Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PLC_1544649171

PLC_1544649171

Description: PLC_1544649171

Search

Read the Text Version

การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคดิ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ ตามแนวคดิ ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) รองศาสตราจารย์ ดร.วชิ ัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ

การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ ตามแนวคิดชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พฒั ผล พมิ พ์เผยแพร่ออนไลน์ มกราคม 2562 แหลง่ เผยแพร่ ศนู ย์ผ้นู านวตั กรรมหลักสตู รและการเรยี นรู้ www.curriculumandlearning.com พิมพท์ ี่ ศูนยผ์ ูน้ านวัตกรรมหลักสตู รและการเรยี นรู้, กรุงเทพมหานคร หนงั สือเล่มนี้ไมม่ ีลขิ สิทธิ์ จัดพิมพเ์ พื่อส่งเสรมิ สังคมแห่งการเรยี นรแู้ ละการแบ่งปนั

คานา หนงั สือ “การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรตู้ ามแนวทางชมุ ชนแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)” เล่มน้ี มีวัตถุประสงค์ เพ่ือนาเสนอแก่นขององค์ความรู้ (Concept) และแนวทางการปฏิบัติของชุมแห่งการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของผู้สอน เน้ือหาสาระ ท่ีนาเสนอได้ถูกเขียนไว้ในหนังสอื “ขอบฟ้าใหม่แห่งการเรียนรู้เพื่อการสร้างสรรค์ อนาคต” ของผเู้ ขียน ซง่ึ หากมีความสนใจเนื้อหาอน่ื ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง ท่านสามารถศึกษา ค้นควา้ เพิ่มเตมิ ตามความสะดวก หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผทู้ เี่ กย่ี วข้องกับงาน พัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ได้พอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารตุ พัฒผล

สารบัญ 1 11 1. จาก Mindset สู่ Mind-shift เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 14 2. การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโดยใช้ PLC 21 3. จดุ เรม่ิ ตน้ และปจั จัยสนบั สนุนของ PLC 35 4. ปฏิบตั ิการ PLC ด้วยวิธีการสร้างสรรคน์ วตั กรรม 5I 43 5. การถอดบทเรียนสู่การบันทกึ Logbook บรรณานกุ รม

บัญชีภาพประกอบ 2 4 1. ลักษณะงานในโลกอนาคต 5 2. การวิเคราะหฐ์ านข้อมลู ขนาดใหญเ่ ป็นสารสนเทศ 8 3. การวิเคราะห์ Big Data ในการจดั การเรียนรูส้ าหรบั ครมู อื อาชพี 4. 3C ของครูท่ี Transform 12 5. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวชิ าชพี คุณภาพผสู้ อน 13 16 และคณุ ภาพผู้เรยี น 18 6. องค์ประกอบของชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี 7. ปัจจยั สนบั สนนุ PLC 8. ปจั จยั สง่ เสริม PLC

บัญชีตาราง 6 7 1. กรณีศกึ ษาความแตกตา่ งระหว่าง Teaching / Instruction / Coaching ในการอา่ นเชิงวเิ คราะห์ 2. Mindset และ Growth mindset ของผสู้ อน

การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวคิดชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 1. จาก Mindset สู่ Mind-shift เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การทางานในโลกอนาคตมีลักษณะงานสร้างสรรค์ (creative work) ส่วนมากเป็นงานที่เก่ียวข้องกับการวิจัย งานการพัฒนา งานการออกแบบ งานที่ เก่ียวข้องกับการตลาดและงานขาย งานเก่ียวกับการบริหารห่วงโซ่อุปทาน ตลอดจน งานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ Robotics หรือ Artificial Intelligence (AI) แสดงไดด้ งั แผนภาพ 2 งานประจาท่ีทาโดยแรงงานคนจะมีปริมาณและความต้องการลดลง เนื่องจากปัจจุบันมีการใช้หุ่นยนต์หรือ Robotics มาทางานแทนหลายอย่างซึ่งเป็น แนวโนม้ การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมในอนาคต แรงงานท่ีทางานในลักษณะเป็น Routine หรือทาไปวันๆจะหมดไป ในอนาคตไม่นานนับจากน้ี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการส่ือสารทาให้ วิถีการทางาน (ways of work) มีความแตกต่างไปจากเดิม เปลีย่ นเป็นการทางานผ่าน Artificial Intelligence หรือปัญญาประดษิ ฐ์ ท่ีจะสร้างพลงั สร้างสรรค์แห่งนวัตกรรม ตอ่ ไปในอนาคต *เอกสารน้ี เปน็ หนึ่งของหนงั สือ ขอบฟา้ ใหม่แห่งการเรยี นรู้ส่กู ารสร้างสรรค์อนาคต

2 การพัฒนาคุณภาพผ้สู อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) งานสร้างสรรค์ การวิจยั งานประจาท่ีทาโดยแรงงานคน การพัฒนา การออกแบบ การตลาดและงานขาย การบริหารหว่ งโซ่อปุ ทาน การพฒั นาโปรแกรม Robotics งานประจาท่ีทาโดยปัญญาประดิษฐ์ แผนภาพ 1 ลกั ษณะงานในโลกอนาคต ขอบฟา้ ใหมแ่ ห่งการเรยี นรู้ คอื การศึกษาระบบ 4.0 New Frontier in Learning Education 4.0 ช่วยตอบสนองลักษณะงานในโลกอนาคตทม่ี ีแนวคิดและ วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ าแ ล ะ ก า ร จั ด ก าร เ รี ย น รู้ แ ต ก ต่ าง ไป จ า ก เดิ ม ท่ี เน้ น ค ว า ม รู้ (knowledge – based) มาเป็นเน้นการสร้างสรรค์ผลิตภัณ ฑ์และนวัตกรรม (product & creative based) ตลอดจนมีความฉลาดด้าน Love & Kindness Quotient (LQ) คือ ความรักความเมตตาและเอ้ือเฟอ้ื เผอ่ื แผ่คนอ่ืน ซ่งึ เป็นรากฐาน สาคญั ของการพฒั นาสังคมเขม้ แข็ง การศึกษา 4.0 มงุ่ ให้ผู้เรียนมีศักยภาพในการสร้างสรรค์และนวัตกรรม โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซ่ึงผู้สอนจาเป็นต้องเปล่ียนแปลงตนเอง (transform) จากการที่เคยจัดการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนท่องจาเนื้อหา เป็นการ

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 3 นาสาระสาคัญ (main concept) ต่างๆ มาสังเคราะห์ เชื่อมโยง ผนวกกับการใช้ กระบวนการเรียนรู้ ความมุ่งมั่น อดทน นาไปสู่การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรมท่ตี อบสนองความตอ้ งการของชุมชนและสงั คม ลักษณะการจัดการเรียนรู้แต่ละยุคแต่ละสมัย มีความแตกต่างกัน ตามบริบทที่เกี่ยวข้อง เช่น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น โดยที่ การจัดการเรียนรใู้ นแตล่ ะยคุ สมยั มีจุดเน้นท่ีแตกตา่ งกนั ดังนี้ 1.0 เน้นการบรรยายการจดจาความรู้ 2.0 การใช้ Internet เปน็ ส่อื กลาง 3.0 การศกึ ษาปจั จุบนั สังคมแหง่ การเรยี นรู้ - ผ้เู รยี นมที กั ษะการเรียนรู้ - เรียนร้จู ากแหลง่ การเรยี นรู้ - ทางานสรา้ งสรรค์ ทางานเปน็ ทมี 4.0 การศึกษาสูอ่ นาคตเน้นการสร้างสรรคน์ วตั กรรม ครูยุคใหม่เปลี่ยนจาก Karaoke Teacher ท่ีได้บรรจุข้อมูลต่างๆ มากมายซึ่งข้อมูลเหล่าน้ัน ผ้เู รียนสามารถหาอา่ นได้จาก Internet มาเป็นผู้สอนท่ีให้ แนวคดิ หรอื Idea แกผ่ ู้เรยี น ให้นาความรู้ไปสร้างสรรคผ์ ลิตภณั ฑแ์ ละนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ไดร้ บั การออกแบบ (learning design) มาเป็นอยา่ งดี ผู้สอนวิเคราะห์ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data ท่ีเป็นชุดข้อมูลจานวนมาก และซับซ้อน นามาวิเคราะห์ให้เป็นสารสนเทศที่กระชับ แสดงดังแผนภาพ 4 และนาไปสู่การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ที่ตอบสนองความต้องการและความ แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ซ่ึงเป็นปัจจัยเบื้องต้นของการจัดการเรียนรู้ ท่ีมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล

4 การพัฒนาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 1% 25% 94% แผนภาพ 2 การวิเคราะหฐ์ านข้อมูลขนาดใหญ่เป็นสารสนเทศ Big Data ดา้ นผู้เรยี นที่สาคัญทผี่ ู้สอนควรวเิ คราะห์ให้ชัดเจน และนาไปสู่ การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย ความสนใจ ความถนัด แบบการเรยี นรู้ ทักษะและวิธกี ารคดิ ลักษณะนสิ ยั สิง่ จงู ใจ สาหรบั การวิเคราะห์ Big Data ในการจัดการเรียนรูส้ าหรับครมู ืออาชีพ จะประกอบดว้ ย - การวิเคราะห์ Key Concept - การวิเคราะห์ Learning Style - การวิเคราะห์ Cognitive Style - การวิเคราะหค์ ณุ ลกั ษณะของผเู้ รียน - การวิเคราะหก์ ิจกรรมการเรียนรู้ การวิเคราะห์ Big Data ด้านต่างๆ ข้างต้น นับว่าเป็นศักยภาพของ ครูมืออาชีพ เม่ือวิเคราะห์แล้วจึงนาไปสู่กระบวนการออกแบบการเรียนรู้ ผู้สอน มีบทบาทเปน็ โค้ช (coach) และการเปน็ พเ่ี ลยี้ ง (mentor) แสดงได้ดังแผนภาพ 5

การพฒั นาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 5 แผนภาพ 3 การวเิ คราะห์ Big Data ในการจดั การเรยี นรสู้ าหรบั ครมู ืออาชีพ Teaching / Instruction / Coaching มีจุดเน้นของการปฏิบัติงาน ท่ีแตกต่างกัน ครูยุดใหม่เปล่ียนแปลงจาก Teaching และ Instruction มาเป็น Coaching ดงั ตาราง 3 โดยที่แต่ละประเภทมจี ุดเน้นดังน้ี Teaching การถ่ายทอดความรู้จากผูส้ อนไปยงั ผู้เรยี น Instruction การบอกวิธกี ารปฏบิ ตั ิแล้วให้ทาตาม Coaching การจูงใจ และช้ีแนะใหผ้ ู้เรยี น ใชว้ ิธกี ารเรยี นรขู้ องตนเอง เปน็ ลกั ษณะการเรยี นรสู้ ว่ นบุคคล Personalize learning

6 การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) กรณศี ึกษา : Teaching / Instruction / Coaching ในการอ่านเชิงวเิ คราะห์ ตาราง 1 กรณศี ึกษาความแตกตา่ งระหว่าง Teaching / Instruction / Coaching ในการอ่านเชิงวเิ คราะห์ Teaching Instruction Coaching ใหค้ วามรแู้ กผ่ ู้เรยี น อธิบายใหผ้ ูเ้ รียนเขา้ ใจว่า จูงใจและช้ีแนะให้ผเู้ รียน เรอื่ งการอ่านเชิงวเิ คราะห์ การอ่านเชงิ วเิ คราะห์ เขา้ ใจกระบวนการ อธิบายวิธีการ มขี ้ันตอนอย่างไร อ่านเชิงวิเคราะห์ อ่านเชิงวเิ คราะห์ จากน้ันแสดงตวั อย่าง ผ้เู รยี นฝึกการอ่าน ฝกึ การอา่ นเชงิ วิเคราะห์ ให้ผเู้ รียนศกึ ษา เชิงวิเคราะห์ ดว้ ยวิธีการ ตามแบบที่ผสู้ อนกาหนด แล้วให้ผเู้ รยี นฝึกวิเคราะห์ ทีผ่ ูเ้ รียนถนัด ตามแนวทางและวิธีการ ผสู้ อนใหค้ วามชว่ ยเหลือ ท่ีผู้นาทาตวั อย่าง ผเู้ รยี นรายบคุ คล การโค้ชของผู้สอนจะเป็นการโค้ชมีประสิทธิภาพได้นั้น มีปัจจัยสาคัญ 5 ประการท่ีผู้สอนควรเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา เพราะจะไปส่งเสริม ประสิทธิภาพการโคช้ เรยี นกวา่ 5B ของผูส้ อนยุคใหม่ ได้แก่ 1) นักคิดสร้างสรรค์ (Be creator) 2) ใฝเ่ รียนรู้ (Be learner) 3) การสือ่ สาร (Be communication) 4) การจัดการเรียนรู้ (Be learning management) 5) นกั พัฒนา (Be developer) การเรียนรู้และพัฒนาตนเองของผู้สอนท้ัง 5 ประการดังกล่าว จะนาไปสู่ การเปล่ียนแปลงกระบวนการทางความคิดแบบเดิมๆ (Mindset) เป็นกระบวนการ ทางความคดิ แบบเติบโต (Growth mindset) แสดงไดด้ ังตาราง 4 ดังนี้

การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 7 ตาราง 2 Mindset และ Growth mindset ของผสู้ อน Mindset Growth Mindset - ความรูอ้ ย่กู บั ผู้สอน - ความร้มู อี ยู่ในทกุ ที่ - ผู้เรียนตอ้ งได้รับการถ่ายทอดความรู้ - ผู้เรียนต้องใชก้ ระบวนการเรยี นรู้ - เนอื้ หาสาระอยใู่ นแบบเรยี นทด่ี ที ีส่ ุด - ธรรมชาตสิ ิ่งรอบตัวคือแหล่งความรู้ - ควบคมุ การเรยี นรู้ - เปิดพนื้ ทกี่ ารเรียนรู้ - การมารับความรู้ - การแสวงหาและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ - ประเมนิ เพือ่ ตดั สนิ - ประเมนิ เพอ่ื พัฒนา เมื่อผสู้ อนมกี ารปรบั เปลยี่ น Mindset ไปเปน็ Growth mindset จะสง่ ผล ถึงพฤติกรรมการทางานที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และสังคม 3 ประการ เรยี กวา่ 3C ของครทู ี่ Transform ประกอบดว้ ย 1) การทางานอย่างสร้างสรรค์ (Creative) มีความสร้างสรรค์ ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู้ หต้ อบโจทยค์ วามต้องการของผู้เรียน 2) การโค้ช (Coach) โดยใช้การโค้ชในระหว่างท่ีผู้เรียนปฏิบัติ กจิ กรรมการเรียนรู้ 3) การเอาใจใสผ่ ูเ้ รียน (Care) ทัง้ ทางด้านวิชาการ และวิชาชีวิต พฤติกรรมการทางานของครทู ั้ง 3 ประการข้างต้นจะส่งผลต่อคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ท่เี สรมิ สร้างคณุ ภาพของผเู้ รยี นในยุคปัจจุบัน ที่ต้องการการเรียนรู้ ทส่ี รา้ งสรรค์ ไมจ่ าเจ ตอ้ งการผูส้ อนท่ีใชว้ ธิ ีการโคช้ แทนการอบรมส่งั สอน และต้องการ ความรกั ความเอาใจใส่ ทะนุถนอมกล่อมเกลาใหเ้ รยี นรแู้ ละเติบโตทกุ วินาที แสดงได้ดัง แผนภาพ 6 ดังน้ี

8 การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) แผนภาพ 4 3C ของครูที่ Transform หากผูส้ อนไดร้ บั การพัฒนา จนทาให้มีกระบวนการทางความคิดแบบเติบโต ระดับสากล (Global Mind – shift) จะทาให้ผู้สอนมีศักยภาพท่ีเหนือกว่าผู้สอน โดยทั่วไป จากการท่ีเป็นครทู ี่มีลกั ษณะนสิ ัย 5 ดา้ นดงั ต่อไปน้ี 1) Early Mover คดิ กอ่ น ทากอ่ น เรียนรู้ก่อน 2) Trade – offs ตดั สนิ ใจให้ไวและถกู ต้อง 3) Best Practice เรียนรจู้ ากคนท่เี กง่ กวา่ 4) New Product สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑ์ใหมๆ่ 5) Network สรา้ งพลงั เครือขา่ ย

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 9 ยกตัวอยา่ งเช่น เมื่อวันท่ี 7 สิงหาคม 2560 รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 วเิ คราะห์ความแตกต่างได้ดังนี้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หลักสตู ร พ.ศ. 2551 รวม 14 มฐ. (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) รวม 10 มฐ. สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ (4 มฐ.) สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต (3 มฐ.) สาระที่ 2 การวดั (2 มฐ.) สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต (4 มฐ.) สาระที่ 3 เรขาคณติ (2 มฐ.) สาระท่ี 3 สถิติและความน่าจะเปน็ (2 มฐ.) สาระที่ 4 พชี คณติ (2 มฐ.) สาระท่ี 4 แคลคูลสั (1 มฐ.) สาระที่ 5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู และความ นา่ จะเป็น (3 มฐ.) สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ (1 มฐ.) กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ หลกั สูตร พ.ศ. 2551 รวม 13 มฐ. (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) รวม 25 มฐ. สาระท่ี 1 ส่ิงมีชวี ติ กบั กระบวนการดารงชีวติ (2 มฐ.) สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ (3 มฐ.) สาระที่ 2 ชวี ติ กบั ส่งิ แวดลอ้ ม (2 มฐ.) สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ (3 มฐ.) สาระท่ี 3 สารและสมบัตขิ องสาร (2 มฐ.) สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ (2 มฐ.) สาระที่ 4 แรงและการเคล่อื นท่ี (2 มฐ.) สาระที่ 4 ชวี วทิ ยา (5 มฐ.) สาระท่ี 5 พลังงาน (1 มฐ.) สาระท่ี 5 เคมี (3 มฐ.) สาระที่ 6 กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก (1 มฐ.) สาระที่ 6 ฟสิ ิกส์ (4 มฐ.) สาระท่ี 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ (2 มฐ.) สาระท่ี 7 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ (3 มฐ.) สาระที่ 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (1 มฐ.) สาระท่ี 8 เทคโนโลยี (2 มฐ.)

10 การพัฒนาคุณภาพผูส้ อนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) สาระการเรยี นรู้ภูมิศาสตร์ (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) รวม 25 มฐ. หลักสูตร พ.ศ. 2551 รวม 13 มฐ. มฐ. ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลก มฐ. ส 5.1 และความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซึ่งมผี ลต่อกัน เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ ใชแ้ ผนท่แี ละเคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ และความสัมพันธ์ของสรรพสิง่ ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มูล ซึง่ มผี ลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนทแี่ ละเคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรปุ และใชข้ อ้ มูล ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสทิ ธิภาพ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มฐ. ส 5.2 กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ประกอบด้วย เขา้ ใจปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างมนษุ ย์ 1. ตั้งคาถามเชิงภมู ิศาสตร์ กับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กดิ 2. การรวบรวมข้อมลู การสรา้ งสรรคว์ ฒั นธรรม มจี ติ สานึก 3. การจัดการข้อมูล และมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากร 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสิ่งแวดล้อม เพื่อการพฒั นาที่ย่งั ยนื 5. การสรุปเพือ่ ตอบคาถาม มฐ. ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่งิ แวดล้อม ทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กิดการสร้างสรรค์ วิถกี ารดาเนนิ ชีวิต มจี ติ สานึกและมสี ่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดล้อม เพอ่ื การพัฒนาทยี่ ่งั ยืน จากที่นาเสนอการเปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดข้างต้น หากผู้สอนท่านใดมีกระบวนการทางความคิดแบบเติบโตระดับสากลทั้ง 5 ด้าน ผูส้ อนท่านนัน้ จะเริม่ เตรียมความพรอ้ มของตนเองในการจัดการเรยี นรู้ลว่ งหน้า เช่น การแสวงหาความรู้เพมิ่ เตมิ ดว้ ยตนเอง เป็นต้น โดยไมต่ ้องรอคาส่งั จากผบู้ งั คับบญั ชา

การพัฒนาคณุ ภาพผ้สู อนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) 11 2. การพฒั นาและยกระดับคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้ PLC การพัฒนาครทู ี่มปี ระสทิ ธภิ าพควรมีความยืดหยุน่ ไมใ่ ช่การใช้วิธกี ารเดยี ว (one – size fit – all) แต่ใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นเคร่ืองมือสาหรับ การพัฒนา การเรียนรู้ คือ กระบวนการท่ีนาไปสู่การเติบโตและเจริญงอกงาม (Growth) ที่มิได้เกิดข้ึนในชั่วข้ามคืน แต่อาศัยกระบวนการบ่มเพาะ ฟูมฟัก และฝึกฝน จนเกิดคุณลักษณะการเป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มีทกั ษะการเรียนรู้จะต้อง ให้ความสาคัญกับกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ตามสภาพจริง การสะท้อนคิด และถอดบทเรยี น ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community เรยี กชอื่ ย่อว่า PLC) เป็นการผสมผสานแนวคิดของความเป็นมืออาชีพ (professional) และ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (learning community) เข้าดว้ ยกนั ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี หมายถึง การรวมกลมุ่ กันทางวิชาการ ของบุคคลผู้ประกอบวิชาชีพเดียวกัน เพอื่ พัฒนาสมรรถนะทางวชิ าชีพ และคุณภาพ ของผู้เรียนร่วมกัน ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมมือร่วมใจ (collaborative learning) การเรียนรู้ประสบการณ์การปฏิบัติงานในพื้นที่ (lesson learned) และ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ (sharing learning) อย่างต่อเน่อื ง ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาผ่านการพัฒนาศักยภาพผู้สอนและนาไปสู่การพัฒนาผู้เรียน เป็นความ ร่วมมือร่วมใจกันทางวิชาการของผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษาที่มีเป้าหมาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ร่วมมือกัน ช่วยเหลือ สนับสนนุ และสง่ เสรมิ ซ่ึงกนั และกนั ทาให้เกดิ การพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ ง

12 การพัฒนาคณุ ภาพผ้สู อนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) PLC เปรียบเสมือนเป็น Assembly Point หรือจุดรวมของนักวิชาชีพ แสดงพลังความสามัคคีของนักวิชาชีพ สองนักรบที่มีพลังที่สุดของนักวิชาชีพ คือ ความอดทน และเวลา การลงมือทาเท่านัน้ ทจ่ี ะเปลี่ยนความฝันใหเ้ ป็นความจรงิ ได้ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ ทาให้ผู้สอนมีความรใู้ นสง่ิ ทีส่ อน ไดร้ ับ การพัฒนาคุณภาพการจดั การเรียนรู้ตลอดจนสมรรถนะอื่นๆ และจากการท่ผี ู้สอน ได้รับการพัฒนาดังกล่าว จะส่งผลไปยังคุณภาพของผู้เรียน คือ ความรู้ ความคิด ความประพฤติ ทักษะและสมรรถนะด้านต่างๆ ตามที่กลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพไดน้ ามาเป็นประเด็นการเรียนรู้และพัฒนาของกลุ่ม แสดงไดด้ ังแผนภาพ 6 ดังตอ่ ไปน้ี ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ คณุ ภาพผสู้ อน ทางวิชาชีพครู 1. ความรูใ้ นส่ิงที่สอน 2. ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน คณุ ภาพผเู้ รียน 1. ความรู้ ความคิด ความประพฤติ 2. ทักษะ และสมรรถนะดา้ นตา่ งๆ แผนภาพ 5 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งชุมชนแหง่ การเรยี นรเู้ ชิงวิชาชพี คุณภาพผสู้ อน และคุณภาพผูเ้ รยี น

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) 13 ชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี มีองค์ประกอบสาคญั 3 ประการ ทท่ี าให้ การดาเนินกจิ กรรม PLC ประสบความสาเรจ็ ดงั นี้ 1) การเรยี นรรู้ ว่ มกนั (learning together)ระหว่างสมาชิกในชุมชนแห่งการ เรยี นรู้ทางวิชาชีพแบ่งปันความคิดความรู้ และประสบการณ์เตมิ เต็มซง่ึ กันและกันเพ่ือนาไปสู่การ ตอ่ ยอดและการแก้ปญั หาในการจดั การเรียนรู้ 2) การทางานแบบรว่ มมือร่วมใจ (work collaborative)บนพนื้ ฐานความคิด ว่าสมาชิกทุกคนมสี ่วนร่วมกันรบั ผดิ ชอบในผลการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นไมแ่ ยกส่วนความรับผดิ ชอบจน ไม่สามารถบูรณาการการทางานเขา้ ดว้ ยกนั 3) สานึกความรับผิดชอบ (accountable) คือ ความรับผิดชอบ ต่อการ เรียนรู้ในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหน่ึงของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพท่ีจะต้องพัฒนาตนเอง ตามแผนการดาเนินการของ PLCท่ีได้ตกลงร่วมกันความรับผิดชอบต่อภารกิจการถอดบทเรียน และนาบทเรยี นมาแลกเปลย่ี นเรียนรู้ องค์ประกอบของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แสดงได้ดังแผนภาพ ตอ่ ไปนี้ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั (learning together) องคป์ ระกอบ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ทางวชิ าชีพ การทางานแบบ สานึกรับผดิ ชอบ รว่ มมอื ร่วมใจ (accountable) (work collaborative) แผนภาพ 6 องคป์ ระกอบของชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี

14 การพัฒนาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) PLC นวัตกรรมการพัฒนาวิชาชีพท่ีทุกวิชาชีพจาเป็นต้องพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เพ่ือให้การปฏิบัติงานของวิชาชีพนั้น สามารถตอบสนองการเปล่ียนแปลง ของสังคมในด้านต่างๆ รวมทั้งความต้องการของผู้รับบริการของวิชาชีพน้ันๆ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ช่วยทาให้ผู้สอนสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่าง เต็มประสทิ ธิภาพ ปัจจุบันมความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพมีพัฒนาการท่ีรวดเร็ว หากผสู้ อนไมไ่ ดร้ บั การ update กจ็ ะไมท่ นั กบั ความก้าวหนา้ ต่างๆ ทา้ ยทีส่ ดุ จะขาด สมรรถนะในการประกอบวิชาชีพ ดังน้ันชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพจึงเป็น หนทางการพฒั นาบุคลากรให้เกิดการเรียนรู้ พัฒนาทักษะ และเจตคตทิ ีด่ ีต่อวิชาชีพ น า ไป ป ฏิ บั ติ ใน วิ ช า ชี พ อ ย่ า ง ก ว้ า ง ข ว า ง ใน ลั ก ษ ณ ะ บู ร ณ า ก า ร เป็ น อ ง ค์ ร ว ม บนรากฐานขององค์ความรู้ที่มาจากการปฏิบัติ (ปัญญาปฏิบัติ) คือ ลงมือทา แล้วถอดบทเรียนออกมาเป็นองค์ความรู้ และนามาแลกเปลี่ยนเรยี นร้ซู ึ่งกันและกัน ในฐานะทเ่ี ป็นสมาชิกคนหน่ึงของวชิ าชพี มีความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั อย่างแท้จรงิ ความเท่าเทียมกันทางความคิดและการแลกเปล่ียนประสบการณ์ เป็นปัจจัยสาคัญของการพัฒนาวิชาชีพ ท่ีมีการเคารพซึ่งกันและกัน มีความสัมพันธ์ ในแนวราบ ชว่ ยสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ทมี่ ีความเป็นกลั ยาณมติ ร เอือ้ ใหเ้ กดิ การใช้ โยนโิ สมนสิการ ทีน่ าไปสู่การเปลยี่ นแปลง (transform) 3. จดุ เรมิ่ ตน้ และปจั จัยสนับสนุนของ PLC PLC หรือชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เร่ิมท่ีบุคลากรในวิชาชีพที่มี ความสนใจและต้องการที่จะเรียนรู้รว่ มกันในเรื่องใดเร่อื งหนึ่งซึ่งส่งผลต่อการพัฒนา ประสิทธภิ าพการทางาน และลงมือปฏิบตั ิเพ่ือการเรยี นรนู้ นั้ แลว้ ถอดบทเรยี นออกมา เป็นองค์ความรู้

การพฒั นาคณุ ภาพผสู้ อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 15 ผู้นาในการเริ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จะเป็นใครก็ได้ท่ีมี ความสนใจพัฒนางาน ไม่จาเป็นต้องดารงตาแหน่งผู้บริหาร อาจเริ่มท่ีตนเองก่อน แล้วขยายเครือขา่ ยออกไป ใหก้ ว้างขวางมากขนึ้ โดยได้รบั การสนบั สนุนจากผเู้ กยี่ วข้อง ตอ่ ไป ปจั จัยสนบั สนนุ PLC 1) โค้ช: ผู้ชี้แนะในกระบวนการ PLC โค้ชเป็นปัจจัยสาคัญช่วยทาให้ ชมุ ชนเกิดการเรียนร้แู ละพัฒนาอยา่ งก้าวกระโดดและถกู ทศิ ทาง โค้ชคอยชแ้ี นะถาม ให้คิด กระตุ้นให้เรียนรู้ สะท้อนข้อมูล ให้ข้อคิด ให้กาลังใจ update ความรู้และ ความคิดใหม่ๆ ให้สมาชิกในชุมชนได้นาไปปฏิบัติ และถอดบทเรียนออกมาเป็น องค์ความรู้ต่อยอดออกไปอีกอย่างต่อเน่ือง โค้ชที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและมี ประสบการณส์ งู จะชว่ ยสนับสนุนกระบวนการเรยี นรขู้ องชมุ ชนแก่งการเรยี นร้ไู ด้อยา่ ง มปี ระสิทธภิ าพ 2) การถอดบทเรยี นดว้ ยความซ่ือสตั ยใ์ นกระบวนการเรียนรู้และการนา ประสบการณ์และสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงด้วยตนเอง และจากการถอด บทเรียนอย่างปราศจากอคติ มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในชุมชน เพราะสิ่งท่ีนามา แลกเปล่ียนเรียนรู้น้ี จะถูกนามาเป็นองค์ความรู้ ท่ีจะนาไปต่อยอด องค์ความรู้อื่นๆ ต่อไป ดังน้ันความซ่ือสัตย์ต่อสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จึงเป็นส่งสาคัญในการสร้าง องคค์ วามรู้ของชุมชนแห่งการเรยี นรู้ 3) ปญั ญาปฏิบัติ (practical wisdom) และความสรา้ งสรรค์ของกลุ่ม PLC ช่วยสร้างองค์ความรูแ้ ละนวตั กรรม ในวิชาชีพท่ีสอดคล้องกับวฒั นธรรมองค์กร บริบททางภูมิสังคม เป็นภูมิปัญญาของกลุ่ม PLC เอง ท่ีก่อร่างมาจากการเรียนรู้ของ ตน นบั ว่าเปน็ การพึง่ พาตนเองทางสติปัญญาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

16 การพฒั นาคุณภาพผูส้ อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 4) ใจท่ีจะเรียนรู้ การมีจิตใจใฝ่เรียนรู้ ความปรารถนา (passion) ทจี่ ะเรยี นรแู้ ละพัฒนาวิชาชีพ ตลอดจนการแบง่ ปนั องค์ความร้แู ละนวตั กรรมทไี่ ด้จาก ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไปเผยแพร่ให้กับชุมชนอ่ืน เพ่ือให้นาไปปรับใช้ได้ ตามบริบท จะทาให้มีองค์ความรใู้ หม่และนวตั กรรมในวิชาชีพเกิดข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5) เทคโนโลยี Digitalเป็นเครอ่ื งมือสนบั สนนุ ชมุ ชนแห่งกรเรยี นรู้เทคโนโลยีดจิ ิทัล มีอยู่ในมือของทุกคนต้องนามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ การเรียนรขู้ องชุมชนแอพลเิ คชั่น ต่างๆ สามารถนามาใช้ได้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับระดับศักยภาพการใช้ เทคโนโลยีของสมาชกิ ในชุมชน ปัจจัยสนับสนุนPLCทัง้ 5ประการดังกลา่ วแสดงได้ดังแผนภาพ8ตอ่ ไปน้ี ถอดบทเรียน ใจทีจ่ ะเรียนรู้ - สนุ ทรยี สนทนา - สะทอ้ นคิด ปญั ญาปฏิบัติ PLC Technology Digital โค้ชหรือผู้ช้ีแนะ แผนภาพ 7 ปัจจัยสนบั สนนุ PLC

การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 17 ทกั ษะของผู้บรหิ ารกับการพฒั นาผสู้ อนโดยใช้ PLC 1. แสดงออกถึงภาวะผู้นาทางวิชาการ 2. สรา้ งบารมที างวิชาการ 3. สรา้ งแรงจูงใจภายในของผู้สอน 4. ใหส้ ารสนเทศทเี่ ป็นประโยชน์ 5. ชีแ้ นะประเด็นการเรียนรรู้ ่วมกนั 6. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กระบวนการเรียนรู้ 7. โคช้ กระบวนการเรยี นร้แู ละการคดิ 8. ประสานเครอื ข่ายทนุ ทางสังคม 9. ยกยอ่ งในความสาเรจ็ ประเภทของโคช้ สาหรับ PLC 1. ผู้บรหิ ารโค้ช admin coach 2. ผูเ้ ช่ียวชาญโค้ช expert coach 3. เพอ่ื นโคช้ peer coach 4. นกั วิชาชพี โค้ช professional coach 5. โค้ชตนเอง self – coach โค้ชแต่ละประเภทมีคุณสมบัติเฉพาะท่ีแตกต่างกัน แต่ทางานร่วมกัน เพ่ือขบั เคล่ือน PLC การพัฒนาครูโดยใช้ PLC การพัฒนาความรู้ ทักษะความสามารถของครู โดยใชแ้ นวคิดชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพ Professional Learning Community (PLC) ใหค้ รูได้ร่วมกันเรยี นรู้ในส่ิงท่ีสนใจ ผ่านการลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริง การถอดบทเรียน และการแลกเปลยี่ นเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เน่ือง และสง่ ผลต่อคุณภาพของผู้เรยี น เปน็ ประเด็น สาคัญที่ผบู้ ริหารควรให้ความเอาใจใส่ ดูแลกระบวนการ ส่งเสริมและสนบั สนุนให้ ผ้สู อนมีการรวมกล่มุ PLC กนั ภายในโรงเรยี น และโค้ชผู้สอนอยา่ งต่อเนอ่ื ง

18 การพัฒนาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) แผนภาพ 8 ปจั จยั สง่ เสรมิ PLC PLC ขบั เคลอื่ นอยา่ งไร ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพขับ เคล่ือนด้วยวินัย และใจในการ เรียนรู้PLC ขบั เคล่ือนไปอย่างมีสติและปัญญา PLC ทาแล้วต้องได้ประโยชน์ไม่ใชท่ าๆ เลิกๆ และเวลาทาก็ต้องทาอย่างมสี ตแิ ละปญั ญา สติ คอื รตู้ วั วา่ กาลงั ทาอะไร ในขณะที่ ปญั ญา คือ รู้ว่าจะต้องทาอยา่ งไร อยู่กับปัจจุบันอย่างมสี ติ สติมาปัญญาเกดิ สติเป็นเหตุทาใหเ้ กิดสมาธิ สมาธิเป็นพลัง การคดิ และการเรยี นรู้ สตริ ู้ตัว ปัญญารู้คิด นาไปใช้ได้ทุกวินาทีของชีวิต ฝกึ และใช้สติ ไปพร้อมกับการทางานต่างๆ

การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) 19 มสี ติอยูท่ กุ ขณะจิต ร้ตู ัวอยตู่ ลอดเวลา หม่ันต้ังคาถามและตอบตวั เองด้วย คาถามต่อไปน้ีอย่างสม่าเสมอ ด้วยการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ช่วยทาให้กลุ่ม PLC เรียกสตกิ ลับคนื มา 1) ใจของเราเป็นอย่างไร 2) อารมณ์ของเราตอนนีเ้ ป็นอยา่ งไร 3) เรากาลงั เรียนรูอ้ ะไร 4) สิง่ ท่ีเราคิดมีประโยชน์อยา่ งไร 5) จะมีกระบวนการเรยี นรทู้ ี่ดอี ยา่ งไร 6) ผลลัพธ์เป็นไปตามจุดประสงคห์ รือไม่ 7) มสี ่งิ ใดทีเ่ ปน็ จดุ แข็ง เป็นจุดแขง็ เพราะเหตใุ ด 8) มสี ิ่งใดท่ีต้องปรับปรุงและพฒั นา 9) จะมวี ธิ ีการปรบั ปรุงและพฒั นาอย่างไร วินัย (discipline) คือ การควบคุมและกากับตนเองให้ไปสู่ เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ รวมทั้งการใฝ่เรยี นรแู้ ละเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ร่วมแลกเปลี่ยน เรียนรู้เพ่ือการเปลีย่ นแปลงไปสู่ส่งิ ทีด่ ขี ้นึ ใจ (mind) คือ อารมณ์และความร้สู ึกที่มตี ่อการเรียนรู้ ความสุข ในการเรียนรู้ ความรู้สึกปลอดภัยในการเรียนรู้ การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลจาเป็นต้องเกิดมาจากใจหรือมิติด้านในเพราะเป็นรากฐานของการ พฒั นาอย่างยั่งยนื และมคี วามสขุ

20 การพัฒนาคณุ ภาพผสู้ อนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เมื่อวินัยและใจมารวมกันจะเกิดเป็นพลังของการเรียนรู้ พลังการคิด และพลังการพฒั นา + วินัย PLC ความสุขท่ีซ่อนอยู่ใน PLC ความสุขเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ความสุข มีหลายระดบั เชน่ ความสขุ จากการไดร้ ับรางวัล ความสขุ จากการได้ทาประโยชนใ์ หก้ บั ผู้อ่ืนและส่วนรวม การทา PLC แน่นอนว่าจะต้องพบกับปัญหาท่ีท้าทาย และต้องใช้ สติปัญญาและความมุ่งมั่นพยายาม ในการแก้ปัญหาน้ัน อาจจะรู้สึกว่าเหนื่อย ไม่เห็น คุณค่าแล้ว แต่ขอให้มีสติกลับคืนมา มองไปข้างหน้าให้เห็นประโยชน์ท่ีจะเกิดกับ วชิ าชีพและผู้รับบริการของเราและมุ่งมั่นพยายามทาให้สาเร็จ สุดท้ายเราจะพบกับ ความสุขท่ีไม่สามารถซือ้ ได้ดว้ ยเงิน น่ีคือความสขุ ท่ซี ่อนอยใู่ น PLC ความสุข ณ จดุ เรมิ่ ต้น ...สขุ ท่ีไดท้ าในส่งิ ท่ีตนเองรัก ...สขุ ท่ีได้ทาในสิง่ ท่ีตวั เองเชอ่ื ...สุขทีไ่ ด้แสดงฝีมอื ให้คนท้งั โลกไดร้ บั รู้

การพฒั นาคุณภาพผสู้ อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 21 4. ปฏบิ ัตกิ าร PLC ด้วยวธิ ีการสร้างสรรค์นวตั กรรม 5I ปฏิบัตกิ าร PLC หมายถงึ การดาเนินการตงั้ แตเ่ ร่ิมต้นจนจบของกลมุ่ ผู้สอน ท่ีเป็น PLC เดียวกันเพ่ือพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนรู้สู่คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ของ PLC จากการวิจยั ของผู้เขียน คือ APP Model เป็นรูปแบบ การดาเนินการของกล่มุ PLC ตามลาดบั ดังนี้ A : Analyze คือ การวิเคราะหค์ วามต้องการจาเป็นของการพฒั นา โดยกลุม่ PLC รว่ มกนั วิเคราะห์จากสารสนเทศ ทีห่ ลากหลาย การวิเคราะหส์ าเหตุของปัญหา และลงสรปุ ประเดน็ ทีต่ ้องการเรยี นรู้ของกลุ่ม P : Practical wisdom คอื การทบทวนปัญญาปฏิบัติของกล่มุ เกีย่ วกับประเด็นที่ต้องการเรียนรู้ โดยวิเคราะห์จากประสบการณค์ วามสาเร็จ จากการดาเนนิ การทผ่ี ่านมาวา่ มอี ะไรทที่ าไดด้ ี ปัญญาปฏิบตั เิ ป็นองค์ความรทู้ ่ีไดม้ าจาก การลงมือปฏิบัตแิ ล้วถอดบทเรียน เม่อื ถอดบทเรยี นแลว้ จะไดอ้ งคค์ วามรู้ มาส่วนหน่งึ ใช้เปน็ จดุ เร่ิมต้นของ กระบวนการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตอ่ ไป P : Plan, Do, Check, Reflection คือ การวางแผน การดาเนินการพัฒนา การตรวจสอบผลการพฒั นา และการสะทอ้ นผลการพฒั นาไปสูว่ ิธกี ารทดี่ ขี นึ้ มีลกั ษณะเป็นวงจรการพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง

22 การพฒั นาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) รูปแบบการดาเนินการของ PLC ตามรูปแบบ APP model แสดงได้ดัง แผนภาพตอ่ ไปนี้ A : Analyze คอื การวเิ คราะห์ความตอ้ งการพัฒนา จากสารสนเทศตา่ งๆ P : Practical wisdom review คอื การทบทวนปัญญาปฏบิ ตั ิ จากประสบการณ์ความสาเรจ็ P : Plan, Do, Check, Reflection คือ การวางแผน การดาเนินการพัฒนา การตรวจสอบผลการพัฒนา การสะทอ้ นผลการพฒั นาไปส่วู ิธกี ารท่ีดีขนึ้ แผนภาพ 8 รปู แบบการดาเนินการของ PLC ตามรปู แบบ APP model ในส่วนของ Plan, Do, Check, Reflection ควรดาเนินการอย่างเป็น ระบบ และยังสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมการพัฒนางานได้ในข้ันน้ี ซึ่งมีวิธีการ สรา้ งนวตั กรรมทเ่ี รียกว่า วธิ กี ารสรา้ งนวตั กรรม 5I

การพัฒนาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 23 อัลเบร์ิตไอน์สไตน์ กล่าวว่า“จินตนาการสาคัญกว่าความรู้” ความคิด และจินตนาการของเรามักไม่ค่อยมีอิสระเพราะถูกกะเกณฑ์ให้อยู่ในกรอบท่ีกาหนด กรอบ คอื สิ่งท่ีตีกรอบความคดิ เอาไว้ แบง่ สว่ นวา่ อะไรอยขู่ ้างในและสว่ นใดอยูข่ า้ งนอก กรอบความคิด ทาให้สายตาและจินตนาการของเราอยู่ในกรอบท่ีวางไว้ และเม่ือนา สมองสองซกี มาผนวกกบั เทคโนโลยีทที่ นั สมยั จะเกิดนวัตกรรม วธิ ีสร้างนวัตกรรม 5I 1. Imagination จินตนาการ ระวงั มโน การใชม้ มุ มองเชงิ ความคิด เพอื่ พฒั นาวิสยั ทัศน์ มองไปไกลกวา่ จุดแรงบนั ดาลใจ Inspiration อาศัยการคดิ เพอื่ ประมวลทศิ ทางทค่ี วรมงุ่ ไป จินตนาการอาศัยการคิดบนฐานความรู้ 2. Ideation การกอ่ ร่างแนวคิด กาเนดิ ความคิด 3. Integration ลงมอื ปฏบิ ตั ิ action 4. Insight คิดผสานไอเดีย ที่หลากหลาย คิดแบบน้ีแลว้ ลงมือทา บูรณาการ ไมใ่ ช่แค่เพยี งปะติดปะตอ่ ส่งิ ตา่ งๆ เข้าด้วยกนั นวตั กรรมตอ้ งมคี วามควบแน่น กล่ันเอาชุดข้อมลู ทแี่ ตกต่างมารอ้ ยเรียง ออกมาเป็นขอ้ เสนอ หรือ solution ความร้เู ชิงลกึ (main concept) 5. Implement ทาใหเ้ กิดผล นวัตกรรมเกดิ จากการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ไมใ่ ชแ่ คก่ ารคิด

24 การพัฒนาคณุ ภาพผูส้ อนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) การสร้างนวัตกรรม 5I ควรยึดหลักว่า จนิ ตนาการมีในทุกคน อย่าจากัด ความคิดของเรา อยใู่ นกรอบความคดิ เดิม หรอื กรอบของความกลวั การคิดแบบนวัตกรรม ระหว่างคาถามกับคาตอบ อะไรสาคัญกว่ากัน คาตอบ คือ ส่ิงที่อยู่เบ้ืองหลังเสมอ คาถามเป็นส่ิงที่ทาให้สามารถมองไปข้างหน้า การทานวัตกรรม การเร่ิมต้นต้ังคาถามท่ีถูกต้องสาคัญมาก คาถามที่ถูกต้องมี ความสาคญั มาก ถ้าคาถามผิด จะไม่มีทางได้คาตอบที่ถูกต้อง ถ้าคาถามถูก จะค่อยๆ เรียนรู้และพัฒ นา จนกว่าจะได้คาตอบท่ีถูกต้อง คาถามที่ถูกต้องนาไปสู่ พลังทางความคิด (Power Thinking) เป็นความคิดท่ีมีพลังสร้างสรรค์ ส่ิงท่ีอยู่ เบอื้ งหลังของความสาเร็จ คอื ความคิดท่ดี ี Cresitive Thinking (Creative + Positive) การคิดบวก “ความคิด และทัศนคติ” คือ จดุ เล็กๆ ทีท่ าใหค้ นทางานแล้วปรากฏผลแตกต่างกัน เพิม่ ความคิด ทางบวกจะส่งผลดีตอ่ ตนเอง การทางานและความสาเร็จขององค์กร 1. มีความรู้สึกผูกพันกับองค์กรและเพ่ือนรว่ มงาน 2. สรา้ งบรรยากาศสรา้ งสรรค์ การทางานร่วมกนั 3. สอื่ สารกบั ผู้อ่นื ได้ราบรื่น 4. กลา้ คิด กลา้ ทาสงิ่ ใหมท่ ่ีสรา้ งสรรค์ 5. เพ่มิ ความคิด พฤติกรรมบวกให้กบั ตนเอง

การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) 25 การคดิ เชงิ ออกแบบ (Design Thinking) หมายถึงการนากระบวนการคดิ ท่ี ให้ความสาคัญกับบุคคล ประกอบการใช้เครื่องมือต่างๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาการ สร้างสรรค์นวัตกรรม โดยเน้นบคุ คลเปน็ หลกั (humancenterapproach)มีกระบวนการดงั น้ี 1. Empathize การวเิ คราะห์กล่มุ เปา้ หมาย การเข้าใจว่าผู้เรียนต้องการอะไร 2. Design Point of View การวเิ คราะห์และระบวุ า่ โจทยค์ อื อะไร โดยการกาหนดไดช้ ดั เจนว่าปญั หา ท่ีแทจ้ ริงคอื อะไร 3. Idea การเสนอแนวคิดและคาตอบ โดยการสร้างความคิดตา่ งๆ ให้เกดิ ขึ้น หาวิธกี ารแกป้ ญั หา นวัตกรรม ตลอดจนการวพิ ากษ์ความคิดใหม่ จนกระทั่งเปน็ ที่ยอมรับ 4. Prototype การสร้างแบบจาลองจากความคดิ รว่ มกับประสบการณ์ การบรกิ ารตา่ งๆ ที่นามาสนบั สนุน 5. Test การทดสอบหาคณุ ภาพ กบั กลุ่มเปา้ หมาย และนาข้อเสนอแนะ Feedback มาปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ ไป

26 การพฒั นาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) การสรา้ งนวตั กรรมดว้ ยวธิ ีการ 5I มบี ทปฏบิ ตั กิ ารดังต่อไปน้ี บทปฏิบัติการท่ี 1 Imagination คาช้แี จง ใหส้ ารวจแรงบนั ดาลใจ ประสบการณเ์ ดิม ความรู้ทส่ี ืบคน้ และจนิ ตนาการ ของตนเองแลว้ เขยี นลงในตารางต่อไปนี้ แรงบนั ดาลใจ ประสบการณ์เดิม ความรทู้ ่ีสบื ค้น จินตนาการ

การพัฒนาคุณภาพผสู้ อนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) 27 บทปฏิบัติการท่ี 2 Ideation การก่อร่างแนวคิด กาเนิดความคิด สังเคราะหแ์ นวคิดท่ีหลากหลาย วางแผนการลงมือปฏิบตั ิ คาชีแ้ จง ให้ทบทวนจินตนาการ สังเคราะห์แนวคิด เลือกแนวคิดสู่การปฏิบัติ แลว้ เขยี นลงในตารางต่อไปน้ี จินตนาการ สงั เคราะหแ์ นวคดิ เลอื กแนวคิดสู่การปฏิบัติ เหตุผล นาเหตผุ ลมาเรียบเรยี ง ตามหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. หลักการและเหตุผล / ทีม่ า 2. วตั ถปุ ระสงค์ 3. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ ข้นั ท่ี 1 ................................................................................................... ข้นั ที่ 2 ................................................................................................... ข้นั ที่ 3 ................................................................................................... ขน้ั ที่ .. ...................................................................................................

28 การพฒั นาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) บทปฏบิ ตั ิการท่ี 3 Integration & Insight การบูรณาการความรู้เชิงรกุ วธิ ีการและเครื่องมือ คาช้แี จง ให้ดาเนินการวางแผน / ข้ันตอน โดยบูรณาการความรู้ วิธกี าร / เครื่องมือ แลว้ เขยี นลงในตารางต่อไปนี้ ข้นั ตอน ความรูเ้ ชิงลึก วธิ กี ารและเคร่อื งมอื ข้ันตอนท่ี 1 ขน้ั ตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ข้ันตอนที่ 4 ขน้ั ตอนท่ี 5

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 29 บทปฏบิ ัติการท่ี 4 Implement ทาให้เกดิ ผล นวตั กรรมเกดิ จาก การลงมอื ปฏบิ ัติ คาช้แี จง ให้วเิ คราะหก์ าหนดการดาเนนิ การในแต่ละข้ันตอน แล้วเขียนลงในตาราง ต่อไปนี้ ขั้นตอน ระยะเวลาดาเนนิ การ ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ขั้นตอนท่ี 1 ขั้นตอนที่ 2 ขนั้ ตอนที่ 3 ขน้ั ตอนท่ี 4 ขน้ั ตอนที่ 5

30 การพัฒนาคุณภาพผ้สู อนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ภาคปฏบิ ตั ิ บทปฏบิ ัติการท่ี 1 Imagination คาช้แี จง ให้สารวจแรงบันดาลใจ ประสบการณ์เดิม ความรู้ทส่ี ืบค้นและจินตนาการ ของตนเองแล้วเขยี นลงในตารางต่อไปน้ี แรงบันดาลใจ ประสบการณ์เดมิ ความรทู้ ่ีสบื คน้ จินตนาการ กลมุ่ PLC กลุม่ PLC กลุม่ PLC กลุ่ม PLC มองภาพความสาเร็จ ในอนาคตท่ีเกิดจาก ใชก้ ระบวนการ เลา่ ประสบการณเ์ ดิม สบื ค้นองค์ความรู้ การใช้กระบวนการ เรยี นรู้รว่ มกนั สะทอ้ นคิด หรอื ปญั ญาปฏบิ ัติ ที่เปน็ ประโยชน์ สะท้อนคณุ ภาพ ของผู้เรียน สรา้ งแรงบันดาลใจ ของตนเองตอ่ เพ่ือน ในการนามาใช้ และสอดคล้องกบั แรงบันดาลใจ ในการพัฒนาผ้เู รยี น หากนามาแลกเปลยี่ น แกป้ ัญหา โดยใชส้ นุ ทรียสนทนา แบง่ ปนั ก็จะทาให้ กลุ่ม PLC มีความรู้ ทีจ่ ะไปแกป้ ัญหา

การพัฒนาคณุ ภาพผูส้ อนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) 31 บทปฏิบัติการท่ี 2 Ideation การกอ่ ร่างแนวคิด กาเนิดความคดิ สงั เคราะหแ์ นวคดิ ที่หลากหลาย วางแผนการลงมือปฏิบตั ิ คาชีแ้ จง ให้ทบทวนจินตนาการ สังเคราะห์แนวคิด เลือกแนวคิดสู่การปฏิบัติ แลว้ เขียนลงในตารางต่อไปนี้ จินตนาการ สังเคราะห์แนวคิด เลือกแนวคิดส่กู ารปฏิบัติ เหตุผล Copy มาจาก กลมุ่ PLC กลมุ่ PLC กลมุ่ PLC บทปฏบิ ตั ิการท่ี 1 ผสมผสาน เลือกหรอื กาหนด ใหเ้ หตุผล ประสบการณเ์ ดมิ วธิ ีการปฏิบตั ิ เชงิ วชิ าการ กับความรูท้ ี่สืบคน้ ท่สี อดคลอ้ งกับ สนบั สนุน เป็นแนวคดิ ในการ แนวคดิ ทสี่ ังเคราะห์ได้ แนวคดิ ดาเนนิ การ และการปฏิบัติ นาเหตผุ ลมาเรียบเรยี ง ตามหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. หลกั การและเหตุผล / ทมี่ า 2. วัตถปุ ระสงค์ 3. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ ขน้ั ท่ี 1 ................................................................................................... ข้ันที่ 2 ................................................................................................... ข้นั ที่ 3 ................................................................................................... ข้ันท่ี .. ...................................................................................................

32 การพฒั นาคุณภาพผสู้ อนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) บทปฏบิ ตั ิการท่ี 3 Integration & Insight การบรู ณาการความรูเ้ ชิงรกุ วธิ กี ารและเคร่ืองมอื คาช้แี จง ให้ดาเนนิ การวางแผน / ขนั้ ตอน โดยบรู ณาการความรู้ วิธีการ / เครอื่ งมอื แลว้ เขยี นลงในตารางต่อไปน้ี ขัน้ ตอน ความรเู้ ชิงลกึ วิธกี ารและเครอ่ื งมอื ข้ันตอนท่ี 1 กล่มุ PLC ระบคุ วามรู้ / กล่มุ PLC ระบุวธิ กี าร ทกั ษะท่จี าเป็นต้องใช้ หรอื กจิ กรรมย่อย ขน้ั ตอนที่ 2 ในแต่ละขัน้ ตอน และเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ (ถ้ามี) การระบุความร/ู้ ทักษะ จะช่วยกล่มุ PLC ในการหาโค้ชผูเ้ ช่ียวชาญ ขั้นตอนที่ 3 ข้ันตอนที่ 4 ขน้ั ตอนท่ี 5

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 33 บทปฏิบตั ิการที่ 4 Implement ทาใหเ้ กิดผล นวตั กรรมเกิดจาก การลงมอื ปฏบิ ัติ คาชีแ้ จง ให้วเิ คราะหก์ าหนดการดาเนนิ การในแตล่ ะขน้ั ตอน แล้วเขียนลงในตาราง ต่อไปนี้ ขัน้ ตอน ระยะเวลาดาเนนิ การ ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ขั้นตอนท่ี 1 ระบุระยะเวลาดาเนินการ ระบุผลท่ีคาดว่าจะได้รับ ของแต่ละขน้ั ตอน ในแตล่ ะข้นั ตอน ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนท่ี 4 ขน้ั ตอนที่ 5

34 การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) แนวทางการนาบทปฏบิ ัตกิ ารไปปฏบิ ัติ มีดงั นี้ 1. Workshop ครใู นโรงเรยี น โดยใช้บทปฏบิ ัตกิ าร 5I (สามารถปรับปรุงไดต้ ามบรบิ ทโรงเรียน) 2. ปฏิบัตกิ ารตามแผนทกี่ าหนดไวต้ ามระยะเวลาทรี่ ะบุไว้ ในบทปฏบิ ัตกิ ารที่ 4 3. บันทกึ การปฏิบตั ใิ น Logbook 4. ดาเนนิ การตอ่ ในปัญหาอื่นๆ ตอ่ ไป 5. ใชก้ ระบวนการเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั ิ (Action Learning) Action Learning 1. การปฏิบัตอิ ยา่ งองคร์ วมกบั การสรา้ งสรรคค์ วามรู้ 2. การเรียนรรู้ ว่ มกัน คดิ และรว่ มลงมือปฏบิ ัติ เปน็ การกระทา ใหค้ วามรู้ความเข้าใจ 3. การเชือ่ มโยงทฤษฎีและการปฏิบัติทาใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ทีม่ คี วามเหมะสมต่อบรบิ ทของสังคม 4. มกี ารสะทอ้ นคิด (reflective thinking) 5. ความมีอสิ ระและสมั พนั ธภาพท่ดี ตี อ่ กัน 6. มีความรบั ผิดชอบตอ่ การเรียนรู้ ต้ังใจเรียนรรู้ ว่ มกนั กระบวนการ Action Learning 1. ปญั หา สถานการณ์ 2. กลมุ่ ผเู้ รียน 5 – 7 คน 3. ตงั้ คาถามและการสะทอ้ นกลับ 4. ต้งั ใจลงมอื ปฏบิ ตั ิ 5. มีพนั ธสัญญาทจี่ ะเรยี นรรู้ ่วมกนั 6. รว่ มกนั แก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์

การพัฒนาคณุ ภาพผสู้ อนตามแนวทางชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) 35 5. การถอดบทเรยี นสู่การบันทึก Logbook การถอดบทเรียน (Lesson Learned) หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ หลังการปฏิบัติหรือการทากิจกรรมเพือ่ การจดั การความรู้ เปน็ การใหข้ ้อมูลป้อนกลับ อย่างเป็นระบบต่อคณะทางานเก่ียวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ดาเนินการแล้ว เป็นการกระต้นุ ให้คณะทางานเกิดความตน่ื ตวั และมคี วามรูส้ กึ ผกู พันอยู่กับงาน การสะท้อนคิด (Reflection) เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีอยู่ในการถอด บทเรียน นาไปสู่การความคิดใหม่ (Mind Shift) ภายใต้ประสบการณ์การปฏิบัติจริง สะท้อนความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ทาความเข้าใจ (understanding) เรียนรู้อย่าง ลกึ ซงึ้ (deep learning) นาไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลง (Transform) วธิ กี ารถอดบทเรยี น 1. ตอ้ งตอบโจทย์ถอดบทเรยี นเรอื่ งอะไร เพือ่ อะไร 2. ใครคือบคุ คลทจ่ี ะถอดบทเรียน การถอดบทเรยี นของคนอืน่ หรือการถอดบทเรียนตัวเอง 3. วิธีการถอดบทเรียนควรเลือกวธิ ีการใหเ้ หมาะสมกบั ผถู้ อดบทเรยี น 4. บทเรยี นทดี่ ี (Best Practice) อาจจะมปี ระเด็นที่คลา้ ยกัน แต่แตกตา่ งบรบิ ท การหาบทเรยี นทด่ี ีถือวา่ ได้ความรูท้ ่ีมคี ุณคา่ มพี ลงั 5. สุนทรียสนทนา (Dialogue) จะเป็นกลไกสาคญั ในการถอดบทเรยี นที่มากกว่าการคุยกนั ธรรมดาๆ 6. บทเรยี นมใิ ชค่ วามแตกตา่ งทเี่ กดิ ขน้ึ จากส่ิงท่คี าดหวงั กบั สิ่งที่เกดิ ขึ้นจริงตามนัยของการตั้งสมมตฐิ านการวจิ ยั แตบ่ ทเรยี นคอื การคิดหาคาตอบวา่ อะไรท่ีทาใหเ้ กดิ ความแตกต่าง อะไรเป็นปัจจัยกอ่ ใหเ้ กิดพฤตกิ รรมอย่างไร สงิ่ นี้คอื บทเรียน

36 การพัฒนาคุณภาพผูส้ อนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) คณุ ลกั ษณะของครู PLC ทเ่ี ออื้ ตอ่ การถอดบทเรียน 1. ความสนใจใฝ่รู้ 1.1 กระตือรือร้นท่จี ะเรยี นรู้ 1.2 ซกั ถามส่งิ ทตี่ นเองอยากรู้ 2. การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ 2.1 เลา่ ประสบการณ์ของตนเองกบั เพอื่ น 2.2 แบง่ ปันความรู้ ความคดิ ของตนกบั เพอื่ น 3. การปรบั ปรุงและพัฒนา 3.1 มแี นวคิดทจ่ี ะนาไปปรบั ปรงุ และพัฒนางาน 3.2 ถอดบทเรียนวธิ กี ารนาความรไู้ ปปฏิบตั ิจรงิ ตวั อยา่ งการถอดบทเรียนจริงของผูส้ อนระดับประถมศกึ ษา ณ โรงเรียน แห่งหน่ึง เมื่อวันท่ี 7 กรกฎาคม 2560 ท่ีมีต่อการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาของ ผู้เรียน สบื เนื่องจากผลการประเมนิ ระดับชาติที่ผู้เรียนมีผลการประเมินศักยภาพดา้ น ภาษาต่า ผู้สอนจึงร่วมกันถอดบทเรียน ซึ่งทาให้ได้แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้าน ภาษา ท่ีผสู้ อนทกุ คนร่วมมอื ร่วมใจกันพฒั นาผูเ้ รยี นตามแนวทางต่อไปน้ี 1. เพ่ิมประสบการณก์ ารอา่ นใหก้ บั ผเู้ รียน 2. ให้ผูเ้ รียนหา keyword จากเรือ่ งทอ่ี า่ น 3. ตัง้ คาถามให้ผูเ้ รียนคิดวิเคราะห์ 4. คดั สรรเร่ืองทีอ่ า่ นใหน้ า่ สนใจและหลากหลาย 5. ใหผ้ เู้ รียนถอดบทเรียนจากการอ่านด้วยเทคนคิ ตะกรา้ 3 ใบ ตะกร้าใบท่ี 1 รูส้ กึ อย่างไร (สง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอา่ น) ตะกรา้ ใบท่ี 2 ได้เรียนรอู้ ะไร (ส่งเสรมิ การสรปุ ความรู้จากการอา่ น) ตะกร้าใบที่ 3 จะนาไปใชป้ ระโยชน์อย่างไร (สง่ เสริมการพฒั นาตนเอง)

การพัฒนาคณุ ภาพผูส้ อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 37 จากการถอดบทเรียนดังกล่าว นาไปสู่การวางแผนพัฒนาศักยภาพ ดา้ นภาษาของผู้เรยี นในลกั ษณะของการบรู ณาการไปกบั กิจกรรมการเรียนรดู้ งั น้ี

38 การพฒั นาคณุ ภาพผสู้ อนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ตัวอย่างการถอดบทเรียนจริงอีกตัวอย่างหนึ่ง เก่ียวกับแนวทางการ พัฒนาศักยภาพด้านการคานวณ ของผู้สอนโรงเรียนเดียวกันเมื่อ วันท่ี 7 กรกฎาคม 2560 1. ใหน้ กั เรยี นท่องสตู รคูณเปน็ ทกุ วัน 2. สแกนสูตรคูณ 3. พฒั นา / จดั ทา / แสวงหา ส่ือการสอน 4. วิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ 5. ทอ่ งสตู รคณติ ศาสตร์ 6. ใชก้ ระบวนการเรยี นรใู้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ผลจากการถอดบทเรียน นาไปสู่การวางแผนพัฒนาศักยภาพด้านการ คานวณ ดังน้ี

การพฒั นาคณุ ภาพผ้สู อนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 39 เมอื่ ถอดบทเรียนแลว้ ผูส้ อนควรบันทกึ ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม PLC ไว้อยา่ ง เป็นระบบ โดยท่ัวไปจะบันทึกลงใน Logbook คอื สมุดบันทึกการปฏบิ ตั งิ านเอกสาร สาหรับบันทึกการปฏบิ ัติงานใดๆ ทใี่ ห้ผู้ปฏิบัตงิ านน้นั ๆ จดบนั ทึกไว้เพื่อเป็นหลักฐาน รอ่ งรอย และสารสนเทศสาหรับการปรับปรุงและพัฒนางาน PLC Logbook : สมุดบันทึก PLC เป็นเอกสารสาหรับบันทึกการปฏิบัติ กิจกรรม PLC ประกอบด้วย - วันทดี่ าเนินการ (ระบุวนั ท่ปี ฏิบัต)ิ - วัตถุประสงค์ (ระบวุ ัตถปุ ระสงค์ของการปฏิบัต)ิ - วิธดี าเนนิ การ (ระบุวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ) - ผลการดาเนนิ การ (สรุปผลการปฏบิ ัต)ิ - ถอดบทเรยี น (ระบสุ งิ่ ท่ีได้เรยี นรหู้ ลงั การปฏิบัติ)

40 การพฒั นาคณุ ภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) การบันทึกผลการดาเนินการของ PLC ยังสามารถช่วยทาให้สมาชิกกลุ่ม PLC ได้ถอดบทเรียนประสบการณ์ของตนเองออกมาเป็นองค์ความรู้ท่ีมาจากการ ปฏิบัติ เมอ่ื ทาสิง่ ทีถ่ อดบทเรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั เพ่ือนสมาชกิ PLC จะพัฒนา ไปเป็นปญั ญาปฏบิ ัติ (practical wisdom) ตัวอย่างสมดุ บันทกึ PLC ชอ่ื กล่มุ PLC........................................................................................................... สมาชกิ PLC........................................................................................................... วันที่ วตั ถปุ ระสงค์ วธิ ีดาเนินการ ผลการดาเนินการ การถอดบทเรยี น

การพฒั นาคณุ ภาพผ้สู อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC) 41 ตัวอย่างการบันทกึ PLC Logbook: สมุดบนั ทกึ PLC ช่อื กลุม่ PLC โรงเรยี นสุขฤทัยวิทยา สมาชิก PLC 1) ครสู มใจ 2) ครใู จดี 3) ครเู มตตา 4) ครชู ่นื จิต 5) ครมู ิตรไมตรี วนั ที่ วัตถุประสงค์ วธิ ดี าเนินการ ผลการดาเนนิ การ การถอดบทเรียน 7 – 8 เพือ่ แสวงหา ฝึกอบรม PLC มคี วามร้คู วาม PLC คือการ ส.ค. 60 ความร้แู ละพัฒนา ทจ่ี ัดโดยสานักงาน เข้าใจเรอื่ ง PLC ร่วมมือร่วมใจ ทักษะเรือ่ ง PLC เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา และแนวทาง พัฒนาคุณภาพครู การนาไปปฏบิ ตั ิ และผู้เรยี น จริงทีโ่ รงเรียน ที่ดาเนินการ ไปพร้อมกบั การปฏบิ ตั ิการ จัดการเรียนรู้ โมเดลการ ขบั เคลอ่ื น Analyze, Practical wisdom, Plan Do Check Reflection (APP model) และการทา บทปฏิบตั กิ าร 5I

42 การพฒั นาคุณภาพผ้สู อนตามแนวทางชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) การประเมินผล PLC การประเมนิ ผล PLC มุ่งการประเมนิ กระบวนการเรยี นรขู้ อง PLC ว่าได้ใช้ กระบวนการเรียนร้อู ยา่ งมีประสิทธิภาพเพียงใด มีสิ่งใดที่จะต้องปรับปรงุ และพัฒนา เพมิ่ เติม เพื่อใหก้ ระบวนการเรียนรขู้ อง PLC ดียิ่งขึน้ โดยที่การประเมิน PLC นั้นมุ่งเน้นการประเมินเพ่ือพัฒนา ไม่เน้นการ ประเมินเพื่อตัดสินคุณค่า อาจจะไม่มมี าตรฐานและตัวบ่งชี้การประเมิน เหมือนกับ การประเมินโดยท่ัวไป แต่อาจใช้การประเมินโดยสุนทรียสนทนาก็ได้ และ นาสารสนเทศจากการประเมินมาใช้ปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินการของ PLC ใหด้ ียิ่งขึ้น

การพัฒนาคุณภาพผู้สอนตามแนวทางชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) 43 บรรณานุกรม ศศิธร เขียวกอ. (2548). การพัฒนาสมรรถภาพดา้ นการประเมินสาหรับครูโรงเรียน ประถมศกึ ษา: การเปรยี บเทียบผลการฝกึ อบรมระหว่างการฝึกอบรมครู แบบดงั้ เดิมและแบบ ใช้โรงเรียนเป็นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ ปริญญาดุษฎี บัณฑิต กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สวุ มิ ล ว่องวาณิช.(2546). “การพัฒนาครูโดยใช้การฝึกอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน”. เอกสารประกอบการประชุมปฐมนิเทศโครงการสนับสนุนการฝึกอบรม ครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน: นโยบายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาครู เพือ่ การปฏิรูปการเรยี นร.ู้ (เอกสารอัดสาเนา) อมลวรรณ วีระธรรมโม. (2555). รายงานการวิจัยการพัฒนารูปแบบการพัฒนาครู และผู้บรหิ ารสถานศึกษาแบบใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนขนาดเล็ก จงั หวดั สงขลา. สงขลา: มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ . DeMonte, Jenny. (2013). High – Quality Professional Development for Teachers: Supporting Teacher Training to Improve Student Learning. Washington D.C. Center for American Progress. DuFour, R., Eaker, R., & Many, T. (2006). Learning by Doing: A Handbook for Enhancing Student Achievement. Bloomington, IN: Solution Tree. Evan, Linda. (2002). “What is teacher development”. Oxford Review of Education. Vol. 28, No.1, 2002. Fegger, S. & Arruda, E. (2008). “Professional learning communities: Key themes from the literature”. Providence, RI: The Education Alliance, Brown University. Garratt, B. (1991). “The power of Action Learning”. Action Learning in Practice. 2nd ed. London: Gower.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook