Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Creative Innovation_1567300377

Creative Innovation_1567300377

Description: Creative Innovation_1567300377

Search

Read the Text Version

สมรรถนะการโค้ช สู่ Deep Learning & Creative Innovation เรยี นตน้ื ๆ รบั รู้และท่องจา สร้างสรรคน์ วตั กรรมไมไ่ ด้ เรียนผ่านๆ ทาไปตามแบบ Copy, Cut, Paste เรียนเชงิ ลกึ ทาด้วย Creative Innovation (Deep Learning) Passion รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ

สมรรถนะการโคช้ สู่ Deep Learning & Creative Innovation รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ

สมรรถนะการโคช้ สู่ Deep Learning & Creative Innovation รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล พมิ พเ์ ผยแพรอ่ อนไลน์ กนั ยายน 2562 แหล่งเผยแพร่ ศนู ยผ์ ู้นานวตั กรรมหลักสตู รและการเรียนรู้ www.curriculumandlearning.com พมิ พท์ ี่ ศนู ยผ์ นู้ านวตั กรรมหลกั สูตรและการเรยี นรู้, กรุงเทพมหานคร หนงั สอื เลม่ นไี้ ม่มีลิขสทิ ธ์ิ จัดพิมพเ์ พอ่ื ส่งเสริมสังคมแหง่ การเรยี นร้แู ละการแบง่ ปนั

คานา หนังสือ “สมรรถนะการโคช้ สู่ Deep Learning & Creative Innovation” เล่มนี้ เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอสมรรถนะ การโค้ชของผู้สอนเพ่ือกระตุ้นการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) และ ทกั ษะการสร้างสรรคน์ วัตกรรม (Creative Innovation) ของผเู้ รียน ซ่ึงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการดารงชวี ิตและประกอบอาชีพเชงิ สร้างสรรค์ ในอนาคต ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า ห นั ง สื อ เ ล่ ม น้ี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ตอ่ ผทู้ เี่ กี่ยวขอ้ งได้มากพอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล

สารบญั 1 1 1. บทนา 2 2. การเรยี นรูผ้ ่านช่องทางออนไลน์ 3. บรรยากาศกระตุ้นการเรยี นรู้ 3 4. สมรรถนะการโค้ชใหผ้ ูเ้ รยี นเกดิ Deep learning & 8 9 Creative Innovation 5. บทสรปุ บรรณานุกรม

1 สมรรถนะการโคช้ สู่ Deep Learning & Creative Innovation 1. บทนา Disruptive Innovation ส่ ง ผ ล ใ ห้ ช้ัน เรี ยน กลายเป็น พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างสรรค์นวัตกรรมระหว่างผู้สอน กบั ผ้เู รียน และปรับเปล่ียนรูปแบบการส่ือสารจากการสื่อสารทางเดียว จากผู้สอนไปยงั ผเู้ รยี นเป็นการสื่อสารสองทางอย่างสรา้ งสรรค์ การปรับเปล่ียนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ทันสมัยของผู้สอน มาจากปัจจัยท่ีผู้สอนจะต้องเรียนรู้ตลอดเวลา เพ่ือเสริมสร้างทักษะ การจดั การเรยี นรู้และประสบการณใ์ หมๆ่ อย่เู สมอ ต้อง Open eyes, Open mind ดูโลกแห่งความจริงในปัจจุบัน เปิดรับฟังความคิดเห็น ที่แตกต่างกัน จะทาให้เปลี่ยน Mindset และทัศนคติรวมท้ังมุมมอง ต่างๆ ไปสู่ Growth mindset 2. การเรยี นรู้ผา่ นช่องทางออนไลน์ ผู้เรียนทุกคนกาลังเผชิญกับ Digital disruption ท่ีเป็นพายุ โหมกระหน่าไม่หยุด ทุกคนจะต้องมี Lifeboat Strategy ของตัวเอง จึงจะสามารถดารงตนอย่ไู ด้

2 การปรบั เปล่ียนวธิ ีการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจะตอ้ งออกแบบ การเรียนรู้แต่ละบทเรียนเผยแพร่ทางออนไลน์ได้ในหลายลักษณะ เช่น คลิป VDO, Power Point ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ เปิดดูที่ไหน เวลาใดก็ได้ เช่น เปิดดูที่บ้าน หรือที่ผู้เรียนต้ังใจเรียนรู้เนื้อหา ด้วยตนเอง และใช้เวลาในชั้นเรียนเพ่ือทบทวน Concept, Content ใหช้ ดั เจน ผู้เรียนทากิจกรรมท่ีมาจาก Willpower ของตนเอง แรงจูงใจหรือพลังใจ เป็นกลไกของสมองที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียน มี Passion ต้องการกระทากิจกรรมหรือค้นคว้าตามความต้องการ เพ่ือเป้าหมายในการบรรลุตาม Passion ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสุข เ พ ร า ะ Every morning is a new opportunity to make on impact in the life of a student. 3. บรรยากาศกระตุ้นการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการกระตุ้นให้ผู้เรียน นาสิ่งที่ตนเองสนใจหรือข้อสงสัย มาเป็นประเด็นในการซักถาม แลกเปลยี่ นเรียนรู้ในช้นั เรียนร่วมกับผ้สู อนและเพอ่ื นๆ

3 การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ด้านกายภาพ ด้านสังคม และ ด้านจิตวิทยา สิ่งแวดล้อมดังกล่าวน้ีจะมีอิทธิพลกระตุ้นต่อความคิด ความปรารถนา ใหผ้ ู้เรียนเลือกทากจิ กรรมแตล่ ะวนั เพอ่ื บรรลเุ ป้าหมาย การพัฒนา Concept, Content สื่อการเรียนรแู้ นวใหม่ ผา่ น ทางออนไลน์ สิ่งที่ผู้สอนต้องตระหนักถึงคือ เทคโนโลยีเป็นเพียงตัว ชว่ ยสนับสนนุ อานวยความสะดวกในการเรียนร้เู ท่านนั้ ผู้สอนจะต้องหมั่นศึกษาค้นคว้า Concepts, Content การ Coding การออกแบบกิจกรรมโดยตระหนักถึง Process as content ที่เหมาะกับการเรียนรู้ยุคใหม่ และการกระตุ้นให้ผู้เรียน มี Willpower ทจ่ี ะศึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เตมิ 4. สมรรถนะการโคช้ ใหผ้ ้เู รียนเกิด Deep learning & Creative Innovation การเรียนรู้ Concept, Content ของผู้เรียน เกิดจาก สมรรถนะการโค้ชของผู้สอน ท่ีกลมกลืนนาไปสู่ผู้เรียนเกิด Deep learning โดยผู้สอน Focus ผ่านการโค้ช จนผู้เรียนเกิด แนวคิดท่ีชัดเจนเป็นรูปธรรม เกิดความคิดใหม่ที่ผ่านกิจกรรม

4 การทดลอง การปฏิบัติการเป็น Deep learning เหมือนกับการต่อตัว Lego เป็นส่ิงท้าทาย และทาให้ผู้เรียนเข้าถึง Concept ได้ง่าย ดังนั้น ชั้นเรียนจึงเป็นพื้นท่ีใหม่ท่ีผู้สอนกับผู้เรียนได้ใช้เวลาท่ีมีคุณภาพ ร่วมกนั ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้เชิงลึก (Deep learning) เมื่อ ผู้สอนมีสมรรถนะและปฏิบัติบทบาทในการโค้ชผู้เรียน ได้เหมาะสม กับความต้องการ ความสนใจ รวมทั้งรูปแบบการเรียนรู้ วิธีคิด วิถีชีวติ วัฒนธรรมของผู้เรียนแต่ละคนได้อย่างเหมาะสมกลมกลืน โดยที่ผู้สอน ใช้สมรรถนะการโค้ชเพื่อให้ผู้เรียนเกิด Deep learning & Creative Innovation ดังตอ่ ไปน้ี 1. Increasing learning coach ability ห ม า ย ถึ ง การใช้บทบาทการโค้ชเพื่อเพิ่มทักษะความสามารถในการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน 2. Service orientation หมายถึง การพัฒนาผู้เรียน ใหเ้ กิดการเรยี นรู้บนฐานของการบรกิ าร อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ 3. Deep listening หมายถงึ การตั้งใจฟงั ความต้องการ ของผู้เรียนด้วยจิตว่าง เพ่ือนามาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและธรรมชาตขิ องผู้เรียน

5 4. Power questioning หมายถึง การใช้พลังคาถาม หรือคาถามกระตุ้นการคิด ท่ีสอดคล้องกับกระบวนการทางความคิด และวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ความคิดและพฤตกิ รรม 5. Enhancing perspective โดยมุ่งเน้น Willpower หมายถึง กระตุ้นให้ผู้เรียนมี Willpower ในการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพของตนเองอยา่ งตอ่ เน่ือง 6. System thinking หมายถึง การโค้ชท่ีมุ่งเน้นการ เสริมสรา้ งทกั ษะการจัดระบบความคิดของผูเ้ รยี น 7. Inspiring action หมายถึง การสร้างแรงบันดาลใจ ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้เรียน และส่งเสริมสนับสนุน กระตุ้น อานวยความสะดวกในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของผเู้ รยี น 8. Managing agreement หมายถึง การกระตุ้นวินัย ในตนเองของผู้เรียน ให้ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ควบคุมตนเอง ไปสู่เปา้ หมายทต่ี อ้ งการประสบความสาเรจ็ 9. Love หมายถึง การโค้ชผู้เรียนด้วยจิตที่เมตตา มีความรกั ความปรารถนาดีต่อผู้เรียน ทาใหผ้ เู้ รียนเกิดการรบั รู้ถึงความ รักความเมตตาทต่ี นเองไดร้ บั จากผสู้ อน

6 1. การพฒั นาใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ทักษะการเรียนรู้ 2. การอานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ 3. การฟังอยา่ งตั้งใจ สมรรถนะ 4. การใชพ้ ลังคาถาม การโคช้ ใหผ้ ู้เรียน 5. การกระตุ้น Willpower ของผ้เู รียน 6. การพัฒนาระบบความคดิ ของผเู้ รียน เกดิ Deep 7. การสร้างแรงบนั ดาลใจ learning & Creative Innovation 8. การกระต้นุ วนิ ยั ในตนเอง 9. การให้ความรักความเมตตา ภาพประกอบ 1 สมรรถนะการโคช้ ใหผ้ ้เู รยี นเกิด Deep learning & Innovation

7 ชั้นเรียนจะเป็นพื้นที่สาหรับการแลกเปล่ียนประสบการณ์ การเรียนรู้ท่ีตอบสนอง Willpower และ Passion ของแต่ละบุคคล ทาให้เกิดแนวคิดใหม่ มุมมองใหม่ เป็นการจัดการเรียนรู้เชิงลึก Deep learning อันเป็นพ้ืนฐานของผู้เรียนท่ีค้นคว้าสร้างสรรค์ นวัตกรรม บรรยากาศการเรยี นรู้ สมรรถนะการโค้ช Deep Learning ภาพประกอบ 2 การจดั การเรยี นรูเ้ ชงิ ลกึ Deep learning

8 5. บทสรุป สมรรถนะและบทบาทการโค้ชของผู้สอน ช่วยทาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้เชิงลึก (Deep learning) ท่ีสามารถนาไปเช่ือมโยง ผสมผสานกับการเรียนรู้เร่ืองอื่นๆ และสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ผู้เรียน มี Willpower ท่ีต้องการประสบความสาเร็จ ด้วยเหตุน้ีผู้สอน จึงจาเป็นต้องเรียนรู้และพัฒนาความสามารถในการโค้ช ตลอดจน การออกแบบการจัดการเรยี นรใู้ หท้ ันสมัย และตอบสนองความต้องการ และรูปแบบการเรยี นรู้ของผู้เรยี นอย่ตู ลอดเวลา

9 บรรณานุกรม วิชัย วงษ์ใหญ่, และมารุต พัฒผล. (2562). การโค้ชเพ่ือพัฒนาศักยภาพ ผูเ้ รียน. กรุงเทพฯ: จรลั สนทิ วงศ์การพิมพ์. Abdulla, A. (2017). Coaching Students in Secondary Schools: Closing The Gap Between Performance and Potential. New York, NY: Routledge. Brock, A. & Hundley, H. (2016). The Growth Mindset Coach: A Teacher’s Month–by–Month Handbook for Empowering Students to Achieve. Berkeley, CA: Ulysses Press.

ผเู้ รยี นจะเกิดการเรียนร้เู ชิงลึก (Deep learning) เม่ือผูส้ อนมีสมรรถนะและปฏบิ ัตบิ ทบาทในการโค้ช ได้เหมาะสมกับความตอ้ งการ ความสนใจ รปู แบบการเรียนรู้ วธิ ีคดิ วิถชี ีวติ วฒั นธรรมของผเู้ รยี น เรียนต้ืนๆ รบั รแู้ ละท่องจา สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมไม่ได้ เรียนผ่านๆ ทาไปตามแบบ Copy, Cut, Paste เรียนเชงิ ลกึ Passion & Creative Innovation (Deep Learning) Will power


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook