบราณถงึ ปัจจบุ นั ทัง้ ท ี่ วทิ ยาการและงานสรา้ งสรรค์ เป็นอารยธรรมสากล และ อารยธรรมโลก และไทยใน มรดกไทย แต่ละยคุ นับต้งั แตย่ คุ โบราณ 4.1 ตวั อยา่ งอารยธรรมสากล จนกระทั่งถึงปจั จบุ ัน * การทำมมั ม่ใี น ประเทศอยี ิปต์ ทำมัมมเ่ี พราะเช่ือว่า เม่ือตายแลว้ วิญญาณ จะกลับมาเกดิ ใหม่ มดั ตราสังฆ์ เพราะ เช่ือวา่ จะได้หลดุ พ้น จากหว่ ง เช่น ลกู ภรรยา สาม ี * การสรา้ งกำแพง ในประเทศจีน สรา้ งกำแพงเมอื งจีน เพอ่ื ปอ้ งกนั ขา้ ศึก วสั ดุ เปน็ ทั้งอิฐและดิน ซ่ึงหาได้ในทอ้ งถน่ิ สร้างป้อมปราการ เพือ่ ปอ้ งกันข้าศึก แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 129 ตามหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หัวเรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน (ช่ัวโมง) วัสดุอาจจะเป็นไม้ อิฐ ท่มี ีในทอ้ งถ่นิ ฯลฯ 4.2 ตวั อยา่ งอารยธรรมทมี่ ี คณุ ค่า เช่น - ฝายกั้นนำ้ การสร้าง สะพานสง่ นำ้ ของโรมัน เป็นต้น - การสร้างเคร่อื งปน่ั ฝา้ ยขององั กฤษสง่ ผล ใหม้ ีการปฏวิ ตั ิ อุตสาหกรรม ฯลฯ โดยใช้วิธีการทาง ประวตั ิศาสตร์ศกึ ษา (โดยตั้งสมมุตฐิ านว่า เขาสร้างหรอื ประดษิ ฐ์ ทำไม เพ่อื อะไร รวบรวมข้อมูล เพอ่ื ตอบ สมมุตฐิ าน ด้วยการ ค้นควา้ จากตำรา หลักฐานจดั แยกขอ้ มลู ดคู วามนา่ เชือ่ ถือ วิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ ความนา่ จะเปน็ โดยการ ประเมินค่าสรปุ เรอ่ื งราว เหตกุ ารณ์ ผลกระทบ จากหลักฐานที่น่าจะ เป็นไปได้น่าเชอื่ ถอื ) 5. บอกปจั จัยทางภมู ิศาสตร ์ 5. ปัจจยั ทางภูมศิ าสตร ์ และสภาพแวดล้อมท่ีมผี ล และสภาพแวดล้อมอืน่ ๆ ตอ่ พฒั นาการของมนุษยชาติ ทมี่ ีผลตอ่ พัฒนาการของ ในภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก มนษุ ยชาติในภูมภิ าคตา่ งๆ 130 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ที่ หวั เรอ่ื ง ตัว ชี้วดั เนอ้ื หา จำนวน (ชวั่ โมง) ตั้งแต่อดตี ถึงปัจจบุ ัน ของโลก เชน่ - การตัง้ ถน่ิ ฐาน - การสร้างอารยธรรม ฯลฯ 6. ยกตัวอย่างผลงานท่ภี าค 6. ผลงานของบคุ คลในประเทศ ภมู ใิ จของบุคคล ในประเทศ ไทยและโลก โดยใช้วิธี และโลกและ แนวทางการ วเิ คราะห์ เชน่ ปจั จยั ใดท่ ี อนุรักษ ์ ส่งเสรมิ หรอื สนบั สนนุ ให้ คนในยุคนัน้ คิดผลงานนั้นๆ ข้นึ มา เช่น คนในซีกโลก ตะวันตกใสเ่ สื้อขนสัตว์ เพราะสภาพภมู อิ ากาศและ ทำเลทต่ี ้ังอยใู่ นเขตหนาว คนในเขตหนาวจะอดทน ขยนั กว่าคนในเขตรอ้ นและ คนในเขตอบอนุ่ มักจะมี จินตนาการสูง มีความคิด สร้างสรรคม์ ากกว่าคนในเขต ร้อน เพราะอากาศสบายๆ ไมห่ งดุ หงดิ ง่าย เปน็ ต้น 7. อธบิ ายแนวคดิ เกย่ี วกับ 7.1 แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเป็นมา ความเป็นมาของชนชาตไิ ทย ของชนชาติไทย และการตัง้ อาณาจักรตา่ งๆ 7.2 อาณาจกั รตา่ งๆ ในประเทศ ในประเทศไทย ไทย เช่น อาณาจกั รขอม อาณาจกั รศรีวชิ ัย อาณาจกั ร ทวาราวดี ฯลฯ 8. ยกตัวอยา่ ง วัฒนธรรมและ 8. ความสำคัญของภมู ปิ ญั ญา ภูมปิ ัญญาไทย ทีม่ ผี ลตอ่ ท้องถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทยตอ่ วถิ ชี ีวิตของคนไทย พร้อม วถิ ีชวี ติ คนไทยในปัจจุบัน เสนอแนวทางปฏิบตั ติ น (กรณีตวั อยา่ งวัฒนธรรมและ เพอื่ การอนรุ กั ษท์ ่ีย่ังยนื ภมู ิปัญญาไทยในระดบั ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน ชาติ ท่ีมีผลต่อ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 131 ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ท ี่ หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) วถิ ชี ีวิตของคนไทย พรอ้ มทง้ั เสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตน เพ่อื การอนุรกั ษ์ที่ยั่งยนื ) 9. ยกตวั อยา่ งผลงานของบคุ คล 9. มลู เหตปุ จั จยั ท่ที ำให้คนไทย สำคัญทงั้ ในประเทศและต่าง แต่ละท้องถิ่นคิดสรา้ งสรรค์ ประเทศทม่ี ีสว่ นสร้างสรรค์ ผลงาน สงิ่ ประดิษฐ์ วฒั นธรรมไทย และ วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย ทแ่ี ตกตา่ งกนั เช่น - สมนุ ไพร คนไทยแต่ละ ท้องถ่ินใช้สมนุ ไพรแต่ละชนิด รกั ษาโรคชนิดเดยี วกนั แต่ตา่ ง ตวั ยากนั ท้ังนอี้ าจเป็นเพราะ สภาพภมู ิศาสตร์ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การ เจริญเติบโตของสมุนไพร แตล่ ะชนิด - การประดิษฐเ์ ครือ่ งมือสี ข้าว (โม)่ โดยใชว้ ัสดุ หรอื รปู ทรงตา่ งๆ กัน แต่มีจุด ประสงค์เดยี วกันคอื แยก เมล็ดข้าว และเปลือกออก จากกัน - การใช้เพลงกล่อมลูก ใช้เพอื่ จดุ ประสงคเ์ ดียวกนั แตเ่ นื้อร้อง ทำนองต่างกัน เปน็ ต้น 10. ยกตวั อย่างวัฒนธรรมสากล 10. ผลงานการสรา้ งสรรค์ ที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมสากลบางอยา่ งมี พร้อมบอกผลดี และผลเสยี อทิ ธพิ ลตอ่ วัฒนธรรมไทย เช่น การแตง่ กาย แนวคดิ ส่ิงประดษิ ฐ์ สงิ่ ก่อสร้าง รูปแบบการปกครอง ระบบ เศรษฐกจิ (ใหว้ ิเคราะห์ใน 132 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ี่ หัวเรื่อง ตัว ชวี้ ดั เน้ือหา จำนวน (ชัว่ โมง) ลกั ษณะ เหตใุ ดไทยจึงรบั มา เม่อื รับมาแลว้ ปรบั ใช้อย่างไร ให้วเิ คราะห์ทั้งผลดี และผลเสยี ) 11. บอกแนวทางปฏบิ ตั ิตน 11. เสนอแนวทางการปฏบิ ัติตน เพือ่ การอนรุ กั ษ์ภูมปิ ัญญา เพ่อื การอนุรกั ษ์ภูมิปัญญา และวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของไทย และสากล 3 เศรษฐศาสตร์ 1. อธบิ ายความหมาย และ 1. ความหมาย และความสำคญั ความสำคญั ของ ของเศรษฐศาสตร ์ เศรษฐศาสตร ์ 2. บอกหลักการและวิธกี าร 2. การวางแผนการใช้ทรัพยากร จัดสรรทรัพยากรท่ีมีอย ู่ ทีม่ อี ยูอ่ ย่างจำกัด เพือ่ การผลิต อยา่ งจำกัด เพื่อการผลติ - หลกั การ - รูปแบบและวิธกี าร จัดสรรทรพั ยากรท่มี อี ยู่ อย่างจำกัด 3. บอกคุณธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั 3. คณุ ธรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับ ผู้ผลิต และผ้บู รโิ ภค เศรษฐศาสตร์ - คณุ ธรรมของผู้ผลติ - คุณธรรมของผู้บรโิ ภค 4. อธบิ ายวิธีการแก้ปัญหาทาง 4.1 ภมู ิหลงั และหลกั การของ เศรษฐกจิ ในระดบั ชุมชน ระบบสหกรณใ์ นประเทศไทย และประเทศ โดยใชร้ ะบบ เพือ่ สรา้ งความมั่งค่ังทาง สหกรณ์ เศรษฐกิจ 4.2 การมสี ว่ นร่วมในระบบ เศรษฐกิจแบบสหกรณใ์ น ระดับชมุ ชนและประเทศ 5. อธบิ ายสิทธแิ ละกฎหมาย 5. สิทธแิ ละการคมุ้ ครอง การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้บรโิ ภคตามกฎหมาย แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 133 ตามหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สูห่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วดั เนือ้ หา จำนวน (ชัว่ โมง) 6. ยกตัวอยา่ งการมสี ว่ นร่วม ใน 6. การมสี ว่ นร่วมของประชาชน การพัฒนาเศรษฐกิจ ในการพัฒนาประเทศ ของประเทศ ด้านเศรษฐกิจ 7. อธิบายแนวทางความรว่ มมอื 7. การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ของระบบการผลติ ต่างๆ ใน ของกลมุ่ ตา่ งๆ เช่น กลุ่ม ตลาดโลก เพื่อสร้างความ อาเซยี น กล่มุ โอเปค และ มนั่ คงทาง ดา้ นเศรษฐกจิ กลุ่มตลาดรว่ มในยโุ รป 8. บอกบทบาทขององคก์ ร 8. องคก์ รการเงินระหวา่ ง การเงินระหว่างประเทศ ประเทศและแนวทางการ ในการสง่ เสริมสนับสนุน แกไ้ ขปัญหาทางเศรษฐกจิ การรกั ษาดุลการคา้ 4 การเมอื ง การปกครอง 1. บอกความหมายของ 1. โครงสรา้ งทางสงั คม โครงสรา้ งทางสังคม/ - ความหมาย องค์ประกอบ สถาบนั ทางสงั คม 2. อธบิ ายประเภทและหน้าที่ 2.1 สถาบนั ทางสังคม ของสถาบันทางสังคม - ความหมาย ความสำคัญ - ประเภทและหนา้ ท่ ี 2.2 ความหมายและองค์ประกอบ การจดั ระเบียบ และ การ ขดั เกลาทางสงั คม 3. อธิบายปัจจัยที่กอ่ ให้เกดิ การ 3. การเปล่ยี นแปลงทางสงั คม เปลีย่ นแปลงทางสงั คม - ความหมาย - ปจั จยั ท่ีกอ่ ให้เกดิ การ เปลีย่ นแปลง - ผลของการเปล่ยี นแปลง 4. ยกตัวอย่างสถานการณ ์ 4. สถานการณ์ทต่ี ้องเผชญิ ทตี่ อ้ งเผชิญพร้อมเสนอ - สาเหตุ แนวทางการตดั สนิ ใจ - ผลกระทบ เลอื กปฏิบัติ - แนวทางการแก้ไข - ศกึ ษากรณีตัวอยา่ งและ 134 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ท ่ี หวั เร่อื ง ตัว ชีว้ ัด เนื้อหา จำนวน (ชัว่ โมง) ฝึกทกั ษะการแกไ้ ข และ ปฏบิ ตั ิตวั อย่างสถานการณ์ ดา้ นสงิ่ แวดล้อม เศรษฐกจิ สงั คม ความขัดแยง้ ระหว่าง ประเทศ ลทั ธิทางการเมือง การปกครอง การเปลย่ี นแปลง คา่ นิยม และวฒั นธรรม 5. อธบิ ายกฎหมายเบ้อื งต้น 5. กฎหมายเบอื้ งตน้ ท่เี กีย่ วข้อง ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ชวี ติ ประจำวนั กบั ชีวติ ประจำวัน - กฎหมายทะเบียนราษฎร์ - กฎหมายแรงงานและ สวสั ดิการสังคม 6.1 ยกตวั อย่างกฎหมายทคี่ วรรู้ 6. กฎหมายอน่ื ๆ ที่ควรร ู้ เพอ่ื การอยใู่ นสงั คม ในการอยู่ในสงั คม 6.2 บอกสทิ ธิประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ บั - กฎหมายการประกันสังคม ความค้มุ ครองจากกฎหมาย - กฎหมายครอบครัว ประเภทตา่ งๆ - กฎหมายแพ่ง 6.3 บอกผลกระทบทเ่ี กิดจากการ - กฎหมายอาญา ไมป่ ฏบิ ัติตามกฎหมาย - กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค - กฎหมายจราจร - พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ - กฎหมายสิ่งแวดลอ้ มและ ทรัพยากรธรรมชาติ - กฎหมายทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา - กฎหมายการสง่ ผ้รู า้ ย ขา้ มแดน โดยเลือกสาระตามกฎหมาย นัน้ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องกับตนเองและ ครอบครวั มาศกึ ษาตามประเดน็ ดังน้ ี แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 135 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าส่หู ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

ท ี่ หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวดั เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) ความสำคญั สาระสำคญั โดย สังเขปของกฎหมาย แต่ละเร่ืองที่ เกย่ี วข้องกบั ตนเองและครอบครวั สิทธปิ ระโยชน์ทจ่ี ะได้รับความ คมุ้ ครองจากกฎหมายประเภท ตา่ งๆ ผลกระทบที่เกิดจากการ ไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมายน้นั ๆ แหล่งใหค้ ำแนะนำ และคน้ คว้า ตามกฎหมาย เช่น สถานีตำรวจ ผ้พู พิ ากษา เป็นต้น 7. บอกกฎหมายรัฐธรรมนูญ 7. กฎหมายรฐั ธรรมนูญ (ความ ท่ีประชาชนควรรใู้ นการดำรง สำคญั และความเป็นมาของ ชีวติ รฐั ธรรมนญู ฉบบั ปัจจบุ นั โครงสรา้ ง คณะรัฐมนตรี ศาล คณะกรรมการการเลือก ต้งั กฎหมายประกอบ รัฐธรรมนญู ว่าด้วยการเลือก ตง้ั พรรคการเมือง การออก เสียงประชามต)ิ 8. เปรียบเทียบการเมอื ง 8. รปู แบบการเมอื ง การปกครอง การปกครองของสงั คมไทย ของสังคมโลก และสงั คมโลก - แบบรัฐสภา - แบบประธานาธบิ ด ี - แบบก่งึ ประธานาธบิ ด ี ก่ึงสภานำรปู แบบ การปกครองของไทย มาเปรียบเทียบกบั รูปแบบ การปกครองของโลก 9. อธบิ ายโครงสร้างการเมอื ง 9. โครงสรา้ งการเมือง การปกครองของไทย การปกครองของไทย - การปกครองส่วนกลาง 136 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

ท ่ี หวั เร่อื ง ตัว ชวี้ ดั เนอื้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) - การปกครองสว่ นภมู ภิ าค - การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น - การปกครองพิเศษ 10. บอกผลกระทบของนโยบาย 10. นโยบายการเมือง การ การเมอื ง การปกครองของ ปกครองของประเทศไทย ประเทศไทย และประเทศ และประเทศตา่ งๆ ทม่ี ผี ล ตา่ งๆ ทม่ี ีตอ่ การดำเนินชีวติ กระทบต่อการดำเนนิ ชีวติ ของสังคมไทย ของสงั คมไทย 11. วิเคราะห์สถานการณต์ า่ งๆ 11.1 ประเดน็ ปัญหา และ ในสังคมไทย และสงั คมโลก สถานการณท์ างการเมือง และบอกแนวทางปฏบิ ัติ การปกครอง ทีเ่ กดิ ขน้ึ ใน เพือ่ ใหอ้ ยรู่ ่วมกัน สังคมโลกที่มผี ลกระทบต่อ อย่างสันตสิ ุข สังคมไทย 1 1.2 แนวทางการปฏบิ ตั ิตน ทางการเมือง การปกครอง เพื่อกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สังคมไทยและสังคมโลก แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 137 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

คณะผู้จัดทำ ทีป่ รึกษา เลขาธกิ าร กศน. รองเลขาธิการ กศน. นายอภชิ าติ จรี ะวุฒ ิ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายชัยยศ อมิ่ สุวรรณ ์ ประธาน นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ เลขานุการ คณะทำงานและยกรา่ งต้นฉบับ ขา้ ราชการบำนาญ สำนกั งาน กศน. ผอู้ ำนวยการศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาจังหวัดตรงั นางดษุ ฎี ศรวี ัฒนาโรทยั สำนักงาน กศน. จังหวัดจนั ทบรุ ี นางพรทพิ ย์ เข็มทอง หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก ์ นางรุง่ อรุณ ไสยโสภณ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั นางสาวผณินทร์ แซอ่ ึง้ กลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ นายกิตตพิ งศ์ จันทวงศ์ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย นางสาวกรวรรณ กวีวงษพ์ ิพัฒน ์ กลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ นางสาวสมถวิล ศรจี นั ทรวโิ รจน์ ศูนยเ์ ทคโนโลยที างการศึกษา กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน คณะบรรณาธิการ นางอรญั ญา บวั งาม นายชัยกิจ อนันตนริ ตั ศัย นางอำนวย คนุ สุข นางสาวนวลพรรณ ศาสตร์เวช นางกรแกว้ พรหมจิระประวัต ิ นางวรรษวรรณ บรรลือฤทธ์ ิ นางภัทรา พานิชเจรญิ นางพรรณทิพา ชินชชั วาล ผู้รับผิดชอบ นางดุษฎี ศรีวฒั นาโรทัย นางสาวสมถวิล ศรจี ันทรวิโรจน์ 138 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551

แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 139 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook