Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างสรรค์นวัตกรรม_1567745143

การสร้างสรรค์นวัตกรรม_1567745143

Description: การสร้างสรรค์นวัตกรรม_1567745143

Search

Read the Text Version

การพัฒนาทกั ษะ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ

การพฒั นาทกั ษะ สรา้ งสรรค์นวตั กรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษใ์ หญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

การพฒั นาทักษะสร้างสรรคน์ วัตกรรม รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล พิมพเ์ ผยแพรอ่ อนไลน์ กนั ยายน 2562 แหล่งเผยแพร่ ศนู ยผ์ นู้ านวัตกรรมหลกั สตู รและการเรียนรู้ www.curriculumandlearning.com พมิ พท์ ี่ ศูนยผ์ ูน้ านวตั กรรมหลักสูตรและการเรยี นรู้, กรุงเทพมหานคร หนังสอื เลม่ นไี้ มม่ ีลิขสทิ ธิ์ จัดพมิ พ์เพื่อสง่ เสรมิ สังคมแหง่ การเรยี นรู้และการแบ่งปนั

คานา หนังสือ “การพัฒนาทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม” เล่มน้ี เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวคิดเก่ียวกับการพัฒนา ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้เรียน ในลักษณะของการโค้ช ใหผ้ เู้ รยี น ได้ใช้ความรู้ ทักษะ และคณุ ลกั ษณะตา่ งๆ เพอื่ การสร้างสรรค์ นวตั กรรม ตามความสนใจของผู้เรียน ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า ห นั ง สื อ เ ล่ ม น้ี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ตอ่ ผู้ท่ีเกย่ี วข้องได้มากพอสมควร รองศาสตราจารย์ ดร.วิชยั วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล

สารบัญ 1 1 1. บทนา 2 2. ความหมายของทักษะการสรา้ งสรรค์นวตั กรรม 3 3. การคดิ สร้างสรรคเ์ ปน็ พื้นฐานของนวัตกรรม 4 4. จติ นวตั กรรม (Innovation mind) 6 5. องคป์ ระกอบของทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม 7 6. แนวทางการพฒั นาทักษะการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม 8 7. บทสรปุ บรรณานุกรม

1 ทกั ษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม 1. บทนา โ ล ก อ น า ค ต เ ป็ น พื้ น ท่ี ส า ห รั บ ค น ท่ี มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร สร้างสรรค์นวัตกรรม (Creative and Innovation) ทุกสาขาอาชีพ มีความต้องการบุคลากรที่มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถ แปลงความคิดสร้างสรรค์นั้นไปเป็นนวัตกรรม ได้ ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาผู้เรียนจึงจาเป็นต้องเน้นให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างรรค์ และสามารถนาความคิดสร้างสรรค์ของตนเองไปพัฒนาให้เกิด นวัตกรรมไดจ้ รงิ เรยี กวา่ “ทักษะการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม” 2. ความหมายของทักษะการสรา้ งสรรค์นวตั กรรม ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมเป็นหน่ึงในทักษะทักษะของ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องได้รับการพัฒนา เพื่อให้ สามารถประกอบอาชีพและดารงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ จัดเป็นทักษะ เชงิ ประยุกต์ (Apply skills) ท่ตี อ้ งผสมผสานทักษะต่างๆ เข้าด้วยกัน

2 ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นความสามารถในการใช้ ความรู้ (Knowledge) จินตนาการ (Imagination) ความคิด สร้างสรรค์ (Creative thinking) ความร่วมมือ (Collaborative) ทาให้เกิดนวัตกรรมที่อาจอยู่ในรูปแบบของความคิด วิธีการ หรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ โดยอาจเป็นส่ิงใหม่ท้ังหมดหรือใหม่เพียง บางส่วน และอาจใหม่ในบริบทใดบริบทหน่ึง หรือในช่วงเวลาใด เวลาหน่ึง 3. การคิดสร้างสรรคเ์ ป็นพนื้ ฐานของนวตั กรรม นวัตกรรมเกิดข้ึนไ ด้จา กการใช้ค วา มคิดสร้า งสรรค์ เ ป็น พ้ืนฐาน ซึง่ มกี ระบวนการคิด 6 ข้นั ตอน (คิดกอ่ นทา) ไดแ้ ก่ 1) วิเคราะห์ความต้องการนวัตกรรม 2) สังเคราะหค์ วามคดิ ที่นาไปสูน่ วัตกรรม 3) แสวงหาความรว่ มมือในการพฒั นานวตั กรรม 4) สะทอ้ นความคดิ ร่วมกนั 5) ลงสรปุ ความคิด 6) ประเมนิ ความคิด

3 4. จิตนวัตกรรม (Innovative mind) Idea เป็นผลลัพธ์จากการใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ ผู้ท่ีมีจิตนวัตกรรมจะมีนิสัยชอบคิดหาวิธีการใหม่ๆ ที่ดีกว่าเดิม อยู่เสมอ เป็นสิ่งท่ีนวัตกรต้องมีอย่ใู นตนเอง ผเู้ รยี นทีม่ จี ิตนวตั กรรมจะมีคุณลักษณะทส่ี าคญั คอื 1) มองกิจกรรมต่างๆ ว่าเป็นโอกาสของการเรยี นรู้ 2) มองเหน็ ปัญหาท่ีต้องได้รับการแกไ้ ขดว้ ยนวัตกรรม 3) เช่ือมโยงความคิดไดด้ ี 4) ตัง้ เป้าหมายทที่ า้ ทายความสามารถของตนเอง 5) มีวินัยในตนเอง (self - discipline) ผู้สอนควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ กระตุ้นให้ผู้เรียน มีจิตนวัตกรรมตั้งแต่วัยเด็ก และเสริมสร้างให้มีความเข้มแข็งมากข้ึน ในการจดั การเรยี นร้ทู ุกระดบั โดยเปิดพื้นท่ีความคิดและจินตนาการให้กับผู้เรียนเป็น อันดับแรก (ขอใหค้ ิดกอ่ นจะผดิ จะถกู หรอื เปน็ ไปได้หรือไม่ค่อยว่ากัน อีกที) แล้วใช้ความรู้มาพิจารณาตกแต่งความคิดให้มีเหตุผล มีความ เป็นไปได้ทหี ลงั

4 5. องค์ประกอบของทักษะการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรม ทั ก ษ ะ ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ น วั ต ก ร ร ม มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก 3 ประการ ได้แก่ 1) การคิดอย่างสรา้ งสรรค์ (Think creatively) 2) การทางานรว่ มกับบุคคลอน่ื อยา่ งสร้างสรรค์ (Work creatively with others) 3) การสร้างนวตั กรรมให้เกิดผลสาเรจ็ (Implement innovation) โดยแตล่ ะองค์ประกอบมีพฤติกรรมบ่งช้ดี งั ต่อไปน้ี 1. การคิดอย่างสร้างสรรค์ 1.1 มองเหน็ โอกาสมากกว่าปัญหา 1.2 รเิ ร่ิมสิ่งใหมๆ่ ท่เี ป็นประโยชน์ 1.3 ใชว้ ิธกี ารคิดและมุมมองอย่างหลากหลาย 1.4 ทางานด้วยวธิ ีการหลากหลายและยดื หยุน่ 1.5 ประเมินและปรับเปลยี่ นความคิดของตนเอง

5 2. การทางานรว่ มกบั บคุ คลอ่ืนอย่างสรา้ งสรรค์ 2.1 เคารพความคดิ ของคนอ่นื 2.2 เปดิ รับความคดิ เหน็ ใหมๆ่ ที่ทนั สมัย 2.3 นาเสนอความคดิ ของตนเองกบั ผู้อนื่ 2.4 แลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ับบคุ คลอนื่ อยู่เสมอ 2.5 ทางานรว่ มกับบุคคลอ่ืนด้วยความร่วมมือรว่ มใจ 3. การสร้างสรรคน์ วัตกรรมใหส้ าเรจ็ 3.1 วางแผนพฒั นานวตั กรรมอย่างเป็นระบบ 3.2 พัฒนานวัตกรรมและประเมินระหว่างการพัฒนา 3.3 ประเมินสรุปประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรมท่ีพฒั นา 3.4 ปรบั ปรุงแก้ไขจดุ บกพร่องของนวตั กรรมให้ดีขนึ้ 3.5 ใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลสื่อสารนวตั กรรมสสู่ งั คม องค์ประกอบทงั้ 3 สามารถพฒั นาให้เกิดกับผเู้ รียน ไปพรอ้ มๆ กบั การจดั การเรียนรู้ประจาวนั

6 6. แนวทางการพัฒนาทกั ษะการสรา้ งสรรค์นวัตกรรม ผู้สอนสามารถพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม ของผ้เู รยี นผา่ นการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวทางตอ่ ไปน้ี 1. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ท้าทายความคิด ตอบสนองธรรมชาติ ความต้องการ และความสนใจของผู้เรียน เม่ือผู้เรียนเกิดความรู้สึกท้าทาย และเป็นส่ิงท่ีเขาอยากเรียนรู้ จะทาให้ ใช้ความคิดของตนเองอย่างเต็มความสามารถ 2. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนใช้ความคิดของตนเองให้มากท่ีสุด โดยผู้สอนไม่นาความคิดหรือประสบการณข์ องตนเองไปตัดสินความคดิ ของผูเ้ รียน แต่จะตอ้ งกระตุน้ ให้ผูเ้ รียนหาเหตผุ ลมาสนบั สนนุ ความคิด ของตนเอง 3. ชี้แนะวิธีการแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ ที่หลากหลายให้กับผู้เรียน และโค้ชให้ผู้เรียนให้นาความรู้ต่างๆ มาสังเคราะหแ์ ละนาไปใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรม 4. ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence Technology) มาเป็นเครื่องมือในการ สร้างสรรค์นวัตกรรม ทาให้เกิดแนวคิด (Idea) ในการสร้างสรรค์ สิง่ ใหม่ทมี่ ปี ระโยชน์ตอ่ สว่ นรวม

7 5. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนนาเสนอนวัตกรรมของตนเอง ผ่ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ ทั ล เ พื่ อ ใ ห้ ผู้ เ รี ย น มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น ก า ร สื่อสารนวัตกรรมสู่สังคม คุณลักษณะจิตอาสา แบ่งปันนวัตกรรม กับบุคคลอน่ื 6. ประเมินทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมของผู้เรียน อย่างต่อเน่ือง ด้วยวิธีการประเมินอย่างหลากหลาย ในลักษณะของ การประเมินที่เสริมพลังตามสภาพจริง และให้ข้อมูลย้อนกลับ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้ผู้เรียนนาไปต่อยอดทักษะการสร้างสรรค์ นวัตกรรมของตนเอง 7. บทสรปุ ทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นทักษะที่สาคัญ และจาเป็นที่ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ สามารถประกอบอาชีพได้อย่างสร้างสรรค์ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ อย่างสรา้ งสรรค์ ผสู้ อนมีภารกจิ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสร้างสรรค์ นวตั กรรมผ่านการจดั การเรยี นรู้และการประเมินผลอย่างสร้างสรรค์

8 บรรณานุกรม OECD. (2018). The Future of Education and Skills Education 2030. Paris: Organization for Economic Co-operation and Development. Partnership for 21st century skills. (2009). Professional Development: A 21st Century Skills Implementation Guide. Tucson: Partnership for 21st century skills Organization. Pearson cooperation. (2017). The Future of Learning: Pearson Annual Report and Accounts 2017. New York, NY: Pearson. UNESCO. (2018). Building Tomorrow’s Digital Skills: What Conclusions Can We Draw from International Comparative Indicator. Paris: United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization.

โลกอนาคตเป็นพน้ื ทีส่ าหรบั คนที่มศี ักยภาพ ในการสร้างสรรค์นวตั กรรม (Creative and Innovation)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook