ท ี่ หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 4. การใหแ้ ละขอรบั บรกิ ารด้าน ตา่ งๆ เชน่ - Do you need some more coffee? Yes, please. หรือ No, thank you. - May I take this book? Yes, you may. หรอื No, you may not. 3 ศพั ท์ และสำนวนท่ใี ชใ้ นการ ใช้ศพั ท์ และสำนวนในการ 5 แสวงหาความร้ทู ่สี มั พันธก์ ับ Etc. แสวงหาความรทู้ สี่ ัมพนั ธก์ บั รายวชิ าต่างๆ รายวชิ าต่างๆ ศพั ท์ และสำนวนท่ีใชใ้ นการ แสวงหาความร้สู ัมพนั ธก์ บั รายวิชาตา่ งๆ เชน่ 1. การอา่ นตำราอาหาร เขา้ ร่วมกจิ กรรมส่งเสรมิ ภาษา 2. การอา่ นคำแนะนำ 15 4 กจิ กรรมส่งเสริมภาษาอังกฤษ องั กฤษในรูปแบบตา่ งๆ ในรูปแบบตา่ งๆ Etc. ภาษาองั กฤษในการแสวงหา ความรู้ ความบันเทิงและ การเข้าสู่สังคม เชน่ 1. เกมทางภาษา (scrabble, crossword, hangman, monopoly) 2. การตอบปญั หาภาษาองั กฤษ ชิงรางวลั 3. การแขง่ ขันเลา่ เรือ่ ง/นทิ าน 4. การอ่านนทิ านและเลา่ นิทาน หรือเรอ่ื งสน้ั ๆ Etc. แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 45 ตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า พค22011 คณิตศาสตร์เสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ เศษส่วนและทศนิยม เลขยกกำลัง อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ การวัด ปริมาตรและพื้นที่ผิว คู่อันดับและกราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิต ิ และเรขาคณิตสามมิติ สถิติและความน่าจะเป็น ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรื่องตอ่ ไปนี ้ การคิดคำนวณ และฝึกการแก้โจทย์ปัญหา การให้เหตุผลเกี่ยวกับประโยคสัญลักษณ์และสมการ การเขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว จากสถานการณ์หรือปัญหาอย่างง่าย การแก้สมการและอสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว การอ่าน การเขียน และการแปลความหมายของกราฟของสมการเชิงเส้น รวมท้ังระบบสมการเชิงเส้น สองตัวแปร เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคำนวณ และสามารถนำไปใช้ จำนวนจริง ที่เป็น จำนวนตรรกยะ อตรรกยะ และสามารถเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยมซ้ำ และเขียนทศนิยมซ้ำให้อยู่ในรูป เศษส่วน พร้อมทั้งสามารถหาค่ารากที่สอง รากท่ีสามของจำนวนเต็ม โดยการแยกตัวประกอบ และนำไปใช้ แกโ้ จทย์ปัญหา การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จัดประสบการณ์ในชีวิตประจำวันให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุปรายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวัน อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ พร้อมท้ังตระหนักถึงความสมเหตุสมผล ของคำตอบที่ได้ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบมีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่อื มนั่ การวดั และประเมินผล ใช้วิธีการท่ีหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงมีความสอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด และประเมินผล เช่น การอภิปรายกลุ่ม การมสี ่วนร่วมในการทำกจิ กรรมการเรยี นร้ขู องผ้เู รียน ใบงาน การทดสอบย่อย และการนำเสนอผลงาน 46 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า พค22011 คณติ ศาสตร์เสริม จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ เศษส่วนและทศนิยม เลขยกกำลัง อัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละ การวัด ปริมาตรและพ้ืนที่ผิว คู่อันดับและกราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิต ิ และเรขาคณติ สามมติ ิ สถิตแิ ละความน่าจะเปน็ ท ี่ หัวเรื่อง ตัว ช้วี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 สมการ อสมการและระบบ 1. เขียนประโยคสัญลักษณ ์ 1. ประโยคสญั ลักษณ์และ 40 สมการเชิงเส้น ของสมการ และอสมการ สมการ อสมการ 2. แกส้ มการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว 2. สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว อยา่ งง่าย 3. เขยี นสมการเชงิ เสน้ 3. การเขยี นสมการเชิงเส้น ตัวแปรเดยี วจากสถานการณ์ ตวั แปรเดียวจากสถานการณ์ หรือปญั หาอย่างงา่ ย หรอื ปัญหา 4. แกโ้ จทย์ปัญหาเกีย่ วกับ 4. โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการ สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว เชิงเส้นตัวแปรเดยี ว อย่างงา่ ย 5. แกอ้ สมการเชิงเสน้ 5. อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ตัวแปรเดยี ว และการนำไปใช ้ 6. เขียนกราฟแสดงความ 6. กราฟแสดงความเกยี่ วขอ้ ง เกี่ยวข้องระหวา่ งปรมิ าณ ระหว่างปรมิ าณ 2 ชดุ 2 ชดุ ทมี่ คี วามสัมพนั ธ ์ ทีม่ ีความสัมพนั ธ์เชิงเส้น เชิงเสน้ 7. เขียนกราฟของสมการ 7. กราฟสมการเชิงเส้น เชิงเสน้ สองตัวแปร สองตวั แปร 8. แกร้ ะบบสมการเชงิ เส้น 8. ระบบสมการเชงิ เสน้ สอง สองตวั แปร และนำไปใช ้ ตวั แปรและการนำไปใช้ แก้ปญั หาอยา่ งสมเหตุสมผล แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน 47 ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเรอ่ื ง ตัว ชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชั่วโมง) 2 ความสัมพนั ธข์ องจำนวนจรงิ 1. เขียนเศษสว่ นให้อยู่ใน ความรู้เกย่ี วกบั จำนวนจรงิ กบั จำนวนตรรกยะและ รูปทศนิยมซำ้ และเขียน จำนวนตรรกยะและ จำนวนอตรรกยะ ทศนยิ มซำ้ ให้อยใู่ น จำนวนอตรรกยะ รูปเศษส่วน 2. บอกจำนวนจรงิ ที่เปน็ ตรรกยะและ จำนวนอตรรกยะ 1. การหาคา่ รากทสี่ อง 3 การหาคา่ รากทส่ี องและ 2. การหาค่ารากทีส่ าม หาค่ารากทส่ี อง และรากทสี่ าม รากที่สามของจำนวนเต็ม ของจำนวนเต็ม โดยการแยก ตวั ประกอบ และนำไปใช ้ แก้โจทย์ปญั หา 48 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธบิ ายรายวิชา พว22001 วิทยาศาสตร์เสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นและประเทศ สาร แรง พลังงาน กระบวนการ เปลยี่ นแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มีจติ วิทยาศาสตร์และนำความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดำเนินชวี ติ ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรื่องต่อไปนี้ เทคโนโลยีชีวภาพ การเพ่ิมผลผลิตและผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ สารเสพติด ชนิดของ สารเสพติด สารเสพติดต่อการทำงานของระบบต่างๆ ของร่างกาย การป้องกันและต่อต้านสารเสพติด พันธุกรรม การขยายพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศได้ วิธีการถ่ายลักษณะทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพกับการดำรงชีวิตอย่างสมดุล พลังงานไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าและชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น ระบบสุริยะกาแล็กซี ส่วนประกอบและปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ความก้าวหน้าและการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศในปัจจุบนั การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ให้ผู้เรียน ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง อธิบาย อภิปราย และนำเสนอด้วยการจัดกระบวนการเรียนรู้โดย การพบกลุ่ม การเรียนรู้แบบทางไกล แบบช้ันเรียน ตามอัธยาศัย การสอนเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง การทำ รายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง การสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ประสบการณ์การเรยี นรู้ และการเรียนรู้ดว้ ยโครงงาน การวัดและประเมินผล การสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การเรยี นรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิต แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 49 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า พว22001 วทิ ยาศาสตร์เสรมิ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะ และเห็นคณุ คา่ เกย่ี วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวติ ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ในทอ้ งถิ่นและประเทศ สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปลย่ี นแปลง ของโลกและดาราศาสตร์ มีจติ วทิ ยาศาสตร์และนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ิต ท่ี หวั เรอื่ ง ตัว ชี้วดั เน้ือหา จำนวน (ช่วั โมง) 1 เทคโนโลยีชีวภาพ 1. อธิบายความหมายของ 1. ความหมายของเทคโนโลยี 40 เทคโนโลยชี ีวภาพ เทคโนโลยี ชวี ภาพ เทคโนโลยชี ีวภาพที่ ชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธ์ุ ใช้ในการขยายพันธ์ุ ปรบั ปรงุ ปรบั ปรุงพันธุ์ เพิ่มผลิต พันธุ์ เพ่มิ ผลิตของพชื ของพชื 2. การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพ 2. อธิบายความกา้ วหน้าของ เพม่ิ ผลติ ในด้านการเกษตร เทคโนโลยชี วี ภาพผลกระทบ การอตุ สาหกรรมอาหาร ของการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพ และการแพทย์ 3. ผลกระทบของการใช้ เทคโนโลยชี วี ภาพ 2 สารเสพติด 1. อธิบายความหมายของ 1. ความหมายของสารเสพติด สารเสพติด 2. อธบิ ายชนดิ ของสารเสพตดิ 2. ชนิดของสารเสพติด 3. อธบิ ายผลของสารเสพตดิ ตอ่ 3. ผลของสารเสพติดตอ่ การ การทำงานของระบบต่างๆ ทำงานของระบบตา่ งๆ ของร่างกาย ของรา่ งกาย 4. บอกวิธปี ้องกันและต่อตา้ น 4. การปอ้ งกนั และต่อตา้ น สารเสพติด สารเสพติด 50 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท ่ี หัวเร่ือง ตัว ช้วี ดั เนือ้ หา จำนวน (ช่ัวโมง) 3 พนั ธกุ รรม 1. อธบิ ายความหมาย และ 1. ความหมาย ความสำคญั ของ ความสำคญั ของพนั ธกุ รรม พนั ธุกรรม การขยายพนั ธ์ุ ความแตกต่างของการขยาย แบบอาศยั เพศและไม่อาศยั พันธแุ์ บบอาศยั เพศและไม่ เพศได ้ อาศัยเพศได้ 2. อธบิ ายวิธีการถา่ ยลักษณะ 2. การถา่ ยทอดลักษณะทาง ทางพนั ธกุ รรมและกฎ พนั ธุกรรมและกฎของเมนเดล ของเมนเดล 3. การนำความรู้ดา้ นพันธกุ รรม 3. บอกแนวทางการนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ ดา้ นพนั ธกุ รรมไปใช้ - การปรบั ปรงุ พนั ธ ุ์ ประโยชนใ์ นด้านต่างๆ - การสร้างพันธ์ุท่ีมี ความตา้ นทานโรค 4 ความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ 1. อธบิ ายความหมาย ความ 1. ความหมาย ความสำคญั สำคัญของความหลากหลาย ของความหลากหลาย ทางชีวภาพ ทางชวี ภาพ 2. อธิบายความหลากหลาย 2. ความหลากหลายทางชีวภาพ ทางชวี ภาพกับการดำรงชวี ติ กับการดำรงชวี ติ อย่างสมดุล อย่างสมดุล 3. ประโยชนแ์ ละโทษของความ 3. บอกประโยชนแ์ ละโทษของ หลากหลายทางชีวภาพตอ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ การดำรงชีวติ ของมนษุ ย ์ ต่อการดำรงชวี ิตของมนษุ ย์ 5 วงจรไฟฟ้าและอปุ กรณไ์ ฟฟ้า 1. อธบิ ายและปฏิบตั ิการ 1. หลกั การต่อวงจรไฟฟ้า ต่อวงจรไฟฟา้ ในบ้าน ในบ้าน และการออกแบบตดิ ต้งั อยา่ งปลอดภัย 2. อธบิ ายสมบัตขิ องส้ินสว่ น 2. การออกแบบและตดิ ตง้ั อเิ ล็กทรอนิกสเ์ บอ้ื งต้น วงจรไฟฟ้า และการใช้ประโยชน์ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 51 ตามหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชวี้ ดั เนื้อหา จำนวน (ชั่วโมง) 3. ช้นิ ส่วนอิเลก็ ทรอนิกส ์ - ตัวตา้ นทาน - ไดโอด - ไอซีทรานซิสเตอร ์ ฯลฯ 4. การประกอบวงจร อิเลก็ ทรอนิกสเ์ บอื้ งต้นและ การใช้ประโยชน์ 6 ระบบสรุ ิยะ 1. อธบิ ายระบบสุริยะกาแลก็ ซี 1. ระบบสุริยะ กาแล็กซีส่วน ส่วนประกอบและปฏิสมั พันธ์ ประกอบและปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบสุริยะ ภายในระบบสรุ ยิ ะ 2. อธบิ ายดาวเคราะหใ์ นระบบ 2. ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะ สุรยิ ะ 3. อธิบายกลมุ่ ดาวฤกษ์ใน 3. กลมุ่ ดาวฤกษใ์ นระบบสุริยะ ระบบสรุ ยิ ะ ปฏิสัมพนั ธแ์ ละ ปฏิสัมพันธแ์ ละผลกระทบ ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม ต่อสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชวี ติ ส่ิงมีชีวติ และการใชป้ ระโยชน์ และการใช้ประโยชน ์ 4. อธิบายการใชป้ ระโยชน์จาก 4. การใช้ประโยชน์จาก กล่มุ ดาวฤกษ์ กลุม่ ดาวฤกษ ์ 7 เทคโนโลยีอวกาศ 1. อธบิ ายความเป็นมา 1. ความเปน็ มา ประเภทและ ประเภทและความกา้ วหนา้ ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี ของเทคโนโลยอี วกาศ อวกาศ 2. ยกตัวอยา่ งการใช้เทคโนโลยี 2. การใช้เทคโนโลยีอวกาศ อวกาศในปจั จุบนั ในปจั จุบัน - การสำรวจอวกาศ วตั ถุ บนท้องฟ้า - การสำรวจสภาวะอากาศ - การสำรวจทรัพยากรธรรมชาต ิ - การสื่อสาร 52 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าส่หู ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำอธิบายรายวิชา อช22002 การพฒั นาอาชพี จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจทักษะในการพฒั นาอาชพี ทีต่ ัดสินใจเลือกบนพน้ื ฐานความรู้ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาดทีใ่ ชน้ วัตกรรม/เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม และประยกุ ต์ใชภ้ ูมปิ ญั ญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงานและโครงการธุรกิจ เพื่อพัฒนาอาชีพเข้าสู่ ตลาดการแข่งขันตามแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือสู่ความเขม้ แขง็ 3. มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียง ตอ่ การดำรงชีวติ และเหลือเงินออมตามศกั ยภาพ ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรื่องตอ่ ไปนี้ ความสำคัญ และประโยชน์ของการทำงาน การวางแผน การดำเนินชีวิตและครอบครัว กระบวนการ ทำงานเป็นกลุ่ม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลเก่ียวกับการทำงานจากแหล่งความรู้ต่างๆ หลักการ และวิธีการ แก้ปัญหาเพ่ือการดำรงชีวิตและครอบครัว กิจนิสัยในการทำงานเพ่ือชีวิตและครอบครัว ทักษะในงานอาชีพสุจริต ท่สี นใจ กระบวนการเขา้ ส่อู าชีพ การรวมกลมุ่ พัฒนาอาชพี รว่ มกับการบรหิ ารจดั การเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ความสำคัญและประโยชน์ของเทคโนโลยีที่มีต่อการทำงาน ธรรมชาติของเทคโนโลยี กระบวนการทาง เทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีเป็นกลยุทธ์ในการเพิ่มและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ เจตคติท่ีดีต่อการนำเทคโนโลยี มาใช้ ผลดีของการผลิตและผลเสียของการเป็นผู้บริโภคเทคโนโลยี การออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์หรือวิธีการ ทดสอบ ปรับปรุง แก้ไข ประเมนิ ผลและเสนอแนวคดิ กระบวนการเทคโนโลยี เทคโนโลยีในการทำงาน และการเลอื กใช ้ เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ให้เหมาะสมต่อชีวติ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม และงานอาชพี หลักการทำงาน บทบาท และประโยชน์ของระบบคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล และระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ความรู้พื้นฐานทางดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ การประมวลข้อมูลใหเ้ ป็นสารสนเทศ หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการทำโครงงานท่ีมีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การคน้ หาข้อมลู ความรู้ และตดิ ต่อสอ่ื สารผา่ นคอมพิวเตอร์ หรอื เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสม การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างช้ินงานหรือโครงงานจากจินตนาการ หรอื งานทที่ ำในชวี ติ ประจำวนั อย่างมีจติ สำนึกและมคี วามรับผิดชอบ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษา แลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการทำงาน การรวมกลุ่ม การแก้ปัญหา ศึกษากิจกรรม ในอาชีพ กำหนดแนวทางการดำเนินงาน เขียนโครงการประกอบอาชีพ ดำเนินงานตามโครงการ จดบันทึก ผลการดำเนินงาน มีการบริหารจัดการเป็นวิสาหกิจชุมชน โดยมีการใช้กระบวนการเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับ การประกอบอาชีพของตนเอง การวัดและประเมินผล ประเมินจากสภาพจริง ผลงานปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนร ู้ ความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติงาน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 53 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ ส่หู ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า อช22002 การพัฒนาอาชพี จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจทักษะในการพฒั นาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกบนพนื้ ฐานความรู้ กระบวนการผลติ กระบวนการตลาดที่ใช้นวตั กรรม/เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม และประยุกตใ์ ช้ภูมิปัญญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงานและโครงการธุรกิจ เพ่ือพัฒนาอาชีพเข้าส ู่ ตลาดการแขง่ ขนั ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อสู่ความเข้มแข็ง 3. มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาอาชีพ ให้ผลิตภัณฑ์หรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียง ต่อการดำรงชวี ิต และเหลอื เงินออมตามศกั ยภาพ ที่ หัวเรื่อง ตัว ชว้ี ัด เนือ้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การวางแผนการดำเนินชีวติ สามารถวิเคราะห์งาน วางแผน 1. การวิเคราะหแ์ ละวางแผน 5 และครอบครัว การดำเนินงาน ปฏิบตั งิ าน การดำเนินงานเกยี่ วกบั ตามแผนการตรวจสอบระหว่าง งานบา้ น งานเกษตร การปฏิบตั ิงาน การประเมนิ งานช่าง งานประดษิ ฐ์ และปรบั ปรุงการดำเนนิ งาน และงานธุรกิจ 2. การจัดทำแผนการดำเนินงาน เพอ่ื การดำรงชีวิตและ ครอบครวั 3. การปฏบิ ัตงิ านตามแผน เพ่อื การดำรงชวี ติ และ ครอบครวั 4. การประเมนิ และปรับปรงุ แผนการดำเนินงานเพอื่ การ ดำรงชวี ิตและครอบครัว 2 กระบวนการทำงานเปน็ กลุม่ สามารถทำงานในฐานะผ้นู ำ 1. บทบาทผู้นำ 2 สมาชิกกลมุ่ และใชว้ ิธกี ารทห่ี ลาก 2. บทบาทสมาชกิ กลุ่ม หลายในการสร้างสัมพนั ธภาพทีด่ ี 3. คณุ ธรรม จริยธรรมในการ ในกลมุ่ จริงใจต่อกัน ร่วมแรง ทำงานเปน็ กลุ่ม รว่ มใจกันทำงาน ยกยอ่ งเพือ่ น 4. การสรา้ งสัมพนั ธภาพทีด่ ี ร่วมงาน ในกลมุ่ 54 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สูห่ ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที่ หวั เรอ่ื ง ตัว ชีว้ ัด เน้ือหา จำนวน (ช่ัวโมง) 3 การวิเคราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ มลู 2 เกย่ี วกบั การทำงาน จากแหล่ง ข้อมลู เกี่ยวกบั การทำงานจาก เกีย่ วกบั การทำงานจากแหลง่ ความรตู้ า่ งๆ แหลง่ ความรตู้ า่ งๆ ความรตู้ ่างๆ 4 หลกั การและวิธีการแกป้ ญั หา สามารถวเิ คราะห์ปัญหา สาเหตุ 1. การวิเคราะห์ปญั หา 7 เพือ่ การดำรงชวี ิตและครอบครวั ของปัญหา สรา้ งทางเลือก 2. การหาสาเหตุของปญั หา ทีห่ ลากหลายใน การแก้ปัญหา 3. การหาทางเลอื กในการ ตัดสินใจเลือกแนวทาง แก้ปญั หา ท่ีเหมาะสมและแกป้ ัญหา 4. การตดั สินใจเลือกแนวทาง ตามแนวทางที่เลอื ก แกป้ ญั หา 5. การดำเนนิ การแกป้ ญั หา ตามทีต่ ัดสนิ ใจเลือก 5 กิจนสิ ยั ในการทำงานเพ่อื ชีวิต มคี วามมงุ่ มน่ั ทำงานจนเสร็จ 1. มีความม่งุ มนั่ ในการทำงาน 2 และครอบครัว เห็นคณุ คา่ ของการทำงาน ทำงาน ใหส้ ำเรจ็ อย่างมคี วามสขุ มีกิจนสิ ัยในการ 2. ทำงานด้วยความประณีต ทำงานดว้ ยความประณีต รอบคอบ ปลอดภยั และ รอบคอบ ปลอดภัยและสะอาด สะอาด 3. เห็นคุณคา่ ของกจิ นิสยั ทดี่ ี ในการทำงานเพือ่ ชีวติ และ ครอบครัว 6 ทักษะในอาชีพ มีทกั ษะในงานอาชีพสุจรติ 1. ความสำคัญและประโยชนข์ อง 15 ท่สี นใจ ซ่ึงเปน็ ไปตาม การมีอาชพี การวิเคราะห์ ความตอ้ งการของชุมชน ความต้องการอาชพี ของชุมชน และมกี ารใช้เทคนคิ วิธีการ 2. ศกึ ษากระบวนการบรหิ าร จัดการอย่างเปน็ ระบบ การจดั การ การผลติ ของอาชพี ท่สี นใจ และกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง 3. ฝึกทักษะงานอาชพี สจุ รติ ทสี่ นใจ 4. วางแผนและจัดทำโครงงาน เข้าส่อู าชพี แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 55 ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าส่หู ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท่ ี หวั เรอ่ื ง ตวั ช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ชวั่ โมง) 7 กระบวนการเข้าสู่อาชีพ มกี ระบวนการเขา้ สอู่ าชีพดว้ ย 1. หนา้ ทกี่ ารตลาด 15 การนำผลผลิตหรอื บรกิ ารเขา้ สู่ - แนวคิดการตลาด ตลาดให้เกิดรายได้สรา้ งและการ - การวิเคราะห์ตลาด พฒั นาตลาดให้มน่ั คง - การแบง่ ส่วนตลาด - หนา้ ท่กี ารตลาด 2. กลยทุ ธก์ ารตลาด - การศึกษาสภาพแวดล้อม ทางทางการตลาด - การวางแผนการตลาด - การจัดทำแผนกลยทุ ธ์ ทางการตลาด - การวิจยั การตลาดและ ขอ้ มูลการตลาด 3. ผู้บริโภค - พฤตกิ รรมผบู้ ริโภค - การเิ คราะห์พฤตกิ รรม ผบู้ ริโภค 4. การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ - กลยุทธใ์ นการพัฒนา ผลิตภัณฑ ์ - ขั้นตอนการพฒั นา ผลติ ภณั ฑ ์ 5. การจดั จำหนา่ ย - ชอ่ งทางการจดั จำหนา่ ย - ความจำเป็นในการจดั ต้งั ตวั แทนจำหนา่ ย - การควบคมุ ช่องทาง การจดั จำหนา่ ย - การส่งเสรมิ การจัด จำหนา่ ย 6. การทำโครงงานอาชพี 56 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเรือ่ ง ตัว ชว้ี ัด เนอื้ หา จำนวน (ชวั่ โมง) 8 การรวมกล่มุ พัฒนาอาชพี และ มีความสามารถรวมตัวเปน็ 1. พลังทางสงั คม 15 การบรหิ ารจดั การวสิ าหกจิ ชุมชน กลมุ่ พฒั นาอาชีพร่วมกนั บรหิ าร - การเห็นคุณคา่ ของการ จัดการเปน็ วิสาหกิจชมุ ชน ร่วมมอื กันของคนในชมุ ชน สร้างกลยทุ ธ์ทางการตลาดของ - การมภี ูมปิ ัญญา ตนเอง และยกระดับมาตรฐาน - ความเปน็ มิตรของคน คุณภาพเข้าสูต่ ลาดการแข่งขัน ในชุมชน 2. การรวมกลมุ่ พัฒนาอาชพี - การรวมกลุ่มกนั สร้าง ความรู้และการใช้ความรู้ 3. ความยัง่ ยนื ของชมุ ชน - ความยงั่ ยนื ของเศรษฐกจิ สิง่ แวดลอ้ มและสังคม 4. องค์ประกอบความยัง่ ยืน ของชุมชน - การจัดต้งั องคก์ รชุมชน ความรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ของชมุ ชน 5. การสรา้ งเศรษฐกิจชมุ ชน - การสรา้ งเศรษฐกิจ ระดบั พออยูพ่ อกนิ - การสรา้ งธุรกจิ ส่วนตวั (SMEs : Small and Medium Enterprises) - การสร้างวิสาหกจิ ชมุ ชน (CE : Community Enterprises) 6. การบริหารวิสาหกิจชุมชนดว้ ย - ความซาบซ้ึงคณุ ค่า ในวิสาหกิจชุมชน - การสรา้ งนโยบาย - การปฏสิ ัมพนั ธต์ ่างๆ - การควบคุมสกู่ ารกระทำ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น 57 ตามหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท ี่ หวั เร่ือง ตวั ช้วี ดั เนื้อหา จำนวน (ชว่ั โมง) 9 การออกแบบ และเทคโนโลยี 1. อธิบายธรรมชาตขิ อง 1. ธรรมชาติของเทคโนโลยี 10 เทคโนโลยี 1.1 ความหมายของ เทคโนโลย ี 1.2 ววิ ฒั นาการของ เทคโนโลยี 1.3 ระดับของเทคโนโลยี 1.4 การจดั กลมุ่ ของ เทคโนโลย ี 1.5 ความสัมพันธ์ระหวา่ ง เทคโนโลยีกับสาขาวชิ า อื่นๆ 1.6 ประโยชนแ์ ละผลกระทบ ของเทคโนโลย ี 2. อธิบายกระบวนการ 2. กระบวนการทางเทคโนโลยี เทคโนโลยโี ดยสามารถ ในการออกแบบผลติ ภณั ฑ์ 2.1 ช้ี บ่ง ระบุ จำแนกปญั หา หรอื วิธกี ารเพอ่ื การแก้ปญั หา ท่ีเกิดข้นึ และใช้เกณฑ์ หรอื สนองความต้องการ เพื่อตรวจสอบความ ในการดำรงชวี ิตทีด่ ีข้นึ สำเรจ็ ของการแกป้ ญั หา 2.2 ออกแบบ นำเสนอและ เปรยี บเทียบวิธีการ ทีห่ ลากหลายในการ แก้ปญั หา โดยคำนึงถงึ วสั ดุ และเครื่องมอื ทีม่ ีอยู่ ความคุ้มคา่ และความปลอดภัย 2.3 เลอื กแบบหรอื วธิ กี าร ทเี่ หมาะสม เพ่ือสรา้ ง ตน้ แบบหรอื สถานการณจ์ ำลอง 58 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเรื่อง ตวั ช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน (ช่วั โมง) 2.4 ทดสอบตน้ แบบโดยใช้ วสั ดุ อปุ กรณท์ าง เทคโนโลยีท่อี ยู่ และ บันทกึ ข้อมลู การทดสอบ ภายใตก้ รอบท่กี ำหนด การปรบั ปรงุ แก้ไข 2.5 ประเมินผลการทดสอบ ภายใต้กรอบของเกณฑ์ ท่ีกำหนด บนั ทึกสาเหตุ ของการผดิ พลาด คลาดเคลอื่ น และเสนอ แนะการปรับปรงุ แกไ้ ข 2.6 เสนอแนวคิด กระบวนการและผลงาน 3. ใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ กลยุทธใ์ น 3. การใช้เทคโนโลยีเปน็ การเพิม่ และพัฒนาคุณภาพ กลยุทธใ์ นการเพมิ่ และ ผลิตภัณฑไ์ ด ้ พัฒนาคณุ ภาพผลิตภณั ฑ ์ 4. มีเจตคติที่ดตี อ่ การนำ 4. เจตคตทิ ด่ี ีตอ่ การนำ เทคโนโลยีมาใช้ และการเปน็ เทคโนโลยมี าใช้ ผลดีของการ ผผู้ ลติ เทคโนโลยีมากกวา่ เป็นผูผ้ ลิตเทคโนโลยี ผลเสีย เป็นผ้บู ริโภค ของการเปน็ ผูบ้ รโิ ภคเทคโนโลย ี 5. ออกแบบและสรา้ งผลิตภณั ฑ์ 5. ออกแบบและสร้างผลิตภณั ฑ์ หรอื วธิ กี ารทดสอบ ปรับปรุง หรอื วธิ ีการทดสอบ ปรับปรุง แก้ไข ประเมนิ ผล และเสนอ แกไ้ ข ประเมินผล และเสนอ แนวคิดกระบวนการและ แนวคิดกระบวนการและ แผนงานอย่างคมุ้ คา่ ถูกวธิ ี แผนงานอยา่ งคุ้มคา่ ถกู วิธี และปลอดภัย ยอมรับความ และปลอดภัย ยอมรบั ความ คิดเห็นและผลงานของผู้อนื่ คิดเหน็ และผลงานของผอู้ น่ื 6. เลือกใช้เทคโนโลยอี ย่าง 6. การเลือกใช้เทคโนโลย ี สรา้ งสรรคต์ ่อชีวิต สงั คม 6.1 การวิเคราะห์เปรียบ ส่งิ แวดล้อมและงานอาชีพ เทยี บผลติ ภัณฑ์ หรอื วธิ ีการทไ่ี ด้จากเทคโนโลย ี แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น 59 ตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชวี้ ดั เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ในประเทศ ด้านคุณภาพ รูปแบบ วสั ดุ ความสะดวกในการ ใช้ ความคุ้มคา่ 6.2 ข้อดี ข้อเสยี และผล ท่ีได้รับต่อสังคม และ สงิ่ แวดลอ้ ม 6.3 การตดั สนิ ใจเลือกและใช้ เทคโนโลยที ี่มผี ลต่อชวี ิต สงั คม และส่ิงแวดล้อม ในทางสรา้ งสรรค ์ 10 การใชเ้ ทคโนโลยใี นการทำงาน วางแผน เลอื กใชเ้ ทคโนโลย ี 1. เทคโนโลยเี พื่อการทำงาน 5 อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม และอาชีพ กับงาน กับงาน - เทคโนโลยกี ารทำงาน - เทคโนโลยีการผลิต - เทคโนโลยกี ารออกแบบ - เทคโนโลยกี ารแกป้ ญั หา 2. การเลอื กใชเ้ ทคโนโลย ี ในการทำงาน - เลอื กใช้เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology) ในการทำงาน 3. การวางแผนการทำงานและ กำหนดตารางปฏิบัติงาน 11 เทคโนโลยสี ารสนเทศ อธิบาย หลักการทำงาน บทบาท หลักการทำงาน บทบาท 2 ในงานอาชพี และประโยชน์ ของระบบ และประโยชนข์ องระบบ คอมพวิ เตอร ์ คอมพวิ เตอร ์ 60 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ท่ ี หวั เรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนื้อหา จำนวน (ชั่วโมง) อธบิ าย หลกั การเบื้องตน้ ของการ หลกั การเบ้อื งต้นของการ 2 สื่อสารข้อมลู และระบบเครือขา่ ย สอื่ สารข้อมูลและระบบเครือขา่ ย คอมพวิ เตอร ์ คอมพิวเตอร์ อธบิ าย ความรู้พน้ื ฐานทางดา้ น ความรู้พื้นฐานทางดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2 ประมวลผลข้อมลู การประมวลผลข้อมลู ให้เปน็ สารสนเทศ ใหเ้ ปน็ สารสนเทศ 6 อธิบาย หลักการ และวธิ กี าร หลกั การ และวธิ กี ารแกป้ ัญหา แก้ปัญหาดว้ ยกระบวนการทาง ดว้ ยกระบวนการทางเทคโนโลยี 2 เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ อธบิ าย หลักการทำโครงงานทีม่ ี หลักการทำโครงงานท่มี ี การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ค้นหาข้อมลู ความรู้และติดตอ่ การคน้ หาขอ้ มลู ความรแู้ ละติดต่อ สอ่ื สารผา่ นคอมพวิ เตอร์หรอื ส่อื สารผ่านคอมพิวเตอรห์ รอื 2 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร ์ และฝึกปฏบิ ตั ิ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนอ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5 งานในรปู แบบทเ่ี หมาะสม นำเสนองานในรปู แบบทเ่ี หมาะสม ใช้คอมพิวเตอร์ ชว่ ยสร้างช้นิ งาน จ ดั ทำโครงงาน/สร้างชิ้นงาน 15 หรอื โครงงานจากจินตนาการ จากจินตนาการ หรืองานทท่ี ำ หรอื งานท่ีทำในชวี ติ ประจำวนั ในชวี ติ ประจำวันอ่างมีจติ สำนึก อย่างมีจิตสำนกึ และมคี วาม และมีความรบั ผิดชอบ รับผดิ ชอบ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน 61 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสูห่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำอธิบายรายวิชา ทช22005 การสรา้ งเสริมสุขภาพและการออกกำลงั กาย จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เขา้ ใจ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เจตคตทิ ี่ดี มที ักษะในการดแู ลและสร้างเสริมการมีพฤตกิ รรมสขุ ภาพที่ดี ปฏบิ ตั จิ นเป็นกจิ นิสยั หลีกเล่ียงพฤติกรรมเสย่ี งตอ่ สุขภาพ ตลอดจนส่งเสริมสุขภาพพลานามยั และสภาพแวดลอ้ มทดี่ ี ในชมุ ชน ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรื่องตอ่ ไปนี้ บทบาทหน้าที่และความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว การวางแผนชีวิตและครอบครัว การต้ังครรภ์ และการดูแลสุขภาพและโภชนาการ ทักษะท่ีจำเป็นต่อชีวิต ค่านิยมเกี่ยวกับชีวิตครอบครัวและพฤติกรรมทางเพศ พัฒนาการทางเพศและการปรับตัวท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย การสร้างสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างเพศ ความสัมพันธ์ ทางเพศ สุขอนามัยทางเพศ การจัดการกับอารมณ์ และความต้องการทางเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้แก ่ โรคเอดส์ ซฟิ ิลสิ หนองใน ฯลฯ วิธหี ลีกเลีย่ งและการปอ้ งกนั โรค สภาพแวดลอ้ มกบั การส่งเสรมิ วิธีจดั สภาพแวดลอ้ มของครอบครวั ทีเ่ อื้อต่อการพัฒนาพฤตกิ รรมสุขภาพ การป้องกันและหลีกเลี่ยงอาการผิดปกติทางกาย จิต สารเสพติด เอดส์ และโรคที่พบบ่อยในครอบครัวและชุมชน อาหารท่ีเหมาะสมกับวัยกลุ่มบุคคลต่างๆ อาหารเฉพาะโรค อาหารกับการออกกำลังกาย โรคท่ีเกิดจากการบริโภค อาหารที่ไมถ่ ูกหลักโภชนาการและสขุ าภิบาลอาหาร การเลือกใช้ ภมู ิปัญญาไทยเพอ่ื สขุ ภาพ ข้อมูลขา่ วสารผลิตภณั ฑ์ และบริการสุขภาพ สิทธิผู้บริโภคและกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง การวางแผนชีวิตเพื่อการมีสุขภาพที่ดี การตรวจสอบ และประเมินภาวะสุขภาพ การปรับพฤติกรรมสุขภาพ ความรู้เรื่องอารมณ์ และความเครียด ปัจจัยที่ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์และความเครียด วิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครียด ความหมาย และความ สำคัญข้อมูลสารสนเทศ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ วิธีแสวงหาและวิธีเลือกใช้ข้อมูลสารสนเทศ การสื่อสารเกี่ยวกับ สุขภาพ ความปลอดภัย การออกกำลังกายและการเล่นกีฬา ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของการมีสติ การประเมินระดับของการมีสติ รู้อารมณ์ เหตุผล วิธีการฝึกสติอย่างง่าย หลักและวิธีการทดสอบและสร้างเสริม สมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพตามมาตรฐาน หลักการและการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการเคลื่อนไหวแบบ ต่างๆ ความสำคัญของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การออกกำลังกาย และเล่นกีฬา เกณฑ์มาตรฐานในการทดสอบสมรรถภาพ หลักการ รูปแบบการออกกำลังกาย ประเภทของกิจกรรม พลศึกษา เกม และชนิดกีฬาต่างๆ การเคล่ือนไหว การออกกำลังกายและเล่นกีฬาตามหลักวิทยาศาสตร์ หลักการ ความสำคัญ และประโยชน์ของการออกกำลังกายและเล่นกีฬา กฎ กติกา และมารยาทในการเล่นเกมและกีฬา ประเภทต่างๆ กลวธิ ีการรกุ การป้องกนั และการตัดสินใจในการแข่งขนั กีฬาบุคคลและกฬี าทมี การแข่งขันดว้ ยความ มนี ้ำใจของนกั กฬี า 62 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาเอกสาร สื่อทุกประเภท วิเคราะห์ อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาจากสภาพจริง สาธิต ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า สรุป บันทึก ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทำชิ้นงาน/ผลงาน จัดแสดงนิทรรศการ ศกึ ษาดูงาน กจิ กรรมค่าย ฯลฯ การวัดและประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ชน้ิ งาน ผลงาน โดยวธิ กี าร ทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ์ ตรวจสอบ ประเมิน การปฏิบตั จิ รงิ และประเมนิ สภาพจรงิ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น 63 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า ทช22005 การสร้างเสริมสุขภาพ และการออกกำลังกาย จำนวน 3 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนร้รู ะดับ รู้ เขา้ ใจ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติทด่ี ี มที ักษะในการดแู ลและสรา้ งเสริมการมพี ฤติกรรมสุขภาพท่ีดี ปฏบิ ัตจิ นเปน็ กจิ นิสยั หลกี เล่ียงพฤตกิ รรมเสยี่ งต่อสขุ ภาพ ตลอดจนสง่ เสริมสขุ ภาพพลานามัยและสภาพแวดลอ้ มท่ีดี ในชุมชน จำนวน (ชวั่ โมง) ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด เน้อื หา 1 ชวี ติ และครอบครัวศกึ ษา อธิบายคุณคา่ ของสงั คมและ 1. บทบาทหน้าทแี่ ละความ 8 ครอบครัว ความเป็นเพื่อน สมั พันธ์ของสมาชกิ ใน ความเสมอภาคทางเพศ สามารถ ครอบครวั สรา้ งและรักษาสัมพันธภาพ 2. การวางแผนชวี ิตและครอบครัว กบั ผู้อื่น 3. การตั้งครรภแ์ ละการดูแล สุขภาพและโภชนาการ 4. ทักษะท่ีจำเปน็ ตอ่ ชีวติ 4.1 การสรา้ งสมั พนั ธภาพ และการรกั ษาสมั พนั ธภาพ 4.2 การตัดสินใจและ การแกป้ ญั หาชีวติ 5. ค่านิยมเกีย่ วกบั ชวี ิตครอบครวั และพฤตกิ รรมทางเพศ 2 เพศศึกษา 1. อธิบายการเปล่ียนแปลงทาง 1. พัฒนาการทางเพศและ 5 รา่ งกาย อารมณแ์ ละพฒั นาการ การปรับตัวทเ่ี หมาะสม ทางเพศและสามารถปรบั กบั เพศ และวัย ตัวอย่างเหมาะสม 2. อธบิ ายเรื่องอนามยั การเจรญิ พนั ธ ์ ุ 2. การสร้างสัมพันธภาพทด่ี ี และวิธีปฏบิ ัติตนเพื่อสขุ ภาพดี ระหว่างเพศ 3. ความสัมพันธ์ทางเพศ 4. สุขอนามัยทางเพศ 3. อธบิ ายทกั ษะในการจดั การ 5. การจัดการกับอารมณ์และ กับอารมณแ์ ละความตอ้ งการ ความตอ้ งการทางเพศ ทางเพศ 64 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท ่ี หัวเรอ่ื ง ตัว ช้วี ดั เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 3 โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ อธิบายความเสย่ี งต่อการติดโรค โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ ์ 5 ทางเพศสมั พันธ์ที่มอี ันตราย 1. โรคเอดส์ ซิฟลิ ิส หนองใน ถึงชวี ิต ฯลฯ 2. วธิ ีหลีกเลยี่ งและการปอ้ งกัน โรค 4 สุขภาพกบั สง่ิ แวดล้อม สามารถวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ 1. สภาพแวดล้อมกบั การส่งเสรมิ 5 ระหว่างพฤติกรรมสุขภาพ พฤตกิ รรมสุขภาพ การป้องกนั โรค การดำรงสขุ ภาพ 2. วธิ จี ัดสภาพแวดล้อมของ และมีส่วนร่วมในการดูแลสขุ ภาพ ครอบครัวทเ่ี ออ้ื ตอ่ การพฒั นา ของชมุ ชนและส่งิ แวดล้อม พฤติกรรมสุขภาพ 5 การป้องกนั และหลกี เล่ียง บอกวธิ กี ารปอ้ งกนั และหลกี เลี่ยง ก ารป้องกันและหลีกเลยี่ งอาการ 5 อาการผดิ ปกติทางกาย จิต ผดิ ปกติทางกาย จิต สารเสพติด อาการผิดปกติทางกาย จติ สารเสพตดิ เอดสแ์ ละโรคท่ีพบบ่อย เอดส์ และโรค ทพ่ี บบอ่ ยใน สารเสพตดิ เอดส์ และโรคที่พบ ในครอบครัวและชมุ ชน ครอบครวั และชุมชน บอ่ ยในครอบครัวและชมุ ชน สามารถวางแผนและปฏิบัติตน 1. อาหารที่เหมาะสมกบั วยั กลมุ่ 7 6 อาหารและโภชนาการ ในการบรโิ ภคอาหาร บุคคลต่างๆ เชน่ ผู้ป่วย ออกกำลงั กาย การพกั ผ่อน คนชรา หญิงมคี รรภ์ นักกฬี า การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย เป็นต้น และอาหารเฉพาะโรค ไดอ้ ย่างเหมาะสม 2. อาหารกบั การออกกำลงั กาย 3. โรคทเ่ี กดิ จากการบริโภค อาหารท่ีไมถ่ กู หลักโภชนาการ และสุขาภิบาลอาหาร สามารถวเิ คราะหป์ ญั หาท่ีเกิดจาก 1. การเลอื กใช้ภมู ิปญั ญาไทย 10 7 สุขภาพผบู้ รโิ ภค ภาวะโภชนาการทีม่ ีผลกระทบตอ่ เพ่อื สุขภาพ สขุ ภาพ 1.1 การเลือกใช้สมุนไพร ในท้องถน่ิ 1.2 การเลือกใช้ยาสมุนไพร ในทอ้ งถิน่ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรยี น 65 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ท ี่ หัวเรอ่ื ง ตวั ช้ีวัด เนื้อหา จำนวน (ชว่ั โมง) 1.3 ผลติ ภณั ฑจ์ ากสมนุ ไพร ในท้องถนิ่ 2. ข้อมูลขา่ วสารผลิตภณั ฑ ์ และบริการสขุ ภาพ 3. สทิ ธิผู้บรโิ ภคและกฎหมาย ทีเ่ กย่ี วข้อง 8 การบริหารจดั การชีวติ อภบิ ายคุณคา่ และความสำคัญ การวางแผนชีวิตเพือ่ การมสี ุขภาพ 8 เพ่ือสขุ ภาพ ของภาวะสมดลุ ระหว่างสุขภาพ ทด่ี ี กาย และสขุ ภาพจิต 1. หลกั โภชนาการ 2. การออกกำลังกายให้เหมาะสม กับวัย และสภาพรา่ งกาย 9 การจัดการกบั อารมณแ์ ละ มที กั ษะการจดั การเกบ็ อารมณ์ 1. ความร้เู ร่อื งอารมณ ์ 7 ความเครียด ความเครยี ด และการฝึกจิต และความเครยี ด 2. ปจั จยั ที่ทำให้เกดิ การ เปล่ยี นแปลงทางอารมณ์ และความเครยี ด 3. วิธีการจดั การกบั อารมณ ์ และความเครียด 10 ขอ้ มูล สารสนเทศ และ 1. สามารถเลอื กใช้ข้อมลู ข่าวสาร 1. ความหมาย และความสำคัญ 5 การสื่อสารด้านสุขภาพ และบริการสุขภาพ ขอ้ มูลสารสนเทศ ความปลอดภยั การออกกำลังกาย ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ และการเล่นกฬี า 2. สามารถส่อื สารเกยี่ วกับ ดา้ นสุขภาพ ความปลอดภัย สขุ ภาพ ความปลอดภัย การออกกำลงั กายและ การออกกำลงั กายและ การเลน่ กฬี า การเล่นกฬี า 3. วิธีแสวงหาและวิธีเลือกใช้ ขอ้ มลู สารสนเทศด้านสุขภาพ ความปลอดภัย การออกกำลงั กายและ การเล่นกีฬา 66 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท่ ี หวั เร่อื ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชั่วโมง) 4. การสอื่ สารเกย่ี วกับสขุ ภาพ ความปลอดภยั การออกกำลังกายและ การเล่นกีฬา 11 การมสี ต ิ 1. อธบิ ายความหมาย 1. ความหมาย ความสำคัญ 8 ความสำคัญ และประโยชน์ และประโยชนข์ องการมีสต ิ ของการมีสติ 2. สามารถประเมนิ ระดบั ของ 2. การประเมินระดบั ของการ การมีสติ ร้อู ารมณ์ เหตผุ ล มีสติ รู้อารมณ์ เหตุผล 3. สามารถฝกึ สต ิ 3. วิธีการฝกึ สตอิ ยา่ งง่าย 12 การทดสอบและสรา้ งเสริม สามารถทดสอบสมรรถภาพ หลกั และวิธกี ารทดสอบและ 7 สมรรถภาพทางกายเพื่อสขุ ภาพ ทางกาย เพื่อสุขภาพและ สร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกลไก เพ่ือสขุ ภาพตามมาตรฐาน 13 การเคล่อื นไหวการออกกำลงั กาย 1. สามารถแสดงการ 1. หลกั การและการเสรมิ สรา้ ง 10 และเล่นกีฬาตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ เคลื่อนไหวท่ใี ช้ทักษะกลไก ประสิทธิภาพของการ ทักษะการเคล่ือนไหวแบบตา่ งๆ เปน็ พื้นฐาน และนำไปสู่การ เคล่อื นไหวแบบตา่ งๆ เช่น เคลื่อนไหวที่มีรปู แบบเฉพาะ กิจกรรมเข้าจงั หวะ ในกจิ กรรมทางกาย เกม กฬี าไทย และกฬี าสากล 2. สามารถวิเคราะห์ 2. การเคลื่อนไหว ประสิทธภิ าพของรปู แบบการ การออกกำลังกาย เคล่อื นไหวต่างๆ ในการเลน่ และเลน่ กฬี าตามหลัก กีฬาและการทำงานในชีวิต วิทยาศาสตร์ ประจำวนั 3. บอกทักษะการเคลือ่ นไหว ท่ีมรี ูปแบบเฉพาะในกิจกรรม ทางกาย เกม กฬี าไทยและ กฬี าสากล แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน 67 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเรื่อง ตวั ชี้วัด เนอ้ื หา จำนวน (ชั่วโมง) 14 การทดสอบและสร้างเสรมิ บอกหลกั การทดสอบและสรา้ ง 1. หลกั การและวิธีการสร้างเสรมิ 10 สมรรถภาพทางกาย เสรมิ สมรรถภาพทางกาย เพ่อื สมรรถภาพทางกาย การออกกำลงั กายและเล่นกีฬา การออกกำลงั กาย และเล่นกฬี า 2. เกณฑ์มาตรฐานในการ ทดสอบสมรรถภาพ 15 การออกกำลังกาย การเล่นเกม 1. อธบิ ายหลกั การ ความสำคญั 1. หลักการ ความสำคัญ 20 และกีฬาประเภทบุคคลและทมี และประโยชน์ของการออก และประโยชนข์ อง กำลังกายและการเล่นกฬี า การออกกำลังกาย 2. สามารถจำแนกและปฏิบัติ การเล่มเกมและกีฬา ตามกฎ กติกา เพื่อความ 2. ประเภทของกิจกรรม ปลอดภัยและความสันติใน พลศึกษา เกม และชนิดกีฬา การเลน่ และการแข่งขันกีฬา ตา่ งๆ 3. สามารถประยกุ ต์ใชก้ ลวิธกี าร 2.1 ฟุตบอล รุก การปอ้ งกนั และการให้ 2.2 ตะกร้อ ความร่วมมอื ในการเลน่ 2.3 วอลเลย์บอล การแข่งขันกีฬาและการ 2.4 แชรบ์ อล ทำงานเป็นกลมุ่ ไดอ้ ยา่ ง 2.5 เปตอง ฯลฯ เหมาะสม 3. กฎ กตกิ า และมารยาท 4. สามารถเลน่ และแข่งขนั กีฬา ในการเลน่ เกมและกีฬา ด้วยความมีนำ้ ใจนกั กีฬา ประเภทต่างๆ และเหน็ ประโยชนข์ อง 4. กลวธิ ีการรกุ การป้องกนั การทำงานเป็นกลมุ่ และ และการตัดสนิ ใจในการ ใชเ้ ปน็ แนวปฏิบตั ใิ นการ แขง่ ขนั กีฬาบุคคลและกฬี าทมี ดำเนนิ ชวี ิต 5. การแข่งขนั ดว้ ยความมนี ำ้ ใจ ของนักกีฬา 68 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
คำอธิบายรายวิชา ทช22006 ศิลปศึกษา จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ทางทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศลิ ปไ์ ทย และสามารถวเิ คราะห์วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ได้อยา่ งเหมาะสม ศึกษาและฝึกทักษะเกีย่ วกบั เรื่องตอ่ ไปนี้ การส่ือความคิด จินตนาการ ความรู้สึก และความประทับใจ ความสร้างสรรค์งานทัศนศิลป ์ การใช้กระบวนการสร้างงานทัศนศิลป์ ความหมาย และการจำแนก ความแตกตา่ งของงานทศั นศลิ ป์ การนำความรู้ เกี่ยวกับทัศนศิลป์ไปใช้ในหมวดวิชาอื่นๆ และในชีวิตประจำวัน ความเชื่อทางวัฒนธรรมต่องานทัศนศิลป์ และการมีสว่ นรว่ มในการสร้างงานทัศนศิลป ์ เครื่องดนตรีชนิดต่างๆ การขับร้องและบรรเลงดนตรี การใช้และการเก็บรักษาเครื่องดนตรี ความแตกต่าง ขององค์ประกอบ และความไพเราะของเครอื่ งดนตรี ความเชือ่ ทางวฒั นธรรมท่ีมอี ทิ ธพิ ลต่อดนตรี การจินตนาการในการแสดงออกสื่อเร่ืองราว และความรู้สึก นาฏศิลป์ในรูปแบบต่างๆ การเลือกและ ประยุกต์ใช้องค์ประกอบของนาฏศิลป์มาใช้ในการแสดง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์นาฏศลิ ป์ในเร่ืองการสื่อความคดิ และ คุณค่าความงาม การนำหลักการทางละครและนาฏศิลป์ไปใช้ในการเรียนรู้กับหมวดวิชาอ่ืนๆ และในชีวิตประจำวัน ความเชอื่ ทางวฒั นธรรมทีม่ ตี อ่ นาฏศิลป์ การจัดประสบการณ์การเรียนร้ ู ศึกษาจากเอกสาร ผู้รู้ แลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกันและกัน ฝึกทักษะเกี่ยวกับทัศนศิลป์ จดบันทึก สรุปองค์ความรู้ และนำความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้เรียนรู้ ในหมวดวิชาอ่ืนๆ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน อยา่ งสร้างสรรค ์ การวดั และประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความคิดเหน็ ช้นิ งาน ผลงาน โดยวิธกี ารทดสอบ สงั เกต สัมภาษณ์ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 69 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธิบายรายวชิ า ทช22006 ศิลปศกึ ษา จำนวน 3 หนว่ ยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณค่าความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อม ทางทศั นศลิ ป์ ดนตรี และนาฏศลิ ป์ไทย และสามารถวเิ คราะหว์ พิ ากษ์ วจิ ารณ์ ได้อย่างเหมาะสม ที่ หัวเรือ่ ง ตัว ช้ีวดั เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 ทศั นศลิ ป ์ 1. อธิบายการสื่อความคิด 1. การส่ือความคิด จินตนาการ 2 จินตนาการ ความรสู้ กึ ความร้สู ึก และความประทับใจ ความประทบั ใจดว้ ยวสั ดแุ ละ ในการสร้างสรรค ์ เทคนคิ วิธีการทางทัศนศลิ ป์ งานทัศนศลิ ป ์ 2. ส่อื ความหมายให้ผู้อ่ืนรับรู้ 2. วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการสรา้ งงาน ทัศนศิลป ์ 3. การสื่อความหมายให้ผอู้ นื่ รบั ร ู้ มคี วามสร้างสรรคง์ านทศั นศิลป์ 1. การคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค ์ 3 ด้วยการคดิ ริเรม่ิ ดัดแปลงการใช้ ในงานทศั นศลิ ป ์ ทศั นธาตุ องคป์ ระกอบทางทัศนศลิ ป์ 2. องคป์ ระกอบทางทัศนศิลป์ เทคนิค วธิ ีการ และรูปแบบใหมๆ่ 3. เทคนคิ วิธกี ารรปู แบบใหมๆ่ ตามความถนดั และความสนใจ ในงานทศั นศิลป์ ใช้กระบวนการสร้างงานทัศนศลิ ป์ 1. กระบวนการสร้างงานทัศนศลิ ป ์ 17 การประยุกต์ใช้สอื่ วสั ดุ อปุ กรณ์ 2. การประยุกต์ใชส้ ื่อ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยใี นการสรา้ ง ทางศลิ ปะ การใชเ้ ทคโนโลยี งานทศั นศลิ ป์ ได้อย่างเหมาะสม ในการสรา้ งสรรค ์ และมีความรบั ผิดชอบ งานทัศนศลิ ป ์ แสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับความ ค วามหมายของงานทัศนศลิ ป์ 2 หมาย และการจำแนกความแตก ความแตกต่างของงานทัศนศลิ ป์ ต่างของงานทัศนศิลปเ์ ก่ียวกับ เกี่ยวกับทัศนธาตุ และความงาม ทศั นธาตุ และความงามของศิลปะ ของศลิ ปะ 70 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ที่ หัวเร่อื ง ตวั ช้ีวัด เน้ือหา จำนวน (ช่วั โมง) นำความรแู้ ละวธิ กี ารประสบการณ ์ 1. การนำความรูแ้ ละวธิ กี าร 10 ทางทศั นศิลปท์ ่ตี นถนัด และ ประสบการณท์ างทศั นศลิ ป ์ สนใจไปใชก้ ับวิชาอืน่ ๆ และใน ท่ีตนถนัด และสนใจไปใช้ใน ชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม การเรียนรกู้ บั หมวดวชิ าอืน่ 2. การนำความรู้ และวิธีการ ทางทศั นศิลปไ์ ปใช้ในชีวิต ประจำวนั อธิบายความเชอื่ ทางวฒั นธรรม 1. ความเช่ือทางวฒั นธรรม 3 ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อการสรา้ งงาน 1.1 ศาสนา ทัศนศลิ ป์ 1.2 พธิ กี รรม 1.3 ขนบธรรมเนียมประเพณี 1.4 วิถีชวี ติ 2. อิทธิพลความเชอ่ื ท่ีมตี อ่ การ สร้างงานทศั นศลิ ป์ มสี ว่ นร่วมในการสร้างงานทศั น การมีสว่ นร่วมในการสรา้ งงาน 3 ศลิ ปท์ ี่สะทอ้ นวฒั นธรรม ทศั นศลิ ป์ทสี่ ะท้อนวฒั นธรรม ภูมิปัญญาไทยและสากล และภูมปิ ญั ญาไทยและสากล 2 ดนตรี เครอื่ งดนตรชี นดิ ตา่ งๆ ทใ่ี ช้ใน 1. เครือ่ งดนตรีชนดิ ตา่ งๆ ที่ใช้ 2 การผสมวง และทำใหเ้ กิด ในการผสมวง วงดนตรปี ระเภทตา่ งๆ ระบุได้วา่ 2. ประเภทของวงดนตร ี ดนตรมี อี ทิ ธิพลต่อจติ ใจและ 3. อิทธิพลของดนตรีทีม่ ตี อ่ จติ ใจ ความรสู้ กึ ของบคุ คล และความรู้สกึ ของบคุ คล ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรี โดย 1. หลักการขับรอ้ ง 20 เลือกและประยุกต์ใชอ้ งค์ประกอบ 2. การฝึกปฏิบตั ิขบั รอ้ ง และเทคนิค ทางดนตรใี หไ้ ด้ผล 3. หลกั การบรรเลงดนตร ี ตามความตอ้ งการ 4. การฝึกปฏบิ ตั บิ รรเลงดนตรี แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 71 ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สู่หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที่ หัวเรือ่ ง ตวั ชว้ี ัด เนื้อหา จำนวน (ชวั่ โมง) ใช้และเก็บรกั ษาเคร่อื งดนตรี การใชแ้ ละการเก็บรกั ษา 5 อยา่ งระมดั ระวังและมคี วาม เครื่องดนตรี รับผิดชอบ แสดงความคดิ เห็นและจำแนก 1. ความแตกตา่ งเกีย่ วกับ 5 ความแตกตา่ งเร่ืององค์ประกอบ องค์ประกอบและความไพเราะ และความไพเราะของดนตร ี ของดนตร ี ตามหลกั การทางดนตร ี 2. การแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั องค์ประกอบและ ความไพเราะของดนตร ี สร้างสรรค์ทางดนตรีและนำ 1. การสร้างสรรคท์ างดนตร ี 5 ความรทู้ างดนตรีไปใชก้ บั หมวด 2. การนำความรทู้ างดนตรไี ปใช้ วิชาอน่ื ๆ และในชีวิตประจำวัน ในการเรียนรกู้ ับหมวดวชิ า อื่นๆ และในชีวติ ประจำวัน อธิบายความเชือ่ ทางวฒั นธรรม ความเชอ่ื ทางวฒั นธรรมท่ีมี 3 ท่ีมอี ทิ ธพิ ลต่อดนตรี อิทธพิ ลตอ่ ดนตร ี 3 นาฏศลิ ป ์ ใชจ้ ินตนาการในการแสดงออก 1. การสอื่ เรื่องราวท่อี ยูใ่ นละคร 5 ส่อื เรือ่ งราว ความคดิ และ โดยใชท้ กั ษะพืน้ ฐานด้านการละคร ความร้สู กึ ท่อี ยใู่ นละครโดยผ่าน 2. การสื่อความคิดท่อี ยู่ในละคร ทกั ษะระดับพืน้ ฐานดา้ น โดยใช้ทกั ษะพืน้ ฐานดา้ นการละคร การละคร 3. การสอื่ ความรู้สกึ ทม่ี ีอยูใ่ นละคร โดยใช้ทกั ษะพืน้ ฐานด้านการละคร แสดงออกทางนาฏศลิ ปร์ ปู แบบ 1. ความร้พู ้ืนฐานเกี่ยวกบั การ 5 ต่างๆบนพน้ื ฐาน ความงาม แสดงนาฏศลิ ป์รปู แบบตา่ งๆ 2. การฝึกปฏบิ ัติทางด้าน นาฏศิลปบ์ นพ้นื ฐาน ความงาม 72 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที ่ หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หา จำนวน (ชัว่ โมง) เลือกและประยกุ ตใ์ ช้องคป์ ระกอบ 1. การเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบของ 15 ของนาฏศลิ ปม์ าใชใ้ นการแสดง นาฏศลิ ปม์ าใช้ในการแสดง 2. การประยกุ ต์ใช้องค์ประกอบ ของนาฏศลิ ปม์ าใช้ในการแสดง วเิ คราะห์ วจิ ารณ์นาฏศิลป ์ 1. การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์นาฏศิลป ์ 5 ในเร่ืองการสื่อความคิดและ ในเร่ืองการสอื่ ความคิด คณุ ค่าความงาม 2. การวเิ คราะห์ วิจารณ์นาฏ ศลิ ป์เก่ยี วกบั คุณคา่ ความงาม นำแนวคดิ หลกั ทางการละคร 1. การนำแนวคิด หลักการทาง 5 และนาฏศิลป์ ไปใชใ้ นการเรียนรู้ ละคร และนาฏศิลปไ์ ปใช้ใน กบั หมวดวิชาอน่ื ๆ และ การเรียนรูก้ ับหมวดวิชาอ่ืนๆ. ชวี ติ ประจำวัน 2. การนำแนวคิด หลักทางการ ละคร และนาฏศิลปไ์ ปใช ้ ในชวี ิตประจำวัน เขา้ ใจความเช่ือทางวฒั นธรรม 1. ประวตั คิ วามเป็นมาของ 5 ทมี่ ีอิทธิพลต่อนาฏศิลป์ นาฏศิลป ์ 2. ความเชือ่ ทางวัฒนธรรม ทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ นาฏศลิ ป ์ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน 73 ตามหลักสตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสู่หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551
คำอธบิ ายรายวชิ าเลอื ก และรายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ าเลอื ก ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
คำอธิบายรายวิชา พท32020 ภาษาไทยเสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ การฟัง การดู 1. สามารถเลือกสือ่ ในการฟงั และดูอย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟงั และดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ 3. เปน็ ผมู้ ีมารยาทในการฟังและด ู การพดู 1. สามารถพูดทัง้ ท่เี ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ โดยใชภ้ าษาถูกตอ้ งเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเห็นเชงิ วิเคราะห์ และประเมนิ ค่าการใช้ภาษาพดู จากส่ือต่างๆ 3. มมี ารยาทในการพูด การอา่ น 1. สามารถอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณ จัดลำดับความคิดจากเรอ่ื งที่อา่ น 2. สามารถศึกษาภาษาถิ่น สำนวน สุภาษิตท่ีมีอยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันและวรรณกรรม ท้องถ่นิ 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรม ทอ้ งถน่ิ 4. สามารถคน้ ควา้ หาความรู้จากสือ่ ส่งิ พิมพแ์ ละสื่อสารสนเทศ 5. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้มีมารยาทในการอ่านและมนี สิ ัยรักการอา่ น การเขียน 1. รู้และเข้าใจหลักการเขียนประเภทต่างๆ โดยใช้คำในการเขียนได้ตรงความหมายและถูกต้องตาม อักขระวธิ ีและระดับภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ ิจารณแ์ ละประเมนิ งานเขยี นของผู้อน่ื เพ่ือนำมาพัฒนางานเขยี น 3. สามารถแตง่ คำประพนั ธ์ประเภทร้อยแก้วและร้อยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขียนและมีนสิ ยั รกั การเขยี น 76 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สูห่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
หลกั การใชภ้ าษา 1. รแู้ ละเข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น และใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ ไดถ้ กู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะห์และเห็นคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่นโดยใช้หลักการ พนิ จิ วรรณคดีและการพนิ จิ วรรณกรรม ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรือ่ งต่อไปนี ้ ศึกษาการใช้ภาษากับการพัฒนาบุคลิกภาพและการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การแสวงหาความรู ้ ศึกษาการใช้ภาษาในสาขาวิชาและอาชีพต่างๆ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ บุคคล การอภิปราย การประชุม เพื่อใช้ภาษาในการพัฒนาการเรียนการทำงาน การประกอบอาชีพ และการดำเนินชีวิต ศึกษาคำ เคร่ืองหมาย สัญลักษณ์ และภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ถ้อยคำภาษาท่ีใช้เฉพาะกิจ การใช้สำนวนโวหารได้อย่าง เหมาะสม การจดั ประสบการณ์การเรียนร ู้ การออกเสยี งคำได้อย่างถูกตอ้ ง การใชค้ ำไดอ้ ย่างถูกต้อง การใชป้ ระโยคได้ถูกต้องตามหลกั ไวยากรณ์/ การใช้ประโยคชนิดต่างๆ การใช้สำนวนโวหารในการส่ือสาร การใช้ถ้อยคำภาษาเฉพาะกิจ การใช้คำภาษา ต่างประเทศในชีวิตประจำวัน การใช้สำนวนโวหาร ความหมายของคำ เคร่ืองหมาย และสัญลักษณ์ที่ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน การวดั และประเมินผล การสังเกต จากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม การทำงานกลุ่ม การพูด การแสดงความคิดเห็นและ การอภปิ รายกลมุ่ และการตรวจผลงาน จากรายงานการศึกษาค้นคว้า แบบฝึก/แบบทดสอบ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 77 ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา พท32020 ภาษาไทยเสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั การฟัง การดู 1. สามารถเลือกสือ่ ในการฟงั และดูอยา่ งสรา้ งสรรค ์ 2. สามารถฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ 3. เป็นผมู้ ีมารยาทในการฟงั และด ู การพดู 1. สามารถพดู ท้งั ท่เี ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ โดยใช้ภาษาถกู ตอ้ งเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชิงวเิ คราะห์ และประเมินคา่ การใช้ภาษาพูดจากส่ือตา่ งๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอา่ น 1. สามารถอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ จดั ลำดบั ความคิดจากเรือ่ งที่อ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถ่ิน สำนวน สุภาษิตท่ีมีอยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันและวรรณกรรม ทอ้ งถ่ิน 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรม ท้องถ่ิน 4. สามารถค้นคว้าหาความรู้จากส่ือสง่ิ พมิ พ์และสอ่ื สารสนเทศ 5. ปฏิบตั ิตนเป็นผ้มู ีมารยาทในการอา่ นและมีนิสยั รกั การอ่าน การเขียน 1. รู้และเข้าใจหลักการเขียนประเภทต่างๆ โดยใช้คำในการเขียนได้ตรงความหมายและถูกต้อง ตามอกั ขระวธิ ีและระดับภาษา 2. สามารถวิพากษว์ ิจารณ์และประเมนิ งานเขียนของผู้อน่ื เพอ่ื นำมาพัฒนางานเขียน 3. สามารถแต่งคำประพันธป์ ระเภทรอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขยี นและมนี ิสัยรักการเขียน หลกั การใชภ้ าษา 1. ร้แู ละเข้าใจธรรมชาติของภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืน และใช้คำราชาศัพท์ คำสุภาพ ได้ถูกต้องตามฐานะของบุคคล วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะห์และเห็นคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่นโดยใช้หลักการ พินจิ วรรณคดแี ละการพินิจวรรณกรรม 78 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ที่ หวั เร่ือง ตัว ช้ีวัด เน้ือหา จำนวน (ชั่วโมง) 1 การฟัง การดู วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสรุปเรอ่ื ง 1. หลกั การวเิ คราะห์ วิจารณ์ 5 ทฟ่ี ังและดจู ากสื่อรูปแบบต่างๆ เร่อื งทฟ่ี ังหรอื ดูจากสอ่ื ตา่ งๆ และวิธีการนำเสนอ 2. หลักการสรปุ สาระสำคญั ของเร่อื งทฟ่ี ังและด ู 2 การพดู พดู ในโอกาสตา่ งๆ ทง้ั ทเี่ ปน็ หลักการพดู ทเี่ ป็นทางการ 5 ทางการและไม่เป็นทางการ โดย และไม่เปน็ ทางการ ไดแ้ ก่ ใช้ภาษาถูกตอ้ ง เหมาะสม น่าฟงั การตั้งคำถาม การตอบคำถาม มีเหตุผล การอภิปราย การพูดโทรศพั ท์ การพูดสนทนา 3 การอา่ น 1. ตีความ สรปุ แปลความ และ หลักการอา่ นหนงั สอื ตาม 3 ขยายความเรื่องท่อี ่าน โดย วัตถปุ ระสงค ์ ใช้ประสบการณ์ และความรู้ จากการอา่ น 2. นำไปประยุกต์ใช้ในการ ดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม 4 การเขียน 1. อธบิ ายลักษณะการเขียน 1. หลักการเขยี นบทความ สารคดี 12 ประเภทตา่ งๆ และสามารถ เรอื่ งสั้น การเขยี นวจิ ารณ์ เขยี นได้ตามรูปแบบนนั้ ๆ ประกาศ แจ้งความ รายงาน โครงการประเภทตา่ งๆ จดหมายราชการ จดหมาย ธรุ กจิ คำขวญั คำอวยพร คำกล่าวรายงานเปิด-ปิดงาน และการเขียนคำขอบคุณ 2. อธบิ ายลกั ษณะและวธิ กี ารใช้ 2. ลกั ษณะและการใช้คำสัมผสั คำสัมผัส คำครุ ลหุ ไดอ้ ยา่ ง คำครุ ลห ุ ถูกต้อง 3. เลือกใช้ถ้อยคำในการประ 3. หลักการเลือกใช้ถอ้ ยคำ พันธไ์ ด้อย่างเหมาะสม ในการประพันธ์ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน 79 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 เขา้ สู่หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ที่ หวั เรื่อง ตวั ช้วี ดั เน้ือหา จำนวน (ชั่วโมง) 5. หลักการใช้ภาษา 1. ใชภ้ าษาต่างประเทศในการ 1. ที่มาของคำยมื มาจากภาษา 9 สื่อสารได้อยา่ งถกู ต้อง ตา่ งประเทศและ การนำไปใช ้ 2. อิทธพิ ลของภาษา ต่าง ประเทศท่ีมีต่อภาษาไทย 2. สร้างคำประเภทตา่ งๆ 3. วธิ ีการสรา้ งคำ เชน่ คำสมาส ไดเ้ หมาะสม คำสนธิ คำบาลสี ันสกฤต 3. ใชศ้ พั ทบ์ ญั ญัตไิ ด้ถกู ต้องตาม 4. ความหมายและการใชศ้ ัพท์ หลกั ภาษา บัญญตั ิ 4. บอกประโยชนแ์ ละความแตก 5. ความแตกต่างและประโยชน์ ต่างระหวา่ งพจนานกุ รมกบั ของการใชพ้ จนานุกรรมและ สารานกุ รม สารานกุ รม 5. อธบิ ายการใชค้ ำศัพทเ์ ฉพาะ 6. คำศัพท์ทใ่ี ช้เฉพาะอาชีพ อาชพี ในแตล่ ะทอ้ งถิ่นได้ ในแต่ละทอ้ งถ่นิ อยา่ งถกู ตอ้ ง 6. เลอื กใช้ภาษา คำศัพทท์ ี่ใช้ 7. ภาษา คำศัพท์ทใี่ ชใ้ นสาขาวชิ า ในสาขาวชิ าและอาชพี ตา่ งๆ และอาชีพต่างๆ ใหเ้ หมาะสม ได้อย่างเหมาะสมกบั กับสถานการณ์ บุคคลและ สถานการณ์ บคุ คลและ วฒั นธรรมประเพณ ี วฒั นธรรมประเพณี 7. บอกคณุ ค่าของตวั เลขไทย 8. คณุ ค่าและการเขยี น 8. ใช้ทกั ษะทางภาษาในการ ตัวเลขไทย จดั กจิ กรรมการประชมุ 9. การจัดกจิ กรรมทใ่ี ชท้ กั ษะ การอภปิ ราย การโตว้ าท ี ทางภาษาในการจดั ประชุม ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง การอภปิ ราย การโต้วาท ี ตามหลักการใช้ภาษา 6. วรรณคดแี ละวรรณกรรม 1. อธิบายหลักการวจิ ารณ์ 1. หลกั การวจิ ารณ์วรรณคดีและ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม วรรณกรรมไทยปจั จุบนั ไทยปัจจุบนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 2. บอกสาเหตกุ ารเกิดภาษาถิ่น 2. สาเหตทุ ี่ทำใหเ้ กดิ ภาษาถิ่น 3. บอกความหมายและลักษณะ 3. ความหมายและลักษณะ ของภาษาถ่ินไดถ้ ูกต้อง ของภาษาถิ่น 80 แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าส่หู ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ที่ หวั เรอื่ ง ตัว ชวี้ ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 4. การรวบรวมภาษาถ่นิ สำนวน สภุ าษิตที่มีอยูใ่ นวรรณกรรม พน้ื บา้ น 4. อธิบายหลักการวเิ คราะห์ 5. หลักการวิเคราะหค์ ุณคา่ ของ คณุ คา่ ของวรรณกรรมพ้ืนบา้ น วรรณกรรมพ้นื บ้านประเภท ประเภทตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ ง ต่างๆ ทางดา้ นภาษาและ ตามหลกั ภาษา สังคม 5. เก็บขอ้ มลู ทางด้าน 6. หลกั การเก็บขอ้ มลู ทางดา้ น วรรณกรรมพ้นื บา้ น วรรณกรรมพืน้ บา้ น ได้อยา่ งถูกต้อง แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 81 ตามหลักสตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
คำอธบิ ายรายวชิ า พต32013 ภาษาอังกฤษรอบตัว จำนวน 1 หนว่ ยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคติเกี่ยวกับภาษาท่าทาง การฟัง พดู อ่าน เขยี น ภาษาตา่ งประเทศ ด้วยประโยคทีซ่ ้ำซ้อนมากขึ้นในชวี ิตประจำวนั และงานอาชพี ของตน ถกู ต้องตามหลักภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจา้ ของภาษา ศึกษาและฝึกทกั ษะเกีย่ วกบั เรื่องตอ่ ไปนี ้ 1. การนำเสนอข้อมลู เกย่ี วกับประสบการณ์ส่วนตวั และเร่อื งท่วั ๆ ไปในท้องถ่ิน 2. การนำเสนอความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั ประสบการณส์ ่วนตัว และเรอ่ื งต่างๆ ท่เี กดิ รอบตวั 3. การนำเสนอข้อมูลเหตุการณต์ า่ งๆ ท่เี กดิ ในทอ้ งถิ่น การจัดประสบการณ์การเรียนร ู้ เน้นการฟัง พูด อ่าน เขียน จากสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลอง โดยใช้สื่อท่ีเหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั เนอ้ื หาในการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พิจารณาจากความสามารถในการนำความรู้และทักษะไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม 82 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา พต32013 ภาษาองั กฤษรอบตัว จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทกั ษะและเจตคตเิ กี่ยวกบั ภาษาทา่ ทาง การฟงั พูด อา่ น เขียน ภาษาตา่ งประเทศ ด้วยประโยคทซ่ี ำ้ ซ้อนมากขึ้นในชวี ติ ประจำวนั และงานอาชีพของตน ถกู ต้องตามหลักภาษาวัฒนธรรม และกาลเทศะ ของเจ้าของภาษา ที ่ หวั เรื่อง ตัว ชี้วัด เนอื้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การนำเสนอประสบการณส์ ่วนตัว นำเสนอขอ้ มูลเรอ่ื งราว รายงาน กจิ กรรมการพดู คุยเสนอข้อมูล 10 และเรอ่ื งท่วั ๆ ไปในทอ้ งถ่ิน ประสบการณ์ รวมทั้งเหตุการณ์ เกย่ี วกบั ประสบการณ์สว่ นตวั หรอื เรือ่ งทัว่ ไป และเรือ่ งทว่ั ๆ ไปในท้องถนิ่ 1. การเลา่ ประสบการณส์ ่วนตัว หรอื เหตุการณ์ท่วั ๆ ไป 2. การสรปุ ข่าว หรอื เรอ่ื งราว สำคัญทเี่ กิดข้นึ ในท้องถ่ิน เชน่ เหตกุ ารณน์ ำ้ ทว่ ม หรอื งานประเพณขี องท้องถนิ่ ฯลฯ 2 การเสนอความคิดรวบยอด นำเสนอความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับ กิจกรรมการเสนอความคดิ 10 เก่ยี วกบั ประสบการณส์ ่วนตวั ประสบการณ์ หรอื เหตกุ ารณ์ รวบยอดเกีย่ วกับประสบการณ์ และเรอ่ื งต่างๆ ที่เกดิ รอบตัว ต่างๆ ส่วนตวั และเรื่องตา่ งๆ ท่เี กดิ รอบตวั 1. การเขียนจดหมาย/บนั ทึก ส่วนตัว (diary) 2. การอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเหตกุ ารณ์หรอื เรอื่ งท่เี กดิ ข้ึนรอบๆ ตวั ใน ท้องถ่นิ เช่น ปัญหาของรฐั แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี น 83 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท ี่ หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 3 การปฏิบตั ติ ามเหตุการณ์ตา่ งๆ ปฏบิ ัติกจิ กรรมนำเสนอความคิด ปฏิบตั กิ จิ กรรมการนำเสนอข้อมลู 20 ที่เกดิ ในทอ้ งถิ่น เห็นท่ีมตี อ่ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ เหตุการณต์ า่ งๆ ทีเ่ กิด ในท้องถิน่ ในทอ้ งถนิ่ อยา่ งสร้างสรรค์ ในรูปของ และมีประสทิ ธิภาพ อย่างนอ้ ย 1. ป้ายคำขวัญ 1 กจิ กรรม 2. บอร์ดนิทรรศการ 3. โปสเตอรร์ ณรงค์/เชญิ ชวน 4. สมุดภาพเหตกุ ารณส์ ำคญั 5. จดั กิจกรรมคา่ ยภาษาองั กฤษ 6. ชมรม/ค่ายภาษาอังกฤษ เพอ่ื อนุรักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมท้องถิ่น 84 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า พค32008 คณิตศาสตรเ์ สรมิ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ เลขยกกำลังที่มีเลขช้ีกำลังเป็นจำนวน ตรรกยะ เซต และการให้เหตุผล อตั ราส่วน ตรโี กณมิติ และการนำไปใช้ การใช้เคร่ืองมอื และการออกแบบผลิตภัณฑ์ สถิติเบ้ืองต้นและความนา่ จะเป็น ศึกษาและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรื่องตอ่ ไปนี ้ การแก้สมการ อสมการในรูปค่าสัมบูรณ์ การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว ซึ่งมีดีกรีไม่เกินส่ ี การเขียนช่วงจากสมการ อสมการ ความสัมพันธ์และฟังก์ช่ัน ซึ่งสามารถเขียนในรูปสมการของกราฟ ผลคูณคาร์ทีเช่ียน โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์ สร้างความสัมพันธ์หรือฟังก์ช่ัน จากสถานการณ์หรือปัญหาท่ีกำหนดให้และการแก้ปัญหา ลำดับและอนุกรม ความหมายของลำดับเลขคณิต ลำดบั เรขาคณติ หาค่าพจน์ทัว่ ไปของลำดบั เลขคณติ ลำดับเรขาคณติ และหาผลบวก n พจนแ์ รกของอนุกรมเลขคณติ อนุกรมเรขาคณติ โดยการใชส้ ูตร และการนำไปใช ้ การจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ ู การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรปุ รายงาน เพือ่ พฒั นาทักษะ/กระบวนการในการคดิ คำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตผุ ล การสอ่ื ความหมายทาง คณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทกั ษะ กระบวนการทไ่ี ด้ไปใช้ในการเรียนรูส้ ่งิ ตา่ งๆ และใช้ ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมทั้งเห็นคณุ คา่ และมเี จตคติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ มรี ะเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณและเช่อื มั่นในตนเอง การวัดและประเมินผล โดยใช้วิธีการหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเน้ือหา และทักษะที่ต้องการวัดและประเมินผล เชน่ แบบทดสอบยอ่ ย แบบฝกึ หัด ใบงาน แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 85 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551
รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา พค32008 คณิตศาสตร์เสรมิ จำนวน 1 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวนและการดำเนินการ เลขยกกำลังที่มีเลขช้ีกำลังเป็นจำนวน ตรรกยะ เซต และการให้เหตผุ ล อัตราสว่ น ตรโี กณมิติ และการนำไปใช้ การใช้เครื่องมอื และการออกแบบผลิตภัณฑ์ สถติ เิ บือ้ งตน้ และความนา่ จะเปน็ ที่ หวั เรอ่ื ง ตัว ชว้ี ดั เน้อื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การแก้สมการและอสมการ 1. แกส้ มการพหุนามตวั แปร 1. วธิ ีการแก้สมการพหุนาม 40 เดยี ว ดีกรไี มเ่ กนิ ส่ี ตวั แปรเดยี ว 2. เขยี นชว่ งจากสมการและ 2. การเขียนช่วงจากสมการ อสมการ และอสมการ 3. แกส้ มการและอสมการในรูป 3. วธิ ีการแก้สมการและ ค่าสัมบูรณข์ องจำนวนจริง อสมการในรูปค่าสัมบรู ณ์ ของจำนวนจรงิ 2 ความสมั พันธแ์ ละฟงั ก์ชัน 1. เขียนความสัมพันธ์คอู่ ันดับ 1. คอู่ ันดับ ในรปู ตารางหรอื สมการ ของกราฟ 2. หาผลคณู คารท์ ีเชยี่ นของเซต 2. การหาผลคูณคาร์ทีเชย่ี น ต่างๆ 3. เขียนกราฟของความสมั พนั ธ์ 3. ความสัมพนั ธแ์ ละฟงั กช์ น่ั และฟังกช์ นั่ 4. สรา้ งความสัมพนั ธห์ รือ 4. โดเมนและเรนจ์ของความ ฟังก์ชน่ั จากสถานการณ์หรือ สมั พันธแ์ ละฟังกช์ ั่น ปญั หาทีก่ ำหนดให้ 5. ใช้กราฟของสมการฟังก์ชั่นใน 5. กราฟของความสมั พนั ธ ์ การแกป้ ญั หา และฟงั กช์ ัน่ 6. อนิ เวอรส์ และกราฟของ อนิ เวอรส์ ของความสมั พนั ธ์ 86 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 เข้าส่หู ลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ท่ ี หัวเรื่อง ตัว ชว้ี ดั เนอ้ื หา จำนวน (ชัว่ โมง) 7. ฟังกช์ ั่น 8. ตัวอยา่ งของฟังก์ช่ันทค่ี วรรู้จัก 9. การแกโ้ จทย์ปญั หาโดยใช้ กราฟของฟงั กช์ ่ัน 3 ลำดบั และอนกุ รม 1. บอกความหมายของลำดับ 1. ลำดบั เลขคณิต ลำดบั เรขาคณิต 2. ลำดบั เลขคณติ 2. หาพจนท์ ่วั ไปของลำดบั จำกัด 3. ลำดบั เรขาคณติ ลำดับเลขคณติ ลำดบั เรขาคณิต 3. หาพจน์ต่างๆ ของลำดบั เลขคณติ และลำดับ เรขาคณติ 4. บอกความหมายของผลบวก 4. อนุกรม n พจนแ์ รกของอนุกรม 5. อนกุ รมเลขคณติ เลขคณิต และอนุกรม 6. อนุกรมเรขาคณิต เรขาคณิต 7. ผลบวก n พจน์แรกของ 5. หาผลบวก n พจน์แรกของ อนุกรม อนุกรมเลขคณติ เรขาคณติ และนำไปใช้ แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 87 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
คำอธบิ ายรายวิชา พว32021 วิทยาศาสตร์เสริม จำนวน 1 หนว่ ยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนร้ ู มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเห็นคุณค่าเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลย ี ส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่นประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มีจิตวิทยาศาสตรแ์ ละนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ในการดำเนินชีวติ ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี ้ ส่ิงแวดล้อมในชุมชน การอยู่รอดของส่ิงมีชวี ิต ความสมั พันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี ีวติ กบั สิง่ แวดลอ้ ม ระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์และการปรับตัวของส่ิงมีชีวิต การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ดลุ ยภาพของระบบนิเวศในชมุ ชน สมบัติของคลืน่ กล เสยี ง มลภาวะของเสียงทมี่ ีผลตอ่ สุขภาพ สเปกตรัมของแม่เหล็ก ไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปรากฏการณ์ทางธรณีและการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก การเกิดวิวัฒนาการของระบบ สุรยิ ะ กาแล็กซี เอกภพ วงโคจร ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ี่เก่ยี วกบั ระบบสุรยิ ะและกาแลก็ ซ ี การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ให้ผเู้ รียน ศกึ ษา ค้นควา้ ทดลอง อธิบาย อภิปรายและนำเสนอดว้ ยการจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยการ พบกลุ่ม การเรียนรแู้ บบทางไกล แบบชนั้ เรียน ตามอธั ยาศัย การสอนเสรมิ การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การทำรายงาน การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ประสบการณ์โดยตรง ใช้สถานการณ์จริง การสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และการเรยี นรดู้ ้วยโครงงาน การวัดและประเมินผล การสังเกต การอภิปราย การสัมภาษณ์ ทกั ษะปฏิบัติ รายงานการทดลอง การทำโครงงาน การมีส่วนร่วม ในกิจกรรมการเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมนิ การนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ 88 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรยี น ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า พว32021 วทิ ยาศาสตรเ์ สรมิ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเห็นคุณคา่ เก่ยี วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิง่ มชี ีวิต ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถ่ินประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการ เปลีย่ นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มีจิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ท ี่ หัวเรอื่ ง ตวั ชีว้ ดั เนื้อหา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 ความสมั พันธ์ระหว่างส่ิงมชี วี ิต 1. อธบิ ายความหมายของ 1. ความหมายของส่งิ แวดลอ้ ม 40 กับส่งิ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดล้อมในชุมชน ในชุมชน 2. อธิบายการอยู่รอดของ 2. การอยู่รอดของสงิ่ มีชวี ิต สง่ิ มชี ีวติ 3. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง 3. ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง สงิ่ มีชีวติ กับสง่ิ แวดล้อม ส่งิ มชี วี ติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม 4. อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง 4. ความสมั พันธ์ระหวา่ ง สิง่ มีชวี ติ ด้วยกันเอง สงิ่ มีชวี ติ ด้วยกันเอง 2 ระบบนิเวศ 1. อธบิ ายความหมาย ระบบนิเวศ 1. ความหมาย ระบบนิเวศ กลุ่ม กลุ่มสิ่งมีชวี ติ ประชากร ทอี่ ยู่ ส่งิ มีชีวิต ประชากร ท่อี ยู่อาศัย อาศัยได ้ 2. อธบิ ายความสมั พันธ์ 2. องค์ประกอบ ความสัมพนั ธ์ การปรบั ตัวของสิ่งมีชวี ิต การปรบั ตัวของส่ิงมชี ีวิต การถา่ ยทอดพลงั งานใน การถา่ ยทอดพลงั งาน ระบบนเิ วศ ในระบบนิเวศ 3. อธบิ ายระบบนิเวศต่างๆ 2.1 ระบบนเิ วศปา่ ไม-้ ป่าบุง และเขียนแผนผังหรอื แผนภูมิ ป่าทาม ปา่ พรุ ปา่ การถา่ ยทอดพลงั งาน ชายหาด ปา่ ชายเลน ในระบบนิเวศได ้ ฯลฯ 2.2 ระบบนเิ วศนำ้ จืด หนอง คลอง บงึ 2.3 ระบบนเิ วศในนาขา้ ว แนวทางการเทยี บโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดการศึกษานอกโรงเรียน 89 ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าส่หู ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ที ่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชี้วดั เนอื้ หา จำนวน (ชว่ั โมง) 2.4 ระบบนเิ วศนำ้ เค็ม - หาดทราย หาดเลน หาดโคลน หาดหิน ชายฝงั่ ทะเล ฯลฯ 4. วางแผน สำรวจ นำเสนอ 3. การวางแผนเขยี นโครงการ ระบบนเิ วศในท้องถ่นิ และวธิ ีการสำรวจระบบนเิ วศ 5. จัดทำและดำเนินการ ในทอ้ งถ่ิน โครงการหรือโครงงาน อนุรักษแ์ ละเฝา้ ระวัง ระบบนเิ วศในท้องถน่ิ 6. เผยแพรผ่ ลการดำเนิน 4. แนวทางการอนุรกั ษ์และเฝา้ โครงการหรือโครงงาน ระวังระบบนเิ วศในทอ้ งถนิ่ 3 คล่นื กล 1. อธิบายสมบตั ขิ องคลืน่ กล 1. คลน่ื กลและสมั บตั ิของ คลื่นกล 2. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง 2. ประเภทของคลนื่ กล ความยาวคลน่ื ความถีแ่ ละ 3. ความสมั พันธ์ระหวา่ ง อัตราเร็ว และคำนวณหา ความยาวคล่ืน ความถ่แี ละ ปริมาณตา่ งๆ อัตราเรว็ 4. การคำนวณหาความยาวคล่นื ความถแ่ี ละอัตราเรว็ 4 เสยี งและมลภาวะของเสียง อธิบายเก่ียวกับเสยี ง มลภาวะ 1. คลน่ื เสยี ง ของเสยี งที่มีผลตอ่ สุขภาพ 2. ลกั ษณะของคลนื่ เสยี ง และการนำความรู้ไปใช้ 3. ความเข้มและความถข่ี องเสยี ง 4. คุณภาพของเสียง 5. มลภาวะของเสยี งที่มีผล ตอ่ สุขภาพ 6. การปอ้ งกันมลภาวะทางเสียง 7. การนำความร้เู ร่อื งเสียงไปใช้ ประโยชน ์ 90 แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สูห่ ลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ท่ ี หัวเร่อื ง ตัว ชวี้ ัด เน้อื หา จำนวน (ชวั่ โมง) 5 สเปกตรมั ของคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ อธบิ ายสเปกตรมั ของแม่เหลก็ 1. ความหมายของสเปกตรัมของ ไฟฟ้า รวมทั้งประโยชน์และโทษ คลื่นแม่เหลก็ ไฟฟา้ ของคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 2. ประโยชน์และโทษของ คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ 6 ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร ์ อธิบายปฏิกิริยานิวเคลยี ร์ รวมท้งั 1. ความหมายและปฏิกริ ิยา ประโยชนแ์ ละโทษ ต่อสิ่งมีชวี ติ นิวเคลยี ร ์ และสงิ่ แวดลอ้ ม 2. ประโยชน์และโทษของ ปฏกิ ิริยานวิ เคลยี รต์ ่อสิ่งมี ชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม เช่น ระเบิดปรมาณู โรงงานไฟฟา้ ปรมาณู 3. ความสัมพันธร์ ะหว่างสสาร และพลงั งาน 7 การเปลยี่ นแปลงของเปลอื กโลก 1. อธบิ ายปรากฏการณท์ าง 1. การเปล่ียนแปลงของเปลือก ธรณีเปรียบเทียบลำดับช้นั โลกแตล่ ะยุค หนิ อายุของหนิ อายขุ องซาก 2. ลำดับชัน้ หิน ดกึ ดำบรรพ์ 3. อายุของหิน และอายขุ อง ซากดึกดำบรรพ์ 4. การแบ่งชนั้ ของผวิ โลกตาม ธรณวี ทิ ยา 5. ประโยชนข์ องการศึกษา กระบวนการเปลี่ยนแปลง ของโลก 2. อธบิ ายวิธีการคำนวณอายุ 6. การคำนวณอายขุ องวัตถุ ของวัตถโุ บราณ ชั้นดนิ หิน โบราณ ชน้ั ดิน หิน ดว้ ยวธิ ตี ่างๆ ดว้ ยวธิ ีต่างๆ แนวทางการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักเกณฑ์และวธิ ีการจดั การศึกษานอกโรงเรียน 91 ตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 เขา้ สหู่ ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
ที่ หัวเรื่อง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 8 ระบบสรุ ยิ ะ กาแลกซีและเอกภพ 1. อธบิ ายการเกิดวิวฒั นาการ 1. การเกิดววิ ัฒนาการของระบบ ของระบบสรุ ยิ ะ กาแลก็ ซี สุริยะ กาแล็กซี เอกภพ เอกภพและพลงั งานของ 2. องคป์ ระกอบของระบบสุริยะ ดาวฤกษท์ ่เี กดิ จากปฏกิ ิริยา กาแลก็ ซี ฟิวชนั 2. อธิบายตำแหน่งของโลก 3. ลกั ษณะของดาวฤกษแ์ ละ ในระบบสรุ ยิ ะ และกาแลก็ ซี ดาวเคราะห์ 4. พลังงานของดาวฤกษท์ เี่ กิด จากปฏิกริ ิยาฟิวชัน 5. วงโคจรของระบบสุรยิ ะ กาแลก็ ซี 6. ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ระบบสรุ ยิ ะ กาแล็กซี 3. อธปิ รายเกย่ี วกับสิ่งมีชวี ิต 7. สิง่ มชี ีวติ ในดวงดาวอน่ื ๆ ในดวงดาวอ่นื ๆ 92 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลักเกณฑ์และวิธกี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสูห่ ลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
คำอธิบายรายวชิ า อช32002 การพฒั นาอาชพี จำนวน 2 หนว่ ยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั 1. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพ เพื่อสร้างความม่ันคงบนพ้ืนฐานความรู ้ ในกระบวนการผลติ กระบวนการตลาดทีใ่ ช้นวตั กรรม เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม มีความหลากหลายทางชวี ภาพ พัฒนา ต่อยอดและประยุกต์ใช้ภูมปิ ญั ญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงาน และโครงการธุรกิจ เพ่ือขยายอาชีพเข้าสู่ตลาด การแข่งขัน ตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื สู่ความมน่ั คง ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกบั เรื่องต่อไปนี้ การวางแผนการดำเนินงาน ปฏิบัติงานตามแผน ประเมินปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินงาน กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกสรร และประยุกต์ใช้ข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานจาก แหล่งความรู้ต่างๆ การวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุของปัญหา สร้างทางเลือกท่ีหลากหลายในการแก้ปัญหา ประเมิน ทางเลือก ตัดสนิ ใจเลือกทางทเี่ หมาะสม และแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ความมงุ่ มน่ั ทำงานจนสำเรจ็ มีจติ สำนกึ ทีด่ ีตอ่ การทำงาน ทำงานอย่างมีความสุขและมีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบปลอดภัย และสะอาด ความสำคญั และประโยชน์ของการมีอาชีพ ความตอ้ งการทางอาชพี ของชมุ ชน การประกอบอาชีพสุจริต ทักษะในงาน อาชีพ การทำโครงงานประกอบอาชีพ กระบวนการเข้าสู่อาชีพ การรวมตัวเป็นกลุ่มพัฒนาอาชีพร่วมกันบริหาร จดั การเป็นวิสาหกิจชุมชน สร้างกลยทุ ธ์ทางการตลาดของตนเอง การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรู้เก่ียวกับกระบวนการทำงาน การรวมกลุ่ม การแก้ปัญหา ศึกษากิจกรรม ในอาชีพ กำหนดแนวทางในการดำเนินงาน เขียนโครงการประกอบอาชีพ ดำเนินงานตามโครงงาน จดบันทึก ผลการดำเนนิ งาน มีการบริหารจัดการเปน็ วิสาหกิจชมุ ชน การวัดและประเมินผล ประเมินจากสภาพจริง ผลงานปฏิบัติ สังเกตความสนใจ ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ ความรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัต ิ แนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนจากหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น 93 ตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เขา้ สู่หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
รายละเอยี ดคำอธบิ ายรายวชิ า อช32002 การพฒั นาอาชพี จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ 1. มีความรู้ ความเข้าใจทักษะในการขยายอาชีพ เพ่ือสร้างความม่ันคงบนพื้นฐานความร้ ู ในกระบวนการผลิต กระบวนการตลาดที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม มีความหลากหลายทางชีวภาพ พฒั นาตอ่ ยอดและประยุกตใ์ ชภ้ ูมปิ ัญญา 2. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทำแผนงาน และโครงการธุรกิจ เพื่อขยายอาชีพเข้าสู่ ตลาดการแขง่ ขัน ตามแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ สคู่ วามมัน่ คง ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ชว้ี ดั เน้อื หา จำนวน (ชว่ั โมง) 1 การวางแผนการดำเนนิ ชวี ิต สามารถวิเคราะหง์ านวางแผนการ 1. การวิเคราะหง์ าน และ 10 และครอบครวั ดำเนนิ งานปฏิบตั ิงานตามแผน วางแผนการดำเนนิ งาน ประเมนิ ปรบั ปรุง และพฒั นาการ - งานบา้ น ดำเนนิ งาน - งานเกษตร - งานชา่ ง - งานประดิษฐ ์ - งานธุรกจิ 2. การจัดทำแผนงานการ ดำเนินงาน เพอ่ื การดำเนนิ ชีวติ และครอบครัว 3. การปฏิบตั ิงานตามแผนเพื่อ ดำรงชีวิต และครอบครัว และบนั ทกึ ผลการดำเนินงาน 4. การประเมิน ปรบั ปรุง และ พฒั นาแผนการดำเนนิ งาน เพ่ือดำรงชวี ิตและครอบครวั - การวเิ คราะหป์ ญั หา สาเหตขุ องปัญหา - การสรา้ งทางเลือกท ่ี หลากหลายในการแกป้ ัญหา - ประเมินทางเลอื ก 94 แนวทางการเทียบโอนผลการเรยี นจากหลกั เกณฑ์และวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน ตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2544 เข้าสหู่ ลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145