Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

Published by ขวัญใจ จันทร์คณา, 2021-02-02 01:00:09

Description: คู่มือปฏิบัติการในการป้องกันการแพร่ระบาดโรคโควิด 19 โรงเรียนวลีรัตน์วิทยา

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นวลีรัตน์วิทยา คู่มือปฏบิ ัตสิ ำหรับการป้องกนั การแพร่ระบาด ของโรคโควดิ 19 ปีการศกึ ษา 2563 สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน

คำนำ คูมือการปฏบิ ัติการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับโรงเรยี น วลีรัตน์วิทยาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19 อย่างต่อเนื่องโดยเนน ความสอดคลองกับบริบท ของสถานศึกษาและเอื้ออำนวยใหเกิดการปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใหนกั เรียนและบุคลากรใน สถานศึกษาสามารถดำรงชวี ติ อยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยมีสาระสำคญั ประกอด้วยองคความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกบั โรคโควิด 19แนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ผู้บริหารเจาของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลเด็ก นักเรียนผปู้ กครอง และแมค่ รวั ผู้ปฏบิ ัตงิ านทำความสะอาด การจดั การดานอนามัยสิง่ แวดลอมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 และสื่อความรอบรู้ด้านสุขภาพนักเรียน ตลอดจนข้ันตอนการดำเนนิ งานคัดกรองและสง่ ต่อแบบประเมนิ ตนเองสำหรับสถานศกึ ษาแบบประเมินตนเอง สำหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสำหรบั นกั เรียน การจัดการเรียนการสอนชวงเปิดภาค เรยี น คณะผู้จดั ทำม่งุ หวงั ว่าคมู อื การปฏบิ ัตโิ รงเรียนวลรี ตั นว์ ิทยาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด 19” ฉบับนี้ เป็น “เครื่องมือ” สำหรับสถานศึกษาและผู้เกีย่ วของสามารถนำไปใชตามบริบทและสถานการณ ของแตล่ ะสถานศึกษาภายใตความรว่ มมอื จากทกุ ฝ่ายทีเ่ กี่ยวของ เพ่ือปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 ใหเกิดประโยชนสงู สุดตอไป คณะผจู้ ัดทำ

สารบญั หนา้ 1 ทำความรู้จกั โควิด-19 สญั ญาณและอาการของโควิด-19 2 ติดโควดิ หรอื เปล่า เชค็ สัญญาณและอาการได้ท่นี ี่ เมือ่ ไหรค่ วรไปหาหมอ 3 โควิด-19 ตดิ ไดจ้ าก 3 รู 3 ใครมีความเสยี งมากท่ีสุด 4 การป้องกันและหยุดยั้งการแพรก่ ระจายของโควดิ -19 5 การรกั ษาผู้ป่วยตดิ เชื้อโควิด-19 6 ทำความเข้าใจเส้นทางการรกั ษาโรคโควิด 19 ตรวจพบโควดิ 19 ตอ้ งทำอย่างไร 6 มาตรการการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการเปดิ ภาคเรยี น (Preparation before reopening) 7 มาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงานเพื่อความปลอดภยั จากการลดการแพร่เช้อื โรค 16 6 ข้อปฏบิ ตั ิในสถานศึกษา ความเชือ่ มโยง 6 มิติกบั มาตรการการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี น 17 ขั้นตอนการดำเนินงานคัดกรองนกั เรียนและส่งต่อนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาใน 18 การปอ้ งกนั ควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 19 วิธีการตรวจคดั กรองสขุ ภาพ 21 วิธกี ารวัดอุณหภูมทิ างหน้าผาก 21 ข้นั ตอนการซักประวตั แิ ละสังเกตอาการเสีย่ ง 22 แนวปฏิบตั ิสำหรบั สถานศึกษาระหวา่ งเปิดภาคเรยี น 23 จดุ เนน้ หนักถือปฏิบตั ิในโรงเรียนรองรบั สถานการณ์โควิด 19 24 แนวปฏบิ ัติสำหรับผบู้ รหิ าร เจ้าของสถานศึกษา 24 แนวปฏบิ ตั สิ ำหรับครู ผูด้ แู ลนักเรียน 25 แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับนักเรยี น 26 บทบาทหนา้ ท่ขี องนกั เรยี นแกนนำดา้ นสุขภาพ 30 แนวปฏิบัตสิ ำหรับผู้ปกครอง 30 แนวปฏบิ ตั ิสำหรับแม่ครัว ผู้จำหนา่ ยอาหาร และผปู้ ฏบิ ัติงานทำความสะอาด 30 แนวปฏบิ ัตดิ า้ นอนามยั ส่งิ แวดล้อม 31 หอ้ งเรียน ห้องเรียนรวม ห้องสมุด ห้องประชมุ

สารบญั หนา้ 31 สนามกฬี า 31 สถานทีแ่ ปรงฟัน 33 สระว่ายน้ำ 33 สนามเดก็ เลน่ 34 หอ้ งส้วม 34 หอ้ งพกั ครู 34 หอ้ งพยาบาล 35 โรงอาหาร 37 รถรับ-สง่ นกั เรียน 37 หอ้ งนอนเดก็ เลก็ 38 การเขา้ แถวเคารพธงชาติ 39 มาตรการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 กรณีเกดิ การระบาดในสถานศึกษา 40 ผังข้ันตอนการคัดกรองนกั เรยี นและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 41 แบบประเมนิ ตนเองสำหรับสถานศกึ ษาในการเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน เพ่ือเฝ้าระวงั และป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19

ทำความรจู้ กั โควดิ -19 ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โควดิ -19 (COVID-19 : CO = corona, VI = virus, D = Disease) เปน็ เชื้อ ไวรสั ทีส่ ามารถกอ่ ให้เกิดโรคทางเดนิ หายใจ หลังติดเช้อื อาจไม่มอี าการ หรอื อาจมีอาการตั้งแตไ่ มร่ ุนแรง คือ คล้ายกับไข้หวัดธรรมดา หรืออาจก่อให้เกิดอาการรุนแรงเป็นปอดอกั เสบและเสียชวี ิตได้ สญั ญาณและอาการของโควดิ -19 อาจมีไข้ ไอ และหายใจหอบสน้ั ถ่ี ในผปู้ ว่ ยรายที่รนุ แรงจะพบการตดิ เชอื้ ที่อาจทำให้เกิดโรคปอดบวม หรอื หายใจลาํ บากและอาจถึงแก่ชีวิตได้ อาการเร่มิ ตน้ จะมลี กั ษณะคล้ายกับไข้หวดั ใหญ่ (Infuenza) หรือ ไข้หวดั ธรรมดา (Common cold) ติดโควดิ หรอื เปล่า เชค็ สญั ญาณและอาการได้ทนี่ ่ี 87.9 % มไี ขต้ ัวรอ้ น 67.7% ไอแหง้ ๆ 38.1% อ่อนเพลยี 33.4% มเี สมหะ 18.6% หายใจติดขดั 13.9% เจบ็ คอ 13.6% ปวดหัว 14.8% คร่นั เนอ้ื คร่ันตวั /ปวดข้อ หนาวสัน่ 11.4% วงิ เวยี น/อาเจียน คัดจมกู 5.0% ทอ้ งเสีย 4.8% 3.7% ผปู้ ่วยในกลุ่มในกลุ่มน้ีแสดงอาการภายใน 14 วันโดยเฉลยี่ แลว้ เริ่มมอี าการในวันที่ 5 และ 6 เมื่อไหร่ควรไปหาหมอ มีอาการไข้ : อณุ หภูมสิ ูงกว่าง 37.5 C ตวั ร้อน ปวดเนอื้ ปวดตวั หนาวสน่ั มีอาการระบบทางเดินหายใจ : ไอ จาม เจบ็ คอ มีน้ำมกู หายใจลำบาก • ให้รบี ไปพบแพทย์ โดยแจง้ เจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ต่อ หรือแจง้ 1669 • ไม่ใช้รถสาธารณะในการเดินทางโดยสวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา

โควิด-19 ติดไดจ้ าก 3 รู โควดิ -19 สามารถตดิ ตอ่ ผา่ นทางการสมั ผัสโดยตรงกับละอองของสารคัดหลง่ั จากระบบทางเดนิ หายใจ และน้ำลายของผู้ติดเชื้อเช่น ไอ จาม น้ำมูก น้ำลาย และยังสามารถแพร่เชื้อจากบุคคลหนึ่งไปสู่บุคคลอื่นได้ จากการสมั ผสั พนื้ ผิวท่ปี นเปื้อนเช้อื ไวรัส ซ่ึงเชอ้ื ดังกล่าวสามารถมชี ีวิตอยู่บนพ้ืนผวิ ต่าง ๆ หลายชวั่ โมง เม่ือมือ ไปสัมผัสเช้ือจะเข้าส่รู ่างกายใน3ชอ่ งทาง คอื รนู ำ้ ตา รจู มูก และรูปาก ลงสลู่ ำคอ ทางเดินหายใจ และลงสู่ปอด ในท่ีสุด รนู ้ำตา รจู มกู รูปาก ไม่ขยี้ ดวงตามีช่องระบายมีน้ำตาท่ี ไม่แคะจมูก เชื้อโรคสามารถเข้าทาง ไม่จับปาก ปากเป็นช่องร่วมที่เช้ือ เช้อื โรคสามารถเข้ามาได้ โพรงจมกู ส่ทู างเดนิ หายใจ โรคสามารถเข้าสู่ทางเดนิ หายใจต่อไป ใครมคี วามเสยี งมากทส่ี ดุ กลุ่มเส่ียงท่ตี อ้ งระวัง หากตดิ เชอื้ อาจมีอาการรนุ แรง ➢ผสู้ ูงอายุ 70 ปีข้นึ ไป กลมุ่ ท่เี สียงโดยตรงทอี่ าจสมั ผัสกบั เชอื้ ➢ผปู้ ว่ ยโรคเร้อื รงั เชน่ เบาหวาน ความดันโลหติ สูง - เพง่ิ กลับจากพื้นที่เสีย่ ง หลอดเลือดหัวใจ หรือภมู แพ้ - สัมผัสใกล้ชดิ ผู้ปว่ ยสงสยั ติดเชอื้ ➢เดก็ เลก็ ต่ำกว่า 5 ปี - แยกตัวเพื่อสงั เกตอาการ ณ ท่ีพกั 14 วนั ➢ อยู่บา้ น หลีกเล่ยี งสถานที่แออัด ➢ ล้างมือบ่อยๆ รกั ษา 3 รู “ตา จมูก ปาก” ➢ เว้นระยะการใกล้ชิด 2 เมตร และสวมหน้ากากผ้า

การป้องกันและหยดุ ยง้ั การแพรก่ ระจายของโควดิ -19 มาตรการทางสาธารณสขุ ทั้งดา้ นสขุ อนามยั สว่ นบุคคลและอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นสิง่ สำคญั อย่างย่งิ ในการชะลอการแพรก่ ระจายของเชือ้ โรค เพือ่ ใชเ้ ป็นมาตรการปอ้ งกนั โรคในชีวติ ประจำวันของทุกคน จงึ มี คำแนะนำดังนี้ • อยู่บ้านหรือในที่พักเมอ่ื เจ็บป่วย • ปดิ ปากและจมูกโดยใชก้ ระดาษทิชชู หรอื ในกรณีทหี่ าไมไ่ ดค้ วรงอขอ้ ศอกของตนเองเพือ่ ป้องกันกา ฟุ้งกระจายของน้ำมูกและน้ำลายและให้กำจัดกระดาษทชิ ชทู ่ีใช้แลว้ ทงิ้ ทนั ที โดยใส่ถงุ ปิดมิดชิดเพราะ เป็นขยะติดเชื้อ แลว้ ล้างมือและข้อศอกดว้ ยน้ำและสบทู่ นั ที • ลา้ งมอื บ่อยๆ ด้วยสบู่และนำ้ สะอาด หากไม่สะดวกให้ล้างดว้ ยเจลแอลกอฮอลฆ์ า่ เชอ้ื • ทำความสะอาดพื้นผวิ และวตั ถทุ ่ีสัมผัสบอ่ ย ๆ ด้วยน้ำสบูน่ ำ้ ยาฆา่ เชื้อ และนำ้ สามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมเกี่ยวกับการปอ้ งกนั และลดการแพร่เช้ือโควิด-19 จากเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ ประจำท้องถนิ่ การป้องกันและหยุดย้งั การแพร่กระจายของโควิด-19 จากเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ ประจำถิน่ การรกั ษาผปู้ ว่ ยติดเช้อื โควิด-19 ปจั จบุ ันยังไมม่ ีวคั ซนี สำหรบั ใช้ป้องกันหรือยารักษาโควดิ -19 อยา่ งไรก็ตามอาการหลายอย่างสามารถ รกั ษาไดห้ ากไดร้ ับการดูแลต้งั แตเ่ นนิ่ ๆ จากผูใ้ ห้บริการด้านสุขภาพและแพทย์

ทำความเขา้ ใจเส้นทางการรกั ษาโรคโควดิ 19 กล่มุ เส่ยี งโดยตรงที่ อาจสัมผัสกับเชือ้ เพ่ิงกลับจากพ้นื ทีเ่ สีย่ ง สมั ผสั ใกล้ชดิ ผูป้ ่วยสงสยั ตดิ เช้อื ตรวจรา่ งกายเพือ่ หาเช้อื โควดิ 19 แยกตวั เพอื่ สงั เกตอาการ 14 แยกตัวเพื่อสงั เกตอาการระหว่าง 14 วนั ไมม่ ีอาการ วันมไี ข้ อณุ หภูมิ 37.5 องศาเซลเซยี ส ร่วมกับอาการทางเดนิ หายใจ เช่น ไอ นา้ มกู เจ็บคอ เหนอื่ ยหอบ ดาเนินชวี ิตตามปกติ หลีกเลย่ี งสถานท่ี แจ้งเจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ต่อ แออัด ล้างมือบอ่ ยๆ เวน้ ระยะหา่ ง 2 หรอื 1669 เพือ่ ประสานการรบั ตัวไป พบแพทย์ ไมใ่ ช้รถสาธารณะในการ เมตรและสวมหน้ากาก เดนิ ทาง และสวมหนา้ กากอนามัยใน การเดินทาง

ตรวจพบโควิด 19 ตอ้ งทำอยา่ งไร แพทย์จะแบง่ กลุ่มตามอาการ กลุม่ ที่ 1 ไม่มีอาการ ( 20 % ของผพู้ บเชอ้ื ) ->สงั เกตอาการในโรงพยาบาล 2-7 วัน -> สังเกตอากา ราต่อท่ีหอพักผู้ป่วยเฉพาะ/โรงพยาบาลเฉพาะกจิ เช่น โรงแรมที่เรียกว่า ฮอสพิเทล (Hospitel) 14 วนั นับจากตรวจพบเชอ้ื -> เม่อื หายกลับบ้านตามปกติ ต้องใส่หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาทอี่ อกไป นอกบ้าน/อยู่ห่าง 2 เมตร /แยกห้องทำงานไมก่ ินอาหารร่วมกันจนครบ 1 เดือน กลมุ่ ท่ี 2 อาการไมร่ ุนแรงคล้ายไขห้ วัด (อายมุ ากกวา่ 60 ปี หรอื เป็นโรคเร้ือรัง) ->รกั ษาตามอาการ/ให้ ยารักษาไวรสั ในโรงพยาบาล 2-7 วนั ->สังเกตอาการตอ่ ใน ฮอสพเิ ทล (Hospitel) จนครบอยา่ งน้อย 14 วนั นบั จากมอี าการ เม่ือหายกลบั บ้านจะตอ้ งปฏิบัติเช่นเดยี วกับกล่มุ ที่ 1 กลุ่มท่ี 3 อาการรนุ แรงคลา้ ยหวัดปวดปกติ แต่มปี ัจจยั เส่ียง -> ใหย้ ารกั ษาไวรสั ในโรงพยาบาลตดิ ตาม ปอด -> สง่ เขา้ สังเกตอุ าการตอ่ อาการตอ่ ในฮอสพเิ ทล (Hospitel) จนครบอยา่ งนอ้ ย 14 วัน นบั จากมี อาการ -> เม่ือหายจะต้องปฏบิ ตั เิ ชน่ เดียวกันกบั กลมุ่ ท่ี 1 และกล่มุ ที่ 2 กลุ่มท่ี 4 ปอดอกั เสบไมร่ นุ แรง (12 % ของผู้พบเชอ้ื ) ใหย้ ารักษาไวรัสในโรงพยาบาล กล่มุ ท่ี 5 ปอดอักเสบรนุ แรง (3 % ของผพู้ บเชื้อ) ให้ยารกั ษาไวรัสในหอ้ งไอซียู

มาตรการการเตรยี มความพร้อมกอ่ นการเปิ ดภาคเรยี น (Preparation before reopening) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลกระทบอย่างมากต่อทุกภาคส่วน เมื่อสถานการณ์ เป็นไปในทางท่ีดีขึน้ การเปิดสถานศึกษาหลังจากปดิ จากสถานการณ์ โควิด 19 มีความจําเป็นอยา่ งยิ่งในการ เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา การปฏิบตั ติ นของนักเรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา เพอื่ ลดโอกาส การ ติดเชื้อและป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อโรคโควิด 19 ให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน จึงควรมีการประเมิน ความพร้อมการเปดิ ภาคเรียนของสถานศึกษาซึ่งองคก์ ารเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาตแิ ละองค์กรภาคี ได้เสนอ กรอบแนวทาง 6 มิติ ได้แก่ การดําเนินงานเพื่อความปลอดภัยการเรียนรู้ การครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน จึงมีแนวคิดในการสร้างความเชื่อมโยงกับ มาตรการป้องกนั โรคเพอื่ ปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 ของศูนยบ์ รหิ ารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ 19) (ศบค.) อนั จะเป็นการวางแผนทจี่ ะชว่ ยสร้างเสริมความเขม้ แขง็ ด้าน การคมุ้ ครองสขุ ภาพและความปลอดภยั ของนักเรยี น มาตรการควบคุมหลักในมิติการดำเนินงานเพือ่ ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชื้อโรค 6 ข้อ ปฏบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษาได้แก่ 1. คดั กรองวดั ไข้ 2. สวมหน้ากาก 3. ล้างมอื 4. เวน้ ระยะห่าง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออดั โดยมีรายละเอียดแนวปฏิบัติแต่ละมาตรการ มาตรการควบคุมหลักในมติอื่น อาทิ การเรียนรู้ การ ครอบคลุมถึงเด็กด้อยโอกาส สวัสดิภาพภาพและการคุ้มครอง นโยบาย และการบริหารการเงิน ตลอดจน มาตรการเสริมในแต่ละมิติ ดังนั้น จึงมีความเชื่อมโยงตามกรอบแนวทาง 6 มิติกับมาตรการการป้องกันโรค เพือ่ ป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโควิด 19 ในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปิดภาคเรียน มดี ังน้ี

ความเชือ่ มโยง 6 มติ กิ บั มาตรการการเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียน มิติ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 1.ความปลอดภยั จากการ 1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไขแ้ ละ 1. ทำความสะอาดพ้นื ท่ีทน่ี ักเรียน ใช้ ลดการ แพร่เชอ้ื โรค อาการเสี่ยง ก่อนเขา้ สถานศึกษา รว่ มกัน ก่อนและหลังใช้งาน ทุกคร้ัง พรอ้ มสังเกตอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เช่น ห้องคอมพวิ เตอร์ เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ หอ้ งดนตรี ลิฟต์ อปุ กรณ์กฬี า ไมไ่ ด้กลนิ่ ไม่รรู้ ส สำหรับนกั เรียน 2. จดั ให้มีพนื้ ทใ่ี นการเข้าแถว บคุ ลากรของ สถานศกึ ษา และ ผ้มู า ทำกจิ กรรม หรอื เล่นกลุ่มย่อย เวน้ ตดิ ตอ่ ทกุ คน ระยะห่างระหวา่ งบุคคลอยา่ งน้อย 1 - 2. ใหน้ ักเรยี น บุคลากร และผู้เขา้ มา 2 เมตร ในสถานศกึ ษา ทกุ คนต้องสวม 3. ให้นักเรยี นใชข้ องใช้ส่วนตวั ไมใ่ ช้ หนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัย สิ่งของร่วมกับผูอ้ น่ื เช่น แก้วน้ำข้อน ตลอดเวลาเมื่ออยูใ่ นสถานศึกษา สอ้ ม แปรงสีฟันยาสีฟนั ผา้ เชด็ หนา้ 3. ใหม้ จี ุดบริการลา้ งมอื ดว้ ยสบู่และ 4. จัดใหม้ หี อ้ งพยาบาลสำหรับ แยกผู้ น้ำหรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพียงพอ มีอาการปว่ ยระบบทางเดิน หายใจ ในบริเวณตา่ งๆ เชน่ ทางเข้าอาคาร ออกจากผ้มู ีอาการป่วย ระบบอ่ืน ๆ ห้องเรยี น โรงอาหาร หรอื พจิ ารณาสง่ ไป สถานพยาบาล 4. ใหจ้ ดั เว้นระยะห่างระหว่าง บคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร เชน่ ระหว่างโตะ๊ เรียน ท่ีน่งั เรียน ที่นั่งใน โรงอาหาร ท่ีน่ังพกั ทางเดนิ จุดรอ คอย ห้องนอนเด็กเลก็ กรณีห้องเรียน ไม่เพยี งพอในการ จัดเว้นระยะห่าง ระหวา่ งบคุ คล ควรจัดให้มกี ารสลับ วันเรียนแตล่ ะชัน้ เรียน การแบง่ จำนวนนักเรยี นหรอื การแบ่งพ้นื ท่ีใช้ สอยบริเวณสถานศกึ ษาตามความ เหมาะสม ทง้ั นี้อาจพจิ ารณาวิธปี ฏิบตั ิ ตามบรบิ ทความเหมาะสมโดยยึดหลกั Social distancing

มติ ิ มาตรการคุมหลกั มาตรการเสริม 5. เปิดประตู หน้าต่างให้ อากาศ 5. จัดให้มีการสือ่ สารความรู้ ถ่ายเท ทำความสะอาดห้องเรียน และ การป้องกนั โรคโควดิ 19แก่ นกั เรียน บริเวณตา่ ง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาด บคุ ลากร เพ่อื ใหส้ ามารถ ลา้ งมือ สวม พืน้ ผวิ สมั ผสั ของ โต๊ะ เก้าอี้ และวัสดุ และถอดหน้ากาก อยา่ งถกู วธิ ี การเกบ็ อปุ กรณ์ กอ่ นเขา้ เรียน พักเท่ยี ง และ รกั ษาหน้ากาก ช่วงพักเทยี่ งและการ หลงั เลกิ เรียนทุกวนั รวมถึงจดั ให้มถี งั ทําความ สะอาดสถานทีแ่ ละอุปกรณ์ ขยะมูลฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวม ของใช้ ทีถ่ ูกสุขลกั ษณะ ตลอดจนจัด ขยะ ออกจาก ใหม้ นี กั เรียนแกนนำดา้ นสุขภาพ หอ้ งเรียนเพอื่ นำไปกำจัดทกุ วัน นกั เรียนที่ มจี ติ อาสาเปน็ อาสาสมัคร 6. ให้พิจารณาควบคมุ จำนวนนักเรียน ในการช่วยดูแล สุขภาพเพ่ือนนกั เรยี น ท่มี าร่วมกจิ กรรม ลดแออดั หรือ ลด ด้วยกันหรอื เวลาทำกิจกรรมใหส้ ้นั ลง เทา่ ท่ีจำเป็น ดูแลรนุ่ นอ้ งด้วย หรอื เหลื่อมเวลา ทำกิจกรรม โดยถือ 6. กรณี มรี ถรบั - สง่ นกั เรียน เน้นให้ หลกั หลกี เลี่ยง การตดิ ตอ่ สมั ผัส ผูโ้ ดยสารทกุ คน สวม หน้ากากผ้าหรอื ระหวา่ งกนั หน้ากากอนามยั ทำความสะอาด ยานพาหนะและ บริเวณจุดสัมผัส ร่วมกัน เช่น ราวจบั เบาะนัง่ ท่วี าง แขน กอ่ นรับ และหลงั จากสง่ นักเรียน แล้วทกุ คร้งั ลดการพดู คยุ หรอื เลน่ กัน บนรถ ตลอดจนการจัดเว้นระยะห่าง ระหวา่ งทนี่ ั่ง

มิติ มาตรการคมุ หลกั มาตรการเสริม 2. การเรยี นรู้ 1. จดั หาสือ่ ความรู้ในการปอ้ งกนั 1. กรณีเดก็ เล็ก ไม่แนะนำใหใ้ ช้ ควบคุมโรคโควิด 19 สำหรับ \" ใช้ใน สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์ การเรียนการสอน การเรียนรู้ นอก โดยขาดปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้สอน หอ้ งเรียน หรอื กิจกรรมพฒั นา ผ้เู รียน ครู ผูป้ กครอง ในรูปแบบของสื่อออนไลน์ : VTR , 2. ไมป่ ล่อยใหเ้ ดก็ และวัยรุน่ อยกู่ ับ Animation, Infographic แ ล ะ สื่ อ สื่อออนไลน์ (ที่ไม่ใช่สื่อการเรียน การ สิ่งพิมพ์ : โปสเตอร์ แผ่นพับ สอน)นานเกินไปโดยทั่วไปกำหนด ภาพพลิก คมู่ อื แนวปฏิบัติ ระยะเวลา - 1ชั่วโมงต่อวันสำหรับเด็ก 2. เตรียมความพร้อมด้านการเรยี นรู้ เล็ก /ประถมศึกษา - 2 ชั่วโมงต่อวัน ของเด็กตามวัยและสอดคล้องกับ สำหรับเดก็ โต /มัธยมศกึ ษา พฒั นาการดา้ นสังคม อารมณ์ และ 3. สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาและนักเรยี น สติปัญญา ประเมินตนเองในการเตรียมความ 3. สรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบดูแล พร้อมก่อนเปิดภาคเรียนรองรับ ช่วยเหลือนักเรียน โดยบูรณาการ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ กิจกรรมส่งเสริมพัฒนานักเรียน ด้าน โรคโควิด 19 รวมถึงมี การตรวจคัด ทักษะชีวิต และความเข้มแข็ง ทางใจ กรองสขุ ภาพนกั เรียน อย่างต่อเนือ่ ง เจ้าในการเรยี นการสอนปกติ เพือ่ ช่วย 4. สนับสนนุ ใหน้ ักเรยี นใช้สือ่ รอบรู้ ให้นักเรียนจัดการ ความเครียดและ ด้านสุขภาพในรูปแบบและผ่าน รับมือกับการ เปลี่ยนแปลงได้อย่าง ช่องทางหลากหลายที่สามารถ เข้าถึง เหมาะสม ได้ อันจะช่วยสง่ เสริมให้เกิดความรอบ รู้ด้านสุขภาพ นำไปสู่การปฏิบัติตน ด้านสุขภาพ ที่เหมาะสม สะท้อนถึง การมี พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ สตโรคและปลอดภยั

มติ ิ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 3. การครอบคลมุ ถงึ เดก็ ตอ้ ย โอกาส ก. 1. จดั หาวสั ดุสง่ิ ของเครื่องใช้ 1. ประสานและแสวงหาการ เด็กพเิ ศษ ข. เดก็ ใน พ้นื ที่ เฉพาะหา่ งไกล และอุปกรณ์ล้างมือ เช่น สบู่ เจล สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การป้องกันโรค มาก แ อ ล ก อ ฮ อ ล ์ ห น ้ า ก า ก ผ้าหรือ โควิด 19 จากหน่วยงานของ จังหวัด หน้ากากอนามัยอย่างเพียงพอ และผู้เกี่ยวข้อง เช่น ศบค.จ.ท้องถ่ิน สำหรับนักเรียนและบุคลากรใน เอกชน บริษัทห้างร้าน ภาคประชาชน สถานศึกษา ควรมีสำรองโดยเฉพาะ เปน็ ตน้ เด็กเล็กที่เปื้อนง่าย เพราะถ้าขึ้นแฉะ 2. ปร ะ สาน ก าร ดำเน ิน ง าน ตาม จะไมส่ ามารถ แนวทางพัฒนากิจกรรมผู้เรียน ของ ปอ้ งกันเชอ้ื ได้ กระทรวงศึกษา การ กรณีมีข้อจำกัด 2. มีการปรับรูปแบบการเรยี น ดา้ นเทคโนโลยี การสอนให้สอดคล้องกับบริบท การ ทางการศึกษา เขา้ ถึงการเรียนรู้ในสถานการณ์ 3. ใช้สื่อสร้างความเข้าใจเรื่อง โรคโค การระบาดของโรคโควิด 19 วิด 19 และแนวทาง การดูแลตัวเอง 3. มีมาตรการสง่ เสริมให้นกั เรียน โดยคำนึงถึงข้อจำกัดทางภาษาและ ไดร้ บั บรกิ ารสขุ ภาพขนั้ พ้ืนฐาน สังคม กลุ่มนักเรียน พิการเรียนร่วม อย่างทว่ั ถงึ เลือกใช้สื่อที่เป็นรูปภาพ หรือ เสียงท่ี 4. มีมาตรการการททำความสะอาด เข้าใจง่ายมากกว่า ใช้ตัวอักษรเพียง และจดั สภาพแวดลอ้ มของท่ีพัก อยา่ งเดียว และเรือนนอนให้ถกู สขุ ลกั ษณะ 5. มีมาตรการการทำความสะอาด และจัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้อง กบั ขอ้ บญั ญัตกิ ารปฏิบัติดา้ นศาสนกิจ 6. มีมาตรการดูแลนักเรยี นท่ีมี ความ บกพร่อง ด้านพัฒนาการ การเรียนรู้ หรือด้านพฤติกรรม อารมณ์ ที่ สามารถเรียนร่วมกับ เด็กปกติ ให้แก่ นักเรียนที่มีภาวะ บกพร่องทาง สติปัญญา บกพร่อง ทางการเรียนรู้ บกพร่องด้าน พฤติกรรมอารมณ์ รวมถึงภาวะ สมาชี้สั้นและเด็กออทิ สตกิ

มติ ิ มาตรการคุมหลกั มาตรการเสริม 4. สวสั ดภิ าพและ การค้มุ ครอง 1. จัดเตรยี มแผนรองรบั ด้านการเรยี น 1. สอื่ สารทำความเข้าใจกับบุคคล การสอนสำหรับนักเรียนป่วย กักตัว ทุกฝ่าย ใหข้ อ้ มูลทีใ่ ห้ความเช่อื มั่น ใน หรือกรณปี ดิ สถานศกึ ษา มาตรการป้องกนั และการดแู ล ตาม ชว่ั คราว ระบบการดูแลชว่ ยเหลือ ใน 2. จัดเตรยี มแนวปฏิบัตเิ พือ่ ลดการ สถานศึกษา โดยเฉพาะ การ รงั เกยี จและการตีตราทางสงั คม ระมดั ระวงั การสื่อสารและ คำพดู ทม่ี ี (Social stigma) ผลต่อทัศนคติ เพ่อื ลิต การรงั เกียจ 3. จัดเตรยี มแนวปฏิบตั ิ ด้าน การทีต่ ราทางสงั คม (Social sigma) การจดั การความเครยี ดของครู กรณีท่ีอาจพบ บคุ ลากร ใน และบุคลากร สถานศกึ ษา นักเรียน ผปู้ กครองท่ีติด 4. ตรวจสอบประวัตเิ สียงของ โรคโควดิ 19 บุคลากรและนักเรยี น ตรวจสอบ เรื่อง 2. กรณีนกั เรยี นหรือบคุ ลากรป่วยจริง การกักตัวให้ครบ 14 วัน ก่อนมาทำ ต้องใหห้ ยุดรกั ษาจนกวา่ จะหาย เปน็ การเรยี นการสอนตามปกติและทุกวัน ปกติ โดยนำหลกั ฐาน ใบรบั รองแพทย์ เปิดเรียน มายืนยัน เพือ่ กลบั เขา้ เรยี นตามปกติ 5. กำหนดแนวทางปฏิบัติตาม โดยไมถ่ อื ว่าขาดเรียนหรือขาดงาน ระเบียบสำหรับบุคลากรและนกั เรียน 3. กักตวั ผใู้ กล้ชิดกบั ผ้ปู ่วยตามเกณฑ์ ทส่ี งสัยตดิ เชือ้ หรือป่วย ดว้ ยโรคโควิด ควบคุมโรคและดำเนนิ การช่วยเหลือ 19 โดยไม่ถือเป็น วันลาหรือวันหยุด เชน่ เดียวกบั ผปู้ ่วย เรยี น

มิติ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย 1. สือ่ สารประชาสมั พันธแ์ ก่ครูและ 1. จดั ระบบให้นกั เรยี นสามารถเขา้ ถงึ บุคลากรในสถานศึกษาให้มีความรู้ การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ความเขา้ ใจเบ้อื งตน้ เกย่ี วกับ กรณีขาดเรียน ลาป่วย ปิดสถาน โรคโควิด 19 ทักษะการล้างมือการ ศึกษา เช่น จัดรูปแบบการเรียน สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ออนไลน์ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การ สุขลักษณะส่วนบุคคลที่ดีรวมทั้งการ ติดต่อทางโทรศัพท์Secial media การ ทำความสะอาดอยา่ งถูกวธิ ี ติดตามเป็นรายวัน หรือ รายสปั ดาห์ 2. ประชุมชี้แจงคณะกรรมการสถาน 2.พิจารณาปิดสถานศึกษ าต าม ศกึ ษาขัน้ พื้นฐานแบบออนไลน์ สถานการณ์และความเหมาะสม กรณี หรอื กลุม่ ยอ่ ยตามความจำเป็น นักเรียน ครู หรือ บุคลากร ใน 3. มีแผนงาน โครงการ และกิจกรรม สถานศึกษาอยู่ในกลุ่มเลี้ยงหรือ เป็น รองรับนโยบายและแนวทาง การ ผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อเข้ามา ใน ป้องกันโรคโควดิ 19 ของสถานศึกษา สถานศึกษา ให้ประสานองค์กร 4.แต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อทำความ เกี่ยวกับโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา สะอาดอาคารสถานที่ ทั้งภายใน ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย ค ร ู บ ุ ค ล า ก ร ภายนอกอาคาร และ สิ่งของเครื่องใช้ สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครอง รวมทั้งรับแจ้ง หน่วยงานสาธารณสุข เจ้าหนา้ ที่ ในพนื้ ท่ี เพือ่ ทำการสอบสวนโรค สาธารณสุข และผเู้ กย่ี วขอ้ ง 3. สือ่ สารใหม้ ีความร้เู ก่ยี วกบั 5.กำหนดบทบาทหน้าท่ี โดยมอบ การสงั เกต อาการเสียง การมี แนวโนม้ หมายครู ครูอนามัยหรือบุคลากร เสี่ยงต่อการติดเชื้อ โควิด 19 ได้ง่าย สถานศึกษา ทำหน้าที่คัดกรอง วัดไข้ ได้แก่ เด็กที่มี อาการสมาธิสั้น (เป็น นักเรียน สังเกตสอบถาม อาการเสียง โรคที่มี อาการแสดงด้าน พฤติกรรม : แ ล ะ ป ร ะ ส า น ง า น เ จ ้ า ห น ้ า ที่ ซนเกินไป ใจลอย รอคอยไมไ่ ด้ รอคอย สาธารณสุขในพื้นที่ ให้บริการในห้อง ได้น้อย) ทำให้เด็กกลุ่มนี้ เสี่ยงต่อการ พยาบาล รวมทั้ง การดูแลทำความ สัมผัสกับบุคคลอื่นวง แตะ สัมผัส สะอาดในบริเวณ สถานศึกษาและ ใบหน้า จมูก ปาก ตัวเอง รวมทั้ง บริเวณจดุ เส่ียง หลงลืมการใส่ หน้ากากผ้า หรือ หนา้ กากอนามัย

มิติ มาตรการคมุ หลกั มาตรการเสริม 5. นโยบาย (ตอ่ ) 6. สอ่ื สารททำความเขา้ ใจผูป้ กครอง และนกั เรียน โดยเตรยี มการก่อน เปิด ภาคเรียนหรือวันแรกของ การเปิด เรยี นเก่ยี วกับแนวทาง การปอ้ งกันโรค โควิด 19 และ มีช่องทางการยึดต่อ สอ่ื สาร 7. สถานศึกษามีการประเมินตนเอง เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ผ่านระบบออนไลน์ของ กระทรวงศึกษาธิการ/Thai STOP COVID กรมอนามัย หรือ ตามแบบ ประเมินตนเองสำหรับ สถานศึกษาใน การเตรียมความพร้อม ก่อนเปิดภาค เรียนเพื่อเฝ้าระวัง และป้องกันการ แพร่ระบาดของ โรคโควดิ 19 8. มีมาตรการการจัดการด้านความ สะอาด รถ รับ - ส่งนักเรียน และข้ึน เองผู้ประกอบการ เพ่ือป้องกัน การ แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 โดยถอื ปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด 9. เสริมสรา้ งวัคซนี ชมุ ชนในสถาน ศึกษา โดยมาตรการ “4 สร้าง 2 ใช้” - - สรา้ งสถานศกึ ษาทรี่ ูส้ กึ “ปลอดภัย (safety) - สรา้ งสถานศึกษาท่ี “สงบ” (calm) - สรา้ งสถานศกึ ษาทม่ี ี “ความหวัง” (Heps)

มติ ิ มาตรการคมุ หลัก มาตรการเสริม 5. นโยบาย (ตอ่ ) - สร้างสถานศึกษาที่“เข้าใจ เห็นใจ และให้โอกาส” (De-stigmatization) - ใช้ศักยภาพสถานศึกษาและ ชุมชน (Efficacy) เช่น ระบบ ดูแลช่วยเหลือ นกั เรียน แบง่ ปนั ทรัพยากรในชุมชน - ใช้สายสมั พันธ์ในสถานศกึ ษา (Connectedness) 10. มกี ารกำกับ \"ตดิ ตามใหม้ กี าร ดำเนินงาน ตามมาตรการเพื่อปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อยา่ งเคร่งครัด 6. การบริหารการเงิน 1. พิจารณาการใช้งบประมาณของ 1. ประสานงานและแสวงหาแหล่งทุน สถานศึกษาสำหรับกิจกรรม การ และการสนับสนุนจากหน่วยงาน ป้องกันการระบาดของ โรคโควิด 19 องค์กรหรือภาคเอกชน เช่น ท้องถิ่น ตามความจำเป็นและเหมาะสม บริษัท ห้างร้าน NGO เป็นต้น เพ่ือ 2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกัน โรคโค สนับสนุนกิจกรรม การป้องกันการ วิด 19 สำหรับนักเรียนและ บุคลากร แพรร่ ะบาดของ โรคในสถานศึกษา ในสถานศึกษา เช่น หน้ากากผ้าหรือ 2.พจิ ารณาสรรหาบุคลากรเพ่ิมเตมิ ใน หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ สบู่ การดูแลนักเรียนและการจัดการ เป็นต้น สงิ่ แวดลอ้ มใน สถานศกึ ษา การเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลังจาก ปิด สถานศึกษาเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เป็นสถานการณ์ไม่ปกติ ไม่เคยเกิดขึ้นมา ก่อน มคี วามไม่แนน่ อน อาจต้องปิดหรือเปิดตามสถานการณ์ สถานศกึ ษาควรมีการประเมิน การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรียน ( Preparing the reopening of schools) หลงั จาก ปิด สถานศึกษาเนือ่ งจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 เป็นสถานการณไ์ มป่ กติ ไมเ่ คยเกิดขึน้ มา ก่อน มคี วามไม่แน่นอน อาจต้องปดิ หรอื เปิดตามสถานการณ์ สถานศึกษาควรมีการประเมนิ ความพรอ้ มของ

ตนเอง เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ เรยี น ผ่านระบบออนไลนข์ องกระทรวงศึกษาธิการ และ THAI STOP COVID กรมอนามยั มีกลไกการตรวจรบั รองการประเมนิ จากหนว่ ยงานหรอื ผเู้ กี่ยวข้องในพน้ื ที่ เช่น คณะกรรมการ สถานศึกษาหรอื หนว่ ยงานสาธารณสขุ ในระดบั พน้ื ท่ี เปน็ ตน้ แนะนำใหม้ ีการคดั กรองสุขภาพ นักเรยี นและ บคุ ลากรท่เี ก่ยี วขอ้ งกอ่ นเปิดภาคเรียน ตามแบบประเมินตนเองของสถานศึกษา และแบบ ประเมินตนเองของ นกั เรยี น (ภาคผนวก)

ขน้ั ตอนการดำเนินงานคดั กรองนกั เรยี นและส่งตอ่ นักเรียนและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาในการปอ้ งกัน ควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 คดั กรองสขุ ภาพนักเรยี นและบุคลากรในสถานศกึ ษา กอ่ นเข้าสถานศกึ ษา -วดั อณุ หภูมิดว้ ยเครือ่ งวดั อณุ หภมู ทิ าง 1.จดั อปุ กรณ์การคดั กรองสขุ ภาพ หนา้ ผาก 2.จัดอุปกรณ์การลา้ งมือ - ใหน้ กั เรยี นล้างมือดว้ ยสบู่และนำ้ หรือเจล 3.แบบบันทกึ การตรวจคัดกรองสุขภาพ แอลกอฮอล์ (นกั เรยี นและบุคลากรไดร้ บั การประเมนิ - ตรวจการใสห่ น้ากากผ้าหรอื หนา้ กาก ความเสี่ยงก่อนเปิดภาคเรยี นทกุ คน) อนามัยทกุ คน - กรณีบคุ คลภายนอกกรอกข้อมลู ประวัตเิ สีย่ ง ไมม่ ีไข้ (<37.5 C) มไี ข้ (≥37.5 C) กลุ่มเส่ียง หรือไม่มีอาการ หรือมอี าการ ทางเดนิ หายใจ ทางเดินหายใจ ติดสัญลักษณ์ มีประวตั ิเส่ยี งสูง มปี ระวัติเส่ยี งตำ่ - เข้าเรยี นตามปกติ - แยกนักเรยี นไวท้ ่ีห้อง -แยกนกั เรียนไว้ท่ีห้องจัดเตรียมไว้ -แยกนกั เรยี นไวท้ ่หี ้องจัดเตรยี มไว้ - ปฏบิ ัตติ าม จดั เตรยี มไว้ -บนั ทึกรายช่ือและอาการปว่ ย -บนั ทกึ รายชือ่ และอาการปว่ ย มาตรการการ - บนั ทึกรายชือ่ และอาการป่วย ปอ้ งกนั - ประเมินความเสี่ยง - แจ้งผปู้ กครอง ไม่มปี ระวัติเส่ียง แจ้งผ้ปู กครองมารับไปพบแพทย์ แจง้ ผู้ปกครองมารบั ไปพบแพทย์ แจง้ เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ แจ้งเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ - ให้พานักเรียนไปพบแพทย์ ประเมินสถานการณ์การสอบสวน ประเมินสถานการณก์ ารสอบสวน - ใหห้ ยุดพกั จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ โรค โรค เกบ็ ตวั อย่าง เกบ็ ตัวอยบู่ า้ น ตดิ ตามดูอาการใหค้ รบ 14 วัน ผู้รับผดิ ชอบติดตามอาการนกั เรยี นและรายงาน ผลใหผ้ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผูเ้ กยี่ วข้อง

วธิ กี ารตรวจคดั กรองสุขภาพ การตรวจคดั กรองสุขภาพเบอ้ื งต้นชว่ งสถานการณ์โรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา ที่สำคัญ ได้แก่ การ ตรวจวดั อณุ หภมู ริ ่างกายหรอื วดั ไข้ การซกั ประวัติการสัมผัสในพนื้ ทีเ่ สี่ยง การสังเกตอาการเสีย่ งตอ่ การติดเชอ้ื โดยมวี ิธีปฏบิ ตั ทิ สี่ ำคญั พอสังเขป ดงั น้ี วธิ กี ารตรวจวัดอุณหภมู ิร่างกายหรอื วัดไข้ เครื่องวัดอุณหภมู ิรา่ งกาย คนท่วั ไปจะมีอุณหภูมิร่างกายอยู่ระหวา่ ง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส สำหรบั ผทู้ ี่เร่มิ มีไขห้ รอื สงสยั วา่ ตดิ เชื้อจะมอี ุณหภมู ทิ ่มี ากกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส เคร่อื งวัดอุณหภูมริ ่างกาย มี 4 แบบ ไดแ้ ก่ 1) เคร่ืองวัดอุณหภมู แิ บบแท่งแก้ว นิยมใชว้ ัดอุณหภมู ิทางปากหรือทางรักแรใ้ นผ้ใู หญ่หรือเดก็ โต แต่ ไมเ่ หมาะสำหรบั ใช้ในเด็กเล็ก ขอ้ ดี : อ่านคา่ อุณหภูมิมีความน่าเชอ่ื ถือและมคี วามถกู ตอ้ ง ขอ้ เสีย : ใชเ้ วลาในการวัดนาน ไม่เหมาะสมในการคัดกรองผ้ปู ว่ ยจำนวนมาก 2) เคร่ืองวดั อณุ หภมู แิ บบดิจิตอล หน้าจอแสดงผลเปน็ แบบตัวเลข ทำใหง้ า่ ยตอ่ การอา่ นค่า เครอื่ งมือชนิดน้ีนยิ มใช้ในการวดั อุณหภูมิทางปากหรอื ทางรักแร้ในผูใ้ หญห่ รอื เดก็ โต รวมถึงใชใ้ นการวัด อุณหภูมิทางทวาร ของเด็กเลก็ ด้วย ขอ้ ดี : อ่านคา่ อุณหภมู ิมีความน่าเช่อื ถอื และมีความถกู ตอ้ ง ขอ้ เสีย : ใชเ้ วลาในการวัดนอ้ ยกวา่ แบบแท่งแก้ว แต่ยงั ไม่เหมาะในการใช้ในการคัดกรองคนจำนวน มาก 3) เครื่องวดั อณุ หภมู ิในช่องหู ใช้วดั อุณหภมู ิความร้อนทแี่ พรอ่ อกมาของรา่ งกายโดยไมส่ ัมผัสกบั อวัยวะท่วี ดั มีหน้าจอแสดงผลเป็นแบบตัวเลขทำใหง้ า่ ยต่อการอ่านคา่ บรเิ วณปลายมีเซ็นเซอรว์ ดั รงั สี อนิ ฟราเรดท่ี ร่างกายแพร่ออกมา โดยเคร่อื งมือไดอ้ อกแบบให้วดั ท่ีบริเวณเยือ่ แก้วหู ขอ้ ดี : อ่านคา่ อณุ หภมู ไิ ด้รวดเรว็ เหมาะสมกับการคดั กรองคนจำนวนมาก ขอ้ ควรระวัง : การปนเปือ้ นและตดิ เชอ้ื จากทางหกู รณีไม่เปลีย่ นปลอกห้มุ 4) เคร่อื งวัดอุณหภูมิทางหน้าผาก เปน็ เคร่ืองท่ีพัฒนามาเพอื่ ลดโอกาสในการติดเชอ้ื ของเครอ่ื งวัด อุณหภูมิในชอ่ งหู แต่ยงั คงวดั อณุ หภูมิ 96 ได้อยา่ งรวดเร็ว เพื่อใช้ในการคัดกรองผู้ป่วยจำนวนมาก มหี น้าจอ แสดงผลเป็นแบบตัวเลข บรเิ วณปลายมีเซน็ เซอร์วดั รงั สอี นิ ฟราเรดที่ผิวหนัง โดยเคร่อื งมอื ได้ออกแบบใหว้ ดั ที่ บริเวณหนา้ ผาก ขอ้ ดี : อ่านค่าอุณหภูมไิ ดร้ วดเร็ว เหมาะสมกบั การคดั กรอง

วธิ กี ารวดั อุณหภมู ทิ างหน้าผาก 1. ตั้งคา่ การใชง้ านเป็นแบบวัดอุณหภูมริ ่างกาย (Body Temperature) เครอ่ื งวัดอุณหภมู ิทางหน้าผากมี 2 แบบ คือ - แบบวัดอณุ หภมู ิพน้ื ผิว (Surface Temperature) ใช้ วดั อณุ หภมู ิวตั ถุทั่วไป เชน่ ขวดนม อาหาร - แบบวดั อุณหภมู ริ า่ งกาย (Body Temperature) ใช้วดั อุณหภมู ผิ วิ หนงั จะแสดงคา่ เปน็ อุณหภมู ิ ร่างกาย 2. วัดอุณหภมู ิ โดยเคร่ืองวดั อณุ หภมู ไิ ปที่บริเวณหน้าผาก ระยะห่างประมาณ 3 เซนติเมตร ทง้ั น้ี ขน้ึ อยู่กับผลติ ภัณฑต์ ามคาแนะนาที่กำหนด แลว้ กดป่มุ บันทึกผลการวัด ขณะทาการวัด ไม่ควรส่ายมือไปมาบน ผิวหนังบรเิ วณท่ีทาการวดั และไม่ควรมวี ตั ถุอ่ืนบัง เช่น เสน้ ผม หมวก หนา้ กาก เหง่ือ เปน็ ตน้ การอ่านค่าผลการอ่านค่าผลการวดั เมื่อมีสัญญาณเสยี งหรอื สัญลักษณ์ แสดงวา่ ทาการวัดเสรจ็ หาก อ่านค่าผลไม่ชดั เจน สามารถวัดได้ คา่ ผลการวัดไม่เท่ากนั ให้ใช้ค่าผลมากที่สดุ โดยทวั่ ไปอุณหภมู ิ รา่ งกายปกติ อยใู่ นช่วงระหว่าง 36.1-37.2 องศาเซลเซียส หากตรวจวดั อุณหภมู ริ ่างกาย ตงั้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป ถือว่า มีใช้ ต้องไดร้ ับการตรวจวนิ ิจฉัยตอ่ ไป ข้อควรระวัง ➢ ศึกษาคมู่ อื การใชง้ านเคร่อื งวดั อุณหภูมิก่อนการใช้งาน ➢ เครื่องวัดอุณหภมู ผิ วิ หนังควรอยใู่ นสภาวะแวดล้อมของพ้ืนที่ทำการวัดไม่น้อยกว่า 30 นาที เพ่อื ให้อณุ หภมู ขิ องเคร่ืองวดั เท่ากับอณุ หภูมิแวดล้อม ➢ ไม่ควรสัมผสั หรือหายใจบนเลนส์ของหวั วัด หากมสี ง่ิ สกปรกบนเลนส์ให้ใช้ผา้ นุ่มแหง้ หรือ สำลพี ันกา้ นไม้ทำความสะอาด ไมค่ วรเชด็ ด้วยกระดาษทิชชู ผรู้ บั การตรวจวดั วังควรอยใู่ นบริเวณจดุ ตรวจวัต อยา่ งนอ้ ย 5 นาที ก่อนการวัด ไมค่ วรออกกำลังกายหรอื อาบนำ้ ก่อนถูกวัดอณุ หภูมิเปน็ เวลาอย่างนอ้ ย 30 นาที การถือเครือ่ งวดั อณุ หภมู ิหนา้ ผากเป็นเวลานานมีผล ใหอ้ ุณหภูมิภายในของเครื่องวดั สงู ขึน้ และจะส่งผล การวดั อุณหภูมริ า่ งกายผดิ พลาด ➢ อุณหภมู ิรา่ งกายข้ึนอยูก่ ับการเผาผลาญพลงั งานของแต่ละคน เสอื้ ผ้าท่ีสวมใสขณะทำการวดั อณุ หภมู ิแวดล้อม กจิ กรรมท่ีทำ ผ้ทู ี่มีประวัติใชห้ รือวดั อุณหภมู ิภายใต้ ตง้ั แต่ 375 องศาเซลเซียส ขนึ้ ไป ร่วมกับอาการทางเดินหายใจ อย่างใดอยา่ งหน่ึง (มีนำ้ มกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไมร่ รู้ ส) และมีประวตั ิสัมผัสใกล้ชดิ กบั ผู้ปว่ ยยนื ยัน ในชว่ ง 14 วนั ก่อนมีอาการ ถอื วา่ เปน็ ผู้สมั ผสั ความเสยี่ ง (กล่มุ เสยี่ ง) ตอ้ งรบี แจ้งเจ้าหน้าท่ี สาธารณสขุ ดำเนนิ การตอ่ ไป

ขน้ั ตอนการซกั ประวตั ิและสงั เกตอาการเสีย่ ง โดยสอบถามเกย่ี วกับประวตั ิการสมั ผสั ในพืน้ ท่เี สี่ยง พืน้ ทท่ี ่ีมผี ูป้ ่วยติดเช้ือ หรอื พืน้ ทีท่ ่ีมคี นจำนวนมาก และ สงั เกตอาการเสีย่ งต่อการติดเชอ้ื หรอื อาการทางเดินหายใจ เช่น ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ย หอบ ไม่ให้กล่นิ ไม่รรู้ ส เป็นต้น โดยมีวธิ ีปฏบิ ัติ ดังน้ี 1) จดั ต้ังจุดคดั กรองบรเิ วณทางเขา้ ของสถานศกึ ษา พจิ ารณากำหนดจุดคดั กรองตามความเหมาะสม กบั จำนวนนักเรยี น โดยยดึ หลัก Secial distancing 2) วดั อุณหภมู ิตามคำแนะนำของเครอื่ งวดั อณุ หภูมติ ามผลติ ภัณฑ์นั้น พรอ้ มอ่านคา่ ผลที่ได้ (มากกวา่ 37.5 องศาเซลเซียส ถือวา่ มใี ช้) 3) ใหผ้ รู้ ับการตรวจคัดกรองลา้ งมือดว้ ยสบู่และนำ้ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือ 4) ตรวจสอบการสวมหน้ากาก (Check mask) ของบุคคลทุกคนทเ่ี ข้ามาในสถานศกึ ษา 5) สอบถามและซักประวัตกิ ารเคยไปสมั ผสั ในพืน้ ทเ่ี สย่ี ง พืน้ ท่ที มี่ ีผ้ปู ว่ ยตดิ เชื้อ หรือพ้นื ที่ทมี่ ี คนจำนวนมากและสังเกตอาการเสยี่ งตอ่ การติดเชื้อหรืออาการทางเดนิ หายใจ เชน่ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บ คอ หายใจ ลำบากบาก เหน่อื ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลน่ิ ไมร่ ้รู ส เปน็ ต้น รวมถึงบนั ทกึ ผลลงในแบบบนั ทกึ การตรวจคดั กรองสขุ ภาพ สำหรบั หรับ นกั เรียน บุคลากร หรือผูม้ าติดต่อในสถานศึกษา (ภาคผนวก) กรณี วดั อุณหภมู ิร่างกายได้ ไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซียส และไม่มีอาการทางเดนิ หายใจ (ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจสบาย เหนอ่ื ยหอบ ไมใ่ หก้ ลิน่ ไม่รรู้ ส) ไม่มปี ระวัตสิ มั ผัสใกล้ชดิ กับผปู้ ่วยยนื ยนั ในช่วง 14 วัน ก่อนมอี าการ ถือว่า ผ่านการคัดกรอง จะตดิ สญั ลักษณห์ รือสตก๊ิ เกอร์ ให้เข้าเรียนหรอื ปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามปกติ กรณี วดั อณุ หภูมริ ่างกาย ตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึน้ ไป หรอื มใี ช้ ร่วมกับอาการทางเดนิ หายใจ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ (ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ไดก้ ลน่ิ ไมร่ ู้รส) ให้ปฏิบตั ิ ดังน้ี ➢ แยกนกั เรียนไปไว้ท่หี อ้ งแยกซง่ึ จดั เตรยี มไว้ ➢ บนั ทึกรายช่อื และอาการป่วย ➢ ประเมนิ ความเสี่ยง ➢ แจง้ ผ้ปู กครอง ➢ หากไมม่ ีประวัติเสี่ยง ให้พานกั เรียนไปพบแพทย์ และให้หยุดพกั จนกวา่ จะหายเปน็ ปกติ หากตรวจพบว่า มีประวัติเลยี้ ง และ/หรือมีประวัตสิ ัมผัสใกล้ชิดกบั ผู้ป่วยยืนยนั หรอื สงสัย มปี ระวัติ เดินทางไปในพน้ื ทเ่ี สยี่ งหรือพน้ื ท่ีเกิดโรค ไปในพนื้ ท่ที ่มี คี นแออัดจำนวนมาก ในชว่ ง 14 วนั กอ่ นมีอาการ ถือวา่ เป็นผสู้ ัมผัสทีม่ ีความเส่ียง (กลมุ่ เส่ยี ง) โดยจำแนกเป็นกลมุ่ เส่ยี งมปี ระวัติเสี่ยงสงู และกล่มุ เสีย่ งมปี ระวตั เิ ส่ียงต่ำ ให้ปฏิบัติ ดังน้ี กลุ่มเส่ียงมปี ระวตั ิเสย่ี งสูง ➢ แยกนักเรยี นไปไว้ทห่ี ้องแยกซ่งึ จัดเตรียมไว้ ➢ บนั ทึกรายชอ่ื และอาการปว่ ย ➢ แจ้งผปู้ กครอง ให้มารบั นกั เรยี น แล้วพาไปพบแพทย์

➢ แจง้ เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขประเมินสถานการณก์ ารสอบสวนโรค ➢ ทำความสะอาดจุดเสี่ยงและบริเวณโดยรอบ ➢ เกบ็ ตัวอย่าง ➢ กักตัวอยู่บ้านติดตามอาการใหค้ รบ 14 วนั ➢ ครูรวบรวมข้อมลู และรายงานผลให้ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ผู้เกี่ยวข้อง กล่มุ เสย่ี งมปี ระวัติเสี่ยงตำ่ ➢ แยกนกั เรียนไปไวท้ ี่ห้องแยกซงึ่ จดั เตรยี มไว้ ➢ บนั ทกึ รายชอ่ื และอาการปว่ ย ➢ แจง้ ผู้ปกครอง ให้มารับนักเรยี น แล้วพาไปพบแพทย์ ➢ แจ้งองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ➢ แจง้ ท้องถิน่ ทำความสะอาด จดุ เส่ยี ง และบรเิ วณโดยรอบ ติดตามอาการให้ครบ 14 วนั ➢ ครรู วบรวมข้อมูลและรายงานผลให้ผู้บริหารสถานศึกษาผเู้ กยี่ วขอ้ ง

แนวปฏิบัติสำหรบั สถานศกึ ษาระหวา่ งเปิดภาคเรียน ผู้ท่ีมีประวัติไขห้ รอื วดั อุณหภูมติ ายได้ ต้งั แต่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ขึ้นไป รว่ มกับอาการทางเดินหายใจ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ (มนี ้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น ไมร่ ู้รส) และมปี ระวัติสัมผัสใกล้ชิด กับผปู้ ่วยยืนยัน ในชว่ ง 14 วนั กอ่ นมอี าการ ถอื ว่า เป็นผ้สู ัมผัสความเสย่ี ง (กลมุ่ เสย่ี ง) ตอ้ งรบี แจง้ เจ้าหนา้ ท่ี สาธารณสขุ ดำเนนิ การตอ่ ไป หลักปฏิบัติในการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในสถานศกึ ษา 1) คดั กรอง (Screening) : ผทู้ เ่ี ข้ามาในสถานศึกษาทุกคน ต้องไดร้ บั การคัดกรองวัดอุณหภูมริ า่ งกาย 2) สวมหนา้ กาก (Mask) : ทกุ คนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาท่อี ยูใ่ น สถานศึกษา 3) ล้างมอื : ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ดว้ ยสบู่และนำ้ นานอย่างน้อย 20 วนิ าที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing) หลกี เลยี่ งการสมั ผสั บริเวณจุดเสย่ี ง เช่น ราวบันได ลกู บดิ ประตู เปน็ ตน้ รวมทง้ั ไม่ใช้มือสมั ผัส ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไม่จำเป็น 4) เวน้ ระยะหา่ ง : เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร รวมถึงการจัดเวน้ ระยะห่าง (Social Distancing) ของสถานที่ 5) ทำความสะอาด : เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ให้อากาศถ่ายเท ทำความสะอาดห้องเรยี นและบรเิ วณตา่ ง ๆ (Cleaning) โดยเช็ดทำความสะอาดพ้นื ผวิ สัมผัสของโต๊ะ เก้าอี้ และวัสดอุ ปุ กรณ์ ก่อนเข้าเรยี น ชว่ งพักเทีย่ ง และหลังเล็กเรยี นทกุ วนั รวมถึงจัดให้มถี ังขยะมลู ฝอยแบบมีฝาปิด และรวบรวมขยะออกจากห้องเรียน เพือ่ นำไปขัดทกุ วนั 6) ลดแออัด (Reducing) : ลิตระยะเวลาการทำกิจกรรมใหส้ น้ั ลงเทา่ ท่ีจำเป็นหรอื เหล่ือมเวลาทำ กจิ กรรมและหลกี เส่ียงการทำกจิ กรรมรวมตวั กนั เป็นกลุ่มลดแออดั จุดเนน้ หนักถอื ปฏบิ ตั ิในโรงเรยี นรองรับสถานการณโ์ ควิด 19 1.วัดไข้ 6.ลดแออัด 6 ข้อปฏบิ ัติ 2.ใส่ ผู้บริหาร ในโรงเรียน หน้ากาก โรงเรียน 5.ทาความ สะอาด 4.เว้น 3.ล้างมือ ครู ระยะห่าง ผ้ปู กครอง นกั เรียน แม่ครัว แม่ค้า นักการ

เพ่อื ใหแ้ นวปฏบิ ัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เกดิ ประโยชน์ และ มผี ลกระทบในทางท่ีดตี ่อบคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหาร เจา้ ของสถานศกึ ษา ครู ผู้ดแู ลนกั เรียน ผปู้ กครอง นักเรยี น และแมค่ รัว ผู้จำหน่ายอาหาร ผ้ปู ฏบิ ัติงานทำความสะอาด ดังนัน้ จงึ กำหนดให้มแี นว ปฏบิ ตั ิสำหรบั บุคลากรของสถานศึกษาสำหรบั ใช้เปน็ แนวทางการปฏิบัตติ นอย่างเครง่ ครดั มดี งั น้ี แนวปฏบิ ตั ิสำหรับผบู้ รหิ าร เจ้าของสถานศึกษา 1. ประกาศนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในสถานศึกษา 2. จัดตงั้ คณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ประกอบดว้ ย ครนู กั เรยี น ผปู้ กครอง เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข ท้องถิน่ ชมุ ชน และผู้เกย่ี วขอ้ ง พรอ้ มบทบาท หน้าท่ี 3. ทบทวน ปรับปรงุ ซอ้ มปฏิบัติตามแผนฉกุ เฉินของสถานศึกษาในภาวะทมี่ ีการระบาดของโรคติดเชอื้ (Emergency operation for infectious disease outbreaks) 4. สื่อสารประชาสมั พนั ธ์การปอ้ งกันโรคโควิด 19 เกีย่ วกบั นโยบาย มาตรการ แนวปฏิบตั ิ และการ จดั การเรียนการสอนใหแ้ กค่ รู นักเรยี น ผูป้ กครอง และคณะกรรมการสถานศึกษา ผ่านช่องทางสอ่ื ท่ีเหมาะสม และติดตามขอ้ มลู ข่าวสารที่เกยี่ วข้องกบั โรคโดวิด 19 จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่เช่ือถือได้ 5. ส่ือสารทำความเขา้ ใจเพ่อื ลดการรังเกียจและลดการท่ตี ราทางสงั คม (Social stigma) กรณอี าจพบ บคุ ลากรในสถานศึกษา นกั เรียน หรอื ผูป้ กครองติดเช้อื โรคโควิด 19 6. มมี าตรการคดั กรองสุขภาพทุกคน บรเิ วณจุดแรกเขา้ ไปในสถานศึกษา (Point of entry) ใหแ้ ก่ นกั เรียน ครู บคุ ลากร และผ้มู าติดต่อ และจดั ใหม้ ีพ้ืนท่ีแยกโรค อุปกรณป์ ้องกัน เช่น หนา้ กากผ้าหรือหน้ากาก อนามยั เจลแอลกอฮอล์ อยา่ งเพียงพอ รวมถงึ เพ่ิมช่องทางการส่ือสารระหว่างครู นักเรียน ผ้ปู กครอง และ เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข ในกรณที ี่พบนกั เรียนกลมุ่ เสี่ยงหรือสงสัย 7. ควรพิจารณาการจัดให้นกั เรยี นสามารถเข้าถงึ การเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบรบิ ท ได้ อยา่ งต่อเนือ่ ง ตรวจสอบตดิ ตาม กรณีนักเรยี นขาดเรียน ลาป่วย การปิดสถานศกึ ษาการจัดใหม้ ีการเรียน ทางไกล ส่ือออนไลน์ การตดิ ตอ่ ทางโทรศัพท์ Social media โดยตดิ ตามเป็นรายวัน หรือสัปดาห์ 8. กรณพี บนักเรยี น ครู บุคลากร หรือผปู้ กครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผปู้ ่วยยืนยันเขา้ มาในสถานศกึ ษา ใหร้ ีบแจ้งเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุขในพนื้ ที่ เพอื่ ดำเนินการสอบสวนโรคและพิจารณาปดิ สถานศกึ ษา ตามแนวทาง ของกระทรวงสาธารณสุข 9. มมี าตรการใหน้ ักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นมตามสทิ ธิท์ ่ีควรไดร้ ับ กรณพี บอยู่ใน กลมุ่ เสยี่ งหรอื กกั ตัว 10.ควบคุม กำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควิด 19 ในสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครัดและตอ่ เนื่อง

แนวปฏบิ ตั ิสำหรับครู ผู้ดแู ลนกั เรยี น 1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรค พ้นื ทเ่ี สีย่ ง คำแนะนำการป้องกันตนเอง และลดความเสีย่ งจากการแพรก่ ระจายของเชอื้ โรคโควิด 19 จากแหล่งขอ้ มลู ที่เช่อื ถือได้ 2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการใช้ ไอ มีนน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ลนิ่ ไมร่ รู้ ส ให้หยุดปฏิบัตงิ าน และรีบไปพบแพทย์ทนั ที กรณมี ีคนในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคโควิด 19 หรอื กลับจากพืน้ ทเี่ สีย่ งและอยใู่ นชว่ งกกั ตัว ใหป้ ฏิบตั ติ ามคำแนะนําของเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครัด 3. แจ้งผ้ปู กครองและนกั เรยี น ใหน้ ําของใชส้ ่วนตวั และอุปกรณ์ปอ้ งกนั มาใช้เปน็ ของตนเอง พรอ้ มใช้ เชน่ ช้อน สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสฟี ัน ยาสีฟนั ผา้ เช็ดหน้า หนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามัย เปน็ ต้น 4. สอ่ื สารความรูค้ ำแนะนาํ หรอื จัดหาสอื่ ประชาสัมพนั ธ์ในการป้องกนั และลดความเส่ยี งจากการ แพรก่ ระจายโรคโควิด 19 ใหแ้ ก่นักเรยี น เชน่ สอนวิธกี ารล้างมอื ทถ่ี ูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากาก อนามัย คำแนะนําการปฏบิ ัตติ ัว การเวน้ ระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาด หลกี เลย่ี งการทำกิจกรรม ร่วมกัน จำนวนมากเพ่อื ลดความแออัด 5. ทำความสะอาดสอ่ื การเรียนการสอนหรืออปุ กรณข์ องใช้รว่ มทเี่ ป็นจุดสัมผัสเสยี่ ง ทุกครั้งหลังใช้งาน 6. ควบคุมดูแลการจัดที่น่งั ในห้องเรยี น ระหว่างโตะ๊ เรยี น ที่น่ังในโรงอาหาร การจัดเวน้ ระยะห่าง ระหวา่ งบคุ คลอยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร หรอื เหล่อื มเวลาพักกนิ อาหารกลางวนั และกำกับให้นกั เรียน สวม หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา และล้างมือบอ่ ย ๆ 7. ตรวจสอบ กำกับ ตดิ ตามการมาเรยี นของนักเรียนขาดเรยี น ถูกกักตวั หรืออย่ใู นกลมุ่ เสยี่ งตอ่ การ ตดิ โรคโควิด 19 และรายงานต่อผูบ้ ริหาร 8. ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนที่เขา้ มาในสถานศึกษาในตอนเชา้ ท้ังนกั เรียน ครู บคุ ลากร และ ผู้มาติดต่อโดยใช้เครือ่ งวัดอณุ หภมู ริ า่ งกาย พรอ้ มสงั เกตอาการและสอบถามอาการของ ระบบทางเดนิ หายใจ เชน่ ใช้ไอ มีนำ้ มูก เจบ็ คอ หายใจลําบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ใหก้ ล่ิน ไม่รรู้ ส โดยติดสญั ลักษณ์ สตก๊ิ เกอรห์ รือ ตราป้ัม แสดงใหเ้ หน็ ชัดเจนว่า ผา่ นการคดั กรองแลว้ กรณพี บนกั เรียนหรือผูม้ ีอาการมีใช้ อณุ หภมู ิรา่ งกายต้งั แต่ 37.5 องศาเซลเซียสขนึ้ ไป ร่วมกบั อาการ ระบบทางเดินหายใจอย่างใดอยา่ งหนงึ่ จัดใหอ้ ยใู่ นพืน้ ที่แยกสว่ น ให้รีบแจง้ ผปู้ กครองมารับและ พาไปพบ แพทย์ ใหห้ ยุดพกั ที่บ้านจนกว่าจะหายเปน็ ปกติ พร้อมแขง็ เจา้ หน้าท่สี าธารณสุขเพื่อประเมนิ สถานการณ์และ ดำเนินการสอบสวนโรค และแจ้งผูบ้ ริหารเพอื่ พิจารณาการปิดสถานศึกษาตามมาตรการ แนวทางของ กระทรวงสาธารณสขุ - บันทึกผลการคัดกรองและส่งตอ่ ประวัตกิ ารปว่ ย ตามแบบบันทึกการตรวจสขุ ภาพ เช็ดอุปกรณก์ าร ลา้ งมอื พรอ้ มใชง้ านอย่างเพยี งพอ เชน่ เจลแอลกอฮอลว์ างไวบ้ รเิ วณทางเข้า สบู่ล้างมอื บรเิ วณอ่างล้างมือ

แนวปฏิบัติสำหรบั นกั เรยี น 1. ตดิ ตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พืน้ ที่เสย่ี ง คำแนะนำการ ปอ้ งกันตนเองและลดความเสย่ี งจากการแพรก่ ระจายของโรคโควิด19 จากแหล่งขอ้ มูลทเ่ี ชอ่ื ถอื ได้ 2. สงั เกตอาการป่วยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไมไ่ ด้ กลิ่น ไม่รู้รส รีบแจง้ ครหู รือผ้ปู กครองใหพ้ าไปพบแพทย์ กรณีมคี นในครอบครัวปว่ ยด้วยโรคโควี19 หรือกลับ จากพ้ืนท่เี สีย่ งและอยู่ในช่วงกักตัว ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด 3. มแี ละใช้ของใช้สว่ นตัว ไมใ่ ชร้ ่วมกับผู้อืน่ เช่น ช้อน สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผา้ เชด็ หนา้ หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั และทำความสะอาดหรือเกบ็ ให้เรียบรอ้ ย ทกุ ครั้งหลังใชง้ าน 4. กรณีนักเรียนดม่ื นำบรรจขุ วด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครอื่ งหมายหรอื สัญลักษณ์เฉพาะ ไมใ่ ห้ปะปนกบั ของคนอ่ืน 5. หม่ันลา้ งมอื บ่อย ๆ ดว้ ยวิธลี ้างมอื 7 ขนั้ ตอน อยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที ก่อนกนิ อาหาร หลังใชส้ ว้ ม หลกี เลีย่ งใชม้ อื สัมผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเปน็ รวมถงึ สรา้ งสุขนสิ ยั ทดี่ ีหลังเล่นกับเพ่ือน เม่ือกลบั มาถงึ บ้าน ตอ้ งรีบอาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนเสอ้ื ผา้ ใหม่ทนั ที 6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก และ หลังเลกิ เรียน เช่น น่ังกินอาหาร เลน่ กับเพอ่ื น เขา้ แถวต่อตัว ระหว่างเดินทางอย่บู นรถ 7. สวมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาทอ่ี ยใู่ นสถานศกึ ษา 8. หลีกเลย่ี งการไปในสถานทที่ ่ีแออัดหรือแหล่งชมุ ชนที่เสี่ยงตอ่ การติดโรคโควดิ 19 9. ดแู ลสุขภาพให้แข็งแรง ด้วยการกนิ อาหารปรุงสุก รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผัก ผลไม้5 สี เสรมิ สร้างภมู คิ ้มุ กัน ควรเสรมิ อาหารเช้าจากบ้าน หรือให้ผ้ปู กครองจดั เตรียมอาหารกลอ่ ง (Box Set) กินท่ี โรงเรียนแทน รวมถงึ ออกกำลังอยา่ งน้อย 60 นาที ทกุ วัน และนอนหลับอย่างเพียงพอ 9 - 11 ชวั่ โมงตอ่ วนั 10. กรณนี กั เรยี นขาดเรยี นหรือถูกกักตัว ควรตดิ ตามความคืบหน้าการเรยี นอยา่ งสมำ่ เสมอปรกึ ษาครู เชน่ การเรียนการสอน สอื่ ออนไลน์ อา่ นหนังสือ ทบทวนบทเรียน และทำแบบฝึกหดั ทีบ่ า้ น 11. หลกี เลี่ยงการลอ้ เลียนความผดิ ปกตหิ รืออาการไมส่ บายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะกอ่ ใหเ้ กดิ ความ ความหวาดกลวั มากเกนิ ไปต่อการป่วยหรือการติดโรคโควิด 19 และเกิดการแบง่ แยกกดี กันในหม่นู กั เรยี น บทบาทหนา้ ท่ีของนกั เรียนแกนนำดา้ นสุขภาพ นกั เรยี นทีม่ จี ติ อาสาเปน็ อาสาสมคั รชว่ ยดูแลสขุ ภาพเพอื่ นนักเรียนดว้ ยกันหรอื ตูแลรุ่นนอ้ งดว้ ย เช่น สภานกั เรยี น เด็กไทยทำได้ อย.น้อย. ยุวอาสาสมคั รสาธารณสุข (ยุวอสม.) 1. ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรค พ้ืนที่เสย่ี ง คำแนะนำการป้องกันตนเอง และลดความเส่ียงจากการแพรก่ ระจายของโรคโควิด 19 จากแหล่งขอ้ มูลที่เชอ่ื ถือได้ 2. ชว่ ยครตู รวจคัดกรองวดั อณุ หภูมริ า่ งกายของนักเรยี นทุกคนท่ีมาเรยี น ในตอนเชา้ ทางเขา้ โดยมีครู ดูแลใหค้ ำแนะนำอย่างใกลช้ ดิ เนน้ การจดั เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งน้อย 1-2 เมตร 3.ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนทุกคนที่มาโรงเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย หากพบนักเรียนไมไ่ ด้สวม ใหแ้ จ้งครผู รู้ บั ผิดชอบ เพอื่ จัดหาหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยสำรองให้

4.เฝ้าระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบากเหนื่อยหอบ ไม่ได้กลน่ิ ไมร่ ูร้ ส ใหร้ บี แจ้งครทู ันที 5. จัดกจิ กรรมสอื่ สารใหค้ วามรคู้ ำแนะนำการปอ้ งกันและลดความเสี่ยงการแพรก่ ระจายโรคโควิด 19 แก่เพื่อนนักเรียนเชน่ สอนวิธีการล้างมือท่ีถูกต้อง การทำหน้ากากผ้า การสวมหน้ากาก การถอดหน้ากากผ้า กรณเี ก็บไวใ้ ช้ตอ่ การทำความสะอาดหนา้ กากผ้า การเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล จดั ทำปา้ ยแนะนำต่างๆ 6.ตรวจอปุ กรณข์ องใชส้ ่วนตัวของเพอ่ื นนักเรยี นและร่นุ น้อง ให้พร้อมใชง้ านเน้นไมใ่ ช้รว่ มกับผอู้ นื่ 7.จัดเวรทำความสะอาดห้องเรยี น ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดเสีย่ งทุกวัน เช่น ลูกบิดประตู กลอน ประตู ราวบันได สนามเด็กเลน่ อปุ กรณก์ ฬี า เครือ่ งดนตรคี อมพวิ เตอร์ 8.เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัตติ ัวเพื่อป้องกนั โรคโควิด 19 ด้วยการสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก อนามัย ลา้ งมอื บอ่ ยๆ กนิ อาหารใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วนำ้ ของตนเอง การเวน้ ระยะห่างเปน็ ต้น โดยถือปฏิบัติ เปน็ สุขนิสัยกิจวัตรประจำวันอยา่ งสม่ำเสมอ แนวปฏิบตั ิสำหรบั ผปู้ กครอง 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยงคำแนะนำ การปอ้ งกันตนเองและลดความเสย่ี งจากาการแพร่กระจายของโรค จากแหลง่ ขอ้ มูลทเี่ ชยี ถือได้ 2. สงั เกตอาการป่วยของบตุ รหลาน หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มูกเจ็บคอ หายใจลำบาก เหนอื่ ย หอบ ไม่ไดก้ ล่ิน ไมร่ รู้ ส ใหร้ บี พาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอ่ืน ให้พักผ่อนอยู่ท่ีบ้าน จนกว่าจะ หายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคโครีม 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง อยู่ ในชว่ งกกั ตัวให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด 3. จัดหาของใช้ส่วนตัวให้บุตรหลานอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หนา้ กากผ้าชอ้ น สอ้ ม แกว้ น้ำ แปรงสฟี นั ยาสฟี ัน ผ้าเชด็ หน้า ผา้ เช็ดตัว 4. จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ และกำกับดูแลบุตรหลานให้ลา้ งมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วมหลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลัง เลน่ กับเพ่ือนและเมื่อกลับมาถึงบา้ น ควรอาบนำ้ สระผม และเปล่ียนชุดเส้อื ผา้ ใหมท่ ันที 5. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ 5 หมู่และผัก ผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่อง(Box Setให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทน การซื้อจากโรงเรียน (กรณีที่ไม่ได้กินอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อยา่ งนอ้ ย 60 นาที ทุกวนั และนอนหลับอย่างเพียงพอ 9-11 ช่วั โมงตอ่ วัน 6. หลีกเลี่ยงการพาบุตรหลานไปในสถานเสียงตอ่ การติดโรคโควิด 19 สถานที่แออัดที่มกี าร รวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ 7 ขน้ั ตอน ดว้ ยสบู่ และน้ำนาน 20 วนิ าที (ให้นักเรยี นรอ้ งเพลงแฮปปีเ้ บิรธ์ เดย์ 2 ครงั้ พร้อมกับล้างมือ) หรือใชเ้ จลแอลกอฮอล์

7. กรณมี ีการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ออนไลน์ ผ้ปู กครองควรให้ความร่วมมือกับครูใน การดแู ลจดั การเรยี นการสอนแก่นกั เรียน เช่น การส่งการบ้าน การรว่ มทำกจิ กรรม เปน็ ต้น แนวปฏิบตั ิสำหรับแม่ครัว ผู้จำหน่ายอาหาร และผูป้ ฏบิ ตั ิงานทำความสะอาด 1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 พื้นที่เสี่ยงคำแนะนำ การป้องกันตนเองและสตคิ วามเสย่ี งจากการแพรก่ ระจายของโรค จากแหล่งข้อมูลทเี่ ชอ่ื ถอื ได้ 2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูกเจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อย หอบ ไม่ได้กล่นิ ไม่ร้รู ส ใหห้ ยดุ ปฏิบัติงานและรีบไปพบแพทยท์ นั ที กรณมี ีคนในครอบครวั ปว่ ยด้วยโรค โควิด 19 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข อย่างเครง่ ครัด 3. ล้างมือบอ่ ย ๆ ด้วยสบู่และนำ้ ก่อน - หลังปรุงและประกอบอาหาร ขณะจำหน่ายอาหาร หลงั สมั ผัสสิง่ สกปรก เมือ่ จับเหรียญหรอื ธนบัตร หลงั ใช้สว้ ม ควรล้างมอื ด้วยสบ่แู ละน้ำหรอื ใช้ เจลแอลกอฮอล์ และหลีกเลย่ี งการใชม้ อื สมั ผัสใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น 4.ขณะปฏบิ ัตงิ านของผูส้ มั ผสั อาหาร ตอ้ งสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถงุ มือ สวมหน้ากาก ผ้าหรือหน้ากากอนามยั และปฏิบตั ิตนตามสขุ อนามยั สว่ นบคุ คลท่ถี ูกตอ้ ง 5. ปกปิดอาหาร ใส่ถุงมือและใช้ที่คืบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยิบจับอาหารพร้อมกัน โดยตรง และจัดใหแ้ ยกกนิ ส่วนกรณีรา้ นจำหนา่ ยอาหารสำเร็จรปู พร้อมกนั ไม่ควรใช้มือสมั ผัสลงไปใน ถงุ บรรจอุ าหารกอ่ นตักอาหาร 6. จดั เตรยี มเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี เพื่อเสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกัน ปรุงสุกใหม่ ให้นักเรียนกิน ภายในเวลา 2 ชั่วโมง หากเกินเวลาดังกล่าว ให้นำอาหารไปอุ่นจนเดือด แล้วนำมา เสร์ฟิ ใหม่ กรณีท่ีไม่สามารถจัดเหลอื มเวลาสำหรบั เดก็ ในมอื้ กลางวันให้เตรยี มอาหารกลอ่ งแทน และรับประทานทีโ่ ตะ๊ เรียน 7. จดั เตรียมกระดาษสำหรบั สั่งรายการอาหาร หรือชอ่ งทางอื่นเพอ่ื ลดการพูดคุยและสมั ผัส 8. ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวมหน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั สวมถงุ มอื ยาง ผ้ายางกนั เปื้อน รองเท้าพ้นื ยางหุ้มแข็ง 9. การเก็บขยะ ควรใช้ปากคีบตามยาวเก็บขยะ ใส่ถุงขยะปิดปากถุงให้มิดชิดและนำไป รวบรวมไว้ทีพ่ ักขยะ 10.เมอ่ื ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ ทุกครัง้ ตอ้ งล้างมือบอ่ ย ๆ และเม่อื กลับมาถึงบ้าน ควรรีบอาบน้ำสระ ผมเปลย่ี นเส้อื ผา้ ใหมท่ ันที คำแนะนำในการทำความสะอาด 1. จัดเตรียมอุปกรณ์ทำความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยา ฟอกขาวอุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถงั น้ำ ไมถ้ พู ื้น ผ้าเช็ดทำความสะอาด อปุ กรณ์ป้องกันอันตรายส่วน

บุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ฮาที่ ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะนำมาเปลี่ยนหลังทำความ สะอาด 2. เลอื กใช้ผลติ ภัณฑ์ทำความสะอาดพื้นผวิ ที่เหมาะสม ก.กรณีส่งิ ของอุปกรณ์เคร่ืองใช้ แนะนำให้ใช้แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5%ในการเช็ดทำความสะอาด ข.กรณีเป็นพืน้ ท่ขี นาดใหญ่ เช่น พ้ืนหอ้ ง แนะนำใหใ้ ชผ้ ลติ ภัณฑ์ทม่ี สี ว่ นผสมของโซเดียมไฮโป คลอไรท์0.1% (น้ำยาซกั ผา้ ขาว) หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% ค. ตรวจสอบคณุ ลักษณะของน้ำยาทำความสะอาดบนฉลากขา้ งขวดผลิตภัณฑ์ วันหมดอายุ รวมถึงพิจารณาการเลือกใชน้ ้ำยา ขึ้นอย่กู ับชนดิ พื้นผวิ วสั ดุ เช่น โลหะ หนงั พลาสตกิ 3. เตรียมนำ้ ยาทำความสะอาดเพื่อฆ่าเชื้อ ขึน้ อยกู่ บั ชนดิ และความเขม้ ข้นของสารท่ีเลือกใช้ โดยแนะนำให้เลือกใช้ผลิตภัณฑฆ์ า่ เชื้อที่มสี ่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในชื่อ “น้ำยา ฟอก ขาว) เนื่องจากหาซ้ือได้ง่าย โดยน้ำมาผสมกบั น้ำ เพ่อื ให้ได้ความเข้มขน้ 0.1% หรอื 1000 ส่วน ใน ลา้ นสว่ น ดงั นี้ - กรณี ผลิตภัณฑ์ มคี วามเข้มข้น 2.5 % ใหผ้ สม 40 มลิ ลลิ ติ ร (2.8 ชอ้ นโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลติ ร - กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มีความเข้มขน้ 5.76 ใหผ้ สม 18 มิลลิลติ ร (1.2 ช้อนโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลติ ร - กรณี ผลิตภณั ฑ์ มีความเข้มข้น 5% ให้ผสม 20 มิลลิลิตร (1.3 ชอ้ นโต๊ะ) : นำ้ 1 ลิตร - กรณี ผลติ ภณั ฑ์ มคี วามเข้มขน้ 6% ให้ผสม 17 มลิ ลลิ ิตร (1.1 ช้อนโตะ๊ ) : น้ำ 1 ลิตร หรือ อาจใช้ผลติ ภณั ฑฆ์ า่ เชอื้ ท่มี สี ว่ นผสมของไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ โดยนาํ มาผสมกบั น้ำ เพอ่ื ใหไ้ ด้ ความ เขม้ ข้น 0.5% หรอื 5000 ส่วนในลา้ นสว่ น ดังน้ี - กรณี ผลิตภณั ฑ์ มคี วามเข้มขน้ 5% ให้ผสม 110 มิลลิลติ ร (7.5 ชอ้ นโต๊ะ) : นำ้ 1 ลิตร - กรณี ผลติ ภัณฑ์ มคี วามเข้มช้ัน 3 % ใหผ้ สม 200 มสี ลลิ ิตร (13.5 ซ้อนโตะ๊ ) : นำ้ 1 ลิตร 4. สื่อสารใหค้ วามรู้ข้นั ตอนการทำความสะอาดทถี่ กู ต้อง เหมาะสม รวมทงั้ แนะนำสขุ อนามัย ในการ ดูแลตนเองกับผปู้ ฏบิ ตั งิ าน - ลา้ งมือดว้ ยสบแู่ ละน้ำ ก่อน – หลัง ทำความสะอาดทุกคร้ัง - สวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันตัวเองทุก ครงั้ เมอื่ ต้องทำความสะอาดและฆา่ เชือ้ - เปดิ ประตูหนา้ ตา่ ง ขณะทำความสะอาดเพือ่ ใหม้ ีการระบาย อากาศ - หากพื้นผิวสกปรก ควรททำความสะอาดเบื้องต้นก่อน เช่น นำผ้าชุบน้ำเช็ดบริเวณที่มีฝนุ่ หรอื คราบสกปรก ก่อนที่จะใชน้ ้ำยาทำความสะอาดเพ่ือฆา่ เช้ือ - ควรทำความสะอาดและฆ่าเชื้อทว่ั ทั้งบรเิ วณ กอ่ น – หลังใช้งานทุกครง้ั และเน้นบริเวณที่มี การสัมผสั หรือใชง้ านร่วมกันบอ่ ย ๆ เช่น ลกู บิดประตูรีโมทคอนโทรล ปมุ่ กดลฟิ ท์ ซ่งึ เป็นพื้นผิวขนาด เล็ก โดยนำผ้าสำหรบั เช็ดทําความสะอาดชุบนำ้ ยาฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ตามข้อ 2 หรือใช้ แอลกอฮอล์ 7096 หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% เช็ดทำความสะอาดและฆา่ เช้ือ

- สำหรบั พื้น ใช้ไมถ้ พู ื้นชุบด้วยนำ้ ยาฆ่าเชื้อท่เี ตรียมไวต้ ามข้อ 2 เรม่ิ ถูพ้นื จากมมุ หนึ่งไปยังอีก มุมหนงึ่ ไมซ่ ำ้ รอยเดิม โดยเร่มิ จากบริเวณท่สี กปรกนอ้ ยไปมาก - การทำความสะอาดห้องนำ้ ห้องส้วม ดว้ ยนำ้ ยาทำความสะอาดทวั่ ไป พ้ืนห้องส้วมใหฆ้ ่าเชื้อ โตย ราดนำ้ ยาฟอกขาวท่เี ตรียมไว้ตามข้อ 2 ทิ้งไว้อยา่ งนอ้ ย 10 นาที เชด็ เนน้ บริเวณท่ีรองนั่งโถส้วม ฝา ปิดโถส้วม ที่กดชักโครก สายชำระ ราวจับ ลูกบิดหรือกลอนประตู ที่แขวนกระดาษชำระอ่างลา้ ง มือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาวที่เตรียมไว้ตามข้อ 2 หรือใช้ แอลกอฮอล์ 70% หรือไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% - หลังทำความสะอาด ควรซกั ผา้ เช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพ้ืน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือ น้ำยาฆ่าเช้อื แลว้ ซกั ดว้ ยนำ้ สะอาดอีกคร้งั และนำไปฝั่งแดดให้แหง้ - ถอดถงุ มือแลว้ ล้างมอื ด้วยสบแู่ ละนำ้ หากเป็นไปได้ควรชำระลา้ งร่างกายและเปล่ียนเสื้อผ้า โดยเรว็ หรือรบี กลบั บา้ นอาบน้ำใหส้ ะอาดทันที - บรรจุภัณฑ์ใส่น้ำยาทำความสะอาด ควรคัดแยกออกจากขยะทั่วไป และทิ้งในถังขยะ อันตราย ส่วนขยะอื่น ๆ เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือ รวบรวมและทิ้งขยะลงในถุงพลาสติกถุงขยะ ซอ้ นสองชนั้ มัดปากถงุ ใหแ้ นน่ และนำไปทิง้ ทนั ที โดยทง้ิ รวมกบั ขยะทั่วไป 5 ขอ้ ควรระวัง - สารที่ใช้ฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่เป็นชนิดสารฟอกขาว อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง เน้อื เย่อื อ่อนควรระวังไม่ใหเ้ ขา้ ตาหรือสัมผัสโดยตรง - ไม่ควรผสมน้ำยาฟอกขาวกับสารทำความสะอาดอ่ืนทม่ี สี ่วนผสมของแอมโมเนยี - หลีกเลย่ี ง การใชส้ เปรยฉ์ ีดพ้นเพอ่ื ฆ่าเชอ้ื เนื่องจากอาจทำใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายของเช้อื โรค - ไม่ควรนำถุงมอื ไปใช้ในการทำกิจกรรมประเภทอื่น ๆ ใช้เฉพาะการทำความสะอาดเท่าน้ัน เพอ่ื ปอ้ งกันการแพร่กระจายของเชอ้ื - หลีกเล่ยี งการใช้มอื สัมผัสบริเวณใบหนา้ ตา จมกู และปาก ขณะสวมถงุ มือและระหว่างการ ทำความสะอาด รายการน้ำยาฆา่ เช้อื ในการทำความสะอาดจำแนกตามลกั ษณะพน้ื ผวิ ลักษณะพน้ื ผวิ ชนิดสารฆ่าเช้ือ ความ ระยะเวลา วธิ ีเตรียม เขม้ ขน้ ทฆี่ ่าเช้อื ท่ีฆา่ เชอื้ - พนื้ ผิวทัว่ ไป พื้นผิวที่เป็น แอลกอฮอล์ (เอทานอลหรือ โลหะ เอธิลแอลกอฮออล)์ - สิ่งของ อุปกรณ์ พื้นที่ 70% 10 นาที ขนาดเล็ก เช่น ลูกบิด ประตู

ลักษณะพ้ืนผิว ชนดิ สารฆา่ เชื้อ ความ ระยะเวลา วิธีเตรียม เขม้ ขน้ ที่ฆา่ เชอื้ ทฆี่ า่ เช้อื โซเดียมไฮโปคลอไรท์ ผสม 1 ส่วน ตอ่ - พื้นผวิ ที่เปน็ วัสดุแข็งไม่มี เชน่ นำ้ ยาฟอกขาว 0.1% รูพรุน เช่น พื้นกระเบื้อง น้ำ 49 สว่ น เซรามิก สแตนเลสแต่ไม่ 0.5% เหมาะกับผิวโลหะ (เช่น 1 ชอ้ นโต๊ะ 5-10 นาที ต่อนำ้ 1 ลิตร กรณี ผลิตภัณฑ์ ที่ใชม้ ีความ เขม้ ขน้ 6% ไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ ผสม 1 ส่วนต่อ - พื้นผิวทั่วไป (ไม่ใช่โลหะ นำ้ 5 ส่วน (เช่น หรือ ผลิตภัณฑ์ที่มีการ เคลอื บส)ี 1 นาที 13 ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ นำ้ 1 ลิตร กรณี ผลติ ภัณฑ์ท่ีใช้มี ความเข้มขน้ 3%

แนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม สถานศึกษาเป็นสถานที่ที่มคี นอยู่รวมกันจานวนมาก ทั้งนักเรียน ครู ผู้ปกครอง บุคลากร ผู มาติดตอ่ และผู้ประกอบการร้านคา้ กรณที น่ี กั เรียนตอ้ งทากจิ กรรมร่วมกับเพือ่ น ทาให้มีโอกาสใกล้ชิดกัน มาก ทาใหเ้ กิดความเสยี่ งตอ่ การแพร่กระจายของเช้ือโรคไดง้ ่าย จึงควรมีแนวปฏิบัตกิ ารจัดอาคารสถานที่ ดังนี้ 1. หอ้ งเรียน หอ้ งเรยี นรวม เชน่ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี 1) จัดโต๊ะ เกา้ อี้ หรือทีน่ งั่ ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร จัดทำ สญั ลักษณแ์ สดงจดุ ตำแหน่ง เวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล /จัดใหม้ กี ารสลับวนั เรียนแต่ละชัน้ เรียน ทงั้ นีอ้ าจพิจารณาวิธีปฏิบตั ิอื่นตามบริบทความเหมาะสม โดยยึดหลกั Social distancing 2) จดั ให้มกี ารเหล่ือมเวลาเรยี น การเรียนกลุม่ ยอ่ ย ตามบริบทสถานการณ์ และเน้นให้นกั เรยี น สวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยขณะเรยี นตลอดเวลา 3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครื่องปรับอากาศ หากจำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิด ประตู หน้าตา่ ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ช่วั โมงและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 4) จัดเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักเรียนและครู ใช้ประจำทุกห้องเรียน อย่างเพยี งพอ 5) ทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเส่ยี ง เชน่ ลูกบิดประตู เครือ่ งเล่นของใช้ ร่วมทกุ วันอยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ครัง้ เชา้ ก่อนเรียนและพักเที่ยง หรือกรณมี กี ารย้ายหอ้ งเรียน ต้องทำความ สะอาดโตะ๊ เกา้ อ้ี ก่อนและหลงั ใชง้ านทุกครง้ั 2. หอ้ งสมุด 1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และ จัดทำสญั ลกั ษณ์แสดงจุดตำแหนง่ ชดั เจน 2) จัดใหม้ กี ารระบายอากาศทด่ี ี ให้อากาศถา่ ยเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ต่าง หากจำเป็นต้องใช้ เครอ่ื งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปดิ - ปิดเครอ่ื งปรับอากาศ เปิดประตู หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชวั่ โมง และทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครู บรรณารักษ์ นักเรียน และ ผู้ใช้บริการ บรเิ วณทางเขา้ ดา้ นหนา้ และภายในห้องสมุดอย่างเพยี งพอ 4) ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณ์ และจุดสัมผัสเส่ยี ง เช่น ลูกบดิ ประตู ช้นั วางหนังสือทุก วัน ๆ ละ 2 ครงั้ (เชา้ กอ่ นใหบ้ ริการ พกั เทย่ี ง) 5) จำกัดจำนวนคนจำกดั เวลาในการเข้าใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ และใหน้ กั เรยี นและผูใ้ ชบ้ ริการทุก คน สวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยขณะใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ตลอดเวลา

3. หอ้ งประชมุ หอประชมุ 1) มกี ารคัดกรองตรวจวัดอุณหภมู ิรา่ งกายก่อนเข้าหอ้ งประชมุ หอประชุม หากพบผู้มีอาการ ไข้ ไอ มนี ้ำ เจบ็ คอหายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไมไ่ ดก้ ล่นิ ไม่รู้รส แจง้ งดร่วมประชุมและแนะนำให้ไป พบแพทย์ทนั ที 2) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคล 1 – 2 เมตร และจัดทำ สัญลักษณแ์ สดงจุดตำแหนง่ ชัดเจน 3) ผ้เู ข้าประชมุ ทุกคนสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัยขณะประชุมตลอดเวลา 4) จดั เจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับผเู้ ข้าประชุม บรเิ วณทางเขา้ ภายในอาคาร หอประชมุ บริเวณทางเข้าดา้ นหน้าและด้านในของห้องประชุม อยา่ งเพยี งพอและทัว่ ถึง 5) งดหรอื หลกี เล่ียงการให้บริการอาหารและเคร่ืองด่มื ภายในห้องประชุม 6) ทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยงร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท อปุ กรณส์ ือ่ ก่อนและหลงั ใช้ห้องประชมุ ทกุ ครั้ง 7) จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ หอ้ งประชุม ทุกคร้ังหากจำเปน็ ต้องใช้เคร่อื งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด - ปิดเครอื่ งปรบั อากาศ เปิด ประตู หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทุก 1 ชัว่ โมงและทำความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ 4. สนามกฬี า 1) จัดพน้ื ท่ที ำกิจกรรมและเลน่ กีฬา ลดความแออัด อาจจัดให้เล่นกฬี าเป็นรอบ หรือให้มีการ เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คลอยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร 2) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักกีฬาและผู้มาใช้บริการ บริเวณ ทางเข้าและ บริเวณดา้ นในอาคารอย่างเพียงพอและทั่วถงึ 3) ทำความสะอาดอุปกรณแ์ ละเครื่องเล่นแต่ละชนิด ก่อนหรือหลังเล่นทุกวัน อย่างน้อยวนั ละ 1 ครัง้ 4) จดั ใหม้ ีการระบายอากาศ ให้อากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ตา่ ง เปดิ พดั ลม 5) จำกัดจำนวนคนจำนวนเวลาในการเล่นกีฬาหรือกจิ กรรมภายในอาคารโรงยมิ หรือสนาม กีฬา 6) หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมหรือเล่นกีฬาประเภทแข่งขันเป็นทีมหรือมีการปะทะกันอย่าง รนุ แรง เชน่ วอลเลยบ์ อลฟุตบอล ฟุตซอล บาสเกตบอล เป็นต้น 5. สถานท่แี ปรงฟัน สถานศึกษาส่งเสริมให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างถูกต้องเหมาะสมตาม สถานการณ์ แลบริบทพ้ืนที่หลกี เลย่ี งการรวมกลมุ่ เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลในการแปรงฟัน และให้ มอี ปุ กรณก์ าร แปรงฟนั สว่ นบคุ คล ดังนี้

5.1 การจัดเตรยี มวัสดอุ ุปกรณก์ ารแปรงฟันแปรงสฟี นั 1) นักเรยี นทุกคนมีแปรงสฟี ันเป็นของตนเอง ห้ามใชแ้ ปรงสีฟนั และยาสฟี ันรว่ มกนั 2) ทำสัญลักษณ์หรือเขียนชือ่ บนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพื่อให้รู้ว่าเป็นแปรงสีฟนั ของใคร ป้องกนั การหยิบของผูอ้ ่นื ไปใช้ 3) เปลย่ี นแปรงสฟี ันใหน้ ักเรียน ทกุ 3 เดือน เมอื่ แปรงสีฟนั เส่ือมคณุ ภาพ โดยสังเกต ดงั นี้ - บริเวณหวั แปรงสีฟนั มคี ราบสกปรกติดค้าง ล้างไดย้ าก - ขนแปรงสีฟันบานแสดงว่าขนแปรงเส่ือมคุณภาพใช้แปรงฟันได้ไม่สะอาดและอาจกระแทก เหงือกให้เป็นแผลได้ ยาสีฟัน ให้นักเรียนทุกคนมียาสีฟันเป็นของตนเอง และเลือกใช้ยาสีฟันผสม ฟลอู อไรด์ซึง่ มี ปริมาณฟลอู อไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มลิ ลกิ รัม/ลิตร) เพื่อป้องกันฟันผุ แกว้ นำ้ จดั ให้ นกั เรียนทกุ คนมีแก้วนำ้ สว่ นตวั เปน็ ของตนเอง จำนวน 2 ใบผา้ เชด็ หนา้ สว่ นตัว สำหรบั ใช้เช็ดทำความ สะอาดบรเิ วณใบหน้า ควรซักและเปลย่ี นใหมท่ ุกวัน 5.2 การเกบ็ อปุ กรณ์แปรงสีฟัน 1) เก็บแปรงสีฟันในบริเวณทมี่ อี ากาศถ่ายเทได้สะดวก ไมอ่ ับช้นื และปลอดจากแมลง 2) จัดทำทเี่ กบ็ แปรงสีฟัน แกว้ นำ้ โดยเก็บของนกั เรยี นแต่ละคนแยกจากกนั ไมป่ ะปนกนั เว้น ที่ให้มีระยะห่างเพียงพอที่จะไม่ใหแ้ ปรงสีฟนั สัมผัสกัน เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค โควิด 19 และควรวางหวั ของแปรงสีฟันตงั้ ข้ึน เพื่อป้องกันไมใ่ หน้ ำ้ ทคี่ า้ งตามด้ามแปรงสีฟัน หยดลงใส่หัวแปรงสี ฟัน 5.3 การจัดกจิ กรรมแปรงฟนั หลังอาหารกลางวัน ครูประจำชั้นดูแลและจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันในห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนแปรงฟัน หลังอาหารกลางวันทุกวันอย่างสม่ำเสมอ โดยหลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างในการแปรง ฟนั โดย 1) ให้นักเรียนแปรงฟันในห้องเรียน โดยนั่งที่โต๊ะเรียน เพื่อป้องกันการแพร่กระจาย ของ นำ้ ลายละอองน้ำ หรือเช้ือโรคสผู่ ู้อืน่ กรณหี อ้ งเรยี นแออัด ให้เหล่อื มเวลาในการแปรงฟัน 2) ก่อนการแปรงฟันทุกครั้ง ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้ำเสมอ เป็นเวลาอย่างน้อย 20 วินาที หรือ เจลแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้น 70-74 % หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม และเว้นระยะห่างระหว่าง บุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร 3) ครปู ระจำชน้ั เทนำ้ ให้นักเรยี นใสแ่ ก้วนำ้ ใบท่ี 1 ประมาณ 1/3 แก้ว (ประมาณ 15 ml.) 4) นักเรียนนั่งทีโ่ ต๊ะเรียน แปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ครอบคลุมทุกซี่ทุกด้าน นาน อยา่ งน้อย 2 นาทีเม่อื แปรงฟันเสร็จแลว้ ใหบ้ ว้ นยาสีฟันและน้ำสะอาดลงในแก้วน้ำ ใบท่ี 2 เช็ดปากให้ เรียบรอ้ ย 5) นักเรียนทุกคนนำน้ำที่ใช้แล้ว จากแก้วใบที่ 2 เทรวมใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ และให้ครู ประจำ ช้ันนำไปเททง้ิ ในที่ระบายน้ำของสถานศึกษา หา้ มเทลงพ้ืนดนิ

6) นักเรียนนำแปรงสีฟันและแก้วนำ้ ไปล้างทำความสะอาด และนำกลับมาเก็บให้เรียบร้อย หลกี เล่ยี งการรวมกลมุ่ และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1-2 เมตร 7) มีการตรวจความสะอาดฟันหลังการแปรงฟันดว้ ยตนเองทุกวนั โดยอาจมกี ระจกของตัวเอง ในการตรวจดูความสะอาดเสริมด้วยกิจกรรมการย้อมสฟี ันอยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 2 ครงั้ 6. สระวา่ ยนำ้ หลีกเลี่ยงหรอื งดการจดั การเรยี นการสอนในสระว่ายน้ำ กรณีรฐั บาลมกี ารผอ่ นปรนมาตรการ ควบคมุ โรค ให้สามารถใช้สระว่ายน้ำได้ ควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1) คัดกรองเบ้ืองต้นหรอื เฝ้าระวังมิให้ผู้มีอาการเจ็บป่วย เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ หายใจ ลำบาก เหนื่อยหอบไมไ่ ด้กล่ิน ไม่รูร้ ส กอ่ นลงสระว่ายน้ำทุกครัง้ เพ่อื ปอ้ งกันการแพรเ่ ชอื้ โรค 2) กำกับดูแลและปฏิบัติตามคำแนะนำของระบบฆ่าเชื้ออย่างเคร่งครัด เพื่อให้ระบบมี ประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อตลอดเวลาการให้บริการ (คลอรีนอิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ใน ระดบั 1 - 3 ส่วน ในลา้ นสว่ น (ppm) 3) ตรวจสอบคุณภาพนำ้ ในสระทุกวนั และดแู ลความสะอาดของสระน้ำไม่ให้มีขยะมูลฝอย 4) กำหนดมาตรการก่อนลงสระว่ายน้ำ เช่น นักเรียนตอ้ งชำระร่างกายกอ่ นลงสระ ต้องสวม หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยก่อนลงและขึ้นจากสระว่ายน้ำ สวมแว่นตา - หมวกว่ายน้ำ ระหว่าง การว่ายน้ำ ห้ามบ้วนน้ำลาย ห้ามปัสสาวะ ห้ามสั่งน้ำมูกลงในน้ำ ห้ามพูดคุยกับเพื่อน ผู้สอนว่ายนำ้ (โค้ช) หรอื ผูด้ แู ลสระน้ำ ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาที่อยูบ่ ริเวณสระว่ายนำ้ 5) ทำความสะอาดอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการสอน แบ่งรอบการสอน จำกัดจำนวนคน และให้มีการ เวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร 6) เตรียมอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวสำหรับการว่ายน้ำ เช่น แว่นตา - หมวกว่ายน้ำ ชุดว่ายน้ำ ผ้าเช็ดตวั เปน็ ต้น 7. สนามเด็กเลน่ 1) ใหม้ ีการทำความสะอาดเคร่ืองเล่นและอุปกรณ์การเล่นทกุ วนั อย่างนอ้ ยวนั ละ 2 คร้ัง ทำ ความสะอาดดว้ ยน้ำยาทำความสะอาดตามคำแนะนำของผลิตภณั ฑ์ 2) จัดเครื่องเล่น อุปกรณ์การเล่น และนักเรียน ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่าง น้อย 1 - 2 เมตร และกำกับดูแลให้เดก็ สวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาการเลน่ 3) จำกดั จำนวนคนจำกัดเวลาการเล่นในสนามเดก็ เลน่ โดยอยใู่ นความควบคุมดูแลของครูใน ชว่ งเวลา พกั เทีย่ งและหลงั เลกิ เรียน 4) ให้ล้างมือด้วยสบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือก่อนและหลังการเลน่ ทกุ ครั้ง

8. ห้องสว้ ม 1) จัดเตรียมอุปกรณ์ท้าความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยา ฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพ้ืน คีบด้ามยาวสำหรับเกบ็ ขยะ ผ้าเช็ดท้าความสะอาด และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบุคคลทีเ่ หมาะสมกบั การปฏิบตั ิงาน เช่น ถุงมอื หน้ากากผา้ เสื้อผ้าที่ จะน้ามาเปลี่ยนหลังทำความสะอาด 2) การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วยน้ำยาทำความสะอาด ทั่วไป พื้นหอ้ งสว้ ม ฆ่าเชื้อโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเช้ือทีม่ สี ่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันใน ชอ่ื “น้ำยาฟอกขาว”) โดยนำมาผสมกับนำ้ เพื่อให้ได้ความเข้มข้น 0.1% หรอื 1000 ส่วนในล้านส่วน หรือผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์โดยน้ำมาผสมกับ น้ำเพื่อให้ได้ คว าม เข้มขน้ 0.5% หรือ 5000 สว่ น ในล้านสว่ น ราดนำ้ ยาฆา่ เชื้อ ท้งิ ไว้อย่างน้อย 10 นาที เน้นเชด็ บริเวณ ท่ีรองน่งั โถสว้ ม ฝาปดิ โถส้วม ทีก่ ดชกั โครก สายช้าระ ราวจบั ลูกบดิ หรือกลอนประตู ท่แี ขวนกระดาษ ชำระ อ่างล้างมือ ขันน้ำ ก๊อกน้ำ ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบน้ำยาฟอกขาว หรือใช้ แอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5% 3) หลงั ทำความสะอาด ควรซกั ผา้ เช็ดท้าความสะอาดและไม้ถพู ้นื ดว้ ยน้ำผสมผงซักฟอกหรือ น้ำยาฆ่าเช้ือแล้วซกั ด้วยน้ำสะอาดอีกครัง้ และนำไปผงึ่ แดดใหแ้ หง้ 9. ห้องพกั ครู 1) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ควร คำนึงถึงสภาพบรบิ ทและขนาดพืน้ ที่ อาจพิจารณาใช้ฉากกั้นบนโตะ๊ เรียน และจัดทำสัญลักษณ์แสดง จดุ ตำแหนง่ ชัดเจน โดยถอื ปฏิบัติตามหลักSocial distancing อย่างเครง่ ครัด 2) ใหค้ รสู วมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาที่อยใู่ นสถานศึกษา 3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครือ่ งปรบั อากาศหากจำเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด – ปิดเครอ่ื งปรับอากาศ เปิด ประตู หนา้ ต่าง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชั่วโมงและทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ 4) ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อปุ กรณ์ และจุดสมั ผสั เสี่ยง เชน่ ลกู บิดประตู อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ โทรศพั ท์ เปน็ ต้นเป็นประจำทกุ วัน อย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง 5) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและผู้มาติดต่อ บริเวณทางเข้า ด้านหนา้ ประตู และภายในห้องอย่างเพียงพอและท่วั ถึง 10. ห้องพยาบาล 1) จัดหาครหู รือเจา้ หนา้ ท่ี เพ่อื ดูแลนักเรียน ในกรณที ่ีมีนกั เรยี นป่วยมานอนพกั รอผู้ปกครอง มารบั 2) จดั ให้มีพน้ื ทีห่ รอื ห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียน ปว่ ยจากสาเหตอุ นื่ ๆเพ่ือปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชื้อโรค 3) ทำความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทุกวนั

4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมอื บริเวณทางเข้าหนา้ ประตแู ละภายในห้อง พยาบาลอยา่ งเพียงพอ 11. โรงอาหาร การจัดบริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะ อปุ กรณ์ ตกู้ ดนำ้ ดม่ื ระบบกรองน้ำและผู้สัมผัสอาหาร อาจเป็นแหลง่ แพรก่ ระจายเช้ือโรค จึง ควรมีการดแู ล เพือ่ ลดและป้องกันการแพร่กระจายเชอ้ื โรคดงั นี้ 1) โรงอาหารกำหนดมาตรการการปฏิบัตใิ หส้ ถานท่ีสะอาด ถกู สุขลักษณะ ดังนี้ (1) จัดให้มอี ่างล้างมือ พรอ้ มสบู่ สำหรับให้บรกิ ารแกผ่ ู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร บริเวณกอ่ น ทางเข้าโรงอาหาร (2) ทกุ คนทจี่ ะเขา้ มาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัย (3) จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ที่นง่ั กินอาหารจดุ รบั อาหาร จดุ ซอื้ อาหาร จุดรอกดน้ำด่ืม จดุ ปฏบิ ัตงิ านร่วมกนั ของผูส้ มั ผัสอาหาร (4) จดั เหลือ่ มชว่ งเวลาซื้อและกินอาหาร เพ่ือลดความแออดั พืน้ ทภี่ ายในโรงอาหาร (5) ทำความสะอาดสถานท่ีปรุง ประกอบอาหาร พน้ื ที่ตั้งตู้กดน้ำดมื่ และพ้ืนท่ีบรเิ วณที่นั่งกิน อาหารให้สะอาด ด้วยน้ำยาทำความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเชื้อด้วยโซเดียมไฮโป คลอไรท์(น้ำยาฟอกขาว) ที่มีความเข้มข้น 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราสว่ น 1 ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ น้ำ 1 ลิตร) (6) ทำความสะอาดโต๊ะและท่ีนั่งให้สะอาด สำหรับนั่งกินอาหาร ด้วยน้ำยาทำความ สะอาด หรอื จดั ใหม้ กี ารฆา่ เช้อื ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เช็ดไป ในทศิ ทางเดียวกนั หลังจากผ้ใู ชบ้ ริการทกุ คร้ัง (7) ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใชใ้ หส้ ะอาด ดว้ ยน้ำยาล้างจาน และให้มี การ ฆ่าเช้อื ดว้ ยการแชใ่ นน้ำรอ้ น 80 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 30 วนิ าที หรือแช่ด้วยโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกขาว) ทม่ี ีความเข้มขน้ 100 ส่วนในลา้ นส่วน (ใช้โซเดยี มไฮโปคลอไรท์ 6% อตั ราส่วน ครึ่งชอ้ นชาตอ่ น้ำ 1 ลติ ร) 1 นาที แล้วลา้ งน้ำใหส้ ะอาด และอบหรือผึ่งใหแ้ ห้ง ก่อนนำไปใช้ใสอ่ าหาร (8) ทำความสะอาดตู้กดน้ำดื่ม ภายในตู้ถังน้ำเย็น อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง และเช็ด ภายนอกตู้และก๊อกน้ำดื่มให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเชื้อด้วยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอก ขาว) ที่มีความเข้มข้น100 ส่วนในล้านส่วน เป็นเวลา 30 นาที ทุกครั้งก่อนบรรจุน้ำใหม่ ในกรณีที่มี เคร่ืองกรองน้ำ ควรทำความสะอาดด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตาม ระยะเวลากำหนดของผลิตภัณฑ์ และตรวจเช็คความชำรุดเสียหายของระบบไฟฟูาที่ใช้ สายดิน ตรวจเช็คไฟฟ้ารวั่ ตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณก๊อกน้ำทถ่ี ือเป็นจุดเสี่ยง เพอ่ื ป้องกันไฟฟ้าดูดขณะ ใช้งาน

(9) จัดบรกิ ารอาหาร เน้นปอู งกันการปนเปื้อนของเชอ้ื โรค เชน่ อาหารปรงุ สำเร็จสุกใหม่ทุก ครั้งหลีกเลี่ยงการจำหน่ายอาหารเสี่ยง เช่น อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิด อาหารปรุงสำเรจ็ การใช้ภาชนะทเี่ หมาะสมกับประเภทอาหาร และจดั ให้มีภาชนะอุปกรณ์สำหรับการ กินอาหารอย่างเพยี งพอเปน็ รายบคุ คล เชน่ จาน ถาดหลมุ ช้อน ส้อม แกว้ น้ำ เปน็ ตน้ (10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากที่ถูกวิธี ขั้นตอนการ ล้างมอื ท่ีถกู ต้องการเว้นระยะหา่ งระหว่างบคุ คล การเลอื กอาหารปรุงสกุ ใหม่สะอาด เปน็ ตน้ 2) ผู้สัมผัสอาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเองและป้องกันการ แพร่กระจาย เชื้อโรค ดังน้ี (1) หากมอี าการปว่ ย ไข้ ไอ มนี ำ้ มกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไมไ่ ด้กล่นิ ไม่ร้รู ส ให้ หยุดปฏบิ ตั ิงานและแนะนำใหไ้ ปพบแพทยท์ ันที (2) ดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเปื้อน และอุปกรณป์ ้องกนั การปนเปอื้ นสู่อาหาร ในขณะปฏบิ ัตงิ าน (3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อนปฏิบัติงาน และ ขณะเตรียมอาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตร หรือสัมผัส สิ่งสกปรกอาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือร่วมด้วย หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัส ใบหนา้ ตา ปาก จมูกโดยไม่จำเป็น (4) สวมใส่หน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ัติงาน (5) มีพฤติกรรมขณะปฏบิ ัติงานป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการปรงุ ประกอบอาหาร เชน่ เขยี ง มดี การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์สด ผัก และ ผลไม้ และไมเ่ ตรียม ปรุง ประกอบอาหารบนพ้ืนโดยตรง (6) จัดเมนอู าหารที่จำหน่าย โดยเนน้ อาหารปรงุ สุกดว้ ยความรอ้ น โดยเฉพาะเนอื้ สัตว์ ปรุงให้ สุกดว้ ยความรอ้ นไมน่ อ้ ยกวา่ 70 องศาเซลเซยี ส หลกี เลีย่ งการจำหนา่ ยอาหารบูดเสยี งา่ ย เช่น อาหาร ประเภทกะทิและอาหารท่ีไมผ่ า่ นความรอ้ น เชน่ ซูชิ เป็นต้น (7) อาหารปรุงสำเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพื้นไม่น้อย กวา่ 60 เซนติเมตรกรณอี าหารปรุงสำเร็จ รอการจำหน่าย ให้นำมาอนุ่ ทุก 2 ช่ัวโมง (8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสมกับการ บรรจุอาหารปรุงสำเร็จและไมค่ วรใชโ้ ฟมบรรจุอาหาร (9) ระหว่างการปฏิบตั งิ าน ให้มีการเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร (10) ควรพจิ ารณาใหม้ ีระบบชำระเงนิ ออนไลน์สำหรบั ผ้บู ริโภค

3) ผู้ที่เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร ต้องดำเนินการป้องกันตนเอง และป้องกันการ แพรก่ ระจายเช้ือโรค ดงั น้ี (1) ล้างมือบอ่ ย ๆ ดว้ ยสบแู่ ละน้ำ หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือทุกคร้ังก่อนเข้า ไปในโรงอาหารก่อนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตรหลังจากสัมผัสสิ่ง สกปรกหรอื หลังออกจากหอ้ งส้วม (2) ทกุ คนต้องสวมหนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาทอ่ี ยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปใน สถานท่ีจำหนา่ ยอาหาร (3) เลอื กซอื้ อาหารปรงุ สำเร็จสุกใหม่ หลีกเลย่ี งการกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เคร่ืองในสัตว์ ที่ปรุงไม่สุกและตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันที เช่น สภาพอาหาร กลิ่น ความสะอาดและความ เหมาะสมของภาชนะบรรจุ มกี ารปกปดิ อาหารมดิ ชิด ไม่เลอะเทอะ ไม่ฉีกขาด เปน็ ตน้ (4) ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการซื้ออาหาร ขณะ รอ อาหารนัง่ กินอาหาร ขณะรอกดน้ำดืม่ (5) พิจารณาเลอื กใชร้ ะบบการชำระเงินแบบออนไลน์

12. รถรับ - สง่ นกั เรียน 1) ทำความสะอาดรถรับนกั เรียนและบริเวณจุดสมั ผัสเส่ียง เช่น ราวจับ ทเี่ ปิดประตู เบาะนั่ง ที่วางแขน ด้วยน้ำผสมผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ำยาฟอกผ้า ขาว) และปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ (เช่น ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ ความเขม้ ข้น 6% ปรมิ าณ 20 มลิ ลิลติ ร ต่อนำ้ 1 ลิตร) 2) นักเรียนท่ีใช้บริการรถรับนักเรยี น ต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ อย่บู นรถ ลดการพูดคยุ กนั เลน่ หยอกล้อกนั รวมถงึ กำหนดจดุ รับ - สง่ นักเรยี นสำหรับผู้ปกครอง 3) การจดั ท่ีนั่งบนรถรับนกั เรียน ควรจัดใหม้ ีการเวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ทั้งนี้ควรคำนึงถึงขนาดพื้นที่ของรถ จำนวนที่นั่ง พิจารณาตามบริบทคุณลักษณะของรถและ ความเหมาะสม จัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจนโดยยึดหลัก Social distancing อย่าง เครง่ ครัด 4) ก่อนและหลังให้บริการรับนกั เรยี นแต่ละรอบ ควรเปิดหน้าต่าง ประตู ระบายอากาศ ให้ อากาศ ถ่ายเทไดส้ ะดวก 5) จดั ให้มีเจลแอลกอฮอล์สำหรับใชท้ ำความสะอาดมอื บ่อย ๆ บนรถรบั นักเรยี น

13. หอ้ งนอนเด็กเล็ก 1) ทำความสะอาดเครือ่ งนอน เปลยี่ นผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน และผ้ากนั เปือ้ นทุกวนั รวมถึง ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้ของเล่น ตู้เกบ็ ของสว่ นบคุ คล และจุดสัมผัสเสี่ยงรว่ ม เป็นประจำทกุ วนั 2) จัดให้มีพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล เช่น เรียนบนเสื่อ ใช้สัญลักษณ์แทน ขอบเขต รวมถึงการจัดที่นอนสำหรบั เดก็ ตอ้ งเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร 3) มีและใช้ของใช้ส่วนตัว เน้นไม่ใช้ของใช้ร่วมกัน เช่น ผ้ากันเปื้อน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้ำ 4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและนักเรียน บริเวณทางเข้าและ ภายในหอ้ งอย่างเพียงพอ 5) มีการระบายอากาศที่ดี อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครื่องปรับอากาศหากจำเป็นต้องใชเ้ ครือ่ งปรับอากาศ กำหนดเวลาเปิด–ปิดเครือ่ งปรับอากาศ และ เปิด ประตู หนา้ ต่างระบายอากาศ ทุก 1 ชวั่ โมงและต้องทำความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ 6) จดั อุปกรณก์ ารสง่ เสรมิ พฒั นาการเด็กอย่างเพียงพอ คนละ 1 ชดุ 7) อัตราส่วนของครูหรือผูด้ แู ลเดก็ หรือพ่เี ล้ยี งต่อเด็กเล็ก1 : 5 - 8 ในการดูแลเดก็ ตลอดทั้งวัน 14. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ 1) การจัดพื้นที่เข้าแถว ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณีมี พื้นทจี่ ำกัดไมเ่ พียงพออาจพิจารณาสลับชัน้ เรยี นมาเข้าแถวบรเิ วณหนา้ เสาธง หรือจดั ใหม้ ีการเข้าแถว บรเิ วณทมี่ ีพน้ื ท่ี กว้างขวาง เช่น หน้าห้องเรียน ลานอเนกประสงค์ ลานสนามกีฬา โรงยมิ หอประชุม เปน็ ต้น 2) ครูและนักเรียนทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้าแถว เคารพธงชาติ 3) ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ควรใช้ชอ่ งทาง อ่ืน ๆ เชน่ เสียงตามสายผา่ นออนไลน์ Line Facebook E-mail แจ้งในหอ้ งเรยี น เป็นต้น 4) ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรอื จุดสัมผัสเสยี่ ง ภายหลงั การใชง้ านทกุ คร้ัง เช่น เชือกที่ เสาธง ไมโครโฟน เป็นตน้

มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 กรณีเกดิ การระบาดในสถานศกึ ษา นิยามเหตกุ ารณก์ ารระบาด หมายถงึ เมือ่ พบผู้ปว่ ยยืนยันอยา่ งนอ้ ย 1 ราย ท่ีคดิ ว่าอาจมีการ แพร่กระจายเชอื้ ในสถานศึกษา นยิ าม 1) ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์ต้องอบสวน (PUI = Patient Under Investigation) หมายถึง ผู้ที่มี ประวัติใช้หรือวัดอุณหภูมิได้ตัง้ แต่ 37.5 องศาเซลเซียส ขึ้นไปร่วมกับอาการทางเดินหายใจอย่างใด อยา่ งหนึง่ (ไอ น้ำมูก เจบ็ คอ หายในเร็วหรือหายใจเหนือ่ ยหรือหายใจลำบาก) และมีประวตั ิสมั ผสั ใกล้ชิดกับผูป้ ว่ ยยืนยันในชว่ ง 14 วนั ก่อนมีอาการ 2) ผปู้ ่วยยนื ยนั หมายถงึ ผู้ท่ีมีผลตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการ พบว่า ตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 3) ผู้สมั ผัสท่มี ีความเส่ียงตอ่ การติดเชื้อ สูง (High risk Contact) หมายถึง ผสู้ มั ผสั ใกลช้ ดิ ตามลักษณะข้อใดข้อหน่ึงดังน้ี - ผทู้ ี่เรยี นรว่ มห้อง ผทู้ น่ี อนร่วมหอ้ ง หรือเพ่ือนสนิททค่ี ลกุ คลกี นั - ผู้สัมผัสใกล้ชดิ หรือมีการพดู คยุ กบั ผปู้ ่วยในระยะ 1 เมตร นานราว่า5 นาที หรือถูกไอ จาม รดจากผู้ปว่ ย โดยไม่มกี ารป้องกนั เช่น ไม่สวมหน้ากากอนามัย - ผู้ที่อยู่ในบริเวณที่ปิด ไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ ร่วมกนั ผู้ป่วยและอยู่หา่ งจากผู้ป่วยไมเ่ กนิ 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดยไม่มกี ารปอ้ งกนั 4) ผู้สัมผัสท่ีมีความเส่ียงต่อการติดเชื้อต่ำ (Low risk Contact) หมายถึง ผู้ที่ทำกิจกรรมอน่ื ๆ ร่วมกับผปู้ ่วย แตไ่ ม่เขา้ เกณฑค์ วามเสย่ี ง 5)ผู้ไม่ได้สัมผัส หมายถึง ผู้ที่อยู่ในสถานศึกษาแต่ไม่มีกิจกรรมหรือพบผู้ป่วยในช่วง 14 วัน กอ่ นปว่ ย 6)ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรง (Underlying Condition) หมายถึง ผู้ที่มีภูมิต้านทาน ต่ำหรอื มีโรคประจำตัวหรือผู้สูงอายุ กิจกรรมการเฝ้าระวังกอ่ นระบาด 1) ให้มีการตรวจสอบการลาป่วยของนักเรียนและโรงเรียนในสถานศึกษา หากพบว่าผู้ป่วย มากผิดปกติ ใหร้ ายงานเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ ในพ้ืนทที่ ราบ 2) ให้มีการคัดกรองใช้บริเวณทางเข้าสถานศึกษาทุกวัน หากพบว่า มีเด็กที่มีไข้จำนวนมาก ผิดปกติให้ แจ้งเจ้าหน้าท่ี 1 1) ห้องพยาบาลให้ มีการบนั ทึกรายช่ือและอาการของนกั เรยี นที่ป่วย กจิ กรรมเม่อื มีการระบาด 1) ปดิ สถานศกึ ษาข้ันน้ชี ้ันเรียน เพือ่ ทำความสะอาด เป็นระยะเวลา 3 วนั 2) สำรวจคัดกรองนักเรยี นและบุคลากรทุกคน บรเิ วณทางเขา้ สถานศกึ ษา โดยใช้ Handheld thermometer และดำเนินการตามแผนผัง

* หากพบผู้เข้าเกณฑ์สอบสวน (PUI) ใหเ้ ก็บตวั อย่าง NP swab สง่ ตรวจหาเช้อื 3) ผู้สมั ผสั กล่มุ High riskใหด้ ำเนนิ การเก็บตัวอย่าง NP swab ส่งตรวจเชือ้ 4) ผู้สัมผสั กลุ่ม Low risk ไม่ต้องเก็บตัวอยา่ งแต่ให้แยกตวั อย่ทู ่บี ้าน และรายงานการ (Self- report) ทุกวนั หากพบว่า มอี าการเข้าเกณฑ์ PUI ใหด้ ำเนินการแบบผ้ปู ่วย PUI 5) เมื่อเปิดเทอม ให้มีการคัดกรองไข้ทุกวัน หากพบมีอาการไข้กับ PUI ให้เก็บตัวอย่างและ พิจารณาความเสีย่ งเพอ่ื ตัดสินใจวา จะให้ผู้ป่วยดอู าการทบ่ี ้าน หรือต้องแยกตัวในโรงพยาบาล 6) ทมี สอบสวนโรคทำการติดตามผ้สู ัมผัสทกุ วนั จนครบกำหนด ผังขน้ั ตอนการคัดกรองนกั เรยี นและบุคลากรในสถานศึกษา นกั เรยี นและเจ้าหน้าท่ีทกุ คนในสถานศึกษา มไี ข้หรอื วัดอุณหภมู ิ > 37.5 °C หรือ ไมม่ ีอาการไขห้ รืออาการทางเดนิ หายใจ มีอาการทางเดินหายใจหรอื ผสู้ มั ผสั เสย่ี งสูง (High risk contact) เขา้ เกณฑต์ ้องสอบสวน (PUI) เกบ็ ตัวอย่าง เก็บตวั อย่าง • กกั ตัวอยบู่ า้ น Home isolation ผ้สู ัมผสั เส่ยี งสงู • ตดิ ตามอาการให้ครบ 14 วัน • อย่หู อ้ งแยกของรพ. ผสู้ ัมผัสเส่ียงต่ำ (Low risk contact) ผสู้ มั ผัสเสีย่ งต่ำ • ใช้ชีวติ ปกติ • ติตามอาการให้ครบ 14 วัน • อาการนอ้ ยอยูบ่ า้ น • อาการมาก อยหู่ ้องแยกโรงพยาบาล ทม่ี า : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

แบบประเมินตนเองสำหรบั สถานศึกษาในการเตรียมความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น เพ่ือเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ชอื่ สถานศึกษา โรงเรยี นวลีรตั นว์ ิทยา แขวงบางดว้ น เขต ภาษีเจริญ จงั หวัดกรุงเทพมหานคร เกณฑก์ ารประเมนิ ข้อ ประเด็น มี ไม่มี หมายเหตุ มิตทิ ี่ 1 ความปลอดภัยจากการลดการแพร่เชอื้ โรค / 1 มีมาตรการคดั กรองวัดใช้ ใหก้ บั นักเรยี น ครู และผู้เข้ามาติดตอ่ / ทุกคนก่อนเขา้ สถานศึกษา หรือไม่ / 2 มีมาตรการสงั เกตอาการเสี่ยงโควิด 19 เช่น ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ / เหนื่อยหอบ หายใจลําบาก จมกู ไม่ใหก้ ลน่ิ ลิน้ ไม่รู้รส พรอ้ ม / บนั ทกึ ผล สำหรบั นักเรียน ครู และผ้เู ขา้ มาติดตอ่ ทกุ คน กอ่ น / เขา้ สถานศกึ ษา หรอื ไม่ 3 มีนโยบายกำหนดใหน้ กั เรียน ครู และผู้เข้ามาในสถานศึกษาทกุ / คน ต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย 4 มกี ารจัดเตรียมหนา้ กากผ้าหรอื หนา้ กากอนามัยสำรองไว้ให้กับ / นกั เรียนร้องขอหรอื ผูท้ ่ีไมม่ ีหนา้ กากเขา้ มาในสถานศึกษา / หรอื ไม่ 5 มีจดุ ลา้ งมือดว้ ยสบู่ อยา่ งเพียงพอ หรือไม่ / 6 มีการจดั วางเจสแอลกอฮอล์สำหรบั ใชท้ ำความสะอาดมือ บรเิ วณทางเข้า อาคารเรยี น หนา้ ประตูห้องเรียน ทางเขา้ โรง อาหาร อย่างเพยี งพอ หรือไม่ 7 มีการจดั โตะ๊ เรยี น เกา้ อีน้ ่งั เรยี น ทนี่ ่ังในโรงอาหาร ที่นั่งพกั โดย จดั เว้นระยะห่างระหวา่ งกนั อยา่ งน้อย 1-2 เมตร (ยึดหลัก Social distancing หรือไม่ 8 มีการทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหนง่ ชดั เจนในการจดั เว้น ระยะห่างระหว่างกนั หรอื ไม่ 9 กรณหี อ้ งเรียนไมส่ ามารถจดั เวน้ ระยะหา่ งตามท่ีกำหนดได้ มี การการสลับวนั เรียนแตล่ ะชัน้ เรียน หรอื มกี ารแบ่งจำนวน นักเรยี น หรอื ไม่ 10 มีการทำความสะอาดห้องเรียน หอ้ งต่าง ๆ และอุปกรณท์ ใี่ ช้ใน การเรยี นการสอน กอ่ นและหลงั ใชง้ านทกุ ครั้ง เช่น หอ้ ง คอมพวิ เตอร์ หอ้ งดนตรี อปุ กรณ์กฬี า หรอื ไม่

ขอ้ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 11 มกี ารทำความสะอาดบริเวณจุดสัมผสั เสียงร่วม ทุกวนั เชน่ โต๊ะ / เกา้ อี้ ราวบันได ลฟิ ต์ กลอนประตู มือจับประตู - หนา้ ต่าง / หรือไม่ / 12 มีถังขยะแบบมีฝาปิดในหอ้ งเรยี น หรือไม่ 13 มกี ารปรบั ปรงุ ซ่อมแซมประตู หน้าตา่ ง และพดั ลมของ / ห้องเรยี น ให้มีสภาพการใชง้ านไดด้ ี สำหรับใช้ปดิ - เปิดให้ / อากาศถา่ ยเทสะดวก หรอื ไม่ / 14 มกี ารแบง่ กลมุ่ ยอ่ ยนกั เรียนในหอ้ งเรยี นในการทำกจิ กรรม / หรือไม่ / 15 มกี ารปรับลดเวลาในการทำกิจกรรมประชาสมั พันธ์ ภายหลงั / การเขา้ แถวเคารพธงชาติหน้าเสาธง หรอื ไม่ / 16 มกี ารจดั เหสีอบเวลาทำกจิ กรรมนกั เรียน เหลือ่ มเวลากนิ อาหารกลางวันหรอื ไม่ / 17 มมี าตรการให้เว้นระยะห่างการเขา้ แถวทำกจิ กรรมหรอื ไม่ 18 มีการกําหนดใหใ้ ช้ของใช้ส่วนตวั ไมใ่ ช้สิ่งของรว่ มกบั ผ้อู น่ื เช่น / แกว้ น้ำชอ้ น สอ้ ม แปรงสฟี นั ยาสีฟัน ผ้าเช็ดหน้า หรอื ไม่ 19 มหี ้องพยาบาลหรอื พน้ื ท่ีสำหรับแยกผูม้ อี าการเสยี งทางระบบ / ทางเดนิ หายใจ หรอื ไม่ 20 มนี กั เรียนแกนนาํ ด้านสขุ ภาพ จติ อาสา เป็นอาสาสมัคร ในการ ช่วยดูแลสขุ ภาพเพือ่ นนักเรยี นด้วยกนั หรอื ดูแลรุน่ นอ้ ง หรือไม่ มติ ทิ ี่2 การเรยี นรู้ 21 มกี ารติดป้ายประชาสัมพนั ธ์แนะนาํ การปฏบิ ตั ิเพ่ือสุขอนามยั ท่ี ดี เช่น วธิ ี ล้างมอื ทถี่ ูกตอ้ ง การสวมหนา้ กากอนามัย การเว้น ระยะหา่ งระหว่างบุคคลเปน็ ตน้ หรอื อ่ืน ๆ ทเี่ ก่ียวกับโรคโควิด 19 หรอื ไม่ 22 มีการเตรียมความพร้อมการจัดการเรยี นการสอนโดยคำนงึ ถงึ การเรยี นรู้ ตามวัยและสอดคล้องกบั พฒั นาการด้านสังคม อารมณ์ และสตปิ ญั ญา หรือไม่ 23 มีมาตรการกาหนดระยะเวลาในการใช้สือ่ ออนไลนใ์ น สถานศึกษา ในเดก็ เล็ก (ประถม) ไม่เกนิ 1 ชว่ั โมงตอ่ วนั

ข้อ ประเด็น มี ไมม่ ี หมายเหตุ และ ในเด็กโต (มัธยม) ไม่เกิน 2 ช่วั โมงต่อวนั หรือไม่ / 24 มีการใช้สอ่ื อรอบรู้ดา้ นสุขภาพผ่านช่องทาง Social media / เช่น Website ,Facebook, Line, QR Code , E-mail หรอื ไม่ / มติ ทิ ี่ 3 การครอบคลมุ ถึงเด็กด้อยโอกาส / 25 มีการเตรยี มหนา้ กากผ้า สํารองสำหรบั เด็กเล็ก หรอื ไม่ 26 / 26 มกี ารปรบั รูปแบบการเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับบรบิ ทการ / เข้าถงึ การเรียนรูใ้ นสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควิด 19 หรอื ไม่ / 27 มีมาตรการสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นไดร้ บั บริการสุขภาพขั้นพน้ื ฐาน อย่างทั่วถงึ หรอื ไม่ / 28 มีมาตรการการทำความสะอาดและจัดสภาพแวดล้อมของที่พัก / และเรือนนอนใหถ้ ูกสุขลักษณะ พรอ้ มมีตารางเวรทุกวนั / หรอื ไม่ (กรณมี ที ่พี ักและเรอื นนอน) / 29 มมี าตรการการททำความสะอาดและจดั สภาพแวดลอ้ มให้ สอดคลอ้ งกบั ข้อบัญญัติการปฏบิ ตั ิด้านศาสนกิจ พรอ้ มมี ตารางเวรทุกวนั หรือไม่ (กรณมี สี ถานที่ปฏิบัตศิ าสนากจิ ) 30 มมี าตรการดูแลนกั เรียนทมี่ คี วามบกพรอ่ งด้านพัฒนาการการ เรยี นรู้ หรอื ดา้ นพฤตกิ รรมอารมณ์ รวมถึงภาวะสมาธิส้นั และ เดก็ ออทสิ ตกิ ท่ีสามารถเรียนร่วมกนั เดก็ ปกติ หรือไม่ มิติที่ 4 สวัสดภิ าพและการคมุ้ ครอง 31 มีการจัดเตรยี มแผนรองรับการจัดการเรยี นการสอนสำหรับ นกั เรียนปว่ ย กักตวั หรือกรณีปดิ โรงเรียน หรือไม่ 32 มกี ารจัดเตรียมแนวปฏิบัตกิ ารสื่อสารเพ่ือลดการรังเกยี จและ การตตี ราทางสังคม (Social stigma) หรอื ไม่ 33 มีการจัดเตรยี มแนวปฏิบตั ดิ ้านการจัดการความเครียดของครู และบุคลากรของสถานศึกษา หรอื ไม่ 34 มีการตรวจสอบประวัตเิ สยี งของนักเรยี นและบคุ ลากร รวมทง้ั ตรวจสอบเร่อื งการกกั ตวั ให้ครบ 14 วัน กอ่ นมาทำการเรยี น การสอนตามปกติ และ ทุกวนั เปิดเรยี น หรอื ไม่

ข้อ ประเดน็ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 35 มกี ารกำหนดแนวทางปฏิบตั ติ ามระเบียบสำหรบั นักเรียน ครู / และ บคุ ลากรท่ีสงสยั ติดเชอื้ หรอื ป่วยด้วยโรคโควิด 19 โดยไม่ / ถอื เป็นวนั ลาหรือวนั หยดุ เรยี น หรือไม่ มติ ทิ ่ี 5 นโยบาย / 36 มีการส่ือสารประชาสมั พันธค์ วามรกู้ ารปอ้ งกันโรคโควิด 19 แก่ / นักเรียนครู บคุ ลากร และผ้ปู ครอง โดยการประชุมช้ีแจงผ่าน / ช่องทางต่าง ๆ อย่างนอ้ ย 1 ครั้ง กอ่ นหรอื วนั แรกของการเปดิ / เรยี น หรอื ไม่ 37 มีนโยบายและแนวทางการปอ้ งกันการแพร่ระบาตโรคโควิด 19 / ของสถานศกึ ษา อย่างเปน็ ลายลักษณ์หรือมหี ลักฐานชดั เจน / หรือไม่ 38 มกี ารประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา หรือไม่ / 39 มีการแตง่ ตั้งคณะทำงานปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดโรคโควิด 19 และกำหนดบทบาทหน้าท่อี ย่างชดั เจน หรือไม่ / 40 มมี าตรการจัดการความสะอาดนนรถรับ-ส่งนกั เรยี น เว้น ระยะห่าง ระหวา่ งบคุ คล นดั ทนี่ ง่ั บนรถหรอื มีสญั ลกั ษณจ์ ดุ ตำแหน่งชัดเจน หรือไม่ มติ ิท่6ี การบรหิ ารการเงนิ 41 มีแผนการใชง้ บประมาณในการปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรค โควดิ 19ตามความจําเป็นและเหมาะสม หรอื ไม่ 42 มีการจัดหาซอื้ วัสดอุ ุปกรณป์ อ้ งกนั โรคโควิด 19 สำหรบั นักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษา เช่น หนา้ กากผ้าหรอื หน้ากาก อนามยั เจลแอลกอฮอล์ สบู่ หรอื ไม่ 43 มกี ารประสานแสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนจากหน่วยงาน องค์กร หรือ เอกชน เช่น ทอ้ งถ่นิ บรษิ ทั ห้างรา้ น NGO เป็นต้น เพื่อดำเนินกิจกรรม การป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 หรอื ไม่ 44 มีการจดั หาบุคลากรเพมิ่ เตมิ ในการดแู ลนกั เรยี นและการจดั การ สง่ิ แวดล้อมในสถานศกึ ษา หรือไม่

ผลการประเมิน Ranking เกณฑ์ประเมนิ สีเขียว ผ่านท้ังหมด 44 ขอ้ สเี หลอื ง ผา่ นขอ้ 1-20 ทกุ ข้อ แต่ไมผ่ า่ นขอ้ 13-14 ขอ้ ใดข้อหนึ่ง สแี ดง ไม่ผ่านข้อ 1-20 ขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ การแปลผล • สีเขยี ว หมายถึง โรงเรียนสามารถเปดิ เรยี นได้ • สีเหลือง หมายถงึ โรงเรยี นสามารถเปดิ เรียนได้ แต่ต้องดำเนนิ การปรบั ปรุงใหเ้ ป็นไปตาม มาตรฐานทีก่ ำหนด • สแี ดง หมายถงึ โรงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ ต้องดำเนนิ การปรับปรุงให้เปน็ ไปตาม มาตรฐานทก่ี ำหนดและ/หรือประเมนิ ตนเองซำ้ ลงชอื่ ผปู้ ระเมิน.................................................... วันทป่ี ระเมิน ..........................................