คมู่ ือการเงินและบัญชี สานกั งาน กศน.จังหวดั ลาพูน สำนกั งำนส่งเสริมกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จังหวดั ลำพนู สำนกั งำนส่งเสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัย สำนักงำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กระทรวงศึกษำธกิ ำร
ก คำนำ คู่มือการเงินและบัญชีเล่มนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ในการปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพัสดุของ สถานศกึ ษาในสังกัดสานักงาน กศน.จงั หวดั ลาพูน ท่ีจะต้องดาเนินการเบิกจ่ายให้ถูกต้องเป็นไปตามระเบียบ ของทางราชการที่เกี่ยวขอ้ ง ดังนัน้ คมู่ อื เล่มน้ีจงึ เป็นอกี เครอ่ื งมอื หน่ึงทจี่ ะช่วยใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานด้านการเงิน บญั ชี และพัสดุของสถานศึกษาในสังกัดได้ปฏบิ ัติงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซงึ่ เนอ้ื หาภายในเล่มน้ไี ด้รวบรวมข้อมูล รายละเอียดของข้ันตอนการปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพัสดุไว้อย่างครบถ้วน และมีความเชื่อมโยง ซงึ่ กันและกนั กลุ่มงานการเงินและบัญชี กลุ่มอานวยการ สานักงาน กศน. จังหวัดลาพูน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือ การเงินและบัญชเี ลม่ น้ี จะให้ขอ้ มูลและรายละเอยี ดที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในปฏิบัติงานด้านการเงิน บัญชี และพสั ดุต่อไป ท้งั น้ี หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ดั ทาจงึ ขออภัยมา ณ ทีน่ ีด้ ว้ ย กลมุ่ งานการเงินและบญั ชี กลุม่ อานวยการ สานักงาน กศน. จงั หวดั ลาพนู มีนาคม 2560
ข สำรบญั หน้ำ คานา…………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ก สารบัญ………………………………………………………………………………………………..…………………………………… ข หนว่ ยที่ 1 ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจเกี่ยวกับระเบยี บกำรเงนิ และพัสดุในกำรจัดกำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน........ 1 1.1 ค่าตอบแทนการจัดการเรยี นการสอนของครใู นการจดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน..................... 1 1.1.1 ครูศูนย์การเรยี นชมุ ชน (ครู ศรช.)…………………………………………………………………… 1 1.1.2 ครปู ระจากล่มุ ........................................................................................................... 2 1.1.3 ครปู ระจากลุ่มหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.)............................................ 2 1.1.4 วิทยากรสอนเสริม..................................................................................................... 3 1.1.5 ค่าดาเนนิ การจัดสอบ................................................................................................ 4 1.2 การจดั หาหนังสอื เรยี น....................................................................................................... 5 1.3 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น........................................................................................... 6 1.4 การประเมนิ เทียบระดบั การศกึ ษา..................................................................................... 10 1.5 การจัดการศกึ ษาสาหรับคนพกิ าร...................................................................................... 13 หน่วยท่ี 2 ควำมรู้ควำมเขำ้ ใจเกย่ี วกับระเบียบกำรเงินและพัสดใุ นกำรจัดกำรศกึ ษำต่อเนื่อง............. 15 1. การจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาอาชพี ....................................................................................... 17 2. การจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ ................................................................................ 18 3. การจดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน....................................................................... 20 4. การเรยี นร้กู ารใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม............................................................................... 20 งบรายจา่ ยอ่นื 5. โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน............................................................................................... 21 6. โครงการจดั หลกั สตู รการดแู ลผสู้ ูงอายุ................................................................................. 23 7. โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การขยะมลู ฝอย.................................................... 24 หน่วยท่ี 3 ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับระเบียบกำรเงินและพัสดุในกำรจดั กำรศึกษำตำมอธั ยำศยั ..... 25 3.1 การจดั กจิ กรรมห้องสมุดประชาชน.................................................................................... 25 3.2 โครงการ กศน.ตาบล......................................................................................................... 28 หนว่ ยที่ 4 ควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจเก่ียวกบั ระเบยี บกำรเงนิ และพสั ดใุ นกำรดำเนินงำน กำรจดั กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั ทว่ั ไป…………..…………………………. 29 4.1 การเดินทางไปราชการ....................................................................................................... 29 4.1.1 การเบกิ ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการช่ัวคราว………………………………………….. 29 4.1.2 การเบกิ ค่าเบย้ี เล้ยี งเดินทางแบบเหมาจา่ ย และการนบั เวลา……………………….……… 31 4.1.3 การเบกิ ค่าเชา่ ทพี่ ัก................................................................................................... 32 4.1.4 การเบกิ ค่าพาหนะ.................................................................................................... 34 4.1.5 การเบกิ คา่ ยานพาหนะสว่ นตวั .................................................................................. 35
ค สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ หน่วยท่ี 4 ควำมรู้ควำมเข้ำใจเกีย่ วกบั ระเบียบกำรเงินและพสั ดุในกำรดำเนนิ งำน กำรจัดกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศัยทวั่ ไป (ตอ่ ) 4.2 การฝกึ อบรมและการจดั งาน.............................................................................................. 36 4.3 การปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ........................................................................................ 42 หน่วยที่ 5 ควำมรคู้ วำมเข้ำใจเกี่ยวกับระบบกำรควบคุมกำรเงนิ ของหน่วยงำนย่อย…………………….. 45 5.1 แนวคดิ และหลกั การ.......................................................................................................... 45 5.2 คานิยาม............................................................................................................................. 45 5.3 สมดุ -ทะเบียน ใช้บนั ทกึ การควบคมุ การเงิน...................................................................... 46 5.4 อักษรยอ่ ใช้อ้างอิงทีเ่ อกสารในการบนั ทึกบญั ชี.................................................................. 46 5.5 การเกบ็ รกั ษาเงนิ ............................................................................................................... 46 5.6 รายงานการเงิน.................................................................................................................. 47 5.7 การควบคุมและการตรวจสอบ........................................................................................... 47 5.8 วธิ ปี ฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั การเบกิ -การรบั -การจา่ ยเงนิ ……………………………………………………… 48 ภาคผนวก................................................................................................................................................ 52 คณะผจู้ ัดทา............................................................................................................................................. 54
1 หนว่ ยที่ 1 ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั ระเบียบการเงินและพสั ดใุ นการจัดการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน การจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเปน็ การจัดการเรียนการสอนหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขัน้ พื้นฐาน เป็นการจัดการเรียนการสอนเพ่ือยกระดับการศึกษาให้กับประชาชน โดยใช้หลักสูตรการศึกษา นอกระบบข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2555) มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี มีศกั ยภาพในการประกอบอาชีพ และการเรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื ง ซ่งึ การ จัดกจิ กรรมการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มกี ารเบกิ จ่ายทเ่ี กีย่ วข้อง ดงั นี้ 1.1 คา่ ตอบแทนการจดั การเรียนการสอนของครใู นการจดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน การจัดการเรยี นการสอนการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานของ กศน. เปน็ การจดั การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันโดย ครูเปน็ ผู้ดาเนนิ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ได้แก่ ครู กศน.ตาบล ครอู าสาสมคั ร กศน. ครู ศรช. และครูประจา กล่มุ ค่าตอบแทนในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีการเบิกค่าตอบแทนสาหรับบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการ จัดการเรยี นรู้ ได้แก่ ค่าตอบแทนในลกั ษณะงบบคุ ลากรท่ีมีการกาหนดจ่ายเป็นรายเดือนให้แก่ครูประจาศูนย์ การเรียนชุมชนและครูประจากลุ่ม ค่าตอบแทนวิทยากรสอนเสริม เป็นต้น (คาสั่งสานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ท่ี 605/2559 ลงวนั ที่ 28 มนี าคม พ.ศ. 2559 เรื่อง หลกั เกณฑก์ ารเบิกจ่ายเงินอุดหนุนสานักงาน สง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ) 1.1.1 ครศู ูนยก์ ารเรียนชุมชน (ครู ศรช.) ครู ศรช. หมายถึง ครูศูนย์การเรียนชุมชน ซ่ึงทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาและแนะแนว เพ่ือให้เกิด การเรยี นรทู้ ุกประเภท พรอ้ มทัง้ ใหบ้ รกิ ารสอ่ื การเรยี นการสอนแกน่ ักศึกษาและประชาชน โดยปฏบิ ตั งิ านวันละ ไมน่ อ้ ยกวา่ 8 ช่วั โมงติดต่อกัน และสปั ดาหล์ ะไมน่ อ้ ยกว่า 5 วนั เวน้ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เป็นการปฏิบัติงานเต็ม วัน เพื่อตอบสนองความแตกต่างของนักศึกษาที่มีเวลาว่างไม่ตรงกันจะมาพบกลุ่มหรือศึกษาค้นคว้าได้ตาม สะดวก ไมต่ ้องจากัดเวลา การจดั การเรยี นการสอน กาหนดให้มกี ารเรยี นการสอน 6 ชว่ั โมง แทนการพบกล่มุ แบบเดิมและใหใ้ ชค้ า วา่ การเรียน กศน. กล่าวคือ ครูและผู้เรียนต้องมีการเรียนการสอนและทากิจกรรมร่วมกัน 6 ชั่วโมง ให้ครู ประจาศูนย์การเรยี นรูช้ มุ ชนได้รบั คา่ ตอบแทนเหมาจ่ายเป็นรายเดือนทุกเดือนในอัตราตามคุณวุฒิการศึกษา แต่ไมเ่ กินวุฒิปริญญาตรี ซึง่ มีระเบยี บทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ 1. หนงั สือกระทรวงการคลัง ที่ กค.0526.7/31309 ลงวนั ที่ 16 ตุลาคม 2541 2. หนงั สือสานกั งาน กศน.ที่ ศธ 0210.117/4902 ลงวันที่ 3 ตลุ าคม 2556 3. หนังสอื สานักงาน กศน.ท่ี ศธ 0210.03/14360 ลงวนั ท่ี 30 พฤศจิกายน 2558 หลักเกณฑ์การเบกิ จา่ ย ค่าตอบแทนเหมาจา่ ยเปน็ รายเดือน ในอตั ราไมเ่ กนิ วุฒปิ รญิ ญาตรี ตามท่ี ก.พ.กาหนด รบั ผิดชอบผเู้ รียน ตั้งแต่ 1 กลุ่มขึ้นไป กลุ่มละไม่เกิน 40 คน ทั้งน้ี กรณีท่ีครู ศรช. รับผิดชอบผู้เรียนได้ไม่ถึงเกณฑ์ท่ีกาหนด ให้นับรวมกิจกรรมท้ังการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในแต่ละเดือนต้องรับผิดชอบ ผเู้ รยี นไมน่ อ้ ยกว่า 100 คน และครู ศรช. ท่ีไดร้ บั คา่ ตอบแทนแบบเหมาจา่ ยรายเดอื น จะมาทาหน้าท่ีครูประจา กล่มุ และเบิกคา่ ตอบแทนแบบรายหัวอกี หน้าทีห่ นง่ึ ไมไ่ ด้
2 หลักฐานการเบิกจ่าย 1. หนังสือราชการขอเบิกเงิน 2. บนั ทึกข้อความขอเบกิ เงินค่าตอบแทน 3. ทราบผลการตรวจรบั งานจา้ ง 4. หนังสอื สง่ มอบงานจา้ ง 5. ใบตรวจรบั งานจา้ ง 6. ใบสาคญั รบั เงนิ 7. แบบบันทึกรายงานการปฏบิ ตั ิงาน 8. สัญญาจ้าง (แนบเฉพาะเบกิ จา่ ยเดอื นแรกของสญั ญา) และรบั รองสาเนาถกู ตอ้ งทกุ แผ่น (ทาตามระเบียบพสั ด)ุ 1.1.2 ครปู ระจากลุ่ม ครูประจากลุ่ม หมายถึง ผู้ท่ีทาหน้าท่ีสอนกลุ่มเป้าหมายในหน่วยงานทหารกองประจาการเรือนจา ทณั ฑสถาน สถานพินิจคุ้มครองเด็กและเยาวชน หรือเป้าหมายอ่ืนทาหน้าที่จัดการเรียนการสอนการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานรบั ผดิ ชอบผ้เู รียนกล่มุ ละไม่เกนิ 40 คน ใหไ้ ด้รับคา่ ตอบแทนทุกเดือนเป็น รายหวั ๆ ละ ไมเ่ กิน 80 บาท มีหนงั สอื ทเ่ี ก่ยี วข้อง ดังนี้ 1. หนงั สือสานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.121/2779 ลงวนั ท่ี 6 มิถนุ ายน 2557 2. หนังสอื สานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.117/9258 ลงวันที่ 25 กันยายน 2557 3. หนงั สือสานักงาน กศน. ท่ี ศธ 0210.03/14360 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 หลกั เกณฑ์การเบกิ จ่าย ให้เบิกจา่ ยคา่ ตอบแทนครูประจากลมุ่ คดิ คา่ ใชจ้ า่ ยตามรายหัวๆ ละไมเ่ กิน 80 บาท รับผิดชอบนกั ศึกษา ไมเ่ กนิ กล่มุ ละ 40 คน หลักฐานการเบิกจ่าย 1. หนังสอื ราชการขอเบกิ เงนิ ค่าตอบแทนครูประจากลมุ่ 2. บนั ทกึ ขอ้ ความขออนุมตั เิ บกิ เงนิ ค่าตอบแทนครปู ระจากลุม่ 3. หลกั ฐานการเบกิ จา่ ยเงินคา่ ตอบแทนครูประจากลมุ่ (ใบสาคัญรบั เงนิ แบบขวาง) 4. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน 5. คาสงั่ แต่งตั้งครูประจากลมุ่ 6. จานวนนกั ศึกษาทร่ี บั ผดิ ชอบ (แนบเฉพาะเดอื นแรกทสี่ ง่ เอกสารเบกิ จ่ายเงนิ ) 7. เอกสารขอโอนเงินผา่ นธนาคาร (หนา้ สาเนาสมุดบญั ชเี งินฝากธนาคาร) 1.1.3 ครูประจากลมุ่ หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) ครปู ระจากลุม่ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) คือ ผมู้ ีหนา้ ท่ีจัดการเรียนการสอน ปฏิบัติงาน ในหนา้ ท่ีจดั การเรียนการสอน ปฏิบัติงานในหน้าท่ีต่อเนื่องวันละไม่น้อยกว่า 7 ช่ัวโมง (ไม่รวมเวลาหยุดพัก) วุฒกิ ารศกึ ษาไมต่ า่ กว่าปรญิ ญาตรี มีหนงั สือท่ีเกีย่ วข้องดังน้ี
3 1. หนังสอื สานักงาน กศน.ที่ ศธ 0210.03/1863 ลงวนั ท่ี 23 เมษายน 2557 เรอ่ื ง การจา้ งเหมาบรกิ าร เอกชนดาเนินงานของสว่ นราชการ 2. หนังสอื กรมบญั ชีกลาง ท่ี กค 0406.4/1876 ลงวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2557 เรอ่ื ง การปรับค่าตอบแทน ครปู ระจากล่มุ ท่จี ัดการศึกษาประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) กลมุ่ เปา้ หมายทอ่ี ยู่นอกระบบโรงเรียน 3. หนังสือสานักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ศธ 0210.03/14360 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 เรื่อง แนวปฏิบตั ใิ นการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและเกณฑส์ าหรบั ครแู ตล่ ะประเภท หลักเกณฑก์ ารเบกิ จา่ ย 1. ใหจ้ า่ ยค่าตอบแทนทกุ เดอื น 2. ใหจ้ า่ ยคา่ ตอบแทนเหมาจ่ายเป็นรายเดือนๆ ละ 15,000 บาท และแต่ละภาคเรียนต้องรับผิดชอบ นักศึกษาไม่น้อยกว่า 38 คน และไมเ่ กนิ 45 คน 3. กรณีครปู ระจากล่มุ ปวช. รบั ผิดชอบนักศึกษาแต่ละภาคเรียนน้อยกว่า 38 คน ให้จ่ายค่าตอบแทน ตามรายหวั นักศึกษาเท่ากับจานวนหน่วยกิต (ไม่เกิน 18 หน่วยกิต) x จานวนนักศึกษา x อัตราค่าตอบแทน 22 บาท หลักฐานการเบกิ จา่ ย 1. หนงั สอื ราชการขอเบกิ เงนิ 2. บนั ทกึ ขอ้ ความขอเบกิ เงินค่าตอบแทน 3. ทราบผลการตรวจรบั งานจา้ ง 4. หนงั สือส่งมอบงานจา้ ง 5. ใบตรวจรบั งานจา้ ง 6. ใบสาคัญรบั เงิน 7. แบบบนั ทกึ รายงานการปฏิบัติงาน 8. สัญญาจ้าง (แนบเฉพาะเบกิ จา่ ยเดือนแรกของสญั ญา) และรบั รองสาเนาถูกตอ้ งทกุ แผน่ 1.1.4 วิทยากรสอนเสริม วิทยากรสอนเสริม คือ การช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนมีคุณภาพย่ิงขึ้น โดยใช้วิทยากรครูผู้สอน ภายนอก ระเบยี บท่เี ก่ยี วขอ้ ง หนังสอื สานกั งาน กศน. ที่ 0210.07/2127 ลงวันท่ี 15 มิถุนายน 2554 หลักเกณฑก์ ารเบิกจ่าย การเบิกจ่ายค่าตอบแทนวิทยากรสอนเสริมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรกา รศึกษานอกระบบ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราชการ 2551 ในอัตราไม่เกินช่ัวโมงละ 200 บาท ทุกวิชา และจานวนชั่วโมง สอนเสริมขนึ้ อยกู่ ับดลุ พินจิ ของสถานศึกษา หลักฐานการเบิกจ่าย 1. หนงั สือราชการขอเบกิ เงินค่าวทิ ยากรสอนเสริม 2. บนั ทกึ ข้อความขออนุมัติเบกิ เงนิ 3. หลกั ฐานการเบกิ จ่ายค่าตอบแทนวทิ ยากรสอนเสริมใบสาคญั รับเงิน (แบบขวาง)
4 4. บญั ชลี งเวลานกั ศกึ ษา 5. บญั ชีลงเวลาวิทยากรผูส้ อน 6. หนังสอื อนุญาตให้สอนเสรมิ 7. คาสั่งแตง่ ต้ังวิทยากรสอนเสรมิ /หนังสือเชญิ 8. เอกสารขอโอนเงินผ่านธนาคาร (หนา้ สาเนาสมดุ บัญชเี งนิ ฝากธนาคาร) 1.1.5 คา่ ดาเนินการจดั สอบ การดาเนินการจัดสอบ สานักงาน กศน. กาหนดรายการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าบารุงสนามสอบให้ เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน เพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการดาเนินงานในการจัดการศึกษานอก โรงเรียน ตามหลักสตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน การจัดการศึกษาทางไกล หลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน หลักสูตร ต่อเนอ่ื ง และหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ โดยสามารถเบกิ จ่ายคา่ ตอบแทนกรรมการ เจา้ หน้าทีด่ าเนนิ การ สอบ ค่าเครื่องดม่ื ค่าชดเชยสนามสอบ คา่ ขนส่งข้อสอบ ค่าตรวจขอ้ สอบ มหี นังสือที่เกีย่ วข้อง ดังน้ี 1. หนงั สอื สานักงาน กศน. ท่ี ศธ 0210.117/4514 ลงวนั ที่ 3 ธันวาคม 2552 2. หนังสือสานกั งาน กศน. ท่ี ศธ 0210.117/3399 ลงวนั ท่ี 8 กรกฎาคม 2556 หลักเกณฑก์ ารเบกิ จา่ ย 1. คา่ ตอบแทนกรรมการ เจ้าหนา้ ทด่ี าเนินการสอบ อตั ราตอ่ คน 1.1 ไม่เกิน 300 บาทต่อคร่งึ วนั (เกิน 3 ชม.แต่ไมถ่ ึง 6 ชม.) 1.2 ไม่เกนิ 600 บาทต่อวัน (เกิน 6 ชม.) 2. ค่าเคร่ืองดม่ื วนั ละไม่เกนิ 30 บาทตอ่ คนตอ่ วัน และครึง่ วันเบกิ ได้ 15 บาทต่อคนตอ่ วัน 3. คา่ ขนส่งข้อสอบ 3.1 การใชร้ ถราชการ ขออนญุ าตใช้รถ ตามระเบยี บวา่ ดว้ ยรถราชการ พ.ศ. 2523 3.2 การจา้ งเหมา ดาเนินการตามระเบียบวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 4. คา่ ตรวจข้อสอบ 4.1 ปรนยั เป็นรายวชิ าละไม่เกนิ 2 บาท ต่อผเู้ ข้าสอบ 1 คน 4.2 อัตนัย เป็นรายวชิ า ขอ้ ละไม่เกิน 2 บาท ตอ่ ผู้เข้าสอบ 1 คน 4.3 กรณีใช้คอมพิวเตอร์ ให้เบกิ จ่ายตามอัตราสว่ นราชการให้บริการเรียกเก็บ 5. ค่าชดเชยสนามสอบ จ่ายให้แก่หนว่ ยรฐั ตามสังกดั หรือเอกชนต่อวนั 5.1 จานวนหอ้ งสอบ 1-5 หอ้ ง ไมเ่ กนิ 1,000 บาท 5.2 จานวนห้องสอบ 6-10 หอ้ ง ไม่เกนิ 2,000 บาท 5.3 จานวนหอ้ งสอบ 11-20 ห้อง ไมเ่ กนิ 3,000 บาท 5.4 จานวนห้องสอบ 20 ห้องข้ึนไป ไมเ่ กิน 4,000 บาท หลักฐานการเบกิ จ่าย 1. หนงั สือราชการขอเบกิ เงิน 2. บันทึกข้อความขออนุมตั ิเบิกเงิน 3. หลกั ฐานการจา่ ยเงินค่าตอบแทนคณะกรรมการเจา้ หน้าทด่ี าเนินการสอบ 4. คาสงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินการสอบ
5 5. รายละเอยี ดห้องสอบ 6. บัญชลี งเวลาคณะกรรมการดาเนนิ การสอบ 7. ใบเสร็จรับเงนิ จากหนว่ ยงานภาครฐั หรอื เอกชนท่ีเปน็ สนามสอบ 8. หนงั สอื ขอใชส้ นามสอบ 9. ใบสาคัญรบั เงนิ พร้อมสาเนาบตั รประจาตวั ประชาชนของผรู้ บั ทาเครอื่ งด่มื 1.2 การจัดหาหนงั สือเรยี น หนังสือเรียน หมายถึง หนังสือเรียนตามโครงการเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ เป็นโครงการ ที่สนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 15 ปี ตั้งแต่ช้ันอนุบาล 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษา อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย ตามสิทธทิ ี่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 และเพ่ือลด ภาระคา่ ใช้จ่ายเป็นการบรรเทาความเดอื ดร้อนของผูป้ กครองเพื่อสร้างโอกาสและขยายโอกาสทางการศึกษา แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนอย่างทั่วถึง มีคุณภาพและเป็นธรรม ตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลและ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ระเบยี บที่เกี่ยวขอ้ งมีดังนี้ 1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และที่แกไ้ ขเพิม่ เตมิ 2. ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าวดว้ ยการพสั ดุ ว่าดว้ ยวิธีการทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 หมายเหตุ ตามหนังสอื คณะกรรมการว่าด้วยการพสั ดุ กรมบัญชีกลางด่วนท่ีสุด ท่ี กค (กพว) 0421.3/ ว 299 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2558 ได้กาหนดวงเงินวิธีการจัดหาพัสดุ โดยยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ สานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เติม และยกเว้นการปฏิบัตติ ามแนวทางปฏิบัติ ในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) ฉะนน้ั การจดั หาพัสดุ ไม่ว่าจะเป็นการจดั ซือ้ หนังสือแบบเรยี นหรือจัดจ้างพิมพ์หนังสือแบบเรียน ทจ่ี ะดาเนนิ การในภาคเรยี นตอ่ ไป ไมว่ า่ จะเปน็ การดาเนินการตามระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ หรอื ดาเนินการตามแนวหนังสือคณะกรรมการวา่ ดว้ ยการพสั ดุ กรมบญั ชีกลาง หรอื ตามพระราชบัญญัติการจัดซือ้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกาศใช้ 24 กุมภาพันธ์ 2560 มผี ลบงั คับใช้หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา 180 วัน และให้ยึดถือประโยชน์ของทางราชการ หรือประโยชนก์ ารนามาใชเ้ ปน็ หลัก โดยในวงเงินท่เี กินวิธีตกลงราคา ใหด้ าเนินการโดยมีการแข่งขนั ราคาอย่าง เป็นธรรม หา้ มนาวธิ ีพิเศษหรือวธิ ีกรณีพเิ ศษ มาใช้ในการจัดหาหรือถ้ายังไม่มีการดาเนินการโดยวิธีท่ีเปิดให้มี การแขง่ ขนั กัน ในกรณีการจดั หาโดยวิธตี กลงราคาหรอื วธิ ีท่เี ปิดให้มีการแข่งขันกัน จะต้องมีการกาหนดราคา กลาง โดยรักษาประโยชน์ของทางราชการเป็นหลัก ซึ่งแหล่งท่ีมาของราคากลาง ให้สืบค้นจากราคาใน ท้องตลาดที่มีการซ้อื ขาย (ตลาดซ้อื ขายหนงั สอื ของ กศน.) หรอื ราคาขายยอ้ นหลงั 2 ปีงบประมาณ และให้นา ราคาตา่ สดุ มาเป็นราคากลาง ในการจัดหาหนังสอื แบบเรียนหรอื พสั ดุอนื่ มาใชใ้ นสถานศึกษา หลกั ฐานการเบกิ จ่าย 1. วธิ ตี กลงราคา 1.1 หนงั สอื ราชการขอเบกิ เงิน 1.2 บนั ทกึ ข้อความขออนุมัตเิ บกิ เงิน 1.3 บันทึกข้อความทราบผลตรวจรับ
6 1.4 ใบตรวจรบั 1.5 ใบส่งของ 1.6 รายงานขอจัดซ้ือ/รายละเอยี ดขอจดั ซ้ือ 1.7 แตง่ ตัง้ คณะกรรมการตรวจรับ 1.8 ใบเสนอราคา/ขอ้ ตกลงซื้อ (ใบส่ังซ้อื ) 1.9 บันทกึ ขอความขออนุญาตจดั ซอ้ื ทง้ั นี้ ระบบ E-bidding เป็นวธิ ปี ฏิบัติแทนการสอบราคาในกรณีที่วงเงินจัดซ้ือจัดจ้างเกิน 1 แสนบาท ขนึ้ ไป 2. วธิ สี อบราคา 2.1 หนังสอื ราชการขอเบกิ เงนิ 2.2 บนั ทึกข้อความขออนุมัติเบกิ เงิน 2.3 รายงานขอจัดซื้อ/รายละเอียดขอจัดซอ้ื 2.4 ประกาศสอบราคา/เอกสารสอบราคา 2.5 คาส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินการจดั ซื้อโดยวธิ สี อบราคา 2.6 เอกสารเก่ียวกบั การยน่ื ซองสอบราคา 2.7 หากมีการย่นื ซองมีบริษัทไหนบ้าง ประกอบกับรายชอ่ื ผยู้ ่ืนซอง 2.8 บันทกึ ผลการสอบราคา จากคณะกรรมการเปดิ ซองสอบราคา 2.9 รายงานผลการสอบราคา 2.10 สัญญาซ้ือขาย (กรณีส่งของภายใน 5 วันทาการ อาจเป็นข้อตกลงซื้อขาย) ถ้ามีส่วนลดให้ บนั ทกึ ส่วนลดดว้ ย 2.11 ใบส่งของ 2.12 บนั ทกึ การตรวจรบั ทราบผลการตรวจรับและอนมุ ตั กิ ารจ่ายเงนิ 1.3 กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน สานกั งาน กศน. จึงกาหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สานักงาน กศน. ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีให้ สถานศกึ ษาจดั เพ่ิมเติมจากการเรียนปกติ ให้กับนักศกึ ษา กศน. ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบข้ันพื้นฐาน ตามกรอบการจดั กิจกรรมเพอ่ื พฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนเพือ่ ให้สถานศกึ ษาปฏบิ ัติเป็นไปในแนวทางเดียวกันอยา่ งมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดความคุ้มค่า ประหยัดเกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนและทางราชการสูงสุด จานวน 9 กิจกรรม ดังน้ี 1. กิจกรรมพฒั นาวชิ าการ 2. กจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ิต 3. กจิ กรรมเพื่อพฒั นาความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) 4. กจิ กรรมด้านกีฬาและสง่ เสริมสุขภาพ 5. กิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสปู่ ระชาคมอาเซยี น 6. กิจกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพยี ง
7 8. กจิ กรรมลูกเสอื -ยวุ กาชาด 9. กิจกรรมกีฬาสง่ เสรมิ สุขภาพและความสามารถพิเศษ หนงั สือและระเบียบท่เี กย่ี วข้อง 1. หนังสอื สานกั งาน กศน. ดว่ นทีส่ ุด ท่ี ศธ 0210.04/214 ลงวนั ที่ 14 มกราคม 2556 2. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการพานักเรยี น นกั ศกึ ษาไปศึกษานอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 3. แนวปฏิบตั ิ ตาม พรบ. ขอ้ บังคบั ลกู เสอื และข้อบงั คับของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ หลักเกณฑก์ ารเบิกจ่าย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้จ่ายเป็น ค่าอาหาร คา่ เชา่ ท่พี ัก คา่ เช่าสถานที่ คา่ เช่ายานพาหนะเทา่ นน้ั และให้จ่ายให้กับเอกชน หรือส่วนราชการอื่น ตามทีเ่ รยี กเกบ็ มใิ ห้จ่ายกับตัวผู้เรียน ฉะนัน้ จงึ ไม่มกี ารจา่ ยเบ้ียเลยี้ งเดินทางใหก้ บั นักศกึ ษา อาหารว่าง และ เครือ่ งดืม่ ตามระเบียบเกย่ี วกบั การเดนิ ทางไปราชการ เพราะผู้เรียนไม่ใชผ่ ู้ปฏิบัตงิ านใหร้ าชการ หลักฐานการเบิกจ่าย 1. หนังสอื ราชการขอเบิกเงิน 2. บันทึกข้อความขออนุมัตเิ บกิ เงนิ 3. ใบสาคญั รบั เงนิ ค่าตอบแทนวิทยากร (ถ้าม)ี 4. สาเนาบตั รข้าราชการ/สาเนาบตั รประจาตัวประชาชนรบั รองสาเนาถกู ตอ้ ง (ถ้ามกี ารเบิก ค่าตอบแทนวิทยากร) 5. หนังสือเชญิ วิทยากร 6. ใบเสร็จรับเงินคา่ บารุงสถานที่ (กรณถี ้าม)ี โดยประทบั ตราสว่ นราชการ/วดั /เจา้ หน้าทผ่ี เู้ ก่ยี วขอ้ งกับ การรบั เงนิ สถานที่น้ัน 7. หนงั สอื ขอใช้สถานท่ี (กรณถี า้ มีการขอใชส้ ถานท)่ี 8. หนังสอื อนมุ ตั กิ ารจัดกิจกรรม 9. ตาราง/กาหนดการจัดกจิ กรรม 10. บญั ชลี งเวลาผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม 11. หนังสอื ขออนุญาตกรณีพานกั ศกึ ษาออกนอกสถานที่ 12. เบิกคา่ วสั ดุ/ค่าจา้ งเหมา ปฏิบัตติ ามระเบยี บพสั ดฯุ 13. โครงการ 14. ตาราง/กาหนดการจัดกิจกรรม 15. หนังสือขออนมุ ัตจิ ัดกจิ กรรม/หนงั สือเชญิ วทิ ยากร/หนังสือขอใช้สถานท่ี 16. บญั ชลี งเวลาผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรม 17. ใบสาคญั รับเงนิ 18. หลักฐานการเบิกค่าวัสดุ/ค่าจ้างเหมายานพาหนะ ซงึ่ ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบพัสดฯุ
8 หลักเกณฑก์ ารเบกิ จา่ ยเงนิ อดุ หนุน 1. ให้เบิกจ่ายตามหนังสือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ด่วนที่สุด ที่ ศธ 0210.117/3667 ลงวันท่ี 28 มีนาคม 2559 2. คาส่ังสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 605/2559 ลงวนั ที่ 28 มีนาคม 2559 3. ค่าใชจ้ ่ายในการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น และหรือกิจกรรมเรียนรูเ้ สรมิ หลกั สูตรฯ การเบกิ จา่ ยเงนิ อดุ หนุน การเบิกจา่ ยเงนิ อุดหนนุ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ดังตอ่ ไปนี้ 1. ค่าตอบแทนครูประจาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ครูประจากลุ่ม ครูประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ครูปวช.) ครผู ู้สอนคนพกิ าร และครูสอนเด็กเรร่ ่อน ตามเกณฑท์ กี่ ระทรวงการคลงั กาหนด 2. ค่าตอบแทนบุคลากรทเ่ี กี่ยวกับการจัดการศกึ ษาทางไกล 3. ค่าตอบแทนวทิ ยากรสอนเสรมิ 4. ค่าตอบแทนบคุ ลากรดาเนินงานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 5. คา่ ตอบแทนคณะกรรมการเทียบโอน 6. เงนิ เพิ่มคา่ ครองชพี หรือเงินประเภทอืน่ ตามที่กระทรวงการคลังกาหนด 7. คา่ บริหารจดั การศกึ ษานอกระบบสาหรับภาคีเครือข่าย เหมาจ่ายตามรายหัวผู้เรียนอัตราต่อคนไม่ เกินวงเงินที่ได้รับการจัดสรรจากสานักงบประมาณ โดยจ่ายเป็นรายงวดตามเกณฑ์ที่สานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกาหนด โดยใชใ้ บเสร็จรับเงนิ หรือใบสาคญั รบั เงนิ แลว้ แตก่ รณี เป็นหลักฐานใบสาคญั คจู่ ่ายประกอบการเบกิ จา่ ยเพอ่ื ให้สานักงานตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ตรวจสอบ 8. คา่ ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และหรอื กิจกรรมเรยี นรเู้ สริมหลกั สูตรเปน็ คา่ อาหาร อาหารว่างและเครอ่ื งดื่ม คา่ เชา่ ที่พกั คา่ เช่าสถานที่ คา่ เชา่ ยานพาหนะ ให้กบั เอกชนหรือส่วนราชการอน่ื ตามท่ี เรยี กเกบ็ ตามความจาเปน็ เหมาะสมและประหยัด 9. ค่าใช้จ่ายในการวัดผล ประเมินผลการศึกษา 10. ค่าพฒั นาบุคลากรทเ่ี กีย่ วข้องกับการจดั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 11. คา่ ดาเนนิ การเก่ยี วกบั ค่าสอ่ื วสั ดอุ ุปกรณก์ ารศึกษา และคา่ สาธารณูปโภค 12. คา่ ใช้จา่ ยในการนิเทศตดิ ตามผล การจดั การศึกษา 13. คา่ ดาเนนิ การจัดสอบ 14. ค่าธรรมเนียมการโอนเงนิ ผา่ นธนาคาร ใหก้ บั หนว่ ยงานภาครัฐ และเอกชน 15. ค่าใช้จา่ ยอ่นื ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
9 ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และหรือกจิ กรรมเรยี นรเู้ สรมิ หลักสตู ร ตามเกณฑอ์ ัตราทสี่ านกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ข้อ 8 ตามคาสัง่ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 605/2559 ลงวันท่ี 28 มนี าคม พ.ศ. 2559 อาศัยอานาจตามความในมาตรา 45 (7) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราช การ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ข้อ 3 (1) แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการมอบอานาจของ ผู้ดารงตาแหน่งในสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการให้แก่บุคคลอ่ืน พ.ศ. 2548 ประกอบกับ ข้อ 6 แห่ง ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป พ.ศ. 2548 จึงมอบอานาจให้เลขาธิการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปฏิบัติราชการแทนในเรื่อง การใหค้ วามเห็นชอบหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินของสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีได้รับงบประมาณงบเงินอุดหนุนทั่วไปตามคาส่ังสานักงาน ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ 160/2554 ส่งั ณ วันที่ 1 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2554 ดงั ต่อไปนี้ 1. อตั ราการเบกิ ผูเ้ รียน 1.1 ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม วันละ 2 ม้ือ ๆ ละไม่เกิน 20 บาทต่อคน กรณีการเข้าค่าย การฝึกอบรม ยกเว้น คา่ เครื่องดื่มนักกฬี า กรรมการ เจ้าหน้าที่ในวันแขง่ ขัน คนละไมเ่ กนิ 20 บาทต่อวัน 1.2 คา่ อาหารมือ้ ละไม่เกิน 70 บาทต่อคน กรณีการเข้าค่าย การฝึกอบรม ยกเว้น กิจกรรมกีฬา กศน. ใหเ้ บิกค่าอาหารนกั กีฬาในวันซอ้ มและวนั แข่งขนั คนละไมเ่ กิน 70 บาทต่อม้ือไมเ่ กนิ 15 วัน 1.3 ค่าทีพ่ ัก ใหเ้ บกิ จ่ายตามที่หนว่ ยงานที่ใหบ้ รกิ ารเรียกเกบ็ โดยประหยัด 1.4 ค่าจ้างเหมายานพาหนะ ตามที่ผู้ให้บรกิ ารเรยี กเกบ็ โดยประหยัด 1.5 ค่าเบีย้ ประกนั อุบตั ิเหตุนักศกึ ษาและเจ้าหนา้ ที่ ท่มี ใิ ชข่ า้ ราชการหรือลูกจ้างของทางราชการใน อัตราคนละไม่เกิน 25 บาทต่อคนตอ่ ครั้ง 1.6 ค่าเช่าสถานท่ีท่ีจ่ายให้กับหน่วยงานเอกชนหรือส่วนราชการอื่นตามท่ีเรียกเก็บตามความ จาเป็น เหมาะสมและประหยัด 1.7 ค่าวสั ดทุ ่จี าเป็นและเก่ยี วข้องในการจัดกจิ กรรม ตามเหมาะสมและประหยดั 1.8 ค่าเขา้ ชมสถานที่แหล่งเรยี นรู้ ตามทีจ่ ่ายจรงิ ยกเวน้ แหลง่ เรียนรขู้ อง กศน. 1.9 คา่ ตอบแทนวิทยากรสอนเสรมิ และหรอื กจิ กรรมพฒั นาวชิ าการ ไม่เกินชั่วโมงละ 200 บาท ตอ่ คนตอ่ ชัว่ โมง ยกเวน้ กจิ กรรมลูกเสอื ยุวกาชาด การเข้าค่าย การฝึกอบรมที่ต้องจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร เปน็ คณะ ไม่เกนิ ช่ัวโมงละ 600 บาทตอ่ คณะ (โดยมผี ้เู ขา้ คา่ ย ไม่น้อยกวา่ 40 คน) 2. อตั ราการเบิกกจิ กรรมกฬี า กศน. 2.1 ค่าตอบแทนกรรมการตดั สนิ กีฬาและกรีฑา คนละไม่เกิน 500 บาทตอ่ คนตอ่ วัน 2.2 ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ดูแลและอานวยความสะดวก ค่าตอบแทนเจ้าหน้าท่ีตารวจ แพทย์ ประจาสนาม และเจ้าหน้าที่พยาบาล วนั ละไม่เกิน 300 บาทตอ่ วนั ต่อคน ยกเวน้ กรณไี ดร้ ับคา่ ตอบแทนอื่นใด จากการปฏบิ ตั งิ านดังกลา่ วจากทางราชการหรอื เบิกจ่ายเบี้ยเลย้ี งตามระเบียบของทางราชการแลว้ 2.3 ค่าของที่ระลึกประธานซึง่ เปน็ บคุ คลภายนอกในพธิ เี ปิด/พิธีปิด ชิน้ ละไมเ่ กิน 500 บาท 2.4 คา่ เชา่ อปุ กรณ์เครอื่ งเสียง และหรือเครอื่ งใช้ไฟฟา้ ระบบแสงสว่างและเครื่องป่ันไฟตามที่จ่าย จริง ตามความจาเปน็ เหมาะสมและประหยดั
10 2.5 ค่าจ้างเหมายานพาหนะสาหรับนักกีฬา เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมในวันแข่งขัน ตามท่ีผู้ให้บริการ เรียกเกบ็ โดยประหยดั 2.6 คา่ เชา่ รถสขุ าเคลอ่ื นที่ ตามที่จา่ ยจรงิ 2.7 ค่าเสอ้ื และกางเกง สาหรบั นกั กฬี าสวมใสใ่ นการแข่งขันกีฬาแต่ละประเภท ชุดละไม่เกิน 300 บาทตอ่ คน 2.8 คา่ พลุ ดอกไม้เพลิง คา่ ใชจ้ ่ายในพธิ ีเปิด-ปดิ การแขง่ ขนั ในวงเงินไมเ่ กิน 30,000 บาท 2.9 ค่าวสั ดแุ ละเครื่องแต่งกายขบวนพาเหรด ในวงเงินไมเ่ กิน 3,000 บาท 2.10 ค่าท่ีพักสาหรับนกั กฬี า เจ้าหน้าท่คี วบคุมใหเ้ บกิ จา่ ยตามที่หน่วยงานให้บริการเรียกเก็บโดย ประหยัด 1.4 การประเมินเทียบระดับการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศและมอบหมายให้สถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งาน กศน. ดาเนินการเทยี บ ระดับการศึกษามาต้ังแต่ปีการศึกษา 2548 จนถึงปัจจุบัน การประเมินเทียบระดับการศึกษาเป็นการ ดาเนนิ งานทใ่ี ห้คณุ คา่ และความสาคัญของความรแู้ ละประสบการณข์ องบุคคลทม่ี กี ารสั่งสมมาอยา่ งตอ่ เนื่องซึ่ง ความรแู้ ละประสบการณด์ งั กล่าว อาจเกดิ จากประสบการณ์ตรงในการทางาน การประกอบอาชพี หรอื ความรู้ ที่เกิดจากการศกึ ษาดูงาน การศกึ ษาจากสถาบนั การศกึ ษา หน่วยงาน แหลง่ เรียนรูต้ า่ งๆ หรอื สือ่ เทคโนโลยีที่มี อยอู่ ยา่ งแพรห่ ลาย มวลประสบการณ์และความรู้ทั้งหลายเหล่าน้ัน สามารถนามาประเมินเพื่อให้การรับรอง ความรแู้ ก่ผู้ที่ยงั ไมไ่ ดร้ บั การศึกษาใหไ้ ดร้ ับการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และหรือ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลกั การ 1. เปน็ การยอมรับคุณค่าของผลการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย การประกอบอาชพี และจากประสบการณ์ทางาน 2. เป็นการสง่ เสรมิ ใหส้ งั คมมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา หรอื จดั แหลง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 3. เป็นการสง่ เสริมใหบ้ ุคคลมีการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิตจากรูปแบบการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย 4. เป็นการดาเนินการท่ใี หค้ วามสาคญั กบั มวลประสบการณ์ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม ที่เป็นองค์รวมของบุคคล 5. เป็นการดาเนนิ การทมี่ มี าตรฐาน มคี วามเปน็ ธรรมโปร่งใส และตรวจสอบได้ วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ เปดิ โอกาสใหผ้ ู้รู้มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และคุณธรรม จริยธรรม ได้รับการรบั รอง คุณวุฒิทางการศึกษา และมีหลักฐานการศึกษาเพ่ือใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพแสดงสถานะในสังคม หรอื การศกึ ษาตอ่ 2. เพอื่ สรา้ งแรงจงู ใจใหบ้ ุคคลทวั่ ไปมคี วามกระตือรอื รน้ ในการทจี่ ะแสวงหาความรู้ เพมิ่ ทกั ษะและส่งั สม ประสบการณ์อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ิต 3. เพื่อตอบสนองความต้องการ การยอมรับความรู้ และประสบการณ์ของผู้เข้าประเมินเทียบระดับ การศกึ ษา ซงึ่ จะทาให้มคี วามมัน่ ใจในตนเอง มน่ั ใจในสถานภาพทางสังคม
11 รปู แบบของการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา มี 2 มติ ิ ดงั น้ี 1. มติ ิประสบการณ์ เปน็ การประเมนิ ตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ ด้านการพัฒนาอาชีพ ด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิต และด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ใช้วิธีการประเมินจากสภาพจริงและสัมภาษณ์โดย คณะกรรมการประเมนิ เทียบระดับศึกษา 2. มติ คิ วามรู้ความคดิ เปน็ การประเมินสมรรถภาพทางด้านความรู้ความคิด ใน 6 มาตรฐานใช้วิธีการ ทดสอบ คา่ ตอบแทนคณะกรรมการประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษา ในการเรียกเก็บคา่ ธรรมเนียมในการประเมนิ เทียบระดับการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในอัตรา 3,000 บาท ต่อผู้เข้าประเมิน 1 คน โดยมีรายละเอียดการใช้จ่าย ดังน้ี (ตามหนังสือสานักงาน กศน. ท่ี ศธ 0210.03/3419 ลงวนั ท่ี 12 กนั ยายน 2554) ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสอบมิติประสบการณ์ ค่าตอบแทนการประเมินมิติประสบการณ์ ท่ีเป็น การประเมินเชิงประจักษ์ (จ่ายให้คณะกรรมการประเมินเทียบระดับการศึกษา คณะอนุกรรมการ ลักษณะ เหมาจา่ ย 5 คน ๆ ละ ไมเ่ กนิ 550 บาทตอ่ ผูเ้ ข้ารบั การประเมินเทยี บระดับการศึกษา 1 คน) หลกั ฐานการเบกิ จ่าย 1. หนงั สอื ราชการขอเบิกเงนิ 2. บันทกึ ขอ้ ความขออนุมตั กิ ารเบิกจา่ ยเงนิ 3. ใบสาคัญรับเงินของคณะกรรมการประเมนิ เทยี บระดับการศึกษา 4. พรอ้ มสาเนาบตั รข้าราชการ/บตั รประจาตวั ประชาชนรับรองสาเนาถกู ต้อง 5. รายช่ือผเู้ ข้ารับการประเมนิ เทยี บระดับการศกึ ษาท่ีคณะกรรมการประเมนิ เทยี บระดบั การศึกษาสอบ ประเมินจากสภาพจริงและสัมภาษณ์ 6. คาสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ เทียบระดับการศกึ ษา ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินการสอบมิตคิ วามร้คู วามคิด หลักเกณฑก์ ารเบกิ จา่ ย ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสอบมิติความรู้ความคิด สามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการ เจา้ หนา้ ท่ดี าเนินการสอบ ค่าเครอ่ื งดื่ม คา่ ชดเชยสนามสอบ คา่ ขนสง่ ขอ้ สอบ ดงั น้ี 1. คา่ ตอบแทนกรรมการ เจ้าหน้าทดี่ าเนินการสอบ อตั ราตอ่ คน 1.1 ไม่เกนิ 300 บาท ตอ่ ครง่ึ วนั 1.2 ไมเ่ กิน 600 บาท ต่อวนั 2. คา่ เคร่อื งดืม่ วันละไมเ่ กิน 30 บาทตอ่ คน 3. คา่ ชดเชยสนามสอบหนว่ ยงานภาครัฐตา่ งสังกดั หรือเอกชนตอ่ ครั้ง 3.1 จานวนหอ้ งสอบ 1-5 ห้อง ไม่เกนิ 1,000 บาท 3.2 จานวนห้องสอบ 6-10 ห้อง ไม่เกนิ 2,000 บาท 3.3 จานวนห้องสอบ 11-20 หอ้ ง ไม่เกนิ 3,000 บาท 3.4 จานวนห้องสอบ 20 หอ้ งข้นึ ไป ไมเ่ กิน 4,000 บาท
12 4. คา่ ขนส่งข้อสอบ 4.1 การใชร้ ถราชการ ขออนญุ าตใช้รถ ตามระเบยี บว่าดว้ ยรถราชการ พ.ศ. 2523 4.2 การจา้ งเหมา ดาเนินการตามระเบยี บว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 หนงั สือที่เกย่ี วขอ้ ง 1. หนงั สอื สานักงาน กศน. ท่ี ศธ 0210.117/4514 ลงวันท่ี 3 ธันวาคม 2552 เรื่อง ค่าใช้จ่ายค่าบารุง สนามสอบ 2. หนังสือสานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.117/3399 ลงวันท่ี 8 กรกฎาคม 2556 เรื่อง หลักเกณฑ์ การเบิกคา่ ชดเชยสนามสอบ หลักฐานการเบิกจา่ ย 1. คา่ ตอบแทนกรรมการ เจา้ หนา้ ที่ดาเนินการสอบ 1.1 หนังสอื ราชการขอเบกิ เงิน 1.2 บันทกึ ข้อความขออนมุ ัตเิ บกิ จา่ ยเงนิ 1.3 คาส่ังแต่งต้งั คณะกรรมการเจ้าหน้าทดี่ าเนนิ การสอบ 1.4 ใบลงเวลาการปฏิบตั ิงานและมผี รู้ ับรองการปฏบิ ตั งิ านทตี่ อ้ งตรงกับคาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการ เจา้ หน้าที่ดาเนนิ การสอบ 1.5 หลักฐานการจา่ ยเงินคา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั ิงานของกรรมการ เจ้าหนา้ ท่ีดาเนินการสอบโดยระบุ จานวนเงินทีเ่ บิก วัน เวลาทีป่ ฏบิ ตั งิ านถกู ตอ้ ง ตรงกบั การอนมุ ตั ใิ ห้ปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ 1.6 หลกั ฐานการอนุมตั ิจ่ายเงินของผูม้ อี านาจ 2. ค่าเคร่ืองด่ืม 2.1 คาสัง่ แต่งต้งั คณะกรรมการเจา้ หนา้ ทด่ี าเนินการสอบ 2.2 ใบลงเวลาการปฏิบัติงาน และมีผู้รับรองการปฏิบัติงานที่ถูกต้องตรงกับคาส่ังแต่งตั้ง คณะกรรมการ เจา้ หน้าทด่ี าเนนิ การสอบ 2.3 ใบสาคัญรบั เงนิ พร้อมสาเนาบตั รประชาชนของผรู้ ับทาเครอ่ื งด่ืม 2.4 หลกั ฐานการอนุมตั ิจ่ายเงินของผมู้ ีอานาจ 3. ค่าชดเชยสนามสอบ 3.1 หนงั สอื ขอใชส้ ถานท่เี ปน็ สนามสอบ 3.2 ใบเสรจ็ รบั เงินจากหน่วยงานภาครัฐต่อสังกัด หรอื เอกชนที่เปน็ สนามสอบ 3.3 หลักฐานการอนุมัตจิ า่ ยเงนิ ของผู้มีอานาจ 4. ค่าขนส่งข้อสอบ 4.1 รายงานขอซ้ือ ขอจ้างที่ผมู้ ีอานาจได้ให้ความเหน็ ชอบและอนุมตั ใิ ห้ดาเนินการ 4.2 ความเห็นของเจา้ หน้าทพ่ี สั ดทุ ส่ี บื ราคา หรือคณะกรรมการ 4.3 ใบสาคัญรบั เงินพร้อมสาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน ซงึ่ ตอ้ งระบจุ านวนเงินตามสัญญา 4.4 ใบตรวจรบั ของคณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ 4.5 หลกั ฐานทราบผลการดาเนินการและการอนุมตั จิ ่ายเงนิ ของผู้มอี านาจ
13 1.5 การจดั การศึกษาสาหรบั คนพิการ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสาหรับคนพิการน้ัน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ คนพิการได้มีความรู้ ความสามารถ และทราบถึงศักยภาพของตนเองเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต ใหส้ ามารถอยใู่ นครอบครัว ชมุ ชนและสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ โดยไม่ตอ้ งเปน็ ภาระให้กับผู้อื่นและยังสามารถ ใช้ศกั ยภาพที่ได้รบั การพฒั นาแล้วไปชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ ได้ตามศกั ยภาพของตนเอง ค่าตอบแทนครูผูส้ อนคนพกิ าร ครูผู้สอนคนพิการ เป็นผู้ท่ีทาหน้าท่ีจัดกิจกรรมและอานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ กลุ่มเป้าหมายพิเศษทีเ่ ปน็ คนพกิ าร ซ่งึ นบั วา่ เป็นบุคคลทมี่ ีบทบาทสาคัญย่ิงท่จี ะทาให้คนพิการมีศักยภาพและ คุณภาพชีวติ ท่ดี ขี นึ้ เนอ่ื งจากคนพกิ ารมขี อ้ จากดั ในหลาย ๆ ดา้ นทจี่ ะไปศกึ ษาจากในระบบโรงเรียน ดังน้ันเมื่อ ครูผู้สอนคนพิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน ต้ังแต่ส่งเสริมการเรียนรู้หนังสือ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เร่ิมตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การศึกษาต่อเน่ือง ซึ่งประกอบไปด้วย การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต และการศกึ ษาเพ่อื พัฒนาอาชีพ พร้อมท้ังจัดการศึกษาตามอัธยาศัย จึงทาให้ ครผู สู้ อนคนพกิ ารเปรียบเสมือนผูช้ ว่ ยเหลือให้คาปรึกษา และช้ีแนะแนวทางให้คนพิการได้รู้ถึงศักยภาพของ ตนเองสามารถอยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชนและสังคมได้อย่างมีความสุขและสามารถช่วยเหลือสังคมได้ตาม ศกั ยภาพของตนเอง หลักเกณฑ์การเบกิ จ่าย 1. ให้เบิกจ่ายค่าตอบแทนเหมาจ่ายเป็นรายเดือนสาหรับครูผู้สอนคนพิการ ซ่ึงทาหน้าท่ีในการจัด การศึกษาข้ันพื้นฐาน จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ หรือจัด การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และงานอ่ืน ๆ ท่ีได้รับมอบหมาย ในอัตราวุฒิการศึกษาไม่เกินวุฒิ ปริญญาตรีตามที่ก.พ.กาหนดในอัตราค่าตอบแทนเหมาจ่ายเดือนละ 15,000 บาท (ตามหนังสือสานักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.02/1863 ลงวนั ท่ี 23 เมษายน 2557 เรื่อง การจา้ งเหมาบริการเอกชนดาเนินงานของส่วน ราชการ) และแตล่ ะเดอื นต้องรบั ผดิ ชอบคนพิการ ดังน้ี 1.1 รับผิดชอบคนพิการที่มีความบกพร่องทางการเห็นหรือได้ยิน หรือทางร่างกายหรือ การเคลอื่ นไหว หรือสขุ ภาพ กลมุ่ ละไม่ต่ากว่า 10 แตไ่ มเ่ กนิ 15 คน 1.2 รบั ผดิ ชอบคนพิการทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา หรือทางการเรียนรู้ หรือทางการพูด และ ภาษา หรือทางพฤติกรรม หรอื อารมณ์ หรือบุคคลออทิสติก หรือบุคคลพิการซ้อน กลุ่มละไม่ต่ากว่า 5 แต่ไม่ เกนิ 8 คน 2. ค่าพาหนะเดินทางไปสอนคนพิการในอัตราคนละ 1,000 บาท (หนังสือสานักงาน กศน. ที่ศธ. 0210.117/443 ลงวนั ที่ 31 มกราคม 2560 เร่อื ง ซกั ซ้อมความเข้าใจและแนวปฏิบัติในการเบิกจ่ายค่า พาหนะของครูผสู้ อนคนพกิ าร) หลกั ฐานการเบกิ จ่าย 1. หนังสอื ราชการขอเบกิ เงิน 2. บนั ทึกข้อความขอเบิกเงินคา่ ตอบแทน 3. แผนหรอื ปฏทิ ินการปฏบิ ัติงานประจาเดือน 4. หนงั สอื ขออนมุ ตั เิ ดนิ ทางไปจัดกจิ กรรม (ตามแผนหรือปฏิทนิ การปฏบิ ตั งิ านประจาเดือน)
14 5. รายงานผลการปฏิบตั งิ าน 6. ใบเบกิ คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) 7. ใบรบั รองแทนใบเสรจ็ รับเงนิ (แบบ บก.111) 8. สญั ญาจ้าง (แนบเฉพาะเบิกจา่ ยเดอื นแรกของสญั ญา) และรบั รองสาเนาถูกต้องทกุ แผ่น
15 หน่วยที่ 2 ความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับระเบียบการเงินและพสั ดุในการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง การจดั การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพ่ิมเติมพุทธศักราช 2554 ) และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด จุดมุ่งหมายสาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ประกอบการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต ท้ังด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ้ ม รวมทั้งการเชื่อมโยงสังคมเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นท่ีจะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายประชาชนได้รับการเรียนรู้ท่ี สอดคล้องกับ การเปล่ียนแปลงของโลกท้ังด้านการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาทักษะชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน ซง่ึ จาเป็นตอ้ งใชว้ ธิ กี ารและรูปแบบท่ีหลากหลาย ตามความตอ้ งการและความสนใจของประชาชนทุกกลุ่มวัย โดยเน้นกระบวนการคิดเพือ่ แก้ปญั หาในชวี ิตประจาวัน ตามหลกั ปรัชญาคิดเปน็ และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเนื่อง พุทธศักราช 2554 ประกาศ ณ วนั ท่ี 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 นโยบายด้านการจดั การศึกษาต่อเนือ่ ง ดงั นี้ 1. มุ่งเนน้ ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาไปใช้ในการประกอบอาชีพ พัฒนา อาชีพ พัฒนาทักษะชวี ติ และพฒั นาสงั คมและชุมชน เพอื่ ให้สามารถอยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสขุ 2. พัฒนาหลักสูตรที่ยึดหลักความสอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็นของกลุ่มเป้าหมาย เปน็ ไปตามสภาพบริบทชุมชนและสังคม รวมถึงนโยบายของทางราชการ 3. จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยยึดหลักความสอดคล้องกับศักยภาพและความ พรอ้ มของผเู้ รียน ความหลากหลายตามความแตกตา่ งของกลมุ่ เปา้ หมาย รวมท้ังบรู ณาการปรชั ญาคดิ เปน็ และ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดต้ ามความเหมาะสม 4. ยึดหลกั การมีสว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายและภูมิปัญญาในการดาเนนิ งาน วัตถปุ ระสงค์ 1. สง่ เสริมให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอาชีพ พัฒนาทักษะชีวิต และ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 2. ให้กลุ่มเป้าหมายได้เหน็ ช่องทางการประกอบอาชพี หรือการต่อยอดอาชีพเดิมให้พฒั นา และสามารถ พงึ่ พาตนเองได้ 3. ให้กลุ่มเป้าหมายดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทว่ั ไป เป้าหมาย การจดั การศึกษาต่อเน่ือง มีเป้าหมายเพ่ือให้ประชาชนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถ และทักษะใน การประกอบอาชีพ มีการใช้ความรู้จากภูมิปัญญาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีทักษะชีวิตท่ีจาเป็นสาหรับ
16 การดารงชวี ิตในสังคมปจั จบุ ันรวมทั้งมุ่งใช้กระบวนการศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาสังคมและชุมชนให้ พงึ่ ตนเองได้ ตามหลักปรัชญาคิดเปน็ และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการจดั การจัดการศึกษาต่อเน่ือง ประกอบไปด้วยกิจกรรมการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือ พฒั นาทกั ษะชีวิต และการศึกษาเพอ่ื พฒั นาสังคมและชุมชน โดยมีวิธกี ารจัด 2 รูปแบบ ดังน้ี 1. รูปแบบกลุ่มสนใจ เป็นการจัดการศึกษาหลักสูตรไม่เกิน 30 ช่ัวโมง โดยมีผู้เรียนจานวนกลุ่มละ 6 คนข้ึนไป 2. รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชีพ เปน็ การจัดการศึกษาหลกั สตู ร 31 ช่วั โมงข้ึนไป โดยมผี ู้เรียนจานวนกลุม่ ละ 11 คนขนึ้ ไป แบง่ เปน็ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 2.1 ชัน้ เรยี นระยะสนั้ เป็นการจดั หลกั สูตรตง้ั แต่ 31-100 ชวั่ โมง 2.2 ช้นั เรยี นระยะยาว เปน็ การจัดหลกั สูตร 100 ชั่วโมงขึ้นไป ลักษณะการจัด การจดั การศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษาสามารถจัดได้ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. สถานศึกษา กศน. เปน็ ผจู้ ดั 2. สถานศึกษา กศน. ร่วมจัดกับภาคีเครือข่าย โดยให้สถานศึกษา ประสานการดาเนินงานร่วมกับ ภาคเครอื ขา่ ย 3. ภาคเี ครอื ขา่ ย เป็นผู้จัด สถานศึกษา กศน. ส่งเสริมสนับสนุนให้เครือข่ายเป็นผู้จัด โดยมีการจัดทา ขอ้ ตกลงรว่ มกนั หลักเกณฑก์ ารเบิกจ่ายในการเบิกคา่ ใช้จา่ ยในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศกึ ษา ในการจัดกิจกรรมที่จัดในรูปแบบการฝึกอบรม การศึกษาดูงานและเวทีประชาคม ได้แก่ การพัฒนา ทักษะชวี ติ กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาสงั คมและชุมชน และการส่งเสริมการดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้แก่ประชาชน (ตามหนังสอื สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ด่วนที่สุด ท่ี ศธ 0210.117/3193 ลงวันท่ี 15 มนี าคม 2559 เรอื่ ง การเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนของสถานศึกษา สังกัด สานกั งาน กศน.) ดังนี้ 1. ค่าอาหารกลางวันมื้อละ 70 บาท/คน 2. คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งด่มื มอื้ ละ 25 บาท/คน 3. ค่าเชา่ ยานพาหนะ ตามท่ีสถานบริการเรียกเก็บโดยประหยัด 4. ค่าตอบแทนวิทยากร ในอัตราไมเ่ กนิ ชวั่ โมงละ 200 บาท หลกั เกณฑ์การเบกิ จา่ ย การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต่อเน่ืองตามวิธีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ มีแนวทาง การดาเนินงาน ดังน้ี 1. รปู แบบกลุ่มสนใจ 1.1 ค่าตอบแทนวิทยากร ผู้เรียนตั้งแต่ 6 คนข้ันไป จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละไม่เกิน 120 บาท
17 1.2 ค่าวัสดุ กรณีที่มีการฝึกปฏิบัติให้เบิกจ่ายเท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็นเหมาะสม ประหยัด เพ่อื ประโยชนข์ องทางราชการ โดยหลักสูตร 1-30 ชั่วโมง จ่ายคา่ วสั ดุฝึกไดไ้ มเ่ กนิ 1,000 บาท/กลุ่ม 2. รปู แบบชนั้ เรยี นวิชาชีพ 2.1 ค่าตอบแทนวทิ ยากร ผูเ้ รยี นต้ังแต่ 11 คนขึ้นไป จา่ ยคา่ ตอบแทนวิทยากรชั่วโมงละไม่เกิน 200 บาท 2.2 ค่าวัสดุ กรณีที่มีการฝึกปฏิบัติให้เบิกจ่ายเท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด เพือ่ ประโยชนข์ องทางราชการ หลักสูตร 31-50 ช่วั โมง จา่ ยค่าวสั ดุฝกึ ไดไ้ ม่เกนิ 3,000 บาท/กลุ่ม หลกั สตู ร 51-70 ชั่วโมง จ่ายค่าวัสดุฝกึ ได้ไม่เกนิ 4,000 บาท/กลมุ่ หลกั สูตร 71 ชว่ั โมง ขน้ึ ไป จา่ ยคา่ วัสดฝุ กึ ได้ไมเ่ กิน 5,000 บาท/กลุ่ม แนวทางการจดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเนอ่ื ง การจดั การศึกษาต่อเนื่อง ประกอบไปด้วยกิจกรรมการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อ พฒั นาทักษะชีวิตและการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถเลือกจัดในรูปแบบกลุ่ม สนใจ และชน้ั เรียนวชิ าชีพ ไดต้ ามความเหมาะสมโดยใช้หลกั สตู รจากแหลง่ ต่าง ๆ ดงั นี้ หลกั สตู รท่สี ถานศึกษาจดั ทาข้ึนเอง หลักสตู รกลางทสี่ านกั งาน กศน. จัดทาขึ้น หลักสตู รที่สถานศกึ ษาอน่ื ในสังกัด สานกั งาน กศน. จัดทาขน้ึ หลักสตู รของสถานศกึ ษาอ่ืนทไ่ี มส่ งั กดั สานกั งาน กศน. หลกั สตู รของหนว่ ยงานอนื่ โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากหนว่ ยงานนั้น ๆ ทั้งนี้ หลักสูตรต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา และได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร สถานศกึ ษาซ่งึ มแี นวทางการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง ดงั นี้ 1. การจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ เปน็ การจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ เจตคติ และมีทักษะในอาชีพ ตามวัตถุประสงค์ของ หลกั สูตร ประกอบดว้ ย ทกั ษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพ้ืนฐานการคิดแก้ปัญหา การสื่อสาร และทักษะเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาชีพ มีคุณลักษณะที่สาคัญในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ความคิดเชิงบวก ความมุ่งมั่นในการทางาน การทางานร่วมกับผู้อื่น การรักษาสิ่งแวดล้อม และการคานึงถึง ผลประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน การจัดกระบวนการเรียนรู้เน้นการปฏิบัติจริง และการเรียนรู้จาก วิทยากรหรอื ผูร้ ู้ทป่ี ระกอบอาชีพนั้น ๆ โดยการจัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ แบ่งเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับ การพัฒนาอาชพี เพอ่ื การทามาหากิน และระดับการพัฒนาต่อยอดอาชีพเดิม แนวทางการจัดกิจกรรม 1. ให้ผู้เรยี นวเิ คราะห์ตนเอง ตามความสนใจเรยี นในอาชีพน้นั ๆ 2. สถานศึกษาจดั หา หรือพัฒนาหลกั สูตรทีส่ อดคลอ้ งกับความต้องการของผูเ้ รียน 3. ผสู้ อน วิทยากร วเิ คราะหผ์ ้เู รียนเกย่ี วกับความรู้พ้ืนฐาน เปา้ หมายทีผ่ ู้เรยี นตอ้ งการ 4. ดาเนินการจัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามหลักสตู ร
18 5. ประเมินผลการเรียน 6. ติดตามผลหลังจากจบหลักสตู ร 2. การจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะ ทีจ่ าเปน็ สาหรบั การดารงชวี ติ ในสงั คมปจั จบุ ัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และเตรยี มความพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยสี มยั ใหมใ่ นอนาคต โดยเน้นการฝกึ ปฏิบตั ใิ ห้ผู้เรียนเกดิ ทกั ษะชวี ติ 10 ประการ ดังน้ี 1. ทักษะการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจเก่ียวกับเรื่องราวต่างๆ ในชีวิตได้อย่าง รอบคอบ 2. ทักษะการแก้ปญั หา หมายถงึ ความสามารถในการจดั การกบั ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไมเ่ กิดความเครยี ด 3. ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ หมายถงึ ความสามารถในการวเิ คราะห์ แยกแยะข้อมูล ข่าวสาร ปัญหาและ สถานการณ์ต่าง ๆ รอบตัวได้ 4. ทักษะการคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ความคิดอย่างสร้างสรรค์ ช่วยในการ ตัดสินใจและแก้ไขปัญหา เพ่ือค้นหาทางเลือกต่าง ๆ และผลที่จะเกิดขึ้นในแต่ละทางเลือก และสามารถนา ประสบการณ์มาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมีพลังในการตอ่ สู้ และอยา่ งเหมาะสมกบั วัย 5. ทกั ษะการสื่อสารท่มี ีประสทิ ธภิ าพ หมายถงึ ความสามารถในการใช้คาพดู และทา่ ทางเพอื่ แสดงออก ถึงความคิดและความรู้สึกของตนเองอย่างถูกต้อง เหมาะสม เช่น การแสดงความคิดเ ห็น ความต้องการ ความชื่นชม การขอร้อง การเจรจาตอ่ รอง การตักเตือน การช่วยเหลือ การปฏเิ สธ ฯลฯ 6. ทกั ษะการสรา้ งสัมพันธภาพ หมายถงึ ความสามารถสรา้ งความสัมพันธท์ ่ดี ีระหว่างบุคคล และรักษา ความสัมพนั ธ์นัน้ ไว้ได้ 7. ทักษะการตระหนักร้แู ละเหน็ คุณคา่ ในตนเอง หมายถงึ การรูจ้ กั และเขา้ ใจตนเอง เช่น รู้ข้อดี ข้อเสีย ของตนเอง รู้ความต้องการ และส่ิงท่ีไม่ต้องการของตนเอง ซึ่งจะช่วยให้รู้ตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียด หรอื สถานการณต์ ่าง ๆ 8. ทกั ษะความเหน็ ใจผอู้ น่ื หมายถงึ มคี วามเขา้ ใจความเหมือนหรอื ความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคลในด้าน ความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ เข้าใจความรู้สึก และยอมรับ บคุ คลอืน่ ท่ตี า่ งจากตนเอง 9. ทกั ษะการจัดการกับอารมณ์ต่าง ๆ หมายถึง การรับรอู้ ารมณข์ องตนเองและผอู้ ่ืน รูว้ า่ อารมณ์มีผลตอ่ การแสดงพฤตกิ รรมอย่างไร ร้วู ธิ จี ดั การกบั อารมณ์โกรธหรือโศกเศร้าท่ีส่งผลทางลบต่อร่างกาย และจิตใจได้ อยา่ งเหมาะสม 10. ทักษะการจัดการกับความเครียด หมายถึง การรับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลาย ความเครียดและแนวทางในการควบคุมระดบั ความเครยี ด แนวคดิ ในเรอื่ งการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต ให้จัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและเจตคติ เกี่ยวกับเน้ือหาใน 7 เรื่อง โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้นาทักษะชีวิต 1-10 ทักษะมาบูรณาการให้ผู้เรียนมีเจตคติ และมีทักษะชีวิต เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ท้ังนี้ เมื่อจัดครบทุก เนอ้ื หาแลว้ ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการพัฒนาทกั ษะชีวิตครบทง้ั 10 ทักษะ
19 ส่วนเน้ือหาท่ีสถานศึกษานาไปจดั กิจกรรมพฒั นาทักษะชวี ติ เนน้ ใน 7 เรอ่ื ง ดังนี้ 1. สุขภาพกาย-จิต 2. ยาเสพติด 3. เพศศกึ ษา 4. คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทพี่ งึ ประสงค์ 5. ความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยส์ ิน 6. ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม 7. ประชาธปิ ไตยในวถิ ชี วี ิต ท้ังนี้ มีจดุ มุ่งหมายใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง เหน็ ความสาคญั ที่จะต้องเรียนรู้ เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์หรอื ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีทัศนคติ ค่านิยมท่ีถูกต้อง ได้ฝึกทักษะชีวิตที่จาเป็นเพื่อป้องกันแก้ไข ปญั หาท่ีเกดิ ขึน้ ตวั อย่างเชน่ ผู้สูงอายุในชุมชน มีปัญหาป่วยเป็นโรคเบาหวาน/หัวใจ สามารถรวมกลุ่มจัดกิจกรรมทักษะชีวิต โดยฝึกทักษะคิดวิเคราะห์หาสาเหตุ ผลกระทบของโรคต่อการดาเนินชีวิต คิดแนวทางการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการกนิ อาหาร ฝึกทักษะการคิดสร้างสรรค์เมนูอาหารต้านโรค ฝึกคิดวิเคราะห์ว่าตนเองเหมาะกับ การออกกาลงั กายแบบไหนเพอื่ ให้สุขภาพแข็งแรง และฝึกทา่ ออกกาลังกายท่ีเหมาะสมกับวยั เปน็ ต้น ผู้สูงอายุในชุมชน ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ท้อแท้ ขาดกาลังใจ รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่า สามารถจัด กจิ กรรมทักษะชวี ิต โดยฝึกทักษะการตระหนกั รู้และเหน็ คุณค่าในตนเอง เช่น ให้เล่าถึงความหลัง ความภูมิใจ ความสาเร็จในการเลยี้ งลกู เพอื่ ให้เกิดความภาคภูมใิ จ ค้นหาความสนใจในงานอดิเรกเพอื่ แกเ้ หงาหรอื ทาอาชพี ได้ หากมีปญั หาเรอ่ื งการพดู คุยส่อื สารกบั คนในครอบครัว ใหฝ้ ึกทักษะการพูดคยุ เพื่อสรา้ งความเข้าใจระหว่าง กนั หากมปี ัญหาความเครียด ใหฝ้ ึกทักษะการจัดการความเครียด โดยหาสาเหตุของความเครียดและวิธีการ ผอ่ นคลายความเครยี ด เป็นตน้ กลุ่มเป้าหมายในชุมชน มีปัญหาความขัดแย้ง ทาผิดกฎจราจร ไม่รู้จักสิทธิหน้าที่ของพลเมืองดี ตัดไม้ทาลายป่า ท้ิงขยะจนล้นเมือง ติดยาเสพติด ท้องก่อนวัยอันควร ทุจริตคอรัปช่ัน ถูกทาร้าย ขโมย ทรัพย์สิน หลงเชื่องมงายในเรื่องท่ีไม่ถูกต้อง ฯลฯ สามารถจัดกิจกรรมทักษะชีวิตโดย ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์จากขา่ วหนงั สอื พมิ พ์ หรอื สถานการณ์จริงท่เี ปน็ ปัญหาในชมุ ชน เพอื่ ค้นหาสาเหตุ ผลเสยี ทีเ่ กดิ ขน้ึ กับ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ฝึกทักษะการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยคิดหาทางเลือกที่ปฏิบัติได้ ฝึกทักษะการส่ือสารพูดคยุ เพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างกัน เปน็ ต้น แนวทางการจัดกิจกรรม 1. วเิ คราะหส์ ภาพปัญหา ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมาย ชมุ ชน และนโยบายของแตล่ ะระดับ 2. การจดั กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เน้นการ ชวนคดิ ชวนคยุ เพื่อหาข้อสรุปรว่ มกนั ใหค้ รอบคลมุ ทง้ั ดา้ นความรู้ การสร้างเสริมเจตคตทิ ดี่ ี และการฝึกทักษะ ชีวติ ทจ่ี าเปน็ เพื่อแกป้ ัญหาทเี่ กดิ ขนึ้ ในชีวิต สามารถปรบั ตัวอยู่รว่ มกับผ้อู น่ื ได้อย่างมีความสขุ 3. ส่ือท่ีใช้ในการจัดกิจกรรม อาจใช้ข่าวหนังสือพิมพ์ บทความ กระทู้จากเว็บไซต์ ละคร รวมถึงสื่อ บุคคลท่เี ป็นประเด็นปัญหาเรง่ ด่วนในปจั จุบนั เพอื่ เรียนรู้เรอื่ งชวี ติ ในลักษณะ “บทเรียนชวี ิต” ทจ่ี ะนามาพูดคุย เพอื่ ร่วมกันคิด รว่ มกันระมดั ระวงั ปอ้ งกนั และหาทางแกไ้ ข
20 4. กลมุ่ เป้าหมายทีเ่ ปน็ จดุ เน้น ไดแ้ ก่ ผู้สงู อายุ เยาวชนกลุม่ เฉพาะ เช่น คุณแม่วยั ใส กลุม่ เสยี่ งยาเสพตดิ เป็นต้น และกลมุ่ อืน่ ๆ 3. การจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการจดั กระบวนการให้บคุ คลรวมกลมุ่ เพ่อื แลกเปลีย่ นเรยี นรู้รว่ มกนั สรา้ งกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกนั ในการพัฒนาสงั คมและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื โดยยดึ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ แนวปฏิบัติ ตลอดจนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยเน้นการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการ ส่งเสรมิ การดาเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีดังนี้ หมูบ่ ้านเรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท การเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎใี หม่ การทาบญั ชคี รวั เรือน วิสาหกจิ ชุมชน/สหกรณ์ แนวทางการจัดกจิ กรรม หมบู่ ้านเรียนรู้ตามรอยพระยคุ ลบาท มีขน้ั ตอนดงั น้ี 1. สารวจชุมชน หม่บู ้าน ตาบลที่มโี ครงการตามพระราชดาริ หรอื พืน้ ทที่ รงงานของพระบาทสมเดจ็ พระ เจา้ อยู่หัว 2. ถอดองคค์ วามรจู้ ากส่งิ ท่พี ระองคท์ รงงาน ร่วมกับประชาชนและภาคเี ครอื ขา่ ยในพืน้ ท่ี ซึง่ ควรมีหวั ข้อ หลกั ในการถอดองค์ความรู้ ไดแ้ ก่ หลกั การ วิธกี ารในการแก้ปัญหา ผลสาเร็จจากโครงการ และแนวทางการ นาไปประยุกตใ์ ช้ 3. เผยแพร่และนาไปสู่การปฏิบัติในชุมชน โดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายและชุมชน โดยมีการจัดต้ังหมู่บ้าน/ชุมชนเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท ท้ังน้ี กระบวนการ ดาเนินการควรครอบคลมุ การเรยี นรู้ ดา้ นทฤษฎี การฝกึ ปฏิบตั ิ และการสรา้ งเสรมิ เจตคติท่ดี ี ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (สามห่วง 2 เง่อื นไข) 4. การเรยี นรูก้ ารใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อเน้นการแก้ปัญหาการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ สิ่งแวดล้อม และวิกฤติพลังงาน โดยเน้นการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้เครื่องทุ่นแรง โดยให้ ผู้เรียนนาองค์ความรู้จากภูมิปัญญา จากการศึกษาค้นคว้านวัตกรรมที่มีอยู่ หรืออาจประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา เพื่อปรบั ใช้ในครวั เรือน เช่น การนาขยะหรือมูลสตั ว์ มาผลติ เปน็ ก๊าซชวี ภาพ การถนอมอาหาร โดยใช้พลังงาน แสงอาทิตย์ เป็นต้น แนวทางการจัดกิจกรรม 1. สารวจภมู ปิ ญั ญา นวตั กรรม เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม และสอดคล้องกับแนวโน้มการพัฒนาของพ้ืนที่ เชน่ การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ด้านพลังงานสะอาด ด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เปน็ ต้น 2. เลือกพ้ืนทแ่ี ละกลุม่ เปา้ หมายท่ีเหมาะสมในการดาเนนิ งาน 3. ประสานความรว่ มมอื กับภูมปิ ญั ญา ผ้รู ู้ ผู้เช่ียวชาญ และผ้ทู ่ีเกีย่ วข้อง ในการจดั กจิ กรรม
21 4. จัดทาหลกั สูตรและดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามรปู แบบทีเ่ หมาะสม งบรายจ่ายอ่ืน มดี งั นี้ 5. โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน เปน็ สถานท่จี ัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านอาชีพให้แก่ประชาชนในชุมชนให้มีความรู้ ทกั ษะการประกอบอาชพี และนาความรทู้ ไี่ ดร้ ับไปประกอบอาชีพให้มีรายได้ ซ่ึงการฝึกอบรมให้แก่ประชาชน เพ่ือการมีอาชีพและมีรายได้ของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นการจัดอบรมหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทา ประกอบด้วย 5 หลักสูตรกลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้านเกษตรกรรม หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้าน อตุ สาหกรรม หลักสูตรเฉพาะทาง ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพ 5 ด้าน ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ ศกั ยภาพด้านภมู อิ ากาศ ศกั ยภาพดา้ นภมู ิประเทศ ศกั ยภาพด้านศิลปวัฒนธรรม และประเพณี และศักยภาพ ด้านทรัพยากรมนุษย์ ท่ีมีลักษณะเป็นเบ็ดเสร็จ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ ทักษะ และ ประสบการณ์การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ไปใช้ในการประกอบอาชีพท่ีเป็นการเข้าสู่อาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือ พฒั นาอาชพี หรือต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อเพิ่มรายได้ระหว่างการอบรมหรือหลังสิ้นสุดการอบรมตามหลักสูตร ให้แก่ประชาชนทม่ี ีอายุ 15 ปขี ้ึนไป ภารกจิ ของศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน มดี ังน้ี 1. เป็นศนู ย์แนะแนวอาชพี ของชุมชน 2. เป็นศนู ย์กลางการเรยี นรู้ และการฝกึ ปฏิบัตขิ องผ้เู รยี นและประชาชนที่สนใจในการประกอบอาชีพ 3. เป็นศนู ยก์ ลางในการประสานงาน การดาเนนิ งาน 4. เปน็ ศนู ย์กลางแสดงผลงาน การฝึกประกอบอาชีพ และการจาหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ผลงานของผเู้ รยี น 5. เปน็ ศูนยข์ ้อมลู ข่าวสารดา้ นอาชีพชุมชน หลกั เกณฑก์ ารเบิกจ่ายในการดาเนนิ โครงการ ในการจัดการเรียนรู้/ฝึกอบรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สถานศึกษา กศน. สามารถดาเนินการ เบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การเรียนรู้/ฝกึ อบรม ไดด้ ังนี้ 1. ค่าวิทยากร ไมเ่ กนิ 200 บาทตอ่ ชวั่ โมง 2. คา่ วสั ดฝุ ึก (ตามหนังสือสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.01/2077 ลงวนั ที่ 18 เมษายน 2559) 3. ค่าสมนาคุณให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ความรู้ในแหล่งประกอบการเป็นเวลาคร้ังละไม่เกิน 3 ชั่วโมง ในอัตราคร้งั ละไม่เกนิ 1,500 บาท 4. ค่าสาธารณปู โภคจา่ ยได้เท่าท่จี า่ ยจรงิ ในอัตราทตี่ กลงกับหนว่ ยงานภาครฐั หรือเอกชนโดยใช้หลักฐาน การจ่ายเปน็ หลกั ฐานประกอบการเบิกจา่ ย หลกั ฐานการเบิกจา่ ย 1. หนงั สือราชการขอเบิกเงิน 2. บนั ทกึ ข้อความขออนมุ ัติเบิกเงนิ 3. ใบสาคญั รบั เงนิ ของวทิ ยากร 4. สาเนาบัตรข้าราชการ/สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน รับรองสาเนาถกู ต้อง
22 5. บนั ทกึ ขออนญุ าตจดั กจิ กรรม/โครงการ 6. หลักสูตร/แผนการสอน 7. คาสง่ั แต่งต้งั วทิ ยากร/หนงั สอื เชิญ/ตารางการอบรม 8. รายช่อื ผเู้ รยี น ใบลงเวลาผ้เู รยี น ใบลงเวลาผู้สอน ใบสาคัญรับเงินจากวิทยากร เอกสารการขอโอน เงินเข้าบญั ชี (ถ้ามีการโอนเงิน) หลักเกณฑก์ ารเบกิ คา่ สมนาคุณ เบิกค่าสมนาคุณให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิให้ความรู้ในแหล่งประกอบการเป็นเวลาครั้งละไม่เกิน 3 ช่ัวโมง ในอัตรา ครง้ั ละไม่เกิน 1,500 บาท เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1. บันทึกขออนุญาตจดั กิจกรรม/โครงการ 2. หนังสือแจ้งสถานประกอบการ/ประกาศ/ทาเนียบสถานประกอบการที่เข้าร่วมจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 3. กาหนดการฝกึ อบรม 4. รายชื่อผเู้ รียน ใบลงเวลาผเู้ รยี น ใบลงเวลาผสู้ อน ใบสาคญั รบั เงนิ วิทยากร เอกสารการขอโอนเงินเขา้ บญั ชี (ถ้ามกี ารโอนเงนิ ) บันทึกขออนุมัติจ่ายเงนิ การเบกิ ค่าวัสดุ หนงั สือสานกั งาน กศน. ที่ ศธ 0210.04/2077 ลงวนั ท่ี 18 เมษายน 2559 เร่ืองคู่มือการจัดการศึกษา ต่อเนอ่ื ง (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2559) เกณฑก์ ารเบิกคา่ วัสดุ 1. รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร 1-30 ชั่วโมง ผู้เรียนตั้งแต่ 6 คนข้ึนไป ค่าวัสดุเบิกจ่ายได้ในกรณีท่ีมี การฝึกปฏบิ ตั ิ ไดไ้ ม่เกิน 1,000 บาท/กลุม่ 2. รูปแบบชัน้ เรยี นวชิ าชพี หลกั สูตร 31 ช่ัวโมงข้ึนไป โดยมผี เู้ รยี นจานวนกลมุ่ ละ 11 คนข้ึนไป แบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ คือ ช้ันเรยี นระยะสน้ั หลักสตู รตัง้ แต่ 31-100 ชวั่ โมง และชนั้ เรยี นระยะยาว หลักสูตร 100 ช่ัวโมง ข้นึ ไป ค่าวัสดุให้เบิกไดต้ ามความจาเป็นและเหมาะสมดังน้ี หลักสูตร 31-50 ช่ัวโมง จา่ ยค่าวัสดฝุ ึกไดไ้ ม่เกิน 3,000 บาท/กลุม่ หลักสูตร 51-70 ชั่วโมง จ่ายค่าวัสดฝุ กึ ไดไ้ มเ่ กนิ 4,000 บาท/กล่มุ หลกั สูตร 71 ชั่วโมงขน้ึ ไป จ่ายคา่ วสั ดฝุ กึ ไดไ้ มเ่ กนิ 5,000 บาท/กลมุ่ เอกสารประกอบการเบกิ จ่าย กรณีการจัดซ้อื วสั ดุ 1. หนงั สอื ราชการขอเบกิ เงิน 2. บนั ทกึ ข้อความขอเบิกเงิน 3. บนั ทึกขอ้ ความเห็นชอบในการจัดซ้อื การอนุมัตจิ ดั ซือ้ 4. การแต่งต้ังผู้ตรวจรบั หรือคณะกรรมการตรวจรบั
23 5. ถา้ วงเงนิ ไม่เกิน 10,000 บาท ไม่ต้องมีใบส่ังซื้อ (ถ้าจะมีก็ได้ในกรณีที่มียอดสั่งซ้ือต้ังแต่ 5,000 ข้ึนไปเพื่อเป็นการลดความเสี่ยง) มีผู้ตรวจรับ 1 คน ถ้าวงเงิน มากกว่า 10,000 บาท ต้องมีใบส่ังซ้ือ และมี คณะกรรมการตรวจรบั 3 คน โดยประธานคณะกรรมการตอ้ งเป็นขา้ ราชการ กรณีไม่มีข้าราชการให้พนักงาน ราชการทาหนา้ ท่ีแทนได้ 6. มีหลักฐานการสง่ ของ ได้แก่ ใบสง่ ของ ใบเสรจ็ รับเงนิ ตามรูปแบบที่ถกู ตอ้ ง 7. มีหลักฐานการตรวจรับ ทราบผลตรวจรับ อนุมัติการจา่ ยเงนิ 8. กรณที ี่ซอื้ ของวงเงนิ 5,000 บาทขน้ึ ไป ต้องมขี อ้ มูลในระบบ E-GP 9. บันทกึ ทราบผลตรวจรบั และอนมุ ัตจิ ่ายเงนิ กรณีเบกิ ค่าจัดจ้าง 1. หนังสือราชการขอเบิกเงนิ 2. บันทึกขอ้ ความขออนุมัตเิ บิกเงิน 3. ทราบผลตรวจรบั งานจ้าง 4. ใบตรวจรับงานจ้าง 5. ใบแจ้งหนี้/ใบเสร็จรับเงิน/ใบสาคัญรับเงิน (แนบสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนรับรองสาเนา ถูกต้อง) 6. เอกสารขออนมุ ัติการจดั จา้ ง/รายงานขอจา้ ง 7. ใบสงั่ จ้าง กรณีจดั จา้ ง 5,000 ขน้ึ ไป ใบสง่ั จา้ งตดิ อากรแสตมป์พนั ละ 1 บาท ส่วนท่ีเกินปรับเป็น 1 บาท (กรณมี ีการจ้างเหมารถ ใหท้ าบนั ทกึ ขอ้ ตกลง/สัญญาจ้าง เพ่อื ลดความเสีย่ ง) 8. เอกสารขออนุญาตการจดั จ้าง 9. ใบเสนอราคา 6. โครงการจัดหลักสตู รการดแู ลผ้สู ูงอายุ โครงการจัดหลักสตู รการดูแลผ้สู ูงอายุ กระทรวงศกึ ษาธิการไมส่ ามารถใช้แนวปฏิบตั ใิ นการเบกิ จา่ ยตาม “คูม่ อื การจัดการศึกษาต่อเน่ือง (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2559)” ได้มีเกณฑ์การเบิกจ่ายตามหนังสือสานักงาน กศน. ด่วนทสี่ ุด ที่ ศธ 0210.121/5351 ลงวันที่ 26 กันยายน 2559 ดงั น้ี 1. ค่าตอบแทนวิทยากร ให้เบิกจ่ายตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0406.6/35474 ลงวันท่ี 14 พฤศจกิ ายน 2554 เรอื่ ง การเบิกคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียนหลกั สูตระยะส้นั ในอตั ราช่ัวโมงละ ไมเ่ กนิ 200 บาท 2. ค่าบริหารจัดการและค่าวัสดุ ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจาเป็น เหมาะสม ประหยัด เพือ่ ประโยชนข์ องทางราชการ 2.1 ค่าบริหารจดั การ หมายถงึ ค่าใชจ้ า่ ยในการประชมุ ร่วมกับหน่วยงานบูรณาการ มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเตรียมความพร้อม กากับ และประเมินเพื่อให้การจัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2.2 ค่าวสั ดุ หมายถงึ ค่าจดั ทาเอกสารและค่าวสั ดุสาหรบั การจดั การเรียนการสอน การประเมินผล ท้งั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ 3. ใหเ้ บกิ จ่ายค่าตอบแทนวทิ ยากรได้ไม่เกนิ วันละ 6 ช่ัวโมง 4. ให้ยืมเงินราชการจากโครงการจัดหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ กระทรวงศึกษาธิการมาจ่า ยเป็น ค่าตอบแทนวิทยากรไดเ้ ท่าท่จี าเปน็ เปน็ ตามตารางการจัดทาโครงการ
24 7. โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การขยะมลู ฝอย รปู แบบการจัดกิจกรรม 1. กศน. ตาบล/แขวง จดั กิจกรรมใหแ้ กป่ ระชาชน กศน. ตาบล/แขวง ๆ ละ 20 คน โดยใช้แนวทางการ จัดกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง โดยให้อยู่ในรูปแบบการจัดกิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนใช้ เนื้อหาเร่ือง วัสดศุ าสตรม์ าใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม และสามารถสบื ค้นเนอ้ื หาความรู้จากแหล่งต่างๆ เชน่ ทางเว็บไซต์ โดยใช้เครือข่ายในพืน้ ท่ี ผู้มปี ระสบการณ์ด้านการจัดการขยะ เชน่ ผู้ประกอบอาชีพในการคัด แยกขยะ ผปู้ ระกอบการรีไซเคิล เพื่อให้ประชาชนมคี วามรู้ ความเข้าใจในวัสดุแต่ละประเภทการคัดแยกวัสดุ การนาวัสดกุ ลบั มาใชใ้ หม่ ซ่งึ จะสง่ ผลให้เกิดการจดั การวสั ดุในชมุ ชนและสังคม เป็นตน้ 2. สง่ เสริมให้มกี ารจดั ตงั้ กลมุ่ ในชมุ ชนตามบรบิ ทและตามความเหมาะสม เพือ่ ให้มคี วามรู้วสั ดุของชมุ ชน และฟน้ื ฟสู ิง่ แวดล้อม 3. ตดิ ตามผลการดาเนินการจัดกจิ กรรม โดยการประสานเครือข่ายในพื้นที่ ท่รี บั ผิดชอบในเรอ่ื งของการ จัดการขยะมูลฝอย เช่น เทศบาล อบต. เปน็ ตน้ เพ่อื ตดิ ตามวา่ หลังจากการจัดกิจกรรม มีปริมาณขยะท่ีลดลง จากเดมิ ปรมิ าณกต่ี นั ต่อวนั แนวทางการเบกิ จ่าย ใชแ้ นวทางการเบิกจา่ ยตามคมู่ ือการจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559)
25 หน่วยท่ี 3 ความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับระเบียบการเงินและพัสดใุ นการจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย พระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั พ.ศ. 2551 ไดใ้ หค้ าจากดั ความ ของการศึกษาตามอัธยาศัย ไว้ว่า “การศึกษาตามอัธยาศัย” หมายความว่า กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถี ชีวติ ประจาวันของบุคคลซึ่งบุคคลสามารถเลือกท่ีจะเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตตามความสนใจความ ตอ้ งการโอกาส ความพรอ้ ม และศักยภาพในการเรยี นร้ขู องแต่ละบคุ คล สถานศึกษาสังกดั สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีภาระหน้าที่ใน การจดั และสนับสนนุ การจดั สภาพแวดล้อม สถานการณ์ สอ่ื แหล่งความรู้ และบุคคล เพ่ือส่งเสริมให้บุคคลได้ เรียนร้ตู ามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอ้ ม และโอกาส เพ่อื ใหป้ ระชาชนไดร้ ับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย นาความรู้ไปพัฒนาคุณภาพชวี ิตท้งั ของตนเองครอบครวั ชมุ ชน และสังคม โดยมีกิจกรรมหลกั ดงั น้ี 3.1 การจัดกจิ กรรมหอ้ งสมดุ ประชาชน ห้องสมุดประชาชนเป็นแหลง่ สารสนเทศที่จดั ต้งั ข้ึน เพ่อื ให้บรกิ ารสารสนเทศแก่ชุมชนโดยไม่จากัดเพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา และระดับการศึกษาของผู้รับบริการโดยไม่หวังผลตอบแทนเพราะถือว่าห้อ งสมุด ประชาชนเกิดข้ึนจากการสนับสนุนของประชาชนท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยการบริจาคทรัพย์สินส่วนตัว เสยี ภาษีให้แก่รฐั บาล หรอื การสนบั สนุนกิจกรรมแกอ่ งค์กรที่ห้องสมุดสังกัด เพราะห้องสมุดประชาชนมีทั้ง สังกัดภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจ เอกชน สมาคม และองคก์ ารระหว่างประเทศ ซ่ึงทุกประเภทล้วนแต่เป็นแหล่ง สารสนเทศเพอ่ื การศึกษาตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ สาหรบั ประชาชน มีหน้าท่ีให้บริการความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และ เผยแพรค่ วามรู้สชู่ ุมชนและทอ้ งถนิ่ ได้ขยายขอบเขตการใหบ้ ริการไปยังประชาชนท่ัวไป โดยกิจกรรมส่วนใหญ่ จะเป็นกจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ การเรียนรู้ตามอัธยาศัย เพอื่ ปลกู ฝังนิสัยรักการอ่าน การพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ ด้วยตนเอง เพือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ดงั นนั้ การดาเนนิ การเกยี่ วกับระเบยี บการเงินและการพัสดุ ส่วนใหญ่จะเป็นการปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการของเจา้ หน้าท่ี และการจดั ซ้ือ จัดจ้าง เพอื่ ส่งเสรมิ ใหห้ อ้ งสมุดประชาชนมบี รรยากาศ และส่ิงแวดล้อม ที่เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ จึงเกยี่ วขอ้ งกบั ระเบยี บต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 2. ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ท้ังนม้ี รี ายละเอียด ดังต่อไปน้ี 1. ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 หลกั เกณฑก์ ารเบกิ จา่ ย 1. การปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการต้องได้รับอนมุ ตั ิจากผู้มอี านาจ 2. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันทาการ เบิกค่าตอบแทนได้ไม่เกินวันละ 4 ชั่วโมง ในอัตรา ช่ัวโมงละ 50 บาท 3. การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในวันหยุด เบิกค่าตอบแทนได้ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ในอัตรา ช่วั โมงละ 60 บาท
26 4. ต้องมีผู้รับรองการปฏิบัติงานโดยกรณีที่มีผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการร่วมกันหลายคนให้ ผู้ปฏบิ ัติงานคนใดคนหนึ่งรับรอง หากเปน็ การปฏิบัตงิ านเพียงลาพงั คนเดียว ใหผ้ ู้ปฏิบตั ิงานน้นั รบั รอง หลักฐานการเบิกจ่ายการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ 1. หนงั สอื ราชการขอเบกิ เงนิ 2. บันทึกข้อความขออนมุ ัตเิ บกิ เงิน 3. หลกั ฐานเบกิ ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ 4. บัญชลี งเวลาการปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ 5. สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการ 6. หนังสือขออนุญาตปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ 2. ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพมิ่ เตมิ การดาเนนิ การจัดหาพสั ดุ ในการจัดกิจกรรมหอ้ งสมุดประชาชน ส่วนใหญ่จะใช้วิธีตกลงราคา วิธีสอบ ราคา และวิธีพิเศษ ซง่ึ มีสาระสาคัญ ดังน้ี 2.1 วิธตี กลงราคา 2.1.1 การจดั ซื้อ จดั จา้ งคร้งั หนึง่ วงเงินไมเ่ กนิ 100,000 บาท กวพ. ได้มีมติขยายวงเงินการ จดั หาพสั ดขุ องส่วนราชการตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ตามหนังสือ กค (กวพ) 0421.3/ว 299 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2558 สาหรับการจัดซ้ือจัดจ้างตั้งแต่ราคา 1-500,000 บาท ใหส้ ว่ นราชการใชว้ ธิ ตี กลงราคา 2.1.2 การจัดซ้ือ จัดจ้างทุกคร้ัง เจ้าหน้าท่ีพัสดุต้องจัดทารายงานขอซื้อ ขอจ้างซึ่งมี รายละเอยี ดตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่แี ก้ไขเพิม่ เตมิ ข้อ 27 2.1.3 กรณีจัดซื้อ จัดจ้างคร้ังนั้น วงเงินเกิน 10,000 บาท ต้องมีข้อตกลงเป็นหนังสือ (ใบสง่ ซ้ือ สัง่ จา้ ง) 2.1.4 การจัดซื้อ จัดจา้ งคร้ังน้นั วงเงินเกนิ 10,000 บาท ต้องมีคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ประกอบด้วยประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอยา่ งน้อย 2 คน 2.2 วธิ สี อบราคา 2.2.1 การจดั ซือ้ จัดจา้ งคร้งั หนึง่ วงเงนิ เกิน 100,000 บาท แตไ่ ม่เกนิ 2,000,000 บาท (กวพ ได้มีมติขยายวงเงินการจัดซ้ือจัดจ้างตั้งแต่ราคา 500,000-2,000,000 บาท ให้ส่วนราชการใช้วิธีสอบราคา ซ่งึ จะใชเ้ วลาดาเนนิ การประมาณ 12-15 วัน สว่ นการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ราคา 2,000,000 บาทข้ึนไป ให้ส่วน ราชการใช้วธิ ี e-market และ e-bidding 2.2.2 การจัดซื้อ จัดจ้างทุกคร้ัง เจ้าหน้าที่พัสดุต้องจัดทารายงานขอซ้ือ ขอจ้างซ่ึงมี รายละเอียดตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 27 2.2.3 เจา้ หนา้ ทีพ่ ัสดตุ ้องจัดทาเอกสารสอบราคา ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เติม ขอ้ 40 2.2.4 กอ่ นวันเปดิ ซองสอบราคาไม่นอ้ ยกวา่ 10 วัน ให้จัดส่งประกาศและเอกสารสอบราคา เผยแพรไ่ ปยงั ผู้มอี าชีพขายพัสดุน้ันโดยตรง หรอื โดยทางไปรษณียล์ งทะเบียนให้มากท่ีสุดเท่าที่ทาได้กับให้ปิด ประกาศเผยแพรก่ ารสอบราคาไว้ในท่เี ปดิ เผย ณ สถานศกึ ษาน้นั
27 2.2.5 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีการสอบราคา ต้องมีคณะกรรมการ 2 ชุด คือ (1) คณะกรรมการเปดิ ซองสอบราคา (2) คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ 2.2.6 การจดั ซ้ือ โดยวธิ ีการสอบราคา ตอ้ งจดั ทาสญั ญา ตามรปู แบบท่ี กวพ. กาหนด ยกเว้น กรณที คี่ ู่สญั ญาสามารถส่งมอบพสั ดไุ ด้ครบถว้ นภายใน 5 วนั ทาการของทางราชการ นับตั้งแต่วันถัดจากวันทา ขอ้ ตกลงเปน็ หนังสือ หวั หน้าสถานศึกษาอาจใช้ดลุ ยพนิ จิ จัดทาข้อตกลงเปน็ หนงั สือไว้ต่อกันกไ็ ด้ โดยไม่ต้องทา สัญญา 2.3 วธิ ีพเิ ศษ 2.3.1 การจัดซ้ือ จัดจ้างครั้งหนึ่ง วงเงินเกิน 100,000 บาท และต้องเป็นกรณีหน่ึงกรณีใด ที่ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 23(1)-(8)และข้อ 24 (1)-(6) กาหนดเท่าน้นั 2.3.2 การจัดซื้อ จัดจ้างทุกคร้ัง เจ้าหน้าที่พัสดุต้องจัดทารายงานขอซื้อ ขอจ้างซ่ึงมี รายละเอียดตามระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ข้อ 27 และต้อง มรี ายละเอียดว่าดาเนินการจัดหาโดยวธิ พี เิ ศษตามกรณีใด ขอ้ ใด 2.3.3 การดาเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง โดยวิธีพิเศษ หัวหน้าสถานศึกษาต้องแต่งต้ัง คณะกรรมการจดั ซ้ือ จัดจา้ ง โดยวิธีพเิ ศษขน้ึ เพอื่ ดาเนินการจัดซ้ือ จัดจ้าง โดยคณะกรรมการจัดซ้ือ หรือจัด จ้าง โดยวิธีพิเศษ ต้องดาเนินการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไข เพิ่มเติมข้อ 57 (1)-(8) และข้อ 58 (1)-(6) แล้วแต่กรณี ดังน้ัน คณะกรรมการจัดซ้ือจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ตอ้ งพจิ ารณาว่าการจดั ซอื้ จดั จา้ งครั้งนั้นเปน็ ไปตามกรณีใด ซ่งึ คณะกรรมการต้องดาเนนิ การตามกรณีท่อี า้ งถึง ซ่ึงแตล่ ะกรณมี ีวิธกี ารดาเนินการตา่ งกัน 2.3.4 การดาเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง โดยวิธีพิเศษ จะต้องจัดทาสัญญาตามแบบที่ กวพ. กาหนด ยกเว้นกรณกี ารจดั ซ้ือโดยวิธีพเิ ศษ ตามขอ้ 23 (1)(2)(3)(4)(5) และการจัดจา้ งโดยวธิ พี ิเศษ ตามขอ้ 24 (1)(2)(3)(4)(5) หลกั ฐานการเบิกจ่าย 1. หนงั สอื ราชการขอเบกิ 2. บันทกึ ขอ้ ความขออนุมัติการเบกิ จ่ายเงนิ 3. รายงานขอซ้อื ขอจ้าง ท่ีผ้มู อี านาจได้ใหค้ วามเห็นชอบ และอนุมัติใหด้ าเนนิ การ 4. ใบเสนอราคา เอกสารหลกั ฐานตา่ ง ๆ 5. ความเห็นของเจ้าหนา้ ท่พี ัสดทุ ่ีสบื ราคาหรอื คณะกรรมการ 6. สัญญาซ้อื จา้ ง ท่ีผู้มอี านาจลงนามเรียบร้อย 7. ใบส่งของ หรอื ใบมอบหมายงาน ซง่ึ ต้องระบจุ านวนเงนิ ตามสญั ญา 8. ใบตรวจรบั พสั ดุของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ 9. หลักฐานการทราบผลการตรวจรับพสั ดุ และการอนุมัติจา่ ยของผูม้ ีอานาจ
28 3.2 โครงการ กศน.ตาบล กศน.ตาบล หมายถึง หน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทตี่ ง้ั อยูใ่ นระดับตาบล/แขวง โดย กศน.ตาบลตอ้ งยดึ ชุมชนเปน็ ฐานในการทางานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุน ของชุมชน เชน่ อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ วฒั นธรรมประเพณี เป็นต้น มีการประสาน เครือขา่ ยในชุมชนร่วมกันจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสรมิ สนับสนุนใหท้ ุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามี ส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินการจัดกิจกรรมกศน.ตาบล ท้ังในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนและชุมชน มีคณะกรรมการ กศน.ตาบล ที่เป็นคนในชุมชนให้ การสง่ เสรมิ สนับสนนุ ติดตามดแู ละร่วมประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน กศน.ตาบล การดาเนนิ การท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การเงนิ และการพสั ดุของโครงการ กศน. ตาบล จะเป็นการจัดหาหนังสอื เรียนและวสั ดใุ หก้ ับ กศน.ตาบล โดยดาเนินการตามระเบียบสานักนายกฯว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ ท่ีแก้ไขเพมิ่ เตมิ ทง้ั วธิ ีตกลงราคา วิธสี อบราคา (ตามวงเงนิ ที่ได้รบั อนมุ ัต)ิ ซ่งึ มีรายละเอยี ดดังท่ีกล่าวแล้วขา้ งตน้
29 หน่วยที่ 4 ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ ร ะ เ บี ย บ ก า ร เ งิ น แ ล ะ พั ส ดุ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทวั่ ไป การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มกี ารดาเนินงานที่เกี่ยวขอ้ งกบั ระเบยี บการเบิก จ่ายเงินที่เจ้าหน้าที่การเงิน บัญชี และพัสดุ ควรมีความรู้เก่ียวกับระเบียบการเบิกจ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับการ ปฏบิ ตั งิ านการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ดงั ต่อไปนี้ 4.1 การเดินทางไปราชการ การเบิกค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการเก่ียวขอ้ งกับพระราชกฤษฎกี าและระเบยี บ ดังน้ี 1. พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2553 2. พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2560 3. ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบกิ ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไข เพม่ิ เติมฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2554 4. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเดินทางไปราชการโดยยานพาหนะประจาทาง พ.ศ. 2526 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดประชุมของทาง ราชการ พ.ศ. 2524 6. หลักเกณฑ์การเบกิ ค่าพาหนะรบั จ้างข้ามเขตจังหวัด เงินชดเชย และค่าใช้จ่ายอื่นท่ีจาเป็นต้องจ่าย เนอ่ื งในการเดนิ ทางไปราชการ ทงั้ นี้ ลกั ษณะการเดนิ ทางไปราชการ โดยการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ไดแ้ ก่ การเดินทางไป ราชการช่ัวคราว การเดินทางไปราชการประจา และการเดินทางกลับภูมิลาเนา การเดินทางไปราชการ ต่างประเทศ ได้แก่ การเดินทางไปราชการต่างประเทศช่ัวคราว และการเดินทางไปราชการประจาใน ตา่ งประเทศ 4.1.1 การเบิกคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการชวั่ คราว การเดินทางไปราชการชั่วคราว หมายถึง การเดินทางมีกาหนดระยะเวลาแน่นอน เป็นช่วงเวลาสั้นๆ เนอ้ื งานเสร็จสิ้นเมือ่ ครบกาหนดเวลา มีหลักพจิ ารณาดงั น้ี 1. ตอ้ งได้รับคาสงั่ ให้ไปปฏบิ ตั ริ าชการชว่ั คราว นอกทต่ี ัง้ สานกั งานซึ่งปฏบิ ัตริ าชการปกติ 2. ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิ ให้ไปสอบคดั เลอื ก หรือ รบั คดั เลือก 3. ต้องไดร้ ับคาสั่ง ใหไ้ ปช่วยราชการ ไปรกั ษาการในตาแหนง่ หรือไปรกั ษาราชการแทน 4. การเดินทางไปราชการเฉพาะระหว่างเวลาท่ีอยู่ในราชอาณาจักรของผู้ซ่ึงรับราชการประจา ในตา่ งประเทศ 5. การเดินทางข้ามแดนช่ัวคราวเพ่ือไปปฏิบัติราชการในดินแดนต่างประเทศตามข้อตกลงระหว่าง ประเทศ
30 สิทธทิ ีไ่ ด้รับคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ ใหน้ บั ตั้งแตว่ ันท่ไี ดร้ ับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ ถึงวนั ท่กี ลบั จากการปฏิบัติราชการ การเทียบตาแหน่งบุคคลภายนอก ตามหนังสือกระทรวงการคลังที่ กค 0406.6/ว 104 ลงวันที่ 22 กันยายน 2551 ได้แก่ ข้าราชการการเมือง ข้าราชการส่วนท้องถิ่น/ผู้ดารงตาแหน่งการเมืองท้องถ่ิน พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ คณะสอ่ื มวลชน ลูกจ้าง และพนกั งานราชการ ขนั้ ตอนการใชส้ ิทธิ ข้ันตอนที่ 1 การขออนมุ ตั ติ วั บคุ คล ให้ผ้เู ดนิ ทางไปราชการขออนมุ ัติการเดินทางไปราชการตาม ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการและการจัดการประชุมของทางราชการ พ.ศ. 2524 และท่ีแก้ไขเพิม่ เตมิ (ผู้มอี านาจอนุมัติ ตามคาส่งั มอบอานาจ) กรณีที่ 1 การใชร้ ถยนต์ส่วนตวั ข้าราชการ พนกั งานราชการ ลกู จา้ งในสังกัด ต้องไดร้ บั อนุมตั ิ การใชร้ ถยนต์สว่ นตัวจากผู้อานวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั (ตามคาส่ัง สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี 270/2551 เร่ืองมอบอานาจให้ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดและผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กรุงเทพมหานครปฏบิ ตั ริ าชการแทน ลงวันท่ี 5 มีนาคม 2551) กรณีที่ 2 ผู้อานวยการสถานศึกษามีอานาจอนุมัติการไปราชการของตนเองโดยใช้รถยนต์ ส่วนตัวไปราชการในเขตพื้นท่ีติดต่อจังหวัดโดยรอบ (ตามคาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี 489/2551 เร่ืองมอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอและผู้อานวยการสถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตปฏิบัติราชการแทน ลงวันที่ 21 เมษายน 2551) ข้ันตอนที่ 2 การขออนมุ ตั ยิ ืมเงิน ใหผ้ ูเ้ ดนิ ทางไปราชการขออนมุ ตั ิการยืมเงินของทางราชการได้ โดยประมาณการคา่ ใชจ้ ่ายและจัดทาสญั ญาการยืมเงนิ 2 ฉบับยื่นต่อผ้มู ีอานาจอนมุ ตั ิ พจิ ารณาให้ยมื เงินเท่าท่ี จาเป็นเพ่ือใช้ในราชการ โดยยืมเงินจากเงินทดรองราชการ หรือเงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณ ภายหลังจากไดร้ บั การอนมุ ตั ิตวั บคุ คลแลว้ ขน้ั ตอนที่ 3 เร่มิ มกี ารเดินทางไปราชการตามคาส่ัง (ขั้นตอนที่ 1) ผู้เดินทางไปราชการมีสิทธินา ค่าใชจ้ า่ ยท่เี กิดขนึ้ ระหว่างเดินทางนั้น มาขอเบิกทางราชการได้ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและอัตราท่ีพระราช กฤษฎีกากาหนดไว้ ข้นั ตอนท่ี 4 การขออนมุ ัตเิ บิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการตามสิทธใิ ห้นาหลักฐานมาแสดง คือ แบบรายงานการเดินทางและหลักฐานประกอบการจ่ายเงิน ท่ีกาหนดตามกระทรวงการคลังว่าด้วยการ เบิกจ่ายค่าเบ้ียเล้ียง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะและค่าใช้จ่ายอ่ืนท่ีจาเป็นต้องจ่ายในการเดินทาง เสนอต่อผู้มี อานาจอนุมัติ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการชั่วคราว 1. คา่ เบ้ยี เล้ยี งเดินทาง 2. ค่าเช่าที่พกั 3. ค่าพาหนะ รวมทัง้ ค่าเชา่ ยานพาหนะ ค่าเช้อื เพลงิ คา่ ระวางบรรทุก คา่ จ้างคนหาบหาม 4. คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ทจ่ี าเป็นตอ้ งจ่าย เน่ืองในการเดินทางไปราชการ
31 4.1.2 การเบกิ คา่ เบ้ยี เล้ยี งเดินทางแบบเหมาจา่ ย และการนับเวลา ใหเ้ ริ่มนับเวลาการเดนิ ทางตง้ั แต่ ออกจากทีอ่ ยู่ หรือทีท่ างานปกติ จนกลับถึงท่อี ยหู่ รือทท่ี างานปกติ กรณพี ักแรม ให้นบั เวลา 24 ช่วั โมง นับเปน็ 1 วนั เศษที่ เกิน 12 ช่ัวโมง นบั เปน็ 1 วัน กรณีไมพ่ กั แรม ใหน้ บั เวลา หากไม่เกนิ 12 ช่ัวโมง แตเ่ กนิ 6 ชว่ั โมง ถอื เป็นคร่ึงวัน กรณีเดินทางล่วงหน้าเน่ืองจากลากิจหรือพักผ่อน ก่อนการปฏิบัติราชการ ให้นับเวลาต้ังแต่เร่ิม ปฏบิ ัตงิ าน กรณีไม่เดนิ ทางกลับหลังจากปฏบิ ตั ริ าชการเสรจ็ ส้นิ เนอ่ื งจากลากิจหรอื ลาพักผอ่ น ให้นบั เวลาถึงสิ้นสดุ เวลาปฏิบตั ริ าชการ อัตราค่าเบีย้ เล้ียงเดนิ ทางไปราชการในราชอาณาจกั รลกั ษณะเหมาจา่ ย กรณพี กั แรม ใหน้ บั เวลา 24 ชั่วโมง นบั เป็น 1 วันเศษทเี่ กนิ 12 ชั่วโมง นบั เปน็ 1 วนั ประเภท ระดับ อัตรา/บาท ทัว่ ไป ปฏบิ ัตงิ าน/ชานาญงาน/อาวโุ ส วิชาการ ปฏบิ ตั ิการ/ชานาญการ/ชานาญการพิเศษ 240 อานวยการ ต้น ท่ัวไป ทักษะพเิ ศษ วชิ าการ เช่ียวชาญ/ทรงคณุ วฒุ ิ 270 อานวยการ สงู บรหิ าร ต้น/สูง กรณไี มพ่ ักแรม ให้นบั เวลา หากไมเ่ กนิ 12 ชั่วโมง แตเ่ กนิ 6 ชั่วโมง ถือเป็นครึ่งวนั ประเภท ระดับ อตั รา/บาท ทว่ั ไป ปฏบิ ตั ิงาน/ชานาญงาน/อาวโุ ส วิชาการ ปฏิบัตกิ าร/ชานาญการ/ชานาญการพเิ ศษ 120 อานวยการ ตน้ ทั่วไป ทกั ษะพเิ ศษ วชิ าการ เช่ยี วชาญ/ทรงคุณวุฒิ 135 อานวยการ สูง บรหิ าร ต้น/สงู
32 ตัวอย่าง การนับเวลาและการเบกิ คา่ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ตวั อยา่ งท่ี 1 คานวณระยะเวลา กลบั ถึงท่พี ัก 24 ช่วั โมง = 1 วนั 6 ม.ค.60 ออกจากทพ่ี ัก เวลา 06.00 น. 5 ม.ค.60 คานวณระยะเวลา 1 วัน 4 ช่วั โมง = 1 วัน กลบั ถงึ ที่พกั เวลา 06.00 น. 6 ม.ค.60 คานวณระยะเวลา เวลา 09.00 น. ตวั อย่างที่ 2 1 วนั 12 ช่ัวโมง = 2 วนั กลบั ถงึ ท่ีพกั ออกจากทีพ่ ัก 6 ม.ค.60 5 ม.ค.60 เวลา 18.30 น. เวลา 06.00 น. ตัวอย่างที่ 3 ออกจากทพ่ี ัก 5 ม.ค.60 เวลา 06.00 น. 4.1.3 การเบกิ ค่าเชา่ ท่ีพัก หลกั เกณฑ์การเบกิ คา่ เช่าทพ่ี ัก มดี ังน้ี 1. กรณเี ดนิ ทางไปราชการคนเดียวใหเ้ ลือกเบิกคา่ ที่พกั แบบเหมาจา่ ยหรอื จ่ายจริงอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ตลอดของการเดนิ ทางไปราชการในครัง้ น้ัน 2. การเดินทางเปน็ หมู่คณะต้องเลอื กเบกิ ค่าทีพ่ ักเหมือนกนั ท้งั คณะตลอดการเดนิ ทาง 3. การเดินทางเป็นหมู่คณะกรณีเลือกเบิกจ่ายจริงให้พักรวมกันสองคนต่อหนึ่งห้อง เว้นแต่ เปน็ กรณีทีไ่ มเ่ หมาะสมจะพกั รวมกนั หรือมีเหตจุ าเปน็ ทีไ่ ม่อาจพกั รวมกบั ผ้อู ืน่ ได้ ให้เบกิ ได้เทา่ ท่ีจา่ ยจริงไม่เกิน อัตราคา่ เช่าห้องพักคนเดียว การเดินทางไปราชการจาเปน็ ต้องพกั แรม ให้ผู้เดินทาง เบิกค่าเช่าที่พักในลักษณะเหมาจ่ายหรือในลักษณะจ่ายจริง ตามที่กระทรวงการคลัง กาหนดกรณีผเู้ ดินทางเบกิ คา่ เช่าท่ีพักลกั ษณะจ่ายจริง ใหแ้ นบใบเสร็จรับเงินและใบแจ้งรายการกรณีเดินทาง เปน็ หมคู่ ณะ ให้เลือกเบิกค่าเช่าท่ีพกั ในลักษณะเดียวกันท้ังคณะกรณีท้องท่ีที่มีค่าครองชีพสูง หรือเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ ว หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติให้เบิกเพิ่มได้ ไม่เกิน 25 % ห้ามเบิกกรณี ต้องพักแรมในยานพาหนะ หรอื ต้องพกั แรมที่ทางราชการจัดท่ีพักไว้ให้
33 อัตราค่าเช่าท่พี ัก เหมาจา่ ย ตอ่ วัน (ไม่ต้องแนบหลกั ฐานการขอเบิก) ประเภท ระดับ อัตรา (บาท : วนั : คน) ทว่ั ไป ปฏบิ ตั ิงาน/ชานาญงาน/อาวโุ ส วิชาการ ปฏิบัติการ/ชานาญการ/ชานาญการพิเศษ 800 อานวยการ ต้น 1,200 ทว่ั ไป ทกั ษะพเิ ศษ วิชาการ เชย่ี วชาญ/ทรงคุณวุฒิ อานวยการ สงู บรหิ าร ต้น/สูง อตั ราคา่ เช่าทพ่ี กั จา่ ยจรงิ ตอ่ วัน (แนบหลักฐานในการเบิกจ่าย) ประเภท ระดบั พักคนเดยี ว พักคู่ ทัว่ ไป (บาท : วัน : คน) (บาท : วนั : คน) วิชาการ อานวยการ ปฏบิ ัตงิ าน/ชานาญงาน/อาวโุ ส ทั่วไป วชิ าการ ปฏิบัติการ/ชานาญการ/ชานาญการพเิ ศษ 1,500 850 อานวยการ บริหาร ตน้ วชิ าการ บริหาร ทักษะพิเศษ เชี่ยวชาญ/ทรงคณุ วฒุ ิ 2,200 1,200 สูง ตน้ /สูง ทรงคุณวฒุ ิ 2,500 1,400 สงู
34 4.1.4 การเบกิ คา่ พาหนะ เป็นค่าใช้จา่ ยของผู้เดินทาง ใหร้ วมถงึ คา่ เช่ายานพาหนะ ค่าเชอื้ เพลงิ ค่าระวางบรรทุก ค่าคนหาบหาม สิง่ ของ ยานพาหนะประจาทาง หมายถงึ รถไฟ รถโดยสาร เรอื กลประจาทาง และยานพาหนะอ่ืน เป็นบริการ บุคคลท่วั ไป มเี สน้ ทางแนน่ อน อตั ราคา่ โดยสารและคา่ ระวางแนน่ อน ทั้งน้ี การเดินทางให้เบิกค่าพาหนะเดินทางได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ไม่เกินสิทธิท่ีผู้เดินทางจะ พึงไดร้ ับ ประเภทยานพาหนะประจาทาง มีดังนี้ 1. รถทัวร์ สาหรับผูเ้ ดินทางทุกคน 2. รถไฟ ผู้มสี ิทธเิ บิก ประเภทรถด่วน/ด่วนพิเศษ ชั้นท่ี 1 นั่งนอนปรับอากาศ มดี งั น้ี บรหิ าร : ตน้ /สงู อานวยการ : ตน้ /สูง วชิ าการ : ชานาญการขน้ึ ไป ท่วั ไป : ชานาญงานขน้ึ ไป 3. เครอ่ื งบิน ผ้เู ดนิ ทางไปราชการมสี ิทธิเบิกชั้นประหยดั (ตามมาตรการประหยดั ) อานวยการ : ตน้ /สูง วิชาการ : ชานาญการ/ชานาญการพเิ ศษ/เชี่ยวชาญ ทัว่ ไป : ชานาญงาน/อาวุโส/ทักษะพิเศษ ทั้งน้ี กรณีผู้ดารงตาแหน่งระดับ หรือยศ ต่ากว่าที่ระบุไว้ข้างต้น เฉพาะกรณีท่ีมีความจาเป็นรีบด่วน เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่ราชการ หลักฐานการเบิกจา่ ยค่าเคร่อื งบิน 1. กรณีมหี นงั สือให้บรษิ ัท ออกบตั รโดยสารใหก้ อ่ น ใหใ้ ชใ้ บแจ้งหนเ้ี ป็นหลกั ฐานในการเบิกเงิน 2. กรณจี ่ายเปน็ เงนิ สด ให้ใชห้ ลักฐาน ใบเสรจ็ รับเงินและกากต๋วั 3. กรณซี อื้ E-Ticket ใหใ้ ช้ใบรบั เงินท่ีแสดงรายละเอยี ดการเดนิ ทาง (Itinerary Receipt) นอกจากนั้นในกรณีไม่มียานพาหนะประจาทาง แต่ต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ราชการ ใหใ้ ชพ้ าหนะอื่นได้ แตผ่ ูเ้ ดนิ ทางไปราชการจะตอ้ งชี้แจงเหตุผลและความจาเปน็ ไวใ้ นหลกั ฐาน 4. พาหนะรบั จ้าง หลกั เกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจา้ ง มีดังนี้ 1. การเดินทาง ไปกลับระหว่างสถานท่ีอยู่ ท่ีพัก หรือสถานท่ีปฏิบัติราชการกับสถานียานพาหนะ ประจาทางหรือกับสถานทต่ี อ้ งใช้ในการเดนิ ทางไปยงั สถานทีป่ ฏบิ ตั ริ าชการภายในเขตจังหวัดเดยี วกัน 2. การเดินทางไปกลับระหว่างสถานที่อยู่ ที่พัก หรือสถานที่ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัด เดยี วกนั วันละไม่เกิน 2 เทีย่ ว 3. การเดนิ ทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร
35 ผูม้ ีสิทธเิ บกิ คา่ พาหนะรับจ้าง ทวั่ ไป : ชานาญงาน/อาวโุ ส/ทักษะพเิ ศษ วิชาการ : ชานาญการ/ชานาญการพเิ ศษ/เชีย่ วชาญ/ทรงคุณวุฒิ อานวยการ : ต้น/สงู บรหิ าร : ตน้ /สูง กรณีผู้ไม่มีสิทธิ ถ้าต้องนาสัมภาระในการเดินทางหรือส่ิงของทางราชการไปด้วยเป็นเหตุไม่สะดวก ทีจ่ ะเดนิ ทางโดยยานพาหนะประจาทางใหเ้ บกิ พาหนะรบั จา้ งได้ อตั ราการเบกิ คา่ พาหนะรบั จา้ งข้ามเขตจงั หวดั (ตามมาตรการประหยัด) 1. การเดินทางในเขตกรุงเทพ หรือเขตจังหวัดอ่ืน ให้เบิกเท่าท่ีจ่ายจริงภายในวงเงินเท่ียวละไม่เกิน 300 บาท 2. การเดนิ ทางเขตตดิ ตอ่ กรุงเทพ หรือผ่านกรุงเทพ ให้เบิกเท่าท่ีจ่ายจริงภายในวงเงินเท่ียวละไม่เกิน 300 บาท 3. การเดนิ ทางขา้ มเขตจังหวดั อืน่ ๆ ใหเ้ บิกเท่าที่จ่ายจริงภายในวงเงิน เที่ยวละไมเ่ กนิ 300 บาท 4. การเดนิ ทางข้ามเขตจังหวัด ไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิให้เบิกเท่าท่ีจ่ายจริงภายในวงเงินเท่ียวละ ไมเ่ กิน 500 บาท 4.1.5 การเบิกค่ายานพาหนะสว่ นตัว การใช้ยานพาหนะสว่ นตัวในการเดินทางไปราชการ ผเู้ ดนิ ทางต้องไดร้ ับอนญุ าตจากผู้บังคับบัญชาก่อน จึงมีสทิ ธิเบกิ เงินค่าชดเชยตามระยะทาง เป็นรถยนตส์ ่วนบคุ คล หรือรถจักรยานยนตส์ ว่ นบคุ คล ซ่ึงมใิ ช่ของทาง ราชการ ทัง้ นี้ไม่วา่ จะเป็นกรรมสิทธ์ขิ องผู้เดินทางไปราชการหรือไม่ก็ตาม คานวณระยะทางตามเส้นทางกรม ทางหลวงหรอื หน่วยงานอื่นถา้ ไม่มีให้ผเู้ ดินทางรับรอง ผมู้ สี ิทธเิ บิกเงนิ ชดเชย ดงั น้ี รถยนต์สว่ นบคุ คล กโิ ลเมตรละ 4 บาท รถจกั รยานยนตส์ ว่ นบุคคล กโิ ลเมตรละ 2 บาท เอกสารหลกั ฐานประกอบการเบิกจา่ ย กรณเี ดินทางไปราชการในราชอาณาจักร 1. ผู้เดนิ ทางไปราชการมีสิทธเิ บกิ คา่ ใช้จ่าย คา่ เบย้ี เล้ยี ง คา่ ท่ีพัก คา่ พาหนะ คา่ ใช้จ่ายอ่นื ท่จี าเปน็ 2. เอกสารหลกั ฐานประกอบการเบิกจ่าย หนงั สอื ราชการขอเบกิ บนั ทกึ ข้อความขออนุมัติเบิกเงนิ แบบใบเบิกคา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ แบบ 8708 ส่วนที่ 1 แบบ 8708 ส่วนที่ 2 (ไปพร้อมคณะ)
36 - คา่ เบ้ยี เลยี้ ง ระบรุ ายละเอยี ดการเบิกจา่ ยในแบบ - คา่ เช่าทพี่ ัก ลักษณะจ่ายจริง ใชใ้ บเสร็จรบั เงนิ ใบแจง้ รายการระบุชือ่ ผู้เขา้ พกั แรม - คา่ พาหนะ ใชแ้ บบ บก 111 ใบรบั รองแทนใบเสรจ็ รับเงนิ ระบรุ ายละเอยี ดการใช้ พาหนะเดินทางกรณีใชร้ ถของทางราชการ ใหม้ ีใบอนุญาตการใช้รถ กรณีใชร้ ถของทางราชการ ให้มีใบอนญุ าตการใช้รถ กรณใี ชร้ ถส่วนตัว ตอ้ งได้รับอนุญาตจากผ้บู งั คับบญั ชา มสี ทิ ธเิ บกิ เงนิ ชดเชยตามระยะทาง หนงั สอื ขออนุมัติการเดนิ ทางไปราชการที่ระบุชอื่ -ชื่อสกุล ตาแหน่ง สถานทไี่ ป ระยะเวลา จานวนเงินทีข่ อให้ ระบุแหล่งเงินงบประมาณแผนงาน/โครงการ เงินนอกงบประมาณ ใบเสรจ็ รับเงนิ ต้องปฏิบตั ิตามระเบยี บวา่ ดว้ ยการเบกิ จา่ ยเงินจากคลัง การเก็บรกั ษาเงนิ และ การนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ. 2551 ข้อ 41 กรณยี ืมเงนิ ราชการ ให้ทาสญั ญาการยมื เงนิ 2 ฉบบั พร้อม ประมาณการคา่ ใชจ้ ่ายเท่าที่จาเป็น การส่งหลักฐานการจา่ ยและเงินเหลอื จ่าย (ถ้ามี) ภายใน 15 วนั นับจากวันกลบั มาถงึ 4.2 การฝึกอบรมและการจัดงาน การเบิกค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรมและการจัดงานเกี่ยวขอ้ งกบั หนงั สอื และระเบียบ ดังนี้ 1. ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมฯ พ.ศ. 2549 2. หนงั สือกรมบญั ชกี ลาง ท่ี กค 0409.6/ว 399 ลงวนั ท่ี 15 พฤศจกิ ายน 2550 3. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรมฯ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2552 4. ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าด้วยคา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรมฯ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 5. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอตั ราค่าจ้างขน้ั ต่าปี 2556 6. มาตรการประหยัดงบประมาณของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ปี 2556 คานิยาม การฝึกอบรม หมายความว่า การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาทาง วิชาการ หรือเชงิ ปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน หรือที่เรียกช่ืออย่างอ่ืน ท้ังในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดท่ีแน่นอน ที่มีวัตถุประสงค์ เพ่อื พฒั นาบุคคลหรอื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ตั งิ าน โดยไมม่ ีการรับปริญญาหรือประกาศนียบตั รวิชาชีพ บุคลากรของรัฐ หมายถึง ข้าราชการทุกประเภท พนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หน่วยงานอื่นของรฐั กรณีลูกจ้างตามสัญญาจ้างเหมา หากในสัญญาจ้างไม่ได้กาหนดให้ลูกจ้างสามารถเข้ารับการ ฝึกอบรมหรือเดนิ ทางได้ สว่ นราชการต้นสงั กัด ก็จะอนมุ ตั ใิ ห้ลกู จ้างตามสญั ญาจา้ งเหมาเขา้ ร่วมฝกึ อบรม หรือ เป็นเจ้าหน้าท่ใี นการจดั ฝกึ อบรมไม่ได้ เจ้าหน้าท่ี หมายถึง บุคลากรของรัฐท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน บุคคลอื่นที่ได้รับแต่งตั้งให้ ปฏิบตั งิ าน และเจา้ หนา้ ทร่ี ักษาความปลอดภยั ผูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรม หมายถงึ บุคลากรของรฐั หรอื บคุ คลซงึ่ ไมใ่ ช่บคุ ลากรของรฐั ทเี่ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ตามโครงการหรือหลกั สูตรการฝึกอบรม
37 การฝึกอบรมข้าราชการ ประเภท ก หมายความว่า การฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งเป็นบุคลากรของรัฐ ซ่ึงเป็นข้าราชการ ตาแหน่งประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ ตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเช่ียวชาญ ระดับทรงคณุ วฒุ ิ ตาแหน่งประเภทอานวยการ ระดับสูง และตาแหน่งประเภทบริหาร ระดับต้น และระดับสูง หรอื ตาแหนง่ เทยี บเท่า การฝกึ อบรมข้าราชการ ประเภท ข หมายความวา่ การฝึกอบรมท่ผี เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมเกนิ กงึ่ หน่งึ เปน็ บุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการ ตาแหน่งประเภทท่ัวไป ระดับปฏิบัติงาน ระดับชานาญงาน และระดับ อาวุโส ตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ ระดับชานาญการ ระดับชานาญการพิเศษ และตาแหน่ง ประเภทอานวยการ ระดับต้น หรือตาแหน่งเทียบเทา่ การดูงาน หมายถึง การเพ่ิมพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ โดยกาหนดไว้ใน โครงการหรอื หลักสูตรการฝึกอบรม หรือกาหนดไว้ใน แผนการจัดการประชุมระหว่างประเทศ ให้มีการดูงาน กอ่ น ระหว่างหรือหลงั การฝกึ อบรมหรอื ประชุมระหว่างประเทศ รวมถึงโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรม ดูงานในประเทศซึง่ หน่วยงานของรัฐจัดขน้ึ องค์ประกอบการฝกึ อบรม 1. มีโครงการ/หลักสูตร ตอ้ งได้รบั อนมุ ตั จิ ากหวั หนา้ สว่ นราชการ 2. ระยะเวลามีกาหนดแนน่ อน 3. วัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื พฒั นาบุคลากร หรือเพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน 4. ไมม่ ีการแจกปริญญาบัตรหรอื ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ บคุ คลผมู้ สี ทิ ธเิ บิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 1. ประธานในพธิ เี ปดิ หรอื พธิ ปี ิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ตดิ ตาม 2. เจา้ หนา้ ท่ี 3. วิทยากร 4. ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ ประเภทผเู้ ข้ารับการอบรม ประเภท ก : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหนึ่งเป็นบุคลากรภาครัฐ ที่มีตาแหน่งระดับ 9 หรือ เชย่ี วชาญขนึ้ ไป ประเภท ข : เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหน่ึงเป็นบุคลากรภาครัฐ ที่มีตาแหน่งระดับ 8 หรือ ชานาญการพิเศษลงมา ประเภทบคุ คลภายนอก : ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมเกินกึ่งหนงึ่ มิใชบ่ คุ ลากรภาครัฐและให้จดั การอบรมได้ เฉพาะในประเทศเทา่ น้ัน
38 คา่ ใช้จา่ ยในการฝกึ อบรม 1. ส่วนราชการผู้จัดการฝึกอบรมเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยไดด้ ังนี้ 1.1 ใหเ้ บิกจ่ายเท่าทจี่ ่ายจรงิ ตามความจาเป็น เหมาะสมและประหยดั 1.1.1 ค่าใช้จา่ ยเกย่ี วกับการใช้และการตกแต่งสถานทีฝ่ ึกอบรม 1.1.2 ค่าใชจ้ ่ายในพธิ ีเปดิ -ปิด การฝึกอบรม 1.1.3 คา่ วัสดุ เคร่อื งเขียนและอุปกรณ์ 1.1.4 ค่าประกาศนยี บัตร 1.1.5 คา่ ถา่ ยเอกสาร ค่าพิมพเ์ อกสารและสง่ิ พิมพ์ 1.1.6 ค่าหนังสอื สาหรบั ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม 1.1.7 ค่าใช้จา่ ยในการติดตอ่ สื่อสาร 1.1.8 คา่ เชา่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝกึ อบรม 1.2 ให้เบิกจ่ายตาม มาตรการประหยัด โดยถือปฏิบัติตามหนังสือสานักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ด่วนที่สุด ท่ี ศธ 0210.117/3707 ลงวนั ท่ี 5 เมษายน 2556 1.2.1 คา่ กระเปา๋ หรอื สง่ิ ท่ใี ช้บรรจุเอกสารใหเ้ บกิ จ่ายได้เทา่ ทจ่ี ่ายจรงิ ไมเ่ กินอตั ราใบละ 300 บาท 1.2.2 ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื คา่ อาหาร สถานทรี่ าชการ สถานที่เอกชน (บาท : มือ้ : คน) มอ้ื กลางวัน ไม่เกิน 200 ไม่เกนิ 300 มือ้ เย็น ไมเ่ กนิ 200 ไม่เกนิ 350 คา่ อาหารวา่ งและเครื่องดมื่ 35 50 1.3 ใหเ้ บิกจา่ ยตามหลกั เกณฑท์ ี่กระทรวงการคลังกาหนด 1.3.1 ค่าของสมนาคุณในการดูงาน ใหเ้ บกิ จ่ายได้เทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ แหง่ ละไมเ่ กิน 1,500 บาท 1.3.2 ค่าสมนาคณุ วิทยากร 1.3.3 ค่าเช่าท่ีพกั 1.3.4 ค่าพาหนะ การจ่ายสมนาคุณวิทยากร ลักษณะ หลกั เกณฑก์ ารจา่ ยค่าสัมมนาคณุ วิทยากร 1. การบรรยาย จา่ ยไดไ้ มเ่ กิน 1 คน 2. การอภิปรายหรือสมั มนาเป็นคณะ จ่ายได้ไม่เกิน 5 คน โดยรวมผู้ดาเนินการอภิปรายหรือ สัมมนาทที่ าหนา้ ทเี่ ชน่ เดียวกบั วิทยากร 3. การแบ่งกลมุ่ ฝึกภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มอภิปราย จา่ ยไดไ้ ม่เกนิ กลมุ่ ละ 2 คน หรอื สัมมนาหรือแบ่งกลุม่ ทากจิ กรรม กรณที ่ีมีจานวนวทิ ยากรเกนิ กวา่ ทก่ี าหนดต้องเฉลี่ยจ่ายภายในวงเงนิ ท่เี บกิ จา่ ยได้ตามหลักเกณฑ์ขา้ งตน้
39 การนบั เวลาเพ่ือจ่ายค่าสมนาคุณวทิ ยากร 1. ให้นับเวลาท่กี าหนดในตารางการฝึกอบรม 2. ไม่ต้องหักเวลาท่ีพักรับประทานอาหารว่างและเครือ่ งดม่ื 3. ช่ัวโมงการอบรมต้องไม่น้อยกว่า 50 นาที 4. ช่ัวโมงการอบรมที่ไม่ถึง 50 นาที แต่ต้องไม่น้อยกว่า 25 นาทีให้เบิกจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร ไดก้ ่งึ หน่งึ อัตราคา่ สมนาคุณวิทยากร ประเภทการฝึกอบรม วิทยากรเป็นบคุ ลากรของรฐั วิทยากรมิใชบ่ คุ ลากรของรัฐ (บาท : ชม. : คน) (บาท : ชม. : คน) ก 800 1,600 ข/บุคคลภายนอก 600 1,200 กรณีทจี่ าเป็นต้องใช้วิทยากรทมี่ ีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เป็นพิเศษจะจ่ายสูงกว่าอัตรา ที่กาหนดให้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ หลกั เกณฑ์การคานวณเบ้ียเลี้ยงเดนิ ทาง กรณีผจู้ ัด ไม่จัดอาหารทัง้ หมด หรือจดั บางส่วน 1. ใหเ้ ร่ิมนับเวลาการเดินทางตงั้ แตอ่ อกจากท่ีอย่หู รือท่ีทางานปกติจนกลบั ถึงท่อี ยู่หรือท่ที างานปกติ 2. ให้นบั เวลา 24 ชั่วโมง นับเปน็ 1 วนั เศษที่ เกิน 12 ชั่วโมง นบั เปน็ 1 วัน 3. ใหน้ าจานวนวนั ทง้ั หมด*อัตราเบ้ยี เลี้ยงเหมาจ่ายตอ่ วัน = คา่ เบี้ยเลีย้ งที่เบิกได้ 4. กรณีผู้จัด ได้จัดอาหารบางม้ือในระหว่างอบรม ให้หักเบ้ียเลี้ยงท่ีคานวณได้ในอัตรามื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบ้ยี เล้ยี งเหมาจ่ายต่อวัน ท่ีพกั การฝกึ อบรม มี 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. ผู้จัดฝึกอบรม จัดท่ีพักให้ และออกค่าเช่าท่ีพักให้โดยผู้จัดเบิกจ่ายค่าเช่าท่ีพักเท่าที่จ่ายจริงตาม หลักเกณฑ์ และอตั ราทกี่ าหนด 2. ผู้จัดฝึกอบรม ไมจ่ ัดทพี่ ักให้ แตป่ ระสานทพ่ี กั ให้ (ผ้จู ัดตดิ ตอ่ สารองทพ่ี ักให้) และแจง้ ค่าเชา่ ที่พักใหผ้ ู้ เขา้ รับการอบรม เอาใบเสรจ็ รบั เงนิ ค่าเช่าที่พักของโรงแรมทีผ่ ูจ้ ัดประสาน นาไปเบกิ จ่ายจากต้นสังกัดได้ 3. ผจู้ ัดฝึกอบรม ไมจ่ ดั ท่ีพกั ให้ และไมป่ ระสานที่พกั ใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมเบิกจา่ ยค่าเชา่ ทีพ่ กั เทา่ ท่จี ่าย จรงิ ตามหลกั เกณฑ์และอตั ราที่กาหนด หลักเกณฑ์การจดั ทีพ่ กั ประเภท ก ให้ผจู้ ดั ดาเนินการจดั ท่ีพักไดต้ ามความเหมาะสม ประเภท ข และประเภทบุคคลภายนอก ให้พักรวมกนั ตงั้ แต่ 2 คนขน้ึ ไป โดยใหพ้ กั ห้องคู่
40 เว้นแต่ 1. กรณที ไี่ มเ่ หมาะสมหรือมเี หตจุ าเป็นไมอ่ าจพกั รวมกับผูอ้ ่นื ได้ ผ้จู ัดการฝึกอบรมอาจจัดให้พักห้องพัก คนเดียวได้ 2. กรณีประธานในพิธีเปิดหรือพิธีปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม หรือวิทยากร ใหจ้ ดั หอ้ งพักคนเดยี วหรือพกั หอ้ งคกู่ ไ็ ด้ และเบิกจ่ายค่าเชา่ ท่ีพกั ได้เท่าที่จ่ายจรงิ อัตราคา่ เชา่ ทพ่ี ัก ประเภทการฝึกอบรม คา่ เชา่ หอ้ งพกั คนเดียว คา่ เชา่ ห้องพักคู่ (บาท : คน : วัน) (บาท : คน : วัน) ก. ไมเ่ กิน 2,400 ไม่เกิน 1,300 ข. ไม่เกนิ 1,450 ไมเ่ กนิ 900 บุคคลภายนอก ไม่เกนิ 1,200 ไมเ่ กิน 750 คา่ พาหนะ ใหเ้ บกิ จ่ายค่าพาหนะได้เท่าทจ่ี ่ายจริงตามความจาเปน็ เหมาะสม และประหยดั 1. กรณใี ชย้ านพาหนะของสว่ นราชการ หรอื กรณยี มื ยานพาหนะจากส่วนราชการ หรือหน่วยงานอ่ืนให้ เบกิ จ่ายค่าเชอ้ื เพลงิ ไดเ้ ท่าท่จี า่ ยจริง 2. กรณีใชย้ านพาหนะประจาทางหรอื เชา่ เหมายานพาหนะ ให้เบิกจ่ายค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริงตาม ความจาเปน็ เหมาะสม และประหยดั จัดยานพาหนะตามระดับของการฝกึ อบรม ตามสทิ ธิของข้าราชการตาม พระราชกฤษฎกี าคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการโดยอนุโลม ดังนี้ 2.1 ประเภท ก ใหจ้ ดั ยานพาหนะตามสทิ ธิของขา้ ราชการตาแหน่งประเภทบริหารระดับสูง เว้นแต่ กรณีเดินทางโดยเคร่อื งบนิ ให้ใชช้ นั้ ธรุ กิจ แต่ถา้ ไมส่ ามารถเดนิ ทางโดยช้ันธุรกจิ ได้ใหเ้ ดินทางโดยช้นั หนง่ึ 2.2 ประเภท ข ให้จดั ยานพาหนะตามสิทธขิ องขา้ ราชการตาแหน่งประเภทท่วั ไประดับชานาญงาน 2.3 บุคคลภายนอกให้จัดยานพาหนะตามสิทธิของข้าราชการตาแหน่งประเภททั่วไ ประดับ ปฏบิ ัติงาน การเบิกจ่ายคา่ พาหนะเดินทางไป-กลบั 1. จากสถานท่ีอยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติราชการไปยังสถานที่จัดฝึกอบรม ให้ประธานในพิธีฯ แขกผู้มี เกียรติ และผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ วิทยากร ผู้เข้ารับการฝึกอบรม และผู้สังเกตการณ์ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ หวั หน้าส่วนราชการท่ีจดั การฝกึ อบรม หรือส่วนราชการตน้ สงั กัด 2. กรณีวิทยากรมีถิน่ ท่ีอยู่ในท้องที่เดียวกับสถานท่ีจัดการฝึกอบรมส่วนราชการ ผู้จัดฝึกอบรมจะเบิก จ่ายเงินค่าพาหนะรบั จ้างไป-กลบั ให้แกว่ ทิ ยากรแทนการจัดรถรับสง่ วทิ ยากรได้
41 การจดั ฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก การฝึกอบรมบุคคลภายนอก หมายถึง การฝึกอบรมท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินก่ึงหน่ึงมิใช่บุคลากร ของรัฐ โดยใหจ้ ัดได้เฉพาะการฝกึ อบรมในประเทศเทา่ น้ัน ค่าเบีย้ เล้ยี ง จดั อาหารทง้ั 3 มื้อ งดเบิก จดั อาหารให้ 2 มอื้ ให้เบกิ จ่ายได้ 80 บาท/วัน จดั อาหารให้ 1 มื้อ ให้เบกิ จ่ายได้ 160 บาท/วัน คา่ เช่าที่พกั ใหเ้ บิกจา่ ยในลกั ษณะเหมาจา่ ยไมเ่ กินคนละ 500 บาท/วัน ค่าพาหนะเดินทาง (ยกเว้นเคร่อื งบิน) ใหเ้ บิกจ่ายตามสทิ ธิของข้าราชการตาแหน่งประเภททั่วไประดบั ปฏิบัติงาน การเบิกคา่ ใช้จา่ ยการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก ใหใ้ ช้แบบใบสาคญั รบั เงินตามแบบท่กี ระทรวงการคลังกาหนดเป็นหลกั ฐานการจา่ ย ค่าพาหนะทีจ่ ่ายจริง ใหจ้ ดั ทาแบบ บก 111 ของแตล่ ะคน เป็นหลกั ฐาน คา่ ใช้จ่ายในการจดั งาน ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั งาน หมายถงึ การจดั งานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติ หรือตามนโยบาย ของทางราชการ เช่น การจัดงานคล้ายวันสถาปนาของส่วนราชการ การจัดงานนิทรรศการ การจัดงาน แถลงขา่ ว การจัดประกวดหรือแข่งขัน หรือการจดั กิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น โดยให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของ งบประมาณพิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสมและประหยัด เช่น ค่าใช้จ่ายพิธีทางศาสนา ค่ารับรองแขกที่ส่วนราชการเชิญมาร่วมงาน ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับสถานที่และ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่ีจาเป็นและเก่ียวข้อง ค่าวัสดุต่างๆ ท่ีใช้ในการจัดงาน ค่าใช้จ่ายในการจัดประก วด หรือ แข่งขันต่างๆ ค่าจ้างเหมาจัดงานนิทรรศการ ค่าจ้างเหมา จัดบอร์ดนิทรรศการ ค่าใช้จ่ายในการโฆษณา ประชาสมั พันธ์งาน เป็นต้น กรณสี ่วนราชการประสงคจ์ ะจา้ งดาเนินการ ให้ดาเนนิ การได้ปฏบิ ัติตามระเบียบพสั ดุ โดยอยู่ในดุลพินิจ ของหัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ หรือผู้ได้รับมอบอานาจโดยให้ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างใน การจัดงานเปน็ หลกั ฐานการจ่าย
42 4.3 การปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการ การเบกิ ค่าใช้จา่ ยในการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการเก่ยี วขอ้ งกบั หนังสอื และระเบียบ ดังนี้ 1. ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 2. หนังสือซ้อมความเข้าใจวิธีปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทน การปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ พ.ศ.2550 3. หนังสือการเบกิ จ่ายเงินคา่ ตอบแทนในการเขา้ รว่ มงานพระราชพิธี รฐั พธิ ี คานยิ าม ข้าราชการ หมายความว่า ข้าราชการพลเรือน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ข้าราชการฝา่ ยอยั การประเภทขา้ ราชการธุรการ ตามกฎหมายว่าดว้ ย ระเบียบข้าราชการฝ่ายอัยการ ข้าราชการพลเรือนในสถานบันอุดมศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา ข้าราชการรัฐสภา ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่าย รัฐสภา ข้าราชการตารวจ ตามกฎหมายว่าด้วยตารวจแห่งชาติ และข้าราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วย ระเบยี บขา้ ราชการทหาร เงินค่าตอบแทน หมายความว่า เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการที่ปฏิบัติง านตามหน้าที่ปกติ โดยงานส่วนใหญ่หรืองานปกติ มีลักษณะดงั น้ี 1. ตอ้ งปฏบิ ัติงานในทตี่ ้ังสานักงานและไดป้ ฏบิ ัตงิ านนั้นนอกเวลาราชการในท่ตี ัง้ สานักงาน หรือ 2. ตอ้ งปฏบิ ัตงิ านนอกท่ีตงั้ สานกั งานและไดป้ ฏบิ ัตงิ านน้ันนอกเวลาราชการนอกทตี่ ้งั สานักงาน หรอื 3. ต้องปฏบิ ตั งิ านเป็นผลัดหรือกะและไดป้ ฏบิ ัตงิ านนนั้ นอกผลดั หรือกะของตน เวลาราชการ หมายความว่า เวลาระหว่าง 08.30 น.-16.30 น. ของวันทาการและให้หมายความ รวมถงึ ชว่ งเวลาอ่นื ท่ีส่วนราชการกาหนดให้ขา้ ราชการในสงั กัดปฏิบตั งิ านเป็นผลดั หรอื กะหรือเป็นอยา่ งอ่นื ได้ วนั ทาการ หมายความวา่ วนั จนั ทร์-วันศกุ ร์ และใหห้ มายความรวมถึงวันทาการ ที่ส่วนราชการกาหนด เป็นอยา่ งอื่นด้วย วันหยุดราชการ หมายความว่า วันเสาร์และวันอาทิตย์หรือวันหยุดราชการประจาสัปดาห์ท่ีส่วน ราชการกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืนและให้หมายความรวมถึงวันหยุดราชการประจาปีหรือวันหยุดพิเศษอ่ืน ๆ ที่คณะรัฐมนตรีกาหนดให้เป็นวนั หยดุ ราชการนอกเหนือจากวนั หยดุ ราชการประจาปี การปฏิบตั ิงานเปน็ ผลัดหรือกะ หมายความว่า การปฏบิ ัติงานประจาตามหน้าที่ของข้าราชการในส่วน ราชการนั้น ๆ ซ่ึงจัดให้มีการปฏิบัติงานผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันตลอด 24 ช่ัวโมง ช่วงเวลาที่ปฏิบัติงาน ดังกล่าวถือเป็นเวลาราชการของข้าราชการผู้นั้น ท้ังน้ี การปฏิบัติงานในผลัดหรือกะหน่ึง ๆ ต้องมีเวลา ไม่น้อยกว่า 8 ชัว่ โมง โดยรวมเวลาหยุดพกั หลกั การปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ 1. ต้องไดร้ ับอนมุ ัติจากหวั หนา้ ส่วนราการเจา้ ของงบประมาณ ก่อนปฏิบัติงาน โดยพิจารณา เฉพาะช่วงเวลาท่จี าเปน็ ตอ้ งอยูป่ ฏบิ ตั ิงานนอกเวลาในครั้งนน้ั ๆ เพอื่ ประโยชนข์ องงานราชการเปน็ สาคัญ ให้คานึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับระบบและวิธีการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตรข์ องส่วนราชการ
43 2. กรณีจาเปน็ เร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยยังไม่ได้รับอนุมัติ ให้ดาเนินการขออนุมัติ จากผู้มอี านาจโดยไมช่ กั ชา้ และให้แจ้งเหตุแหง่ ความจาเป็น 3. กรณีได้รบั คาส่งั ให้เดินทางไปราชการตามระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี ว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทาง ไปราชการและการจัดการประชมุ ของทางราชการ พ.ศ. 2524 ไมม่ ีสิทธิไดร้ บั เงินตอบแทน เวน้ แต่ ได้รบั อนุมัติ ใหป้ ฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ กอ่ นการเดินทาง ใหเ้ บิกคา่ ตอบแทนได้ ผูม้ ีสทิ ธิไดร้ ับคา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั งิ านนอกเวลา 1. ข้าราชการ ข้าราชการพลเรอื น ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา 2. ลกู จ้างของส่วนราชการ 2.1 ลกู จ้างประจาและลูกจ้างชัว่ คราว ท่ไี ด้รบั เงนิ ค่าจ้างจากเงินงบประมาณ 2.2 ลกู จา้ งช่วั คราว ทไ่ี ด้รับเงินคา่ จ้างจากเงนิ นอกงบประมาณ การจ่ายค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน นอกเวลาใหเ้ บิกจ่ายจากเงนิ นอกงบประมาณ ซ่ึงเป็นแหล่งเงินเดยี วกับเงินทีจ่ ่ายค่าจา้ ง 3. พนักงานราชการได้รับตามสิทธิประโยชน์ตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงาน ราชการ (ฉบับที่ 7) 4. เจ้าหน้าที่ ที่ไปร่วมงานในวันหยุดราชการหรืออยู่ร่วมงานต่อเนื่องจนล่วงเลยเวลาราชการในงาน พระราชพิธี รัฐพิธี หรืองานต่างๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี การอนุมัติให้เบิกจ่ายมิได้มีเจตนาขอจัดสรร งบประมาณเพมิ่ เตมิ โดยให้ส่วนราชการตอ้ งบรหิ ารการเบิกจา่ ยคา่ ตอบแทนภายในวงเงินงบประมาณท่ีได้รับ จดั สรร หลักเกณฑ์และอตั ราเบกิ เงนิ การปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการ 1. วันทาการ ไม่เกินวันละ 4 ชั่วโมงอัตราชว่ั โมงละ 50 บาท รวมเงิน 200 บาทต่อวัน 2. วนั หยุดราชการ ไม่เกินวันละ 7 ชัว่ โมงอตั ราช่ัวโมงละ 60 บาท รวมเงนิ 420 บาทตอ่ วนั 3. กรณีมคี วามจาเป็น ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านซ่ึงเปน็ ภารกิจหลักของหน่วยงานเป็นคร้ังคราวตามนโยบายของ รัฐบาลท่มี อบหมายให้หนว่ ยงานปฏิบัติ 3.1 มกี าหนดระยะเวลาแนน่ อนและมีลักษณะเร่งด่วน 3.2 เพื่อมใิ หเ้ กิดความเสียหายแกร่ าชการหรือประโยชนส์ าธารณะ 4. การปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ หลายช่วงเวลาภายในวันเดียวกัน ให้นับเวลาทุกช่วงเวลารวมกัน เพื่อเบกิ เงนิ ตอบแทนสาหรับวนั น้นั 5. การปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการทมี่ สี ิทธไิ ดร้ บั ค่าตอบแทนอน่ื ของทางราชการสาหรับการปฏิบัติงาน นัน้ แลว้ ให้เบกิ ไดท้ างเดยี ว การควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ตั ิงานนอกเวลาราชการ 1. ผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการร่วมกันหลายคน ให้ผู้ปฏิบัติงานคนใดคนหน่ึงเป็นผู้รับรองการ ปฏิบัติงาน 2. การปฏบิ ัตงิ านเพยี งลาพงั คนเดียว ให้ผู้ปฏบิ ตั งิ านนั้นเป็นผรู้ บั รอง 3. ให้รายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการตอ่ ผูม้ ีอานาจอนมุ ัติภายใน 15 วันนับแต่วันที่เสร็จสิ้น การปฏบิ ตั งิ าน
44 กรณไี มอ่ าจเบกิ เงนิ ตอบแทนนอกเวลาได้ 1. การอยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแก่ชาติหรือตามระเบียบหรือ คาสงั่ อ่นื ใดเก่ียวกับการรักษาความปลอดภยั สถานที่ราชการ 2. การปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการไม่เต็มจานวนช่ัวโมง
45 หน่วยที่ 5 ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับระบบการควบคมุ การเงนิ ของหนว่ ยงานยอ่ ย 5.1 แนวคดิ และหลกั การ กระทรวงการคลังกาหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินและการบัญชีของส่วนราชการที่มีลักษณะเป็น หนว่ ยงานยอ่ ยให้ปฏบิ ตั ติ ามค่มู อื การบญั ชีสาหรบั หนว่ ยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ควบคุมเงนิ สดทอ่ี ยใู่ นความรบั ผิดชอบ ตลอดจนรายงานการเงนิ ประเภทเงินคงเหลือ โดยวิธีบันทึกควบคุมในสมุดเงินสด ซง่ึ ระบบดงั กลา่ วได้ถือปฏิบตั ิมาเป็นระยะเวลานาน กระทรวงการคลังได้พิจารณาปรับปรุงให้หน่วยงานย่อยมีระบบการควบคุมการเงินเท่าที่จาเป็น เนือ่ งจากหน่วยงานยอ่ ยมอี ัตรากาลังจากัด ไม่มีบุคลากรท่ีมีวุฒิทางบัญชีและมีการใช้จ่ายเงินไม่มาก จะได้มี เวลากบั ภารกิจหลักของหน่วยงาน ได้อย่างเต็มท่ี ดังนั้นกระทรงการคลังจึงอนุญาตให้หน่วยงานย่อย ได้รับ ยกเวน้ ไมต่ อ้ งปฏิบัติตามคมู่ อื การบัญชหี นว่ ยงานย่อย พ.ศ. 2515 แตใ่ หม้ ีระบบการควบคุมการเงินเท่าทจ่ี าเปน็ ไว้ กรมการศกึ ษานอกโรงเรียนได้กาหนดใหห้ นว่ ยงานย่อยในสงั กดั เร่ิมดาเนนิ ปฏิบตั ติ ามระบบการควบคมุ การเงินหน่วยงานย่อยแบบใหม่ ต้ังแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2545 เป็นต้นไป โดยกระทรงการคลังได้กาหนด ขอบเขตความรับผดิ ชอบด้านการเงนิ ของหน่วยงานย่อยไวด้ งั นี้ 1. เงินงบประมาณ ใหห้ น่วยงานยอ่ ยรวบรวมหลักฐานการขอเบกิ สง่ สว่ นราชการผู้เบิก สว่ นราชการผู้เบกิ จา่ ยให้เจา้ หน้ี หรือผ้มู ีสิทธิรบั เงินโดยตรง 2. เงนิ นอกงบประมาณ ประเภทเงินรายได้สถานศึกษา สามารถเกบ็ ไวใ้ ชจ้ ่ายตามวัตถปุ ระสงค์ ให้บนั ทกึ ควบคมุ ใบทะเบยี นคมุ และจัดทารายงาน 3. เงนิ รายได้แผน่ ดิน ใหน้ าเงินฝากเข้าบัญชีธนาคารของสว่ นราชการผ้เู บกิ รายงานใหส้ ่วนราชการผ้เู บกิ ทราบ 5.2 คานิยาม หน่วยงานย่อยคอื สว่ นราชการทม่ี ีการจัดเก็บและนาส่งเงินรายได้แผ่นดินและ หรือ มีการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ ซ่ึงมิได้เบิกตรงต่อกรมบัญชีกลาง สานักงานคลังจังหวัด หรือ สานักงานคลังจังหวัด ณ อาเภอ เช่นแผนกการต่างๆ ประจาอาเภอ หรือก่ิงอาเภอ สถานีตารวจ สถานีอนามัย โรงเรียนต่างๆในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัย และโรงพยาบาลต่างๆในส่วนกลาง เป็นต้น ทั้งน้ีไม่รวมถึงหน่วยงานตาม กฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนทอ้ งถน่ิ อน่ึง เงินบารุงการศึกษา ได้รับการยกเว้นตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และ ทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ ขอ้ 24 วรรคทา้ ย ใหน้ าเงินไปใช้จา่ ยได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ โดยไมต่ ้องนาสง่ คลัง
Search