Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ.7 ศศ.บ.ภาษาจีน ปี 2564 (ฉบับหลังวันตรวจsar)

มคอ.7 ศศ.บ.ภาษาจีน ปี 2564 (ฉบับหลังวันตรวจsar)

Published by zuall, 2022-07-18 14:25:27

Description: มคอ.7 ศศ.บ.ภาษาจีน ปี 2564 (ฉบับหลังวันตรวจsar)

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดำเนนิ งานของหลกั สูตร หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาจีน คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ประจำปกี ารศึกษา 2564 วันทร่ี ายงาน 8 กรกฎาคม 2565

1 รายงานผลการประเมินคุณภาพคณุ ภาพการศึกษาภายใน หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาจีน ประจำปีการศกึ ษา 2564 ---------------------------------------------------------------------------------------------- การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในประจำปีการศึกษา 2564 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ขอรบั การประเมินตามองค์ประกอบคณุ ภาพตามเกณฑ์ประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ 13 ตัวบง่ ช้ี ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการ มีคะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั 3.40 คะแนน อย่ใู นระดับ ดี ตารางที่ 1 ผลการประเมินตามตัวบง่ ชี้ตามองคป์ ระกอบคณุ ภาพ ระดบั หลกั สูตร องค์ประกอบใน ตวั บง่ ชี้ ผลการดำเนนิ งาน คะแนนการ ผลการประเมิน การประกัน (ระบุจำนวนข้อ/ ประเมิน 0.01 - 2.00 คุณภาพหลักสตู ร ตัวเลข) ระดบั คณุ ภาพนอ้ ย 2.01 - 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3.01 - 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 - 5.00 ระดับคุณภาพดมี าก 1.การกำกับ 1.1การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน ☑ ผ่าน มาตรฐาน หลกั สูตรทก่ี ำหนดโดย สกอ. ⬜ ไมผ่ ่าน ดำเนินการได.้ ..... ข้อ ระบุข้อ.....) 2. บณั ฑติ 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ 3.50 3.50 ระดบั คุณภาพดี ระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ 2.2ร้อยละของบณั ฑติ ปริญญาตรีท่ีได้งานทำหรือ 4.00 4.11 ระดบั คณุ ภาพดีมาก ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3. นกั ศกึ ษา 3.1 การรับนักศึกษา 5.00 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00 3.00 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง 3.3. ผลที่เกดิ กบั นักศกึ ษา 3.00 3.00 ระดับคณุ ภาพปานกลาง 4. อาจารย์ 4.1. การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 3.00 3.00 ระดับคณุ ภาพปานกลาง 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 5.00 5.00 ระดับคุณภาพดี (คิดคะแนนเฉลีย่ ทกุ ตัวบง่ ช้ที ดี่ ำเนนิ การ) - ร้อยละของอาจารยป์ ระจำหลักสตู รทีม่ คี ณุ วุฒิ 5.00 5.00 ปรญิ ญาเอก 0.00 0.00 5.00 2.50 - ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรท่ีดำรง ตำแหนง่ ทางวชิ าการ - ผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 4.3 ผลท่เี กดิ กับอาจารย์ 3.00 4.00 ระดับคณุ ภาพนอ้ ย 5. หลกั สตู รการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง เรยี นการสอน 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรยี นการสอน 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 5.3 การประเมนิ ผเู้ รยี น 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง

การประเมนิ 5.4 ผลการดำเนนิ งานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน 5.00 5.00 2 ผเู้ รยี น คุณวฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแหง่ ชาติ ระดับคุณภาพดีมาก 6.สิ่งสนับสนนุ 6.1 สง่ิ สนับสนนุ การเรยี นรู้ 3.00 4.00 ระดับคณุ ภาพปานกลาง การเรยี นรู้ คะแนนรวมตัวบ่งช้ีองค์ประกอบท่ี 2-6 51.50 ระดับคุณภาพดี คะแนนเฉลย่ี 3.67 และได้แนบรายงานผลประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน เม่ือปกี ารศกึ ษา 2563 ไว้ ดงั น้ี

3 รายงานผลการประเมินคุณภาพคณุ ภาพการศึกษาภายใน หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาจีน ประจำปีการศกึ ษา 2563 ---------------------------------------------------------------------------------------------- การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในประจำปีการศึกษา 2563 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ขอรบั การประเมินตามองค์ประกอบคณุ ภาพตามเกณฑ์ประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ประกอบด้วย 6 องคป์ ระกอบ 13 ตัวบง่ ช้ี ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการ มีคะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั 3.36 คะแนน อย่ใู นระดับ ดี ตารางที่ 1 ผลการประเมินตามตัวบง่ ชี้ตามองคป์ ระกอบคณุ ภาพ ระดบั หลกั สูตร องค์ประกอบใน ตวั บง่ ชี้ ผลการดำเนนิ งาน คะแนนการ ผลการประเมิน การประกัน (ระบุจำนวนข้อ/ ประเมิน 0.01 - 2.00 คุณภาพหลักสตู ร ตัวเลข) ระดบั คณุ ภาพนอ้ ย 2.01 - 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3.01 - 4.00 ระดับคุณภาพดี 4.01 - 5.00 ระดับคุณภาพดมี าก 1.การกำกับ 1.1การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน ☑ ผ่าน มาตรฐาน หลกั สูตรทก่ี ำหนดโดย สกอ. ⬜ ไมผ่ ่าน ดำเนินการได.้ ..... ข้อ ระบุข้อ.....) 2. บณั ฑติ 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ 3.49 3.59 ระดบั คุณภาพดี ระดับอุดมศกึ ษาแห่งชาติ 2.2ร้อยละของบณั ฑติ ปริญญาตรีท่ีได้งานทำหรือ 4.82 4.55 ระดบั คณุ ภาพดีมาก ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี 3. นกั ศกึ ษา 3.1 การรับนักศึกษา 3.00 3.00 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา 3.00 3.00 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง 3.3. ผลที่เกดิ กบั นักศกึ ษา 3.00 3.00 ระดับคณุ ภาพปานกลาง 4. อาจารย์ 4.1. การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์ 3.00 3.00 ระดับคณุ ภาพปานกลาง 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ 5.00 2.50 ระดับคุณภาพดี (คิดคะแนนเฉลีย่ ทกุ ตัวบง่ ช้ที ดี่ ำเนนิ การ) - ร้อยละของอาจารยป์ ระจำหลักสตู รทีม่ คี ณุ วุฒิ 5.00 5.00 ปรญิ ญาเอก 0.00 0.00 5.00 2.50 - ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรท่ีดำรง ตำแหนง่ ทางวชิ าการ - ผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจำหลักสตู ร 4.3 ผลท่เี กดิ กับอาจารย์ 3.00 3.00 ระดับคณุ ภาพนอ้ ย 5. หลกั สตู รการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง เรยี นการสอน 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรยี นการสอน 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 5.3 การประเมนิ ผเู้ รยี น 3.00 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง

4 การประเมิน 5.4 ผลการดำเนินงานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐาน 5.00 5.00 ระดับคณุ ภาพดีมาก ผเู้ รียน คณุ วฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ ระดับคุณภาพปานกลาง 6.สิ่งสนบั สนนุ 6.1 ส่ิงสนับสนนุ การเรยี นรู้ 3.00 4.00 ระดับคณุ ภาพดี การเรยี นรู้ คะแนนรวมตวั บง่ ช้ีองคป์ ระกอบที่ 2-6 43.64 คะแนนเฉลีย่ 3.36 ตารางท่ี 2 ผลการวเิ คราะห์คณุ ภาพการศกึ ษาภายในระดับหลักสูตร องค์ประกอบ คะแนนผา่ น จำนวน I P O คะแนนเ ผลการประเมนิ ฉลี่ย ท่ี ตัวบง่ ชี้ หลักสูตรไดม้ าตรฐาน 4.07 ระดับคณุ ภาพดมี าก 1 ☑ ผ่าน ⬜ ไม่ผา่ น 3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 2.83 ระดับคุณภาพปานกลาง 2 คะแนน 2 - - 4.07 3.50 4.00 ระดบั คุณภาพดี 3 เฉล่ียของ 3 3.00 - - 3.36 ระดับคุณภาพปานกลาง 4 ทกุ ตวั บง่ ช้ี 3 2.83 - - ระดบั คณุ ภาพดี 5 ในองค์ 4 3.00 3.67 - 6 ประกอบท่ี 1 - 4.00 - 2-6 13 7 4 2 ผลการประเมิน 2.93 3.75 4.07 รายงานผลการวิเคราะหจ์ ุดเด่น/แนวทางเสรมิ จุดทค่ี วรพฒั นาและข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาในภาพรวม จดุ ทคี่ วรพัฒนา 1. ความทนั สมัย ข้อเสนอแนะเพอ่ื พฒั นา 1. การพฒั นารายวชิ าทีค่ อ่ นขา้ งจะเปลี่ยนแปลงเรว็ มีการพัฒนารายวชิ าให้มีความทนั สมัย 2. ควรใช้ศาสตรด์ า้ นภาษาจนี มาบรู ณาการกับศาสตรด์ า้ นอนื่ ๆ เช่นภาษาจนี เพ่อื เทคโนโลยี ภาษาจนี เพ่อื อาชวี อนามยั ภาษาจนี เพื่อผูส้ ูงวัย การรายงานผลการดำเนินงานของหลกั สตู ร (มคอ.7) ทุกสิ้นปีการศึกษาหลักสูตรทุกหลักสูตรต้องดำเนินการจัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) ซ่ึง เอกสารรายงานผลการดำเนนิ การของหลกั สตู ร (มคอ.7) หมายถึง การรายงานผลประจำปีการศกึ ษาโดยอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบ หลกั สูตร เชน่ ขอ้ มูลทางสถิติของนักศกึ ษาที่เรียน ในหลักสูตร สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถาบันท่ีมีผลกระทบต่อ หลกั สตู ร สรปุ ภาพรวมของรายงาน ผลของการดำเนนิ งานในหลักสตู ร ประสทิ ธิภาพของการสอนในมาตรฐานผลการเรียนรูแ้ ต่ ละด้าน สรุปผลการประเมินหลักสูตรจากความเห็นของผู้สำเร็จการศกึ ษา ผู้ใช้บัณฑิต ตลอดจนข้อเสนอในการวางแผนและ พฒั นา รวมท้งั แผนปฏบิ ัติการในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรท่ีเกยี่ วขอ้ ง การรายงานผลดังกลา่ วจะส่งไปยังคณบดี และใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาตนเอง เพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะ ๆ รวมทั้งเป็นข้อมูลประกอบการตรวจ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดบั หลกั สูตรจากผปู้ ระเมนิ ภายนอก โดย มคอ.7 มีสว่ นประกอบทสี่ ำคญั 7 หมวด ดงั น้ี หมวดท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 นกั ศึกษาและบัณฑิต หมวดที่ 3 อาจารย์ หมวดท่ี 4 ข้อมูลผลการเรียนรายวิชาของหลกั สูตรและคุณภาพการสอนในหลกั สตู ร

5 หมวดที่ 5 การบรหิ ารหลักสูตร หมวดที่ 6 ขอ้ คิดเห็นและขอ้ เสนอแนะเกยี่ วกบั คุณภาพหลกั สูตรจากผปู้ ระเมิน หมวดที่ 7 แผนการดำเนนิ การเพอื่ พฒั นาหลักสตู ร การรายงานผลการดำเนนิ งานของหลักสูตรเป็นการรายงานทสี่ อดคลอ้ งกับเกณฑ์การประกนั คุณภาพการศึกษา ซึ่งมี เกณฑ์การประเมินคุณภาพหลักสูตร(รายละเอียดศึกษาจากคู่มือการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน) ทั้งหมด 13 ตัวบ่งชี้ และมี 7 ตัวบ่งช้ี เป็นตวั บ่งชีเ้ ชิงคุณภาพ มีเกณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ เกณฑ์ คำอธบิ ายเกณฑ์ ปรบั ปรุงอยา่ งยิ่ง (0 คะแนน) - ไมม่ ีระบบ ไมม่ ีกลไก ไม่มีแนวคิดในการกำกบั ตดิ ตามและปรับปรงุ - ไม่มีข้อมลู หลกั ฐาน ปรบั ปรงุ (1 คะแนน) - มรี ะบบ มกี ลไก ไมม่ กี ารนำกลไกไปสกู่ ารปฏิบัต/ิ ดำเนนิ งาน พอใช้ (2 คะแนน) - มรี ะบบ มกี ลไก มกี ารนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏิบตั /ิ ดำเนินงาน - มกี ารประเมินกระบวนการ - ไม่มกี ารปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการ ปานกลาง (3 คะแนน) - มรี ะบบ มกี ลไก มกี ารนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏบิ ตั /ิ ดำเนนิ งาน - มีการประเมนิ กระบวนการ - มีการปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ ดี (4 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มกี ารนำระบบ กลไกไปสกู่ ารปฏิบตั ิ/ดำเนินงาน - มีการประเมินกระบวนการ - มีการปรับปรงุ /พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ - มผี ลจากการปรบั ปรุงเห็นชดั เจนเป็นรูปธรรม ดมี าก (5 คะแนน) - มีระบบ มีกลไก มีการนำระบบกลไกไปสู่การปฏบิ ตั ิ/ดำเนนิ งาน - มกี ารประเมินกระบวนการ - มกี ารปรบั ปรงุ /พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ - มีผลจากการปรับปรงุ เห็นชดั เจนเปน็ รูปธรรม - มแี นวทางปฏบิ ัตทิ ด่ี ี โดยมหี ลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ยืนยัน และกรรมการ ผูต้ รวจประเมินสามารถให้เหตอุ ธบิ ายการเปน็ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ไี ดช้ ดั เจน โดยรายงานตามแม่แบบที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้ ตามเอกสารเผยแพร่ทางเว็บไซต์ http://www.nrru.ac.th เลือก เมนู กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และรายงานตามที่ปฏิบัติจริง โดยระบุรายละเอียดตามหัวข้อที่ปรากฏในแม่แบบ มคอ.7 ให้ สอดคลอ้ งกบั หวั ขอ้ และสะท้อนการดำเนินงานหลกั สตู รพรอ้ มแนบเอกสารหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ซง่ึ มีวธิ ีและหลกั การ ดังนี้

หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป 6 1. รหัสและช่ือหลกั สตู ร 25501481105758 ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/ รหสั หลกั สูตร หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาจนี งานวจิ ยั /ปที ต่ี ีพมิ พเ์ ผยแพร่ ชอื่ ภาษาไทย Bachelor of Art Program in Chinese ชอ่ื ภาษาองั กฤษ 2. ระดับคณุ วฒุ ิ ช่ือเต็ม ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ภาษาจนี ) ภาษาไทย ช่ือย่อ ศศ.บ. (ภาษาจีน) ชือ่ เตม็ Bachelor of Arts (Chinese) ภาษาอังกฤษ ชื่อย่อ B.A. (Chinese) 3. อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร คณุ วฒุ ิ (สาขาวิชา) สถาบนั การศกึ ษา (ปีทส่ี ำเร็จการศกึ ษา) อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตรใน มคอ.2 ท่ี ชื่อ–สกลุ ตำแหน่งทางวิชาการ 1. นางจนิ ตนา แย้มละมลุ ศศ.ม. (การสอนภาษาจนี ) รัตนกุล กาญจนะพรกุล, จินตนา แย้มละมุล อาจารย์ มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ (2557) (2560). กฎการเขียนพินอิน. การ ประชุมทางวิชาการและนําเสนอ ศศ.บ. (ภาษาจีน) ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 7“ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (2553) มหาวทิ ยาลยั เพ่ือการรบั ใช้สงั คม...พลัง ขับเคลื่อนประเทศไทยสยู่ ุค 4.0”. คณะ 2. นางสาวชญาภา แก้วสมิ มา M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other วิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา. 6-7 กรกฎาคม 2560, อาจารย์ Languages) หนา้ 1-10. Xiamen University, China. (2556) จินตนา แย้มละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แก้วสิมมา, พชรมน ซ่ือสัจลือสกุล และ ศศ.บ. (ภาษาจนี ) ธรี วฒั น์ การโสภา (2558). การส่ือสาร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา (2553) ภาษาจีนเบ้อื งตน้ . นครราชสีมา: พิมพ์ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หนา้ . จินตนา แย้มละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แกว้ สมิ มา, พชรมน ซือ่ สจั ลอื สกุล และ ธรี วัฒน์ การโสภา (2558). การส่ือสาร ภาษาจีนเบื้องต้น. นครราชสมี า: พิมพ์ ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หนา้ .

7 3. นางสาวจิราพร ปาสาจะ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒน์ การโสภา(2560). อาจารย์ Languages) การศึกษาความหมายแฝงทางภาษา Xinan University, China. (2555) และวัฒนธรรมของ “ไก่”ผ่านสำนวน 4. นายธรี วัฒน์ การโสภา ศศ.บ. (ภาษาจีน)มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น (2553) จีน. การประชุมทางวิชาการและ อาจารย์ นำเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ คร้ังท่ี 7 M.A. (Chinese Philology) Zhejiang University, “มหาวิทยาลัยเพื่อการรับใช้สังคม... 5. นางสาวรจุ ริ า ศรีสุภา China. (2558) พลังขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ยุค 4.0”. อาจารย์ ศศ.บ. (ภาษาจีน)มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (2555) คณะวทิ ยาการจัดการมหาวทิ ยาลัยราช ภัฏนครราชสมี า. 6-7 กรกฎาคม 2560, Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) หน้า 340-350. Xiamen University ,China. (2559) จินตนา แย้มละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา ศศ.ม. (วรรณคดจี นี สมัยใหม่และร่วมสมัย) แกว้ สมิ มา, พชรมน ซ่ือสัจลอื สกุล และ มหาวทิ ยาลยั หัวเฉยี วเฉลิมพระเกยี รติ (2554) ธีรวัฒน์ การโสภา (2558). การสื่อสาร ศศ.บ. (ภาษาจีน) ภาษาจีนเบอ้ื งต้น. นครราชสมี า: พมิ พ์ท่ี มหาวทิ ยาลยั นเรศวร (2546) มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หนา้ จินตนา แย้มละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แกว้ สมิ มา, พชรมน ซื่อสัจลือสกุล และ ธีรวัฒน์ การโสภา (2558). การสื่อสาร ภาษาจนี เบอื้ งต้น. นครราชสมี า: พมิ พ์ท่ี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หนา้ . รุจิรา ศรีสุภา, วิชมัย อิ่มวิเศษ และ Li Xuanxuan (2561). การศึกษาการใช้ พจ นานุ ก รมแ ละป ั ญ หา ก า ร ใ ช้ พจนานุกรมในการแปล 2 นักศึกษา วิชาเอกภาษาจีนชั้น ปีท่ี 3 คณะ มนุษยศาสตร์แ ละสังค มศ า สต ร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. การ ประชุมวิชาการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งท่ี 10 โดย ความรว่ มมอื ระหว่างมหาวทิ ยาลัยราช ภัฎนครราชสีมากับเครือข่าย มหาวิทยาลัยราชภัฎทั่วประเทศและ ภาค ี เ ค รื อ ข่ าย ใ นพื ้ น ท ี ่ จั ง หวัด นครราชสีมา. 7-8 สิงหาคม 2561, หนา้ 110. รจุ ริ า ศรีสภุ า (2560). ขอ้ ผิดพลาดในการเขยี น บทความภาษาจีนของนักศึกษาไทย. การประชุมทางวิชาการและนำเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติครั้งท่ี 7“ มหาวิทยาลัยเพื่อการรับใช้สังคม...

8 พลงั ขบั เคลือ่ นประเทศไทยสยู่ ุค 4.0”. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา. 6-7 กรกฎาคม 2560, หน้า 1623-1632. รุจิรา ศรีสุภา. (2559). วัฒนธรรม ศิลปะ ป ร ะ เ พ ณ ี จ ี น . น ค ร ร า ช ส ี ม า : พ ิ ม พ ์ ท่ี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2559, 127 หนา้ . หมายเหตุ ผลงานทางวชิ าการ 5 ปยี อ้ นหลัง ให้นับตามปีการศึกษาในปีทป่ี ระเมนิ เปน็ ปที ี่ 1 อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รปัจจุบัน ท่ี ชอ่ื –สกุล คุณวฒุ ิ (สาขาวิชา) ผลงานทางวิชาการ/ตำรา/ หมายเหตุ ตำแหน่งทาง สถาบนั การศึกษา งานวิจยั /ปีทีต่ พี ิมพ์เผยแพร่ วิชาการ (ปีที่สำเรจ็ การศึกษา) 1. นางสาวรุจิรา Ph.D. (Linguistics and Applied รุจิรา ศรีสุภา. (2562). ผลสัมฤทธิ์ทางการ ศรสี ุภา Linguistics) Xiamen แ ป ล ภ า ษ า จ ี น แ ล ะ ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ต ่ อ ก า รใ ช้ อาจารย์ University,China (2559) แบบฝึกหัดเสริมทักษะของนักศึกษาวิชาเอก ภาษาจีน ชั้นปีท่ี 3.วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีที่ ศศ.ม.(วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วม 11 ฉบับท่ี 3, กันยายน-ธันวาคม 2562, หน้า สมัย) 285-294. (TCI กลุ่มท่ี 1) มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ (2554) รจุ ิรา ศรสี ุภา (2560)“การวิเคราะห์ข้อผิดพลาด การเรียนภาษาจีนของนักศึกษาไทย”เอกสาร ศศ.บ.(ภาษาจนี ) ป ร ะ ช ุ ม ว ิ ช า ก า ร แ ล ะ น ำ เ ส น อ ผ ล ง า น ว ิ จั ย มหาวทิ ยาลัยนเรศวร (2546) ระดับชาตคิ รั้งที่ 7 มหาวิทยาลยั เพอื่ รับใช้สังคม พลังขบั เคล่ือนประเทศไทยสยู่ ุค 4.0 รุจิรา ศรีสุภา,วิชมัย อิ่มวิเศษ,Li Xuanxuan (2560) การศึกษาการใชพ้ จนานกุ รมและปัญหา การใช้พจนานุกรมในการแปล 2 นักศึกษา วิชาเอกภาษาจีนชั้นปีท่ี 3 คณะมนุษยศาสตร์ แ ละสั ง ค มศ าสต ร์มหาวิ ทย าลั ยราชภัฎ นครราชสีมา เอกสารประชุมวิชาการและ นำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติครั้งที่ 10 ถัก ถองานวิจัยท้องถิ่น ก้าวไกลสู่สากล ( Connecting Local Research to International Perspectives)

9 2. นางสาวจิราพร M.A. (Teaching Chinese to จิราพร ปาสาจะ. (2563). การศกึ ษาความเข้าใจ ปาสาจะ Speakers of Other Languages) อาจารย์ Xinan University,China ในการแปลคำบอกทศิ ทาง “上” (Shang) (2555) จากภาษาจีนเป็นภาษาไทยของนักศึกษา 3. นางจินตนา สาขาวิชาภาษาจีนชั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ แย้มละมลุ ศศ.บ.(ภาษาจนี ) นครราชสีมา. วารสารสหวิทยาการศาสตร์และ อาจารย์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ การส่อื สาร. ปที ่ี 3 ฉบบั ที่ 1, มกราคม-เมษายน (2553) 2563, หน้า 68-82. (TCI กล่มุ ท่ี 2) 4. นายธรี วัฒน์ การโสภา จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒน์ การโสภา(2560) อาจารย์ “ก า ร ศ ึ ก ษ า ค ว า ม ห ม า ย แ ฝ ง ท า ง ภ า ษ า แ ล ะ วัฒนธรรมของ “ไก่” ผ่านสำนวนสุภาษิตจนี ” เอกสารประชมุ วิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย ระดบั ชาตคิ ร้งั ท่ี 7 มหาวทิ ยาลยั เพ่ือรับใช้สังคม พลงั ขับเคลอ่ื นประเทศไทยสยู่ ุค 4.0 ศศ.ม.(การสอนภาษาจนี ) จินตนา แย้มละมุล,วรยศ ชื่นสบาย. (2564). มหาวิทยาลยั หัวเฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ การพัฒนาความสามารถในการอ่านป้าย (2557) สัญลักษณ์ภาษาจีนของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาจีน โดยใช้สื่อที่เป็นชุดฝึก ศศ.บ.(ภาษาจีน) ภาษาจีน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นวัตกรรมทอ้ งถิ่น, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2. กุมภาพันธ์ (2553) พ.ศ. 2564, หนา้ 167-180 (TCI กลุ่มท่ี 2) รัตนกุล กาญจนะพรกุล, จินตนา แย้มละมุล (2560) “กฎการเขียนพินอิน” เอกสารประชุม วิชาการและนำเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยเพื่อรับใช้สังคมพลังขับเคลื่อน ประเทศไทยสู่ยคุ 4.0 Ph.D. (Linguistics and Applied ธีรวัฒน์ การโสภา, ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์. Linguistics) Shanghai Normal University, China (2563) (2564). การพัฒนาผลสมั ฤทธก์ิ ารใช้“几” M.A. (Chinese Philology) และ “多少”ของนักศึกษาชั้นปีท่ี 2 Zhejiang University,China สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏ (2558) นครราชสีมา โดยใช้ชุดฝึกทักษะ. วารสารการ บริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, ปีท่ี 7 ศศ.บ.(ภาษาจีนธุรกิจ) ฉบับท่ี2, กมุ ภาพนั ธ์ 2564, หน้า 227-239 (TCI มหาวิทยาลัยขอนแก่น กลุม่ ที่ 2) (2556) จิราพร ปาสาจะ,ธีรวัฒน์ การโสภา(2560) B.A.(Chinese Languages and “ก า ร ศ ึ ก ษ า ค ว า ม ห ม า ย แ ฝ ง ท า ง ภ า ษ า แ ล ะ Literature) วัฒนธรรมของ “ไก่” ผ่านสำนวนสุภาษิตจีน” Xinan University,China เอกสารประชมุ วิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย (2556) ระดับชาตคิ รง้ั ท่ี 7 มหาวิทยาลัยเพ่ือรับใช้สังคม พลังขบั เคล่อื นประเทศไทยสู่ยุค 4.0

10 5. นางสาวปานดวงใจ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) ธีรวัฒน์ การโสภา, ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน.์ สภามหาว ิท ย า ลั ย บุญจนาวิโรจน์ Nanjing Normal University,China (2564). การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์การใช้“几” อนุมัตใิ ห้เป็นอาจารย์ อาจารย์ (2556) และ “多少”ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู ร สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏ (มติเห็นชอบจากสภา นครราชสีมา โดยใช้ชุดฝกึ ทักษะ. วารสารการ มหาวิทยาลยั ในการ ศศ.บ.(ภาษาจีน) บริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, ปีที่ 7 ประชมุ สภา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2554) ฉบบั ท่ี2, กมุ ภาพนั ธ์ 2564, หนา้ 227-239 (TCI มหาวิทยาลยั ครั้งท่ี 9/2564 เมือ่ วันที่ 15 กลุ่มที่ 2) ต.ค. 2564) หลักฐาน : บันทึกข้อความเรื่อง แจ้งสรุปมตกิ ารประ ชุมและรายชอ่ื อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบ หลกั สูตร อาจารย์ประจำหลกั สูตร ระบชุ ่อื อาจารย์ประจำหลกั สูตร ตามทป่ี รากฏใน มคอ.2 หมวดที่ 3 ท่ี ชอื่ –สกลุ คุณวุฒิ (สาขาวิชา) ผลงานทางวชิ าการ/ตำรา/ งานวิจยั /ปีท่ีตพี มิ พเ์ ผยแพร่ ตำแหนง่ ทางวิชาการ สถาบันการศึกษา (ปที ส่ี ำเรจ็ การศึกษา) 1. นางจนิ ตนา ศศ.ม. (การสอนภาษาจนี ) รัตนกลุ กาญจนะพรกลุ , จนิ ตนา แย้มละมลุ (2560). กฎการเขียนพิน แย้มละมุล มหาวิทยาลยั หัวเฉยี วเฉลมิ พระ อนิ . การประชุมทางวชิ าการและนําเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ อาจารย์ เกียรติ (2557) ครั้งท่ี 7“มหาวิทยาลัยเพื่อการรับใช้สังคม...พลังขับเคลื่อน ประเทศไทยสู่ยุค 4.0”. คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ศศ.บ. (ภาษาจนี )มหาวทิ ยาลัย ราชภฏั นครราชสีมา. 6-7 กรกฎาคม 2560, หน้า 1-10. ราชภัฏนครราชสีมา (2553) จินตนา แย้มละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แก้วสิมมา, พชรมน ซอ่ื สัจลือสกุล และธรี วัฒน์ การโสภา (2558). บทที่ 6 การถาม ที่อยู่ บทที่ 7 การถามเก่ียวกบั สมาชิกครอบครัว บทที่ 8 การ ถามวนั เดือนปี ในการสอื่ สารภาษาจีนเบ้ืองต้น. นครราชสีมา: พมิ พท์ ่มี หาวิทยาลยั ราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หน้า. 2. นางสาวชญาภา M.A. (Teaching Chinese to จินตนา แยม้ ละมุล, จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แกว้ สิมมา, พชรมน แกว้ สิมมา Speakers of Other ซ่ือสจั ลอื สกลุ และธีรวฒั น์ การโสภา (2558). บทที่ 1 ระบบ อาจารย์ Languages) เสียงในภาษาจีน บทท่ี 2 อกั ษรจนี ในการสือ่ สารภาษาจีน Xiamen University, China. เบอ้ื งต้น. นครราชสีมา: พมิ พ์ท่ีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎ (2556) นครราชสมี า. เมษายน 2558, 101 หนา้ . ศศ.บ. (ภาษาจีน)มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครราชสีมา (2553)

11 3. นางสาวจิราพร M.A. (Teaching Chinese to จริ าพร ปาสาจะ,ธีรวฒั น์ การโสภา(2560). การศกึ ษาความหมายแฝง ปาสาจะ Speakers of Other ทางภาษาและวฒั นธรรมของ “ไก่”ผา่ นสำนวนจนี . การประชุม อาจารย์ Languages) ทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งท่ี 7 Xinan University, China. “มหาวทิ ยาลัยเพื่อการรบั ใช้สังคม...พลงั ขับเคลือ่ นประเทศไทย 4. นายธรี วฒั น์ (2555) สู่ยุค 4.0”. คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏ การโสภา นครราชสีมา. 6-7 กรกฎาคม 2560, หน้า 340-350. อาจารย์ ศศ.บ. (ภาษาจีน) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ (2553) จินตนา แยม้ ละมลุ , จิราพร ปาสาจะ, ชญาภา แกว้ สมิ มา, พชรมน ซือ่ 5. นางสาวรุจิรา สจั ลอื สกุล และธรี วัฒน์ การโสภา (2558). บทท่ี 9 การถาม ศรีสุภา เวลา ในการสอ่ื สารภาษาจีนเบอื้ งตน้ . นครราชสีมา: พิมพ์ท่ี อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. เมษายน 2558, 101 หนา้ . M.A. (Chinese Philology) จินตนา แยม้ ละมุล, จริ าพร ปาสาจะ, ชญาภา แก้วสมิ มา, พชรมน ซ่อื Zhejiang University, China. สจั ลอื สกุล และธรี วฒั น์ การโสภา (2558). บทท่ี 10 การถาม (2558) เกย่ี วกบั การเดนิ ทาง ในการสือ่ สารภาษาจนี เบอื้ งตน้ . นครราชสมี า: พมิ พ์ท่มี หาวทิ ยาลัยราชภัฎนครราชสมี า. ศศ.บ. (ภาษาจีน) เมษายน 2558, 101 หน้า. มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2555) Ph.D. (Linguistics and รุจิรา ศรีสุภา, วิชมัย อิ่มวิเศษ และLi Xuanxuan (2561). การศึกษา Applied Linguistics) การใช้พจนานุกรมและปัญหาการใช้พจนานกุ รมในการแปล 2 Xiamen University ,China. นักศึกษาวิชาเอกภาษาจีนชั้นปีที่ 3 คณะมนุษยศาสตร์และ (2559) สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. การประชุม วชิ าการและนำเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ ครง้ั ที่ 10 โดยความ ศศ.ม. (วรรณคดีจนี สมัยใหม่ ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลยั ราชภัฎนครราชสีมากับเครือขา่ ย และรว่ มสมัย) มหาวิทยาลัยราชภัฎทั่วประเทศและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ มหาวทิ ยาลัยหัวเฉยี วเฉลิมพระ จังหวดั นครราชสมี า. 7-8 สิงหาคม 2561, หนา้ 110. เกียรติ (2554) รุจิรา ศรีสุภา (2560). ข้อผิดพลาดในการเขียนบทความภาษาจีนของ ศศ.บ. (ภาษาจีน) มหาวทิ ยาลยั นกั ศึกษาไทย. การประชมุ ทางวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัย นเรศวร (2546) ระดับชาติครั้งท่ี 7“มหาวิทยาลัยเพื่อการรับใช้สังคม... พลัง ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ยุค 4.0”. คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 6-7 กรกฎาคม 2560, หน้า 1623-1632. รจุ ริ า ศรีสภุ า. (2559). วัฒนธรรม ศิลปะ ประเพณีจนี .นครราชสมี า: พมิ พ์ที่มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา. เมษายน 2559, หนา้ 127 อาจารยผ์ ู้สอน (รวมอาจารยพ์ เิ ศษ) ระบุรายช่ืออาจารย์ผู้สอนทกุ คนท่ปี รากฏในแผนการเรยี น ในแตล่ ะภาคการศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ท่ี ช่ือ–สกลุ คุณวฒุ ิสงู สุด (สาขาวชิ า) ตำแหนง่ ทางวชิ าการ สถาบนั การศกึ ษา (ปีทสี่ ำเรจ็ การศึกษา)

1. นางสาวรจุ ริ า ศรสี ุภา 12 อาจารย์ Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics ) 2. นางจนิ ตนา แย้มละมุล Xiamen University ,China (2559) อาจารย์ ศศ.ม.(การสอนภาษาจีน) มหาวิทยาลัยหัวเฉยี วเฉลิมพระเกียรติ (2557) 3. นางสาวจริ าพร ปาสาจะ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other อาจารย์ Languages) Xinan University ,China (2555) M.A.(Chinese Philology) Lanzhou University (2562) 4. นายวรยศ ชื่นสบาย อาจารย์ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) Nanjing Normal University, China (2556) 5. นางสาวปานดวงใจ บุญจนาวโิ รจน์ M.A. (Biochemistry and molecular biology) Jilin อาจารย์ University ,China (2553) Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Beijing 6. Miss Yang Shujuan Language and Culture University, China (2563) อาจารย์ Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Shanghai Normal University, China (2563) 7. นางสาวพชรมน ซอ่ื สจั ลอื สกลุ อาจารย์ คุณวฒุ ิสูงสุด (สาขาวชิ า) สถาบันการศกึ ษา (ปที ส่ี ำเร็จการศกึ ษา) 8. นายธีรวฒั น์ การโสภา อาจารย์ Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics ) Xiamen University ,China (2559) ภาคการศกึ ษาที่ 2 ชือ่ –สกลุ ศศ.ม.(การสอนภาษาจีน) ตำแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกยี รติ (2557) ท่ี M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other Languages) Xinan University ,China (2555) 1. นางสาวรุจิรา ศรีสุภา M.A.(Chinese Philology) Lanzhou University (2562) อาจารย์ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other 2. นางจินตนา แยม้ ละมลุ Languages) Nanjing Normal University, China (2556) อาจารย์ Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Beijing Language and Culture University, China (2563) 3. นางสาวจิราพร ปาสาจะ อาจารย์ 4. นายวรยศ ชืน่ สบาย อาจารย์ 5. นางสาวปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์ อาจารย์ 6. นางสาวพชรมน ซือ่ สจั ลอื สกลุ อาจารย์

7. นายธีรวัฒน์ การโสภา 13 อาจารย์ Ph.D. (Linguistics and Applied Linguistics) Shanghai 8. นายวชิ มัย อ่มิ วิเศษ Normal University, China (2563) อาจารย์ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other 9. Mr. Meng Lingbao Languages) Capital Normal University, China (2559) อาจารย์ ศศ.ม.(การสอนภาษาจนี ) อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกยี รติ (2558) 1. นายวิชมยั อม่ิ วเิ ศษ M.A. (Teaching Chinese to Speakers of Other อาจารย์ Languages) Capital Normal University, China (2559) ศศ.ม.(การสอนภาษาจนี ) 2. Mr. Meng Lingbao มหาวทิ ยาลยั หัวเฉียวเฉลิมพระเกยี รติ (2558) อาจารย์ 4. สถานทีจ่ ัดการเรยี นการสอน อาคาร 36 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์และอาคารเรยี นรวมภายในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า อำเภอเมือง จงั หวดั นครราชสีมา 5. การกำกบั ใหเ้ ป็นมาตรฐาน (ตัวบง่ ชี้ 1.1) (หลกั ฐาน มคอ.2หลกั สูตรศศ.บ.ภาษาจนี 2560) ผลการดำเนินงาน ท่ี เกณฑก์ ารประเมิน เป็นไป ไมเ่ ปน็ ไป เอกสารหลักฐาน ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ 1 จำนวนอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตร ✔ ตารางที่ 1 ในภาคผนวก ตารางที่ 2 ในภาคผนวก 2 คณุ สมบัตอิ าจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร ✔ ตารางท่ี 2 ในภาคผนวก ตารางท่ี 3 ในภาคผนวก 3 คุณสมบตั ิอาจารยป์ ระจำหลักสูตร ✔ ตารางที่ 4 ในภาคผนวก 4 คณุ สมบตั ขิ องอาจารยผ์ ู้สอน ✔ 5 คุณสมบตั ขิ องอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลักและอาจารย์ - ทปี่ รึกษาการค้นควา้ อิสระ 6 คณุ สมบตั ิของอาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานิพนธร์ ว่ ม (ถา้ มี) - ตารางท่ี 4 ในภาคผนวก 7 คณุ สมบัตขิ องอาจารย์ผสู้ อบวทิ ยานิพนธ์ - ตารางที่ 5 ในภาคผนวก 8 การตพี ิมพ์เผยแพร่ผลงานของผูส้ ำเรจ็ การศึกษา - ตารางที่ 6 ในภาคผนวก 9 ภาระงานอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์และการค้นควา้ อิสระ - ตารางที่ 4 ในภาคผนวก ในระดับบัณฑติ ศึกษา

14 10 การปรบั ปรงุ หลกั สูตรตามรอบระยะเวลาท่กี ำหนด ✔ ตารางท่ี 7 ในภาคผนวก หมายเหตุ 1. เกณฑก์ ารประเมินสำหรบั เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร พ.ศ. 2558 2. หลักสตู รระดบั ปริญญาตรี รายงานเฉพาะผลการดำเนินงาน ตามเกณฑ์ขอ้ 1-4 และ 10 3. หลกั สูตรระดบั บัณฑิตศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามเกณฑข์ อ้ 1-10 4. หากการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑ์ใหใ้ สเ่ ครือ่ งหมาย ✔ ในช่อง “ผา่ น” หากการดำเนนิ งานไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ให้ใส่เคร่อื งหมาย ✔ ในช่อง “ไม่ผา่ น”

15 หมวดที่ 2 นักศกึ ษาและบัณฑิต 1. ข้อมูลนักศึกษา รายงานข้อมูลนกั ศึกษาต้ังแตเ่ ร่มิ ใชห้ ลักสตู รจนถึงปีการศึกษาท่ีรายงาน ปกี ารศึกษา จำนวน นกั ศึกษาท่คี งอยูแ่ ต่ละปี ทีเ่ ข้า นกั ศกึ ษา ชน้ั ปที ี่ 1 ชน้ั ปที ี่ 2 ชนั้ ปที ่ี 3 ช้ันปที ี่ 4 ท่รี ับเข้า จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 2560 75 74 98.67 64 85.33 63 84.00 62 82.67 2561 80 78 97.50 68 85.00 66 82.50 62 77.50 2562 74 74 100.00 63 85.14 61 82.43 2563 76 75 98.68 60 78.95 2564 71 71 100.00 หมายเหตุ ประธานหลักสูตรสามารถตรวจสอบข้อมูลนักศึกษา ได้ที่ http://mis.nrru.ac.th (หลักฐาน: ข้อมลู นกั ศึกษาต้ังแตเ่ ร่มิ ใช้หลกั สตู ร) 2. ปัจจัยทีม่ ผี ลกระทบต่อจำนวนนกั ศกึ ษาแรกเขา้ ไมม่ ี เนือ่ งจากหลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาจนี คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราช ภัฏนครราชสมี า เปน็ หลกั สูตรภาษาจนี ทไี่ ดร้ ับความนยิ ม ทำให้จำนวนผู้สมคั รเพ่อื ศึกษาต่อในระดับอุดมศกึ ษาเปน็ ไป ตาม แผนรับนกั ศึกษาตลอดมา จงึ ไม่กระทบตอ่ จำนวนนกั ศกึ ษาแรกเข้าของหลักสตู รแต่อย่างใด 3. ปัจจัย/สาเหตุทม่ี ผี ลกระทบตอ่ จำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา ผู้ปกครองของนักศึกษามีรายได้ไม่เพียงพอส่งเสียเป็นค่าเล่าเรยี น ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายอื่นๆ จึงทำให้นักศึกษาต้อง ลาออกไปทำงาน หรือเรยี นไปด้วยทำงานไปด้วยสง่ ผลใหน้ ักศึกษาไม่สามารถจัดการเวลาของตนเองได้เนอ่ื งจากเหน่ือยจาการ ทำงานเลิกดึก ส่งผลใหข้ าดสมาธใิ นการเรยี น เขา้ เรยี นสายเกินเวลาทก่ี ำหนดหรือขาดเรียน ทำใหไ้ ม่มาเข้าสอบหรอื มาสอบแต่ ไม่ผ่าน บางรายมีปัญหาสุขภาพ ส่งผลกระทบต่อผลการเรียน มีเกรดเฉลี่ยสะสมไม่ถึง 1.80 จึงพ้นสภาพนักศึกษา หรือ นักศึกษาเลือกเรียนสาขาภาษาจีนซึ่งไม่ใช่ความถนัดหรือความสนใจของตนเอง ส่งผลนักศึกษาให้ลาออกในภายหลังทำให้ จำนวนนักศึกษาไม่คงท่ี 4. จำนวนนักศกึ ษาที่สำเรจ็ การศึกษาในปที ่รี ายงาน 4.1 จำนวนนักศกึ ษาทส่ี ำเร็จการศกึ ษากอ่ นกำหนดเวลาของหลักสูตร ไม่มี 4.2 จำนวนนักศกึ ษาที่สำเรจ็ การศกึ ษาตามกำหนดเวลาของหลักสูตร จำนวน 45 คน 4.3 จำนวนนกั ศึกษาที่สำเรจ็ การศกึ ษาหลงั กำหนดเวลาของหลักสตู ร จำนวนนกั ศกึ ษาทีส่ ำเรจ็ การศึกษาหลังกำหนดเวลาของหลักสตู ร 8 คน 4.4 จำนวนนกั ศกึ ษาทีส่ ำเรจ็ การศกึ ษาในสาขาวิชาเอกตา่ ง ๆ (ระบุ ไม่มี

16 5. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาตงั้ แตเ่ ริ่มใช้หลกั สูตร ปีการศึกษา จำนวน จำนวน จำนวน จำนวน ทีร่ ับเขา้ นักศึกษาที่รับเข้า ผ้สู ำเร็จการศกึ ษา นกั ศึกษาที่คงอยู่ นกั ศึกษาท่หี ายไป 2560 75 45 2 28 2561 80 - 47 14 2562 74 - 61 13 2563 75 - 57 18 2564 71 - 71 0 หมายเหตุ ประธานหลักสตู รสามารถตรวจสอบขอ้ มูลผู้สำเร็จการศกึ ษา ได้ที่ http://mis.nrru.ac.th (หลกั ฐาน : จำนวนผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษาตัง้ แต่เรมิ่ ใชห้ ลักสูตร) 6. ปจั จัยทม่ี ีผลกระทบต่อการสำเรจ็ การศกึ ษา เนื่องจากสถานการณ์โควิดทำให้มีผลกระทบทั่วโลก นักศึกษาร้อยละ 80 ทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย จงึ ได้รบั ผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ อยา่ งมากตอ่ การชำระคา่ เทอม ประกอบกับปัญหาทางการเงินของครอบครัว ทำใหน้ ักศึกษา ต้องพกั การเรียน 7. คณุ ภาพของบณั ฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ อิ ุดมศึกษาแห่งชาติ (ตวั บ่งช้ี 2.1) วนั ที่รายงานขอ้ มูล 27 มถิ ุนายน 2565 ข้อ ขอ้ มลู พื้นฐาน ผลการดำเนนิ งาน 1 จำนวนผู้สำเรจ็ การศึกษาทงั้ หมด 45 2 จำนวนบณั ฑิตทีไ่ ด้รบั การประเมินท้ังหมด 45 3 ร้อยละของบัณฑิตท่ีไดร้ บั การประเมิน 100 4 ผลรวมของค่าคะแนนทไ่ี ด้จากการประเมินบณั ฑติ 3.50 5 ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บณั ฑิตตาม กรอบมาตรฐาน TQF ใน 3.50 ภาพรวม - ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม 3.66 - ด้านความรู้ 3.55 - ด้านทักษะทางปญั ญา 3.29 - ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 3.60 - ดา้ นทกั ษะความคิดวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยี 3.40 - ดา้ นอ่นื ๆ - 6 ค่าเฉลีย่ ของคะแนนประเมินความพงึ พอใจผใู้ ชบ้ ัณฑิตตามอัตลักษณ์ “สำนกึ ดี มีความรู้ 3.50 พรอ้ มส้งู าน” ในภาพรวม - สำนกึ ดี 3.75 - มีความรู้ 3.75 - พรอ้ มสงู้ าน 3.75 หมายเหตุ 1. จำนวนบัณฑิตที่ได้รับการประเมนิ จากผใู้ ช้บัณฑิตจะต้องไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 20 ของจำนวนบณั ฑิตที่ สำเร็จการศึกษา

17 2. ข้อมลู สถานประกอบการ ผรู้ บั ผิดชอบระดบั คณะ/กองประกนั คณุ ภาพการศึกษาเปน็ หนว่ ยงานทใ่ี ห้ขอ้ มูล หลักสตู ร ศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาจนี ได้ทำการสำรวจจากผใู้ ชบ้ ณั ฑิตของบัณฑิตที่สำเรจ็ การศึกษาในปี การศกึ ษา 2563 จำนวน 45 คน มีจำนวนบัณฑติ ท่ีไดร้ ับการประเมนิ จากผ้ใู ช้บณั ฑติ ทงั้ ส้ิน 45 คน มีคา่ เฉลี่ยของคะแนน ประเมินบณั ฑิตเทา่ กบั 3.50 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน (หลกั ฐาน: 1. จำนวนผ้สู ำเรจ็ การศกึ ษาในปีการศกึ ษา 2563 และ 2. ผลการประเมินของผใู้ ชบ้ ัณฑิต) 8. ภาวะการไดง้ านทำ วนั ทีร่ ายงานขอ้ มลู 27 มถิ นุ ายน 2565 ข้อ ข้อมูลพื้นฐาน จำนวน รอ้ ยละ 1 จำนวนผูส้ ำเร็จการศึกษา 45 62.66 86.67 2 จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 39 92.59 3.46 3 จำนวนบณั ฑิตทีไ่ ด้งานทำ (งานใหม่) 25 68.97 4 จำนวนบณั ฑิตทปี่ ระกอบอาชีพอสิ ระ (อาชพี ใหมท่ ่เี กิดขึน้ หลงั สำเรจ็ การศึกษา) 4 0 6.45 5 จำนวนบณั ฑิตทไ่ี ดง้ านทำตรงสาขา 20 0 0 6 จำนวนบัณฑิตที่ศกึ ษาตอ่ อยา่ งเดียว 0 20.51 82.22 7 จำนวนบณั ฑิตท่มี งี านทำก่อนเข้าศกึ ษา 2 8 จำนวนบณั ฑิตทีไ่ ดร้ บั การเกณฑ์ทหาร 0 9 จำนวนบณั ฑิตทอี่ ปุ สมบท 0 10 จำนวนบณั ฑติ ทีไ่ ม่ไดง้ านทำ 8 11 จำนวนบัณฑิตทีส่ ำเรจ็ การศกึ ษาในรอบปนี ้ันท่ีตอบแบบสำรวจ (ไมน่ บั รวมผู้ที่มีงานทำก่อนเข้า 37 ศึกษา ผูศ้ กึ ษาตอ่ ผูไ้ ดร้ ับการเกณฑท์ หาร อปุ สมบท และศกึ ษาตอ่ ) หมายเหตุ 1. จำนวนบัณฑิตทีต่ อบแบบสำรวจจะตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ของจำนวนบณั ฑิตทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษา 2. ขอ้ มูลภาวะการมงี านทำ ผู้รับผดิ ชอบระดับคณะ/กองประกันคณุ ภาพการศึกษา เป็นหน่วยงานท่ใี ห้ข้อมูล รอ้ ยละของบณั ฑิตท่ีได้งานทำหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี คะแนนผลการประเมนิ ในปีนี้ = คา่ รอ้ ยละของบณั ฑิตปริญญาตรีทไ่ี ดง้ านทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี x 5 100 = 82.22X 5÷100= 4.11 9. การวเิ คราะหผ์ ลทีไ่ ด้ จากภาวะการมีงานทำของบัณฑิต บัณฑิตมีงานทำ คิดเป็นคดิ เป็นร้อยละ 82.22 การมีงานทำของบัณฑิตท่ที ำงาน ตรงสาขา คดิ เป็นรอ้ ยละ68.97 บณั ฑิตท่ีประกอบอาชพี อิสระ จำนวน 4 คน บัณฑติ ทไ่ี ม่มีงานทำ จำนวน 8 คน จากภาวะการ มีงานทำดงั กล่าว เนอ่ื งจากสถานการณ์โควิดไดม้ กี ารแพรร่ ะบาดอย่างตอ่ เนือ่ ง ทำให้กระทบต่อการหางานทำของบณั ฑิต ความ ต้องการบุคลากรทางด้านภาษาจีนของตลาดแรงงาน และความต้องการบัณฑิตที่มีสามารถเฉพาะทางของตลาดก็ลดลง (หลกั ฐาน: สรปุ ภาวะการมงี านทำ)

18 10. รายงานผลตามตวั บ่งช้ี ผลการดำเนนิ งาน ตัวบ่งช้ี การรบั นักศึกษา ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มผี ลการดำเนนิ งานในระดับ 3 (ตัวบ่งช้ี 3.1) ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2564 มีผลการดำเนินงานในระดบั 5 1. การรบั นักศึกษา มผี ลการดำเนินงาน ดงั น้ี (P) 1.1 การกำหนดเป้าหมายจำนวนรบั นักศึกษา อาจารยป์ ระจำหลักสูตรประชุมหารือ วางแผนการรับนักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกษา 2564 ร่วมกนั โดยกำหนดการรับ นกั ศกึ ษาใหมใ่ นปี 2564 ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการรับนักศกึ ษาของหลักสตู ร คือ รบั นักศกึ ษาใหม่ 2 หมเู่ รียน หมู่เรียนละ 35 คน รวม 70 คน คุณสมบัตขิ องผู้เขา้ ศึกษาท่ีได้ระบไุ วใ้ น มคอ.2 หลังจากน้ันต้งั คณะกรรมการสอบคัดเลอื ก ประชุมวางแผน กำหนดรอบของการสอบคดั เลอื กนักศึกษาใหม่ประจำปีการศึกษา 2564 แบง่ การสอบคดั เลอื กออกเปน็ 3 รอบ คือ (1) รอบแฟ้มสะสมผลงาน วางแผนการสอบคดั เลือกนักศกึ ษาใหม่ออกเป็น 2 รอบคือ รอบคปู องหลักสูตร และรอบย่ืนแฟ้ม สะสมผลงาน ซ่ึงจำนวนทเ่ี ปิดรบั นกั ศึกษาใหม่ในรอบนีเ้ พิ่มขึ้นจากเดิม 20 คน เป็น 35 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 75 ตามผลสรปุ จาก การรับนักศกึ ษาในปี 2563 ที่เหน็ วา่ จำนวนผู้สมคั รเรียนในรอบนี้สงู กวา่ รอบอนื่ จึงควรขยายจำนวนการรบั นกั ศึกษาใหม่เพ่ิม (2) รอบโควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื วางแผนรับนักศกึ ษาใหม่ 20 คน (3) รอบรับตรงรว่ มกัน วางแผนรับนกั ศึกษาใหม่ 15 คน ทงั้ นี้ หลักสตู รได้วางแผนกำหนดจำนวนรบั นักศกึ ษาตามทีก่ ำหนดในมคอ.2 เป็นหลัก คอื 70 คน แต่มีการกำหนดอัตราการ คงอยู่ใหม้ ากขึน้ กว่าปที ีแ่ ลว้ อยา่ งนอ้ ย 3 เปอรเ์ ซน็ ต์ (D) 1.2 เกณฑ/์ เครื่องมอื การรบั นกั ศึกษา ทางหลักสตู รจดั การรับนักศึกษาตามปฏิทนิ การรบั นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย โดยเปดิ รับนกั ศึกษาใหม่ 3 รอบ ผ่าน ระบบการรับเขา้ ศกึ ษาทางเว็บไซตข์ องมหาวิทยาลัย (http://entrance.nrru.ac.th/entrance/) และมเี กณฑ/์ เคร่ืองมือการ รับนกั ศกึ ษาดังนี้ 1.2.1 รอบแฟ้มสะสมผลงาน ดำเนินการคัดเลือกด้วยวิธีการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการสอบคัดเลือกของหลักสูตรฯ ผู้สมัครตอ้ งย่ืนสมคั รดว้ ยคปู องหลกั สูตรในวัน open house ของมหาวิทยาลัย หรือยื่นแฟม้ สะสมผลงานทางด้านจิตอาสา หรอื ด้านการแข่งขันทักษะภาษาจนี หรือดา้ นความสามารถพิเศษอื่น ๆ 1.2.2 รอบโควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดำเนินการคัดเลือกโดยคณะกรรมการสอบคัดเลือกของหลักสูตรฯ ซงึ่ การสอบรอบน้ีจะพจิ ารณาให้คะแนนจากคะแนนGPAX GAT O-NET และการสอบสมั ภาษณ์เกีย่ วกับความร้ทู างภาษาจีน 1.2.3 รอบรบั ตรงร่วมกัน (Admission 1) พจิ ารณาคัดเลอื กนักศึกษาจากคะแนน GPAX คะแนน GAT คะแนน O-NET/V- NET/N-NET (หลกั ฐาน : ปฏิทนิ รบั นกั ศึกษาปี 2564) 1.3 เกณฑ์/เครื่องมือ ท่ใี ชใ้ นการคดั เลือก เกณฑก์ ารคัดเลอื กนักศึกษาในแต่ละรอบมดี ังต่อไปนี้ 1.3.1 รอบแฟ้มสะสมผลงาน กรรมการดำเนินการสอบสัมภาษณ์และพจิ ารณาจากการสมั ภาษณใ์ นสว่ นของคูปองหลักสตู ร และพิจารณาจากแฟม้ สะสมผลงานของผู้สมัครในรอบการยน่ื แฟม้ สะสมผลงาน โดยจะพิจารณาคดั เลอื กผูส้ มัครดงั น้ี ผู้สมคั รตอ้ งเปน็ ผ้ทู ีก่ ำลงั ศกึ ษาหรือสำเร็จการศกึ ษาระดับช้ันมัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทียบเท่า หรอื กำลังศึกษาหรือสำเร็จ การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือกำลังศึกษาหรือสำเร็จการศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง (ปวส.) หรอื สำเรจ็ การศกึ ษาจากโรงเรียนหลักสตู รตามอธั ยาศัย (กศน.) ด้วยคะแนน GPAX ไมต่ ำ่ กวา่ 3.00 นอกจากน้ผี ูส้ มัครต้องยน่ื ใบระเบียนแสดงผลการเรยี น 4-5 ภาคเรยี น (สำหรบั ผทู้ กี่ ำลงั ศกึ ษา) หรือใบระเบียนแสดงผล การเรยี น 6 ภาคเรยี น (สำหรับผ้ทู ส่ี ำเรจ็ การศกึ ษา) แฟม้ ประวตั สิ ว่ นตวั และแฟม้ สะสมผลงานประกอบด้วย (หลกั ฐาน : การรบั สมัครรอบแฟ้มสะสมผลงาน)

19 1.3.2 รอบโควตาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจะพจิ ารณาคัดเลือกผู้สมัครดังนี้ ผู้สมัครต้องกำลังศึกษาอยูใ่ นชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือกำลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ กำลงั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) นอกจากนี้ผสู้ มคั รตอ้ งย่ืนใบระเบียนแสดงผลการเรียน 5 ภาคเรยี น แฟ้มประวัติสว่ นตวั หรือแฟม้ สะสมผลงานประกอบดว้ ย โดยกรรมการสอบคัดเลอื กจะพิจารณาผู้สมัครจากคะแนน GPAX ร้อยละ 50 คะแนน GAT ร้อยละ 25 และคะแนน O-NET ร้อยละ 25 (หลกั ฐาน : การรับสมคั รรอบโควตาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 1.3.3 รอบรับตรงรว่ มกนั โดยจะพิจารณาคัดเลือกผสู้ มัครดงั นี้ ผู้สมคั รตอ้ งสำเรจ็ การศกึ ษาระดับชั้นมัธยมศกึ ษา ตอนปลายหรือเทยี บเท่า หรอื สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตร วชิ าชีพ (ปวช.) หรือสำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) หรอื สำเรจ็ การศกึ ษาจากโรงเรียนหลักสูตร ตามอัธยาศยั (กศน.) ดว้ ยคะแนน GPAX ไม่ตำ่ กว่า ๒.๗๕ นอกจากน้ีผสู้ มคั รต้องยน่ื ใบระเบยี นแสดงผลการเรยี น 6 ภาคเรยี น แฟ้มประวัติส่วนตัวและแฟ้มสะสมผลงานประกอบดว้ ย โดยกรรมการสอบคัดเลือกจะพิจารณาผู้สมัครจากคะแนน GPAX ร้อยละ 50 คะแนน GAT ร้อยละ 25 และคะแนน O-NET / V-NET / N-NET ร้อยละ 25 (หลักฐาน : การรับสมัครรอบรบั ตรงร่วมกัน) (C) สรปุ ในปีการศกึ ษา 2564 ทางหลักสูตรรบั นักศกึ ษามาทัง้ สิ้น 71 คน ซ่งึ เปน็ ไปตามแผนและมากกว่าแผนรบั นกั ศกึ ษา จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.43 (A) จากการรับนกั ศกึ ษาในปี 2564 ทีผ่ า่ นมา ทางหลักสตู รพบว่าผู้สมัครเข้าศกึ ษาตอ่ ในรอบแฟม้ สะสมผลงานมีเป็นจำนวน มาก โดยเฉพาะในชว่ งของการเปิดรับรอบคปู องหลกั สตู รในปนี ้ี กรรมการสอบคดั เลอื กไดเ้ หน็ ถงึ ความตั้งใจ ความมงุ่ มนั่ ของ นักเรยี นที่จะเขา้ ศึกษาในหลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า หรือในรอบยน่ื แฟม้ สะสมผลงานเองก็ตาม กรรมการสอบคดั เลือกไดเ้ ห็นถึงความสามารถต่างๆ จากกิจกรรมที่ผู้สมคั รนำเสนอผา่ นแฟ้มสะสม ผลงาน ไมว่ ่าจะเป็นผลงานทางดา้ นวิชาการการแข่งขันทกั ษะภาษาจนี ทักษะการรอ้ งเพลงหรือกจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน์ ต่างๆ จงึ มมี ติเสนอในท่ปี ระชมุ ให้ขยายจำนวนการรับสมัครนกั ศกึ ษาใหมร่ อบแฟ้มสะสมผลงาน(คูปองหลกั สตู ร+ย่นื แฟ้มสะสม ผลงาน)เพ่ิมขนึ้ ในปกี ารศกึ ษาถัดไปเพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของหลักสูตรและจำนวนผู้สมคั รเข้าศึกษาตอ่ 2. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเข้าศึกษามผี ลการดำเนินงาน ดังนี้ ระบบและกลไกการเตรียมความพร้อมของนกั ศึกษา มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ (หลักฐาน : การประชมุ ครง้ั ท่ี 1 วนั ท่ี 4 ม.ิ ย.2564) (P) 1) การประชมุ และวางแผนดำเนนิ งาน หลักสูตรจัดประชุมอาจารย์วางแผนจัดกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่และอบรมเตรียมความพร้อมให้ นักศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อให้ความรู้ด้านระบบการศึกษาในมหาวิทยาลัย การเก็บหน่วยกิตและวิชาเรียนใน หลักสูตร รวมถึงการปรับพื้นฐานความรู้ภาษาจีนของนักศึกษาใหม่ แต่เนื่องด้วยการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 หลักสูตรจึงได้ปรับรูปแบบกิจกรรมให้อยู่ในรูปแบบออนไลน์ทั้งหมด มอบหมายให้อาจารย์ในหลักสูตรทำคลิปวิดีโอสอน ออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาสามารถทบทวนได้ตลอดเวลา และได้กำหนดวันจัดกิจกรรมคือระหว่างวันที่ 6-12 ก.ค.64 โดย มอบหมายใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษานกั ศกึ ษารหสั 64 คือ อาจารย์ ดร. พชรมน ซอ่ื สจั ลอื สกลุ เป็นผู้เขยี นโครงการเพ่ือขออนุมัติ และประสานกับคณะฯเพ่อื กำหนดวนั เวลา จดั ทำคำส่งั แต่งต้ังคณะกรรมการและวิทยากรดำเนนิ กิจกรรมต่อไป (D) 2) ข้ันตอนการดำเนนิ งาน หลักสูตรฯ สร้างช่องทางติดต่อกับนักศึกษาใหม่ทางFacebook และโปรแกรมแชท Line โดยมีอาจารย์ ดร.พชรมน ซื่อสัจลือสกลุ อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผูป้ ระสานงานระหวา่ งหลักสูตรฯกับนักศึกษาใหม่ ซึ่งการติดต่อกับนักศึกษาใหมค่ ร้งั นี้ ได้รบั ความรว่ มมือจากสำนกั สง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียนในการส่งช่องทางการติดต่อกบั นกั ศึกษาใหมข่ องหลักสูตรฯ ทำ ใหก้ ารตดิ ต่อกับนักศึกษาใหม่รวดเรว็ ยงิ่ ข้นึ เมือ่ นักศกึ ษาใหม่ทุกคนเขา้ กลมุ่ เรยี บรอ้ ยแลว้ อาจารย์ ดร.พชรมน ซอ่ื สจั ลือสกุล ดำเนินการแจ้งตารางและรายละเอียดของกิจกรรมโครงการปฐมนิเทศนกั ศกึ ษาใหม่และอบรมเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา

20 ประจำปีการศึกษา 2564 โดยกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ จัดขึ้นในวันที่ 6 ก.ค. 64 ผ่านโปรแกรม Zoom เพื่อให้ นักศึกษาพบปะกับประธานหลักสูตรฯ อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคน ในการนี้อาจารย์ที่ปรึกษาได้แจกคู่มือนักศึกษาใหม่ พร้อมแนะแนวการเรียนในระดับอุดมศึกษา กจิ กรรมและโครงการพัฒนานักศึกษา สถานที่ต่างๆในมหาวิทยาลัย เว็บไซต์ ระบบบรหิ ารการศกึ ษา ระบบ e-learning รวมถงึ ตอบคำถามข้อสงสัยต่างๆของนักศกึ ษา หลังจากนน้ั นดั หมายนักศึกษาทำ แบบทดสอบก่อนการอบรมเตรยี มความพรอ้ มในวันท่ี 7 ก.ค. 64 และเร่ิมทยอยปล่อยวีดิทัศน์ความรทู้ างภาษาจนี และประเทศ จีนผา่ นทาง Facebook กล่มุ ตามวนั เวลาท่ีกำหนดในตารางกจิ กรรม เม่อื นักศกึ ษามขี ้อซักถามสามารถฝากขอ้ ความไวใ้ นช่อง แสดงความคดิ เหน็ ใต้วดี ทิ ัศน์ หลกั จากการอบรมหัวขอ้ สดุ ท้ายในวันท่ี 12 ก.ค. 64 นกั ศกึ ษาจะตอ้ งทำแบบทดสอบหลังการ อบรมพร้อมท้งั แบบประเมินโครงการ โดยทางหลักสตู รฯจัดเตรียมรางวัลมอบให้นกั ศกึ ษาท่ีได้คะแนนสูงสดุ 5 คน นอกจากนี้ ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้นักศึกษาใหม่ ประจำปี การศึกษา 2564 ต้องเรียนผ่านทางออนไลน์ เป็นอปุ สรรคตอ่ การปฏบิ ัติทางภาษาจนี รวมถึงส่งผลใหป้ ฏิสัมพันธ์กับผู้สอนและ เพื่อนร่วมชั้นเรียนลดลง ทางหลักสูตรฯจึงได้จัดโครงการคุยจีน (Chit-Chat Chinese) บูรณาการความรู้กับวิชา 210112 ภาษาจีนระดบั ต้น 1 เพื่อทบทวนความรู้ในบทเรยี น และเสริมสร้างความรู้ในการพิมพ์อักษรจีนเพื่อพดู คุยกับอาจารยแ์ ละ เพื่อนรว่ มชัน้ เรยี น โดยโครงการคุยจีน (Chit-Chat Chinese) จดั ขึน้ ระหว่างวนั ท่ี 26 ก.ค. ถึง วนั ที่ 13 ก.ย. 64 ทกุ วนั องั คาร พุธ พฤหัสบดี เวลา 17:00-19:00 น. ผา่ นทางโปรแกรมแชท Line มีอาจารย์เปน็ ผ้เู ร่มิ ส่งหัวขอ้ การพูดคยุ ในแต่ละครัง้ หัวข้อ การพดู คยุ ประกอบด้วยบทสนทนาถาม-ตอบตามเน้ือหารายวิชาภาษาจีนระดบั ต้น 1 และการพดู คยุ เรอ่ื งท่ัวไป โดยอาจารย์ จะช่วยแกไ้ ขประโยคภาษาจีนท่ีผดิ และช่วยชี้แนะการใช้ภาษาจีนทถ่ี กู ตอ้ งให้แกน่ ักศกึ ษา เพ่ือพฒั นานักศึกษาทั้งที่เคยเรียน ภาษาจนี มาก่อนและไม่เคยเรียนภาษาจีนให้กล้าทจ่ี ะพดู คยุ ภาษาจีน ฝึกอา่ นข้อความภาษาจนี พื้นฐานและทบทวนความรู้ใน รายวิชา (C) 3) สรปุ และอภปิ รายผลการดำเนนิ งาน สำหรับโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่และอบรมเตรียมความพร้อมให้นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจเฉล่ียอยู่ที่ 4.61 คะแนน จาก 5 คะแนน ซึ่งมากกว่าปีที่แล้ว (ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของการจดั โครงการปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมให้แก่นกั ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2563 อยู่ท่ี 3.78) นอกจากนว้ี ดี ทิ ศั นท์ ั้ง 7 หวั ข้อ การ อบรมในครั้งนี้มยี อดผู้เข้าชมเกิน 100 ครั้ง แสดงให้เห็นว่านักศกึ ษาใส่ใจและมีการทบทวนเนื้อหาการอบรม โดยสามารถ อ้างอิงจากคะแนนเฉล่ียหลงั การอบรมสูงกวา่ กอ่ นการอบรม คอื จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนเฉล่ียนก่อนการอบรมอยู่ ที่ 20.68 คะแนน ส่วนคะแนนเฉลยี่ หลงั การอบรมอย่ทู ี่ 26.55 คะแนน แต่อยา่ งไรกต็ ามนักศกึ ษาให้ความเหน็ ว่าถ้าสามารถจัด กิจกรรมทีห่ ้องเรยี นได้จะทำให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกขึน้ อีกทัง้ ยังได้รู้จักเพื่อนและอาจารย์ นอกจากนี้ยังเสนอให้เพิ่ม หัวข้อเก่ียวกับการใชภ้ าษาจีนเพ่ือการสื่อสาร (หลักฐาน : รายงานผลการดำเนินงานโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่และอบรมเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาประจำปี การศกึ ษา 2564) สำหรับโครงการคุยจีน (Chit-Chat Chinese) พบวา่ นกั ศกึ ษามีความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ที่ 4.87 คะแนน จาก 5 คะแนน ซ่งึ นักศึกษาให้ความเหน็ ว่าโครงการนี้ช่วยให้ไดเ้ รียนรู้คำศัพท์/ประโยคสนทนาภาษาจีนเพิ่มขึน้ ชว่ ยเสรมิ สร้างความม่ันใจใน การใชภ้ าษาจนี แตร่ ะยะเวลาในการจดั กจิ กรรมค่อนข้างยาวนานอยากใหป้ รับลดระยะเวลาลง (หลักฐาน : รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการคยุ จนี (Chit-Chat Chinese) ) จากการจัดการเรียนการสอนผสมผสานออนไลน์กับออนไซต์ และการดำเนินโครงการข้างต้น พบว่า อัตราการคงอยู่ของ นกั ศึกษาชั้นปที ่ี 1 มีมากกวา่ ปกี ารศกึ ษา 2563 กล่าวคือ จำนวนนกั ศึกษาท่ีคงอยูค่ ดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 (A) 4) แผนการปรบั ปรงุ กิจกรรม การจัดกิจกรรมในปกี ารศึกษาถัดไปควรดำเนินการปรบั ปรงุ 2 ด้าน คือ 1) ดา้ นเนอ้ื หา ในการอบรมเตรยี มความพร้อม ควรเพิ่มหรือสอดแทรกเน้ือหาเกยี่ วกับบทสนทนาภาษาจีนหรือการใชภ้ าษาจีนเพอื่ การสื่อสารในสถานการณก์ ารต่างๆให้มาก

21 ขึ้น 2) ด้านระยะเวลา ในการดำเนินโครงการคุยจีน (Chit-Chat Chinese) หรือโครงการอืน่ เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาจีน ของนักศึกษาชัน้ ปีท่ี 1 ควรกำหนดระยะเวลาที่เหมาะสมหรือปรับกิจกรรมให้มีความหลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้อง เตรยี มกจิ กรรมทเี่ หมาะสมสำหรับการจดั ในรูปแบบออนไลน์และออนไซต์ การส่งเสริมและพั ผลการประเมินตนเองในปี 2563 มีผลการดำเนินงานในระดบั 3 ฒนานักศกึ ษา ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2564 มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 3 (ตวั บ่งช้ี 3.2) 1) การควบคุมการดูแลการใหค้ ำปรกึ ษาวชิ าการและแนะแนวแกน่ กั ศึกษาในระดับปริญญาตรี มผี ลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 1.1 การจัดระบบการดแู ลนักศกึ ษาของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา (P) หลักสตู ร มีการจดั ระบบอาจารย์ทป่ี รกึ ษาแต่ละหมเู่ รียนโดยมีการประชมุ เพ่อื กำหนดอาจารย์โดยการพจิ ารณาตาม สดั ส่วนระหวา่ งจำนวนหมเู่ รียนของนักศึกษาทุกช้นั ปีกับจำนวนของอาจารย์ประจำ ทง้ั น้อี าจารยห์ น่ึงท่านจะเป็นอาจารย์ท่ี ปรึกษา 2 หมูเ่ รยี น ในกรณีเมอื่ มีนักศึกษาหมู่เรียนใดสำเร็จการศึกษาแลว้ อาจารย์ที่ปรึกษาในหมเู่ รียนนั้นจะวนกลับมาเป็น อาจารยท์ ปี่ รึกษาใหก้ ับนกั ศึกษาทจี่ ะเข้ามาใหมต่ อ่ ไป หลักสูตรมีการจัดระบบการเข้าพบอาจารย์ทีป่ รึกษาตามวนั และเวลาทม่ี หาวิทยาลัยกำหนดและระบไุ วใ้ นตารางเรียนของ นกั ศึกษา (เปน็ วันพุธซ่ึงเป็นวันกิจกรรมของทกุ เดือน) โดยในแต่ละภาคการศกึ ษานกั ศกึ ษาจะพบอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาทั้งหมด 4 ครั้งและในปีการศึกษา 2564 ได้วางแผนปรับเปลี่ยนการพบอาจารย์ที่ปรึกษาให้อยู่ในรูปแบบOnline มอบหมาย ให้อาจารย์ที่ปรึกษาใส่ใจและเพิ่มชอ่ งทางการตดิ ต่อกับนกั ศึกษามากขึ้น นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถนัดพบอาจารย์ที่ ปรึกษาเปน็ รายกรณีแบบ Onsite (D) การดำเนนิ งานตามระบบและกลไกการควบคุมดูแลใหค้ ำปรึกษาวิธีการและแนะแนวแก่นักศกึ ษาปริญญาตรี ในปี การศกึ ษา 2564 หลกั สูตรไดด้ ำเนินการแต่งตัง้ อาจารย์ทปี่ รกึ ษา ดังตอ่ ไปน้ี 1.หลกั สูตรไดม้ ีการจัดระบบดูแลนกั ศกึ ษาพร้อมทง้ั แตง่ ต้งั อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ชนั้ ปที ่ี 1 อาจารยด์ ร.พชรมน ซอ่ื สัจลอื สกลุ 1:71 ชัน้ ปีท่ี 2 อาจารย์ปานดวงใจ บญุ จนาวโิ รจน์ 1:60 ชั้นปที ี่ 3 อาจารยจ์ ิราพร ปาสาจะ 1:61 ชน้ั ปีท่ี 4 อาจารย์จินตนา แย้มละมุล 1:62 (หลกั ฐาน : การประชมุ ครัง้ ที่ 1 วนั ท่ี 4 ม.ิ ย.2564) 2.อาจารย์ทปี่ รกึ ษากำหนดเวลาพบปะนักศกึ ษาตามปฏิทนิ ของมหาวิทยาลัย 3.แจ้งช่องทางการติดตอ่ เชน่ เบอร์โทรศัพท์ Facebook โปรแกรมแชท Line โปรแกรม Zoom เป็นต้น 4.หลักสตู รสำรวจความพงึ พอใจของนกั ศกึ ษาต่ออาจารยท์ ่ปี รึกษา (C) แสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่มี ีต่อการให้การดูแลของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา ในปกี ารศึกษา 2564 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอ่ การให้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2561-2564 พบว่าค่าเฉลย่ี รวมของผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาในปี 2564 เพิ่มข้ึนเปน็ 4.28 จาก 3.86 ดงั ตารางต่อไปนี้ ปกี ารศกึ ษา ปี 2 ปี 3 ปี 4 คา่ เฉล่ยี รวม X̄ S.D X̄ S.D X̄ S.D ทกุ ชนั้ ปี 2561 3.91 0.81 4.08 0.64 4.43 0.59 4.14 2562 3.90 0.90 4.00 0.72 4.05 0.76 3.98 2563 4.07 0.94 3.95 0.77 3.56 1.08 3.86 2564 4.32 0.68 4.25 0.75 4.27 0.70 4.28

22 หมายเหตุ ประธานหลกั สตู รสามารถตรวจสอบผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนักศึกษาท่มี ีตอ่ การให้การดูแลของอาจารย์ ที่ปรึกษา ได้ที่ http://mis.nrru.ac.th (หลักฐาน : ผลการประเมินความพึงพอใจของนักศกึ ษาทีม่ ตี อ่ การใหก้ ารดูแลของ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา) (A) การปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการควบคุมดแู ลใหค้ ำปรกึ ษาวิธกี ารและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี อาจารยป์ ระจำ หลกั สตู รที่เป็นอาจารย์ทปี่ รกึ ษาติดตามดแู ลให้คำแนะนำขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชนก์ ับนักศึกษาโดยการเพมิ่ ชอ่ งทางในการติดต่อ ผ่าน Facebook Line หรอื โปรแกรม Zoom เนอื่ งจากเป็นช่องทางที่เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ชีวิตของนกั ศกึ ษา เหมาะสม กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสCovid-19 และเป็นระบบที่มีความสะดวก รวดเร็วในการเขา้ ถึงขอ้ มูลระหว่าง อาจารย์กบั นกั ศึกษา อีกท้งั ยังเป็นการลดความเปน็ ทางการในการติดต่อพูดคยุ ซึ่งจะช่วยใหน้ ักศึกษากล้าแสดงออกหรอื เปิดใจ มากขน้ึ แตอ่ ย่างไรก็ตามนักศกึ ษาสามารถนัดพบอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาเป็นรายกรณีท่ีห้องหลักสตู รภาษาจีน 1.2 การจัดการความเสีย่ งด้านนกั ศกึ ษา (P) หลกั สตู รมรี ะบบและกลไกจัดการความเสี่ยงนักศึกษาโดยมีการแตง่ ตงั้ อาจารยท์ ปี่ รึกษาจากอาจารยป์ ระจำหลักสูตร และคณะกรรมการบริหารหลกั สูตรเป็นทีป่ รึกษาในแต่ละหมเู่ รียน โดยอาจารยท์ ี่ปรกึ ษามีหน้าที่ให้คำแนะนำเร่ืองการเรียน การสอนตลอดหลักสูตร เช่น การลงทะเบียนเรียนในแต่ละปีการศึกษา การติดตามผลการเรียนออนไลน์จากเว็บไซด์ มหาวทิ ยาลยั รวมถึงการจดั การเรียนการสอนเป็นกรณีพิเศษ สำหรบั นกั ศกึ ษาสาขาวิชาภาษาจนี ช้ันปีสดุ ท้ายที่มีปญั หาติด F หรอื ติด W ในวชิ าเอก ตลอดจนใหค้ ำแนะนำการใชช้ ีวติ และปรับตัวในรั้วมหาวทิ ยาลัย ฯลฯ (หลักฐาน: ภาระอาจารย์ทีป่ รกึ ษา 4 ชั้นปี) (D) หลักสตู รฯ มกี ารรว่ มกนั พิจารณาเกย่ี วกับอัตราการคงอย่แู ละการสำเร็จการศกึ ษาของนักศกึ ษาเม่อื สน้ิ สดุ ปีการศกึ ษา ท่ีผา่ นมา เพอ่ื ใชเ้ ป็นข้อมลู ประกอบการทบทวนเร่อื งระบบและกลไกอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา โดยในท่ีประชุมเห็นว่าอัตราการคงอยู่ และการสำเร็จการศึกษาของนกั ศกึ ษากับการดูแลให้คำแนะนำปรึกษาของอาจารย์ท่ปี รึกษามคี วามสมั พนั ธก์ ัน ปจั จยั เสี่ยงซึ่ง สง่ ผลต่ออตั ราการคงอยแู่ ละการสำเรจ็ การศกึ ษาของนกั ศึกษามีหลายประการ เชน่ ปจั จยั เรือ่ งคา่ บำรงุ การศึกษา ปจั จัยด้าน การขาดความร้พู ื้นฐานทางภาษาจนี เป็นต้น วธิ กี ารหนงึ่ ที่จะใชใ้ นการรบั มอื ต่อความเสีย่ งดงั กล่าวคอื การให้อาจารย์ท่ีปรึกษา ทุกคนไดก้ ำกบั ดแู ลให้คำแนะนำนักศกึ ษาอย่างใกล้ชิด ประชาสัมพนั ธ์โครงการราชภฏั เสริมโอกาสเพ่ือช่วยเหลือนักศึกษาที่ ขาดแคลนทุนทรัพย์ นอกจากนีอ้ าจารยใ์ นหลกั สตู รทุกคนไดเ้ ขา้ รว่ มอบรมออนไลน์หวั ข้อบทบาทหน้าทีอ่ าจารยท์ ี่ปรึกษาและ แนวทางการใหค้ ำปรึกษาท่ีมหาวิทยาลยั จัดขึ้น เพื่อเรยี นร้บู ทบาทหน้าทีแ่ ละแนวปฏิบตั ขิ องอาจารย์ที่ปรึกษาและส่งอาจารย์ที่ ปรึกษาเข้าร่วมโครงการเทคนิคการใหค้ ำปรกึ ษาอย่างถูกวธิ ี พรอ้ มมอบหมายใหอ้ าจารย์ท่ปี รกึ ษาแต่ละหมเู่ รียนเพ่ิมช่องทาง สือ่ สารอ่ืนทมี่ ีความสะดวก รวดเรว็ สำหรับการติดต่อส่อื สาร เชน่ Facebook Messenger หรอื Line เปน็ ต้น (หลักฐาน: คำส่งั เข้ารว่ มอบรมบทบาทหน้าท่ีอาจารย์ทป่ี รึกษาและแนวทางในการให้คำปรกึ ษา) (C) ทางหลักสตู รกำชบั ให้อาจารย์ที่ปรกึ ษา (ช้นั ปที ี่ 1 และ ปที ี่ 4) เพ่มิ ความใสใ่ จและเข้าไปตรวจสอบผลการเรียนของ นักศกึ ษาทด่ี ูแล เนื่องจากเปน็ ชัน้ ปีท่อี าจเกิดการเสยี่ งตอ่ การลาออกกลางคัน และบางกลมุ่ อาจสำเรจ็ การศึกษาลา่ ช้า โดยให้ อาจารย์ทป่ี รกึ ษาเขา้ ไปดูแลและช่วยเหลือนักศกึ ษาทอ่ี าจมปี ัญหาด้านการเรยี น เชน่ จดั การเรยี นสอนเสรมิ (โครงการคุยจีน) เพ่มิ เติมสำหรับนกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่ 1 และจดั การเรยี นการสอนเปน็ กรณพี ิเศษสำหรับนักศกึ ษา่ชั้นปีสุดท้ายท่ีตดิ F หรือนักศึกษา ทีม่ ีปัญหาดา้ นการเงิน เชน่ แนะนำเว็บไซตข์ องงานทนุ และแนะแนว เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษาติดตามกองทุนกูย้ มื ต่างๆ รวมถึงการหา รายไดร้ ะหวา่ งเรียน นอกจากนีย้ ังไดต้ ิดตามโครงการราชภัฏเสริมโอกาส ผลปรากฏว่าในปีการศกึ ษา 2564 มีนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ของหลักสูตรผ่านการคดั เลือกเข้าร่วมโครงการ 2 คน คอื นางสาวณัฐยา เลียนอยา่ ง ในภาคเรยี นท่ี 1/2564 และ นางสาว อรพิชชา ศิลปะ ในภาคเรียนท่ี 2/2564 เป็นการมอบโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานและมีรายได้ระหว่างเรียน (หลักฐาน: รายช่ือนักศกึ ษาท่ไี ด้รับการคดั เลือกเข้าร่วมโครงการราชภัฏเสรมิ โอกาส) (A) หลักสูตรฯ มีการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อหาแนวทางการลดความเสีย่ งดา้ นนกั ศกึ ษาใหน้ ้อยลง หรือไม่มีความเสยี่ งเลย โดยคณะกรรมการประจำหลักสูตรมีมตวิ ่า ช่องทางเดิมในการให้คำปรึกษาผา่ นทาง Facebook และ Line เป็นระบบทดี่ ีมปี ระสิทธิภาพ ชว่ ยใหอ้ าจารย์ทีป่ รกึ ษาและนักศกึ ษาท่ดี ูแลมปี ฏิสมั พันธ์กนั มากข้ึน โดยเฉพาะในช่วงการ ระบาดของเชือ้ ไวรสั Covid-19 ดังน้นั จึงสนับสนนุ ให้ใช้ชอ่ งทางออนไลน์ใหม้ ากและถขี่ ้นึ

23 2)การควบคมุ ระบบการดูแลการใหค้ ำปรึกษาวิทยานพิ นธ์ในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา มผี ลการดำเนนิ งาน ดังน้ี หลักสตู รไม่มนี ักศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา 3)การพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษา ผลการดำเนนิ งาน ดังน้ี (P) หลักสูตรใชร้ ะบบและกลไกบูรณาการรว่ มกับคณะและมหาวทิ ยาลยั โดยม่งุ เน้นทกั ษะทม่ี ีความสำคัญรวมถึงการ พัฒนาเอกลกั ษณ์ของบัณฑิตท่ีสอดคล้องกับปรัชญาของหลักสูตร คือ “สร้างคนดี มีความรู้คู่คุณธรรม พร้อมสู้งาน รอบรู้ วชิ าการภาษาจีน” และสอดคลอ้ งกบั ปรัชญาคณะฯคอื “สร้างคุณค่าความเป็นมนุษย์ เพอ่ื ความเจรญิ สงู สุดของสังคม” โดย ทางหลกั สูตรได้วางแผนการจดั กจิ กรรมโครงการเพอ่ื พฒั นานกั ศึกษาตามยทุ ธศาสตร์ของคณะฯ ในปกี ารศกึ ษา 2564 หลกั สตู รได้วางแผนจดั โครงการเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนกั ศึกษาดังน้ี โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม ยุทธศาสตร์ 1. โครงการปฐมนิเทศ 1. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาสามารถปรับตัวในการใชช้ ีวติ ใน ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : การผลิตบณั ฑิต และเตรยี มความพร้อมให้ ระดบั อุดมศึกษาได้ เพือ่ ใหบ้ ณั ฑิตสามารถสื่อสารได้ นักศกึ ษาประจำปี 2. เพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษาเข้าใจวธิ ีการเรียนใน อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพเพ่ือตอบสนอง การศึกษา 2564 ระดับอุดมศึกษา มีความพร้อม ความมั่นใจ ในการ ตลาดแรงงาน ปรับตัวในการเรียน สามารถเรียนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข และให้นกั ศึกษามเี จตคตทิ ด่ี ีและรักการเรยี นภาษาจีน 2. โครงการคยุ จีน (Chit- 1. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามีความม่ันใจในการใชภ้ าษาจนี เพ่อื ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 : การผลติ บัณฑิต Chat Chinese) การสอ่ื สาร - เพื่อให้บัณฑิตสามารถสื่อสารได้ 2. เพ่อื พฒั นาทกั ษะการสือ่ สารภาษาจนี ของนกั ศึกษา อย่างมปี ระสิทธิภาพเพอ่ื ตอบสนอง 3. เพื่อให้นักศกึ ษาได้เรียนรูอ้ ักษรจีนผา่ นทางแชทออน ตลาดแรงงาน ไลน์ 3. โครงการบูรณาการ 1.เพื่อใหน้ ักศึกษามีส่วนร่วมในการพฒั นาการทางด้าน ยุทธศาสตร์ท่ี 5 : การบูรณาการ การเรยี นการสอนกบั การ บริการวชิ าการระดับ ภาษา สามารถใชภ้ าษาจีนได้ องคค์ วามรู้เพือ่ พฒั นาท้องถิน่ หลกั สูตร 2.เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามคี วามรคู้ วามสามารถใชท้ กั ษะทาง - เพอื่ พฒั นาเครือขา่ ยความรว่ มมอื เทคโนโลยเี พือ่ เผยแพร่กิจกรรมภาษาจนี อย่างมี การบรกิ ารวชิ าการทัง้ ภายในและ ประสิทธภิ าพ ภายนอกมหาวิทยาลัย 3.เพือ่ ให้นักศกึ ษาจดั ทำสือ่ และเผยแพรส่ ู่โรงเรียนท่เี ข้า ร่วมโครงการ 4.เพือ่ ให้ครแู ละนกั เรยี นในโรงเรียนท่ีเขา้ รว่ มโครงการ ไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากส่อื ประกอบการเรียนการสอนที่ นักศกึ ษานำไปมอบให้และเผยแพรใ่ นวันจดั กิจกรรม 4. โครงการอบรมการทำ 1.เพอื่ ให้นักศกึ ษามีความรู้พน้ื ฐานเก่ยี วกับกระบวน ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : การพัฒนา วิจัยเบอ้ื งตน้ การทำวิจัยเบอ้ื งตน้ 2.เพื่อให้นักศกึ ษาไดฝ้ ึกปฏบิ ตั กิ ารเขยี นโครงร่างวิจัย คุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา - เพ่ือพฒั นาเสริมศกั ยภาพบัณฑติ ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม ภาษา เทคโนโลยี

24 5. โครงการเตรียมฝึก 1. เพ่ือให้นักศึกษามีความพรอ้ มกอ่ นการฝึก ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : การผลิตบณั ฑติ ประสบการณ์วิชาชพี ประสบการณ์วิชาชพี ภาษาจนี - เพ่อื พฒั นาตนและศาสตรว์ ชิ าชพี ภาษาจนี 2. เพ่ือให้นกั ศึกษามคี วามรู้ มีทกั ษะต่างๆและฝึก ตนเองกอ่ นการฝึกประสบการณ์วิชาชพี ภาษาจนี 3.เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้ฝึกปฏบิ ัตทิ ำวิจัย ซง่ึ ไดบ้ รู ณาการ ความร้ภู าษาจีนกบั การวจิ ัย 6. โครงการศกึ ษาดงู าน 1.เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาได้เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ ริงจาก ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การพฒั นา ภาษาจนี การศึกษาดูงานในรูปแบบออนไลน์ คุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา 2.เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาได้เข้าใจวฒั นธรรมองค์กร การ - เพื่อพัฒนาเสริมศกั ยภาพบณั ฑติ ทำงานท่ีแตกตา่ ง ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ภาษา 3.เพือ่ เป็นแนวทางในการเลือกสถานทีห่ รือหน่วยงาน เทคโนโลยี ฝึกงาน และเป็นการเปิดมมุ มองเพอ่ื เตรียมความพร้อม เบือ้ งต้นสำหรับการทำงานในอนาคตได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 4. เพ่อื ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ด้านการจัดการเรียนการ สอนของหลักสูตร 7. โครงการฝกึ 1.เพื่อใหน้ ักศึกษาผ่านการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพใน ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : การพฒั นา ประสบการณ์วิชาชีพ ภาษาจนี หน่วยงานของภาครัฐหรอื เอกชน คุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา 2. เพอ่ื ให้นกั ศึกษาไดบ้ ูรณาการความรู้ ทกั ษะและ - เพอ่ื สร้างความรว่ มมือกับสถาน ฝกึ ฝนตนเองกับการทำงานทงั้ ภาคทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ ประกอบการและสถาบันการศึกษา 3.เพอ่ื ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏบิ ตั จิ รงิ และไดพ้ ฒั นาทกั ษะ ในการผลิตบัณฑิต และความรู้เพอื่ การประกอบอาชพี (D) หลักสูตรได้ดำเนินงานตามระบบและกลไกการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของคณะ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทง้ั 5 ด้าน คือ 1. ผลติ บัณฑิตใหม้ ที กั ษะการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) 2.วิจัยสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมที่มีผลกระทบต่อชุมชนท้องถ่นิ 3.สร้างต้นแบบการพัฒนาท้องถ่ินด้าน เศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 4.สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วน 5.บริหารจัดการมี ประสิทธิภาพดว้ ยหลักธรรมาภิบาล โดยจดั กิจกรรมโครงการตา่ งๆตามรายการในตารางข้างบน แตเ่ นื่องดว้ ยการแพร่ระบาด ของเช้อื ไวรสั Covid-19 ทำใหก้ ารดำเนนิ งานในหลายโครงการปรับเปลีย่ นรปู แบบการจัดมาเป็นรูปแบบออนไลน์ เพือ่ ให้เกิด ความปลอดภัยกับนักศึกษา และอาจารย์ผู้สอน โดย 6 โครงการจัดในรูปแบบออนไลน์ คือ โครงการปฐมนิเทศและเตรียม ความพรอ้ มใหน้ กั ศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2564 โครงการคยุ จนี (Chit-Chat Chinese) โครงการอบรมการทำวิจัยเบื้องต้น โครงการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาจีน โครงการศึกษาดูงานภาษาจีน โครงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพภาษาจีน และมี 1 โครงการจัดในรปู แบบผสมผสาน คอื โครงการบูรณาการการเรียนการสอนกบั การบรกิ ารวิชาการระดับหลักสูตร ซ่ึง จุดเด่นในการจัดโครงการออนไลนส์ ่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบการบรรยายสดผ่านโปรแกรมออนไลน์ และวีดิทัศน์ นักศึกษา สามารถทบทวนวีดิทศั น์ไดต้ ลอดเวลาตามความสนใจ เชน่ กจิ กรรมเตรยี มความพร้อมใหแ้ ก่นกั ศกึ ษา กจิ กรรมศกึ ษาดงู านท่า อากาศยานนครราชสมี า กิจกรรมการเขียนแผนการสอนของโครงการเตรยี มฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพภาษาจีน เปน็ ต้น (C) หลักสูตรได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการต่างๆได้อย่างครบถ้วนตามทีไ่ ด้วางแผนไวท้ ้ัง 7 โครงการ และได้รบั ความร่วมมือจากนกั ศึกษาเป็นอยา่ งดี 1. โครงการปฐมนิเทศและเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 ไดร้ ับคะแนนประเมิน 4.61 คะแนน จาก 5 คะแนน 2. โครงการคยุ จีน (Chit-Chat Chinese) ไดร้ บั คะแนนประเมิน 4.87 คะแนนจาก 5 คะแนน

25 3. โครงการบูรณาการการเรยี นการสอนกบั การบรกิ ารวชิ าการระดับหลกั สตู ร ได้รบั คะแนนประเมนิ ความพึงพอใจคดิ เป็น รอ้ ยละ 94.20 4. โครงการอบรมการทำวิจยั เบ้ืองตน้ ได้รับคะแนนประเมิน 4.75 คะแนนจาก 5 คะแนน 5. โครงการเตรยี มฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ภาษาจีน ได้รบั คะแนนประเมิน 4.62 คะแนนจาก 5 คะแนน 6. โครงการศึกษาดงู านภาษาจนี ไดร้ บั คะแนนรอ้ ยละ 85 7. โครงการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพภาษาจนี ได้รับคะแนนประเมนิ 4.85 คะแนนจาก 5 คะแนน (หลกั ฐาน : โครงการพฒั นานักศึกษา 7 โครงการ) (A) การปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการพัฒนาศกั ยภาพของนักศึกษา หลงั จากที่ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู รได้ประชุมเพอ่ื ทบทวนกระบวนการพัฒนาศักยภาพของนักศกึ ษาแล้ว พบวา่ นักศึกษามีความ ประสงค์อยากให้จัดกิจกรรมonsite แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของงเชื้อไวรัส Covid-19 ในช่วงต้นเทอม 1/2564 เป็นการระบาดรุนแรง ทำใหห้ ลักสูตรตดั สินใจจดั กิจกรรมในรปู แบบonline และเมือ่ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ เชอื้ ไวรสั Covid-19 ดีข้ึน ทางหลักสูตรจงึ มีการจดั แบบผสมผสาน เช่น โครงการบูรณาการการเรยี นการสอนกับการบริการ วิชาการระดบั หลักสูตร ไดใ้ ห้นักศกึ ษาครง่ึ หนงึ่ ลงช่ือเขา้ อบรมการทำส่อื onsite และจำนวนท่ีเหลือเขา้ อบรมออนไลน์ (หลกั ฐาน : โครงการบูรณาการการเรยี นการสอนกบั การบริการวชิ าการระดบั หลักสตู ร) ผลท่ีเกิดกับ 1) อตั ราการคงอยู่ (ระบรุ อ้ ยละของการคงอยู)่ นักศกึ ษา อธิบายปจั จยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ อัตราการคงอยขู่ องนกั ศึกษา และ การหาแนวทางแก้ไขของอาจารย์ประจำหลักสตู ร (ตวั บง่ ช้ี 3.3) ปีการ จำนวน นักศกึ ษาท่คี งอยู่แต่ละปี ศกึ ษาที่ นักศึกษา รบั เข้า รบั เขา้ ช้ันปีท่ี 1 ช้ันปที ี่ 2 ชั้นปที ่ี 3 ชน้ั ปีท่ี 4 2560 75 จำนวน ร้อยละ จำ ร้อยละ จำ รอ้ ยละ จำ รอ้ ยละ 2561 80 นวน นวน นวน 2562 74 82.67 2563 76 74 98.67 64 85.33 63 84.00 62 77.50 2564 71 78 97.50 68 74 100.00 63 85.00 66 82.50 62 75 98.68 60 85.14 61 71 100.00 78.95 82.43 หมายเหตุ ประธานหลักสตู รสามารถดขู อ้ มลู ได้ท่ี http://mis.nrru.ac.th (หลักฐาน : อตั ราการคงอยู่ (ระบุรอ้ ยละของการคงอยู่) เนอื่ งจากอยใู่ นช่วงการแพร่ระบาดของไวรสั โควิด 19 นักศกึ ษาเรยี นในรูปแบบออนไลน์ อาจจะส่งผลดแี ละผลเสีย ของการเรียนนักศึกษาไปพรอ้ มๆกนั ผลดี คือ ช่วยลดภาระคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทาง คา่ ทีพ่ กั คา่ อาหาร เป็นต้น ผลเสีย คอื นกั ศกึ ษาสว่ นใหญ่เรียนออนไลน์ไม่รเู้ ร่อื ง และตอ้ งใช้เวลาในการปรบั ตวั ในการเรยี นออนไลน์ เช่น นกั ศึกษาบางคนไม่มี คอมพิวเตอร์ หรอื โนต๊ บุค๊ ในระหว่างเรียนอาจประสบปัญหาเกยี่ วกบั สญั ญาณระบบอนิ เตอร์เน็ต ทำให้เกดิ ปญั หาตอ่ การ เรยี น สัญญาณขาดหายระหว่างเรียน และเมื่อเกิดปญั หาดงั กลา่ ว นักศกึ ษาไม่ไดเ้ ขา้ มาปรกึ ษาในการหาทางออก นอกจากน้ี ผู้ปกครองอาจจะเกดิ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ นักศึกษาบางสว่ นมีฐานะยากจน ขาดแคลนทุนทรัพยใ์ นการศึกษา และต้องใช้เวลา หลงั เลิกเรยี นในการหารายไดเ้ สริม สง่ ผลให้ขาดสมาธิในการเรยี น เข้าเรียนสายเกนิ เวลาท่กี ำหนด หรอื ขาดเรยี น จงึ สง่ ผลให้ เกดิ การขาดหายหรอื หยุดเรยี นกลางคัน และอกี ประการหนง่ึ คอื นกั ศกึ ษาบางส่วนไม่ไดม้ คี วามสนใจในการเรยี นสาขาน้ี

26 โดยตรง หรือยังไม่มีเป้าหมายที่ชดั เจน ดงั นน้ั เมื่อเรียนไปไดส้ ักระยะกจ็ ะขอยา้ ยไปเรยี นในสาขาอื่นทสี่ นใจมากกว่า หลกั สูตร จึงมกี ารวางแผนรองรบั อัตราการคงอยู่ของนกั ศึกษา โดยการวางแผนจดั โครงการเพ่ือพฒั นานักศึกษาในแตล่ ะโครงการจะ สำรวจความต้องการของนกั ศึกษาวา่ ต้องการใหจ้ ัดโครงการรปู แบบใด มีเนื้อหาไปในทศิ ทางใด โดยคำนงึ ถึงสถานการณ์ โควิด19 ตลอดจนความสะดวกในการเขา้ รว่ ม ความปลอดภัยในการเดินทาง และความเป็นไปไดใ้ นการจดั กิจกรรมตา่ งๆ 2) การสำเร็จการศกึ ษา (ระบรุ อ้ ยละของผู้สำเรจ็ การศึกษา) ปกี าร จำนวน ปีการศึกษาทีส่ ำเรจ็ การศกึ ษา 2564 จำนวนนกั ศึกษา ศกึ ษาที่ นักศกึ ษา ลาออกและคัดช่ือออก เขา้ ท่ีรบั เข้า 2562 2563 จำ สะสมถึงสน้ิ ปี นวน ร้อยละ การศึกษาที่ จำ รอ้ ยละ จำ ร้อยละ ประเมิน นวน นวน 2559 82 59 72 45 1 16 2560 75 00 43 57 7 98 2561 80 00 00 47 59 13 ปจั จยั ท่ีมผี ลกระทบตอ่ การสำเร็จการศึกษา ดา้ นส่อื และคุณภาพอาจารย์ไม่ได้มผี ลกระทบต่อการสำรวจการศึกษาแต่ อย่างใด ปัจจยั ที่มผี ลกระทบ คือ 1. ขาดทุนทรัพยากรในการศกึ ษา นกั ศกึ ษาส่วนมากมีฐานะที่คอ่ นข้างยากจน บางคนต้องหาเงินเรียนดว้ ยตัวเอง เม่ือหาเงนิ ไม่ ทันจึงทำให้เกดิ การหยุดเรยี นไปกลางคนั 2. นักศกึ ษาต้องลาพกั การเรยี นจึงทำให้ต้องตามเกบ็ รายวชิ าทยี่ ังไมไ่ ด้ลงทะเบียน ซงึ่ ตอ้ งรกั ษาตัวจงึ ถอนบางรายวิชาเพื่อพกั การเรยี น 3. ปญั หาส่วนตวั ของนกั ศกึ ษา คือ ขาดความตัง้ ใจ เพราะบางครง้ั ไปใหค้ วามสนใจในเรื่องอน่ื มากกว่าการเรียน เชน่ ส่อื อบายมขุ ตา่ ง ๆ และเพอ่ื นชักชวน 4. นกั ศึกษายงั คงอยู่ในช่วงเวลาของการสอบปลายภาคและการประเมนิ ผลการเรียน จงึ ทำใหน้ กั ศกึ ษาบางคนไมส่ ามารถ สำเร็จการศกึ ษาภายในชว่ งระยะเวลากอ่ นการรายงานการดำเนินงานหลกั สตู รนี้ได้ อกี ทัง้ ยังมีนกั ศกึ ษาจำนวนหน่ึงที่มีความ จำเป็นต้องรอลงทะเบยี นในภาคการศึกษาถัดไป นน่ั คอื ภาคการศึกษาที่ 1/2565 ซึ่งบางส่วนมสี าเหตุมาจากการลงทะเบียน เรยี นใหม่ หรอื การตดิ ตามแกไ้ ขผลการ เรยี น I, M, F, และ W ลา่ ช้าเกนิ กว่าเวลามาตรฐานตามที่หลักสูตรกำหนด หมายเหตุ ประธานหลักสตู รสามารถดขู อ้ มลู การสำเรจ็ การศกึ ษา ได้ท่ี http://mis.nrru.ac.th หลักฐาน : การสำเรจ็ การศึกษา (ระบรุ ้อยละของผู้สำเรจ็ การศึกษา) 3) ความพึงพอใจ และผลการจัดการขอ้ รอ้ งเรยี นของนกั ศึกษา จากการดำเนนิ งานพบวา่ ผลความพึงพอใจของนักศึกษาตอ่ หลักสูตรเพ่ิมมากขึ้นกวา่ ปีทผี่ ่านมา 3.1 การจดั ช่องทางการย่นื ข้อร้องเรยี นของนกั ศึกษา หลักสตู รฯ มชี อ่ งทางสำหรบั ให้นักศึกษาย่ืนขอ้ ร้องเรียน ดังนี้ 1. ร้องเรียนผา่ นทางระบบการประเมินผสู้ อน 2. รอ้ งเรียนผา่ นทางอาจารยท์ ี่ปรึกษา 3. ร้องเรียนผ่านทาง Facebook หรือ E-Mail ของอาจารยท์ ่ปี รึกษาประจำหมูเ่ รียน 4. รอ้ งเรียนโดยตรงกับอาจารย์ประจำหลกั สูตร 3.2 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักศึกษาตอ่ หลกั สตู ร รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของนกั ศึกษาทมี่ ตี อ่ หลกั สูตร โดยแสดงผลสำรวจความพึงพอใจยอ้ นหลงั 3 ปี

27 ปกี ารศึกษาทป่ี ระเมิน คะแนนความพึงพอใจ นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 4 มคี า่ ความพึงพอใจเฉลย่ี เท่ากบั 4.05 (ระดบั มาก) 2562 นักศกึ ษาช้ันปที ่ี 3 มคี า่ ความพึงพอใจเฉลยี่ เทา่ กบั 4.06 (ระดบั มาก) นักศึกษาช้นั ปที ่ี 2 มีค่าความพึงพอใจเฉลยี่ เท่ากบั 3.87 (ระดบั มาก) คดิ เป็นคา่ เฉล่ยี 3.99 นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 4 มีค่าความพงึ พอใจเฉลีย่ เทา่ กบั 3.77 (ระดบั มาก) 2563 นักศกึ ษาชั้นปที ่ี 3 มคี า่ ความพึงพอใจเฉลี่ย เท่ากบั 3.94 (ระดบั มาก) นกั ศกึ ษาชัน้ ปีที่ 2 มคี า่ ความพึงพอใจเฉลยี่ เท่ากบั 3.78 (ระดบั มาก) คิดเป็นคา่ เฉลยี่ 3.83 นักศกึ ษาช้ันปที ่ี 4 มีค่าความพงึ พอใจเฉลยี่ เท่ากบั 4.25 (ระดับมาก) 2564 นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 3 มีค่าความพงึ พอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 3.97 (ระดับมาก) นกั ศกึ ษาชน้ั ปีท่ี 2 มคี ่าความพงึ พอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 4.17 (ระดับมาก) คดิ เปน็ คา่ เฉลีย่ 4.13 หมายเหตุ ประธานหลกั สตู รสามารถตรวจสอบผลการประเมินความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาตอ่ หลกั สูตรไดท้ ่ี http://mis.nrru.ac.th หลกั ฐาน : รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาทมี่ ีตอ่ หลักสตู รโดยแสดงผลสำรวจความพึงพอใจย้อนหลงั 3 ปี 3.3 การจดั การขอ้ ร้องเรียนของนกั ศึกษา ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจต่อผลการจดั การขอ้ รอ้ งเรยี นของนักศกึ ษา ในรอบ 3 ปยี อ้ นหลงั (ปีการศึกษา 2562 - 2564) มีดังน้ี ปกี ารศึกษาทป่ี ระเมนิ คะแนนความพึงพอใจ นกั ศกึ ษาชนั้ ปที ่ี 4 มคี า่ ความพงึ พอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 4.01 (ระดบั มาก) 2562 นักศึกษาชน้ั ปีที่ 3 มคี า่ ความพงึ พอใจเฉล่ยี เท่ากบั 3.95 (ระดับมาก) นักศึกษาชั้นปีที่ 2 มคี ่าความพงึ พอใจเฉลี่ย เท่ากบั 3.70 (ระดับมาก) คิดเปน็ ค่าเฉลีย่ 3.89 นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 4 มคี ่าความพึงพอใจเฉลย่ี เท่ากบั 3.71 (ระดบั มาก) 2563 นักศกึ ษาชน้ั ปีที่ 3 มคี ่าความพึงพอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 3.91 (ระดบั มาก) นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 2 มีค่าความพึงพอใจเฉลย่ี เท่ากบั 3.65 (ระดบั มาก) คดิ เป็นคา่ เฉลี่ย 3.76 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีค่าความพงึ พอใจเฉลย่ี เทา่ กบั 4.21 (ระดบั มาก) 2564 นกั ศึกษาชน้ั ปีท่ี 3 มคี า่ ความพึงพอใจเฉลี่ย เท่ากบั 3.76 (ระดับมาก) นกั ศกึ ษาช้นั ปีที่ 2 มีคา่ ความพงึ พอใจเฉลี่ย เทา่ กบั 4.05 (ระดบั มาก) คิดเป็นคา่ เฉล่ีย 4.01 หมายเหตุ ประธานหลกั สตู รสามารถตรวจสอบผลการประเมินความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาต่อหลกั สูตร ได้ที่ http://mis.nrru.ac.th หลกั ฐาน : ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ ผลการจดั การข้อร้องเรียนของนักศกึ ษา ในรอบ 3 ปยี ้อนหลัง (ปีการศกึ ษา 2562 - 2564)

28 หมวดท่ี 3 อาจารย์ 1. อาจารย์ อาจารย์ หมายถงึ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร ท่ีมีภาระหน้าท่ใี นการบรหิ ารและพัฒนาหลกั สูตรและ การเรยี นการ สอน ตง้ั แต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและพัฒนาหลกั สูตร อธิบายผลการดำเนินงานตามตวั บง่ ชี้ต่อไปนี้ ตวั บง่ ชี้ ผลการดำเนนิ งาน การบริหาร ผลการประเมนิ ตนเองในปี 2563 มผี ลการดำเนินงานในระดบั 3 และพฒั นา อาจารย์ ผลการประเมินตนเองในปี 2564 มผี ลการดำเนนิ งานในระดบั 3 (ตัวบ่งชี้ 4.1) ผลการดำเนนิ งาน 1) การรับและแตง่ ตัง้ อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลักสูตร หลักสตู รมีผลการดำเนินงาน (P) ระบบและกลไกการรบั และแตง่ ต้งั อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร ดังนี้ 1. วางแผนรับ 2. กำหนดคณุ สมบัติ 3. กำหนดตวั แทนอาจารย์เป็นกรรมการสอบ 4. ส่งขอ้ มลู ใหค้ ณะนำเสนอตอ่ มหาวทิ ยาลัย 5. ดำเนนิ การสอบคดั เลอื ก 6. สรปุ ผลการสอบคัดเลือก 7. เสนอข้อมลู ต่อคณะเพื่อแตง่ ต้ัง 8. ปฐมนเิ ทศอาจารย์ใหม่ 9. พิจารณาสัญญาจ้าง 10. จดั ประเมินระบบการรับและแตง่ ตงั้ อาจารย์ประจำหลักสตู รใหม่ 11. นำผลการประเมนิ ไปปรับปรงุ (D) การดำเนนิ งานตามระบบและกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร ในปีการศึกษา 2564 หลักสูตรมีการดำเนินงานตามระบบและกลไกการรับและแตง่ ตัง้ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร พบว่า หลักสูตรมีอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร 5 คน ประกอบด้วย หลกั สตู ร หลกั สูตร หลักสตู ร หลกั สูตร หลักสตู ร พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 1. อาจารย์ รตั นกุล 1. อาจารย์ ดร.รจุ ริ า 1. อาจารย์ ดร.รจุ ริ า 1. อาจารย์ ดร.รจุ ริ า 1. อาจารย์ ดร.รุจริ า กาญจนะพรกุล ศรีสภุ า ศรสี ุภา ศรสี ุภา ศรสี ุภา 2. อาจารย์ ดร.รจุ ิรา 2. อาจารย์ จนิ ตนา 2. อาจารย์ จินตนา 2. อาจารย์ จนิ ตนา 2. อาจารย์ จนิ ตนา ศรีสภุ า แย้มละมลุ แย้มละมลุ แยม้ ละมุล แยม้ ละมุล 3. อาจารย์ จนิ ตนา 3. อาจารย์ จิราพร 3. อาจารย์ จริ าพร 3. อาจารย์ จริ าพร 3. อาจารย์ จริ าพร แยม้ ละมุล ปาสาจะ ปาสาจะ ปาสาจะ ปาสาจะ 4. อาจารย์ ดร.รุจิรา 4. อาจารย์ วิชมยั 4. อาจารย์ วรยศ 4. อาจารย์ วรยศ 4. อาจารย์ ดร. ศรีสุภา อม่ิ วิเศษ ชน่ื สบาย ชืน่ สบาย ธรี วัฒน์ การโสภา 5. อาจารย์ ดร. 5. อาจารย์ หล่ี 5. อาจารย์ หวง 5. อาจารย์ หวง 5.อาจารยป์ านดวงใจ ธีรวฒั น์ การโสภา เซวียนเซวยี น หว่ันถงิ หวั่นถิง บญุ จนาวโิ รจน์ 6. อาจารย์ ดร. ธีรวฒั น์ การโสภา

29 2) หลักสตู รไดด้ ำเนนิ การประเมนิ ความพงึ พอใจอาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร ซ่ึงมีหวั ขอ้ การประเมนิ 4 ประเด็น ดังนี้ 1. การกำหนดคุณสมบตั ิของอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู รทง้ั ดว้ ยคุณวุฒิ ความรู้ และความสามารถ 2. การเสนอชอ่ื กรรมการคดั เลอื กอาจารย์ประจำหลักสตู รตามความเหมาะสม 3. การเสนอแตง่ ตง้ั อาจารย์ประจำหลกั สตู รตาม สมอ. 08 สามารถดำเนินการอย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม 4. การเสนอรายชื่ออาจารย์ประจำหลกั สูตรตอ่ มหาวิทยาลยั เพื่อรบั การเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย สามารถดำเนินการได้ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ซึง่ จากการประเมนิ ความพงึ พอใจของอาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรตอ่ หลกั สูตรในภาพรวมพบวา่ ความพึงพอใจอย่ใู นระดับมาก โดยมคี า่ เฉลีย่ 4.56 (หลักฐาน : ผลประเมินพงึ พอใจของอาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรตอ่ หลกั สูตร) (C) การประเมนิ ระบบกลไกการรับอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร หลักสูตรได้มีการประชุมประเมินระบบกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารยไ์ ด้กำหนดภาระงานขั้นต่ำไมน่ ้อยกว่า 35 ภาระงานต่อสัปดาห์ ภาระงานของอาจารย์ ไดแ้ ก่ ภาระงานสอน ภาระงานวิจยั และวิชาการอืน่ ภาระงานด้านบริการวิชาการ/ทำนบุ ำรุงศิลปวัฒนธรรม ภาระงานอนื่ ๆ การ ประเมนิ มี 2 คร้งั ตอ่ ปีงบประมาณ อาจารย์ต้องรายงานและส่งหลกั ฐานต่อหลักสตู รและประธานหลกั สูตรตรวจสอบลงนามและ นำเสนอต่อคณบดีฯ ภาระงานในการจัดโครงการต่างๆของหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละชั้นปีเป็นผู้รับผิดชอบเปน็ ประธานโครงการดำเนนิ งาน ส่วนโครงการทีจ่ ัดใหก้ บั นักศกึ ษาทุกชั้นปมี กี ารแบง่ หน้าที่ให้อาจารย์ประจำหลกั สูตรเป็นประธาน โครงการ เพอื่ หมุนเวยี นหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบโดยได้ภาระงานตามทมี่ หาวิทยาลัยกำหนด (A) การปรับปรุงระบบกลไกการรบั อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร หลักสูตรไดด้ ำเนินการปรับปรงุ ระบบกลไกการรบั และแตง่ ต้งั อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู ร จากผลการทบทวนพบว่า หลกั สตู รมมี ติกำหนดช่วงเวลาการหมนุ เวยี นในการรับผิดชอบหน้าท่ี เช่น ประธานหลกั สตู ร รองประธานหลักสูตร เลขา และกรรมการประจำหลักสตู ร โดยมวี งรอบ 2 ปี ทัง้ น้ี หลกั สูตรยงั ไดห้ มุนเวยี นเพื่อลาศึกษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอก และ การทำผลงานทางวชิ าการ (P) ระบบและกลไกการบรหิ ารอาจารย์ หลักสตู รมีการวางแผนในการบริหารพฒั นาอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ดังน้ี 1. หลักสตู รกำหนดบทบาทหน้าที่ และความรับผดิ ชอบของอาจารย์ 2. หลักสตู รวางแผนอัตรากำลังอาจารยป์ ระจำหลกั สูตรตอ่ นักศึกษา โดยพิจารณาจากอาจารย์ประจำ ตามเกณฑ์ สกอ. 3. หลักสตู รวางแผนบริหารเพ่อื พัฒนาอาจารย์ 4. หลกั สูตรสำรวจความพงึ พอใจตอ่ หลักสตู ร 5. อาจารยท์ บทวนกระบวนการบรหิ ารอาจารย์ 6. นำผลการทบทวนการดำเนินการมาพฒั นา และปรับปรงุ การวางแผนบริหารอาจารย์ (D) การดำเนนิ งานตามระบบและกลไกการบริหารอาจารย์ ในปี พ.ศ. 2564 หลกั สตู รได้ดำเนนิ การตามระบบและกลไก ดงั นี้ 1) หลักสูตรได้วิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลังของหลักสูตรต้ังแตป่ ีการศึกษา 2560-2564 โดยให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรทุกท่านวางแผนการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อนำเสนอต่อหลักสูตรและจะได้นำข้อมูลรายบุคคลมาใช้ในการ วางแผนอตั รากำลงั และภาระงานของหลกั สตู รในปีการศกึ ษา 2564 และ เนือ่ งจาก อาจารย์ Huang Wanting และ อาจารย์ วร ยศ ช่ืนสบาย ลาออกจากการเปน็ อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร จึงทำให้จำนวนอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่ครบ 5 คน ตาม เกณฑ์ที่กำหนด ทางหลักสูตรพิจารณาอาจารย์ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์ มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑแ์ ละพร้อมทีจ่ ะเป็น ศกั ยภาพของหลักสูตรได้ จงึ มมี ติเหน็ ใหอ้ าจารยป์ านดวงใจ บุญจนาวิโรจน์ ไดร้ ับแต่งต้ังเปน็ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรศลิ ปศา

30 สตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน คนที่ 5 แทนที่อาจารยท์ ี่ลาออกไป ทางหลักสูตรดำเนินการปรับปรงุ สมอ.08 เล็กน้อยในทันที และไดม้ ีมตเิ หน็ ชอบจากสภามหาวทิ ยาลัยในการประชุมสภามหาวิทยาลยั ครง้ั ท่ี 9/2564 วนั ท่ี 15 ต.ค. 2564 (หลักฐาน: บนั ทึกขอ้ ความเรอ่ื งแจง้ สรุปมตกิ ารประชมุ และรายช่ืออาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรและรายงานประชมุ หลักสตู ร ครง้ั ที่ 2 / 2564 ) 2) หลักสตู รได้มอบหมายภาระหน้าทีด่ ้านการสอนตามรายวิชาท่อี าจารยม์ ีประสบการณ์ความรู้ ความสามารถ และตามความถนัดของผูส้ อน ดงั นี้ ผรู้ ับผดิ ชอบ รายวิชาท่ีสอน อาจารย์ ดร.รุจิรา ศรีสภุ า - การแปลภาษาจนี 1 - ความร้เู บอ้ื งตน้ เกีย่ วกับวรรณคดจี ีน อาจารย์ จิราพร ปาสาจะ - การอา่ นภาษาจนี 2 อาจารย์ จินตนา แย้มละมลุ - ภาษาจนี เพอื่ การสื่อสารในชีวิตประจำวนั อาจารย์ วรยศ ช่ืนสบาย - การอา่ นภาษาจีน 1 อาจารยด์ ร.ธรี วัฒน์ การโสภา - ภาษาจนี ระดับกลาง 2 อาจารย์ Yang Shu Juan - สทั ศาสตร์ภาษาจีนกลาง อาจารย์ ปานดวงใจ บุญจนาวโิ รจน์ - ภาษาจนี เพอ่ื การสอื่ สาร 3 - การเขียนภาษาจีน 1 อาจารย์ดร.พชรมน ซื่อสัจลือสกลุ - ไวยากรณ์ภาษาจนี 2 - สนทนาภาษาจนี - การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาตา่ งประเทศ - ภาษาจีนระดบั ตน้ 4 - ไวยากรณภ์ าษาจนี 1 - วัฒนธรรมประเพณจี ีนและศิลปะจีน (C) การประเมนิ ระบบกลไกการรับอาจารย์ (A) การปรบั ปรุงระบบกลไกการรบั อาจารย์ จากการประชมุ ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร มีมติเห็นชอบใหแ้ ต่งตัง้ อาจารยป์ านดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์ ซึ่งมคี ณุ สมบตั ิอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รตามเง่ือนไข จงึ ดำเนนิ การตามกลไกเพอ่ื แตง่ ตง้ั อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลกั สูตรแทนอาจารยท์ ี่ลาออก ในปี การศึกษา 2564 หลกั สูตรไดด้ ำเนินการปฐมนเิ ทศอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรใหม่ และดำเนินการตามระบบและกลไกการ บรหิ ารอาจารย์ ดังนี้

31 1) หลกั สตู รได้ประชุมวเิ คราะหแ์ ละวางแผนอตั รากำลังของหลกั สตู ร ตงั้ แตป่ ีการศกึ ษา 2560-2564 โดยให้อาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รวางแผนการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพอื่ นำเสนอตอ่ หลกั สูตรในปกี ารศกึ ษา 2564 โดยเฉพาะ อย่างยง่ิ การทำผลงานทางวิชาการ ตำแหน่งผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดังนี้ อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบ แผนการพัฒนา ผลงานทางวชิ าการท่ี รายวชิ าทีบ่ รู ณาการ ปีทีค่ าดว่า หลกั สตู ร วางแผนพฒั นา จะดำเนนิ การได้ อาจารย์ ดร.รจุ ิรา ส่งผลงานเพ่ือพิจารณา 1.ผลิตตำราการทอ่ งเทย่ี วใน การแปลภาษาจนี 1 -2 2566 ศรสี ภุ า ตำแหนง่ ทางวชิ าการ ทอ้ งถ่ิน 2.ศัพทานุกรมจนี - และภาษาจีนเพอ่ื ไทย จงั หวดั นครราชสีมา อตุ สาหกรรมบริการ อาจารย์ จิราพร สง่ ผลงานเพอื่ พิจารณา 1.เอกสารประกอบการสอน การอ่านภาษาจนี 2 2565-2566 ปาสาจะ ตำแหนง่ ทางวชิ าการ วชิ า การอา่ นภาษาจีน 2 ภาษาจีนเพอ่ื การ 2.ตำราตัวเลขในภาษาและ สือ่ สารในชีวิตประจำวนั วฒั นธรรมจนี และ วฒั นธรรมประเพณจี ีน และศลิ ปะจนี อาจารย์ จนิ ตนา วางแผนศกึ ษาตอ่ ระดับ ผลิตตำรา การอา่ นภาษาจีน 1 2565 แย้มละมุล ปรญิ ญาเอก การอา่ นภาษาจนี ผา่ นส่ือ ออนไลน์ อาจารย์ ดร.ธีรวฒั น์ สง่ ผลงานเพื่อพจิ ารณา ผลิตตำราหลกั การเขยี น การเขยี นภาษาจนี 1 2566 การโสภา ตำแหน่งทางวิชาการ ภาษาจนี อาจารย์ ปานดวงใจ ตพี มิ พ์บทความวิชาการ ผลติ เอกสารประกอบ ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั 2566 บญุ จนาวิโรจน์ และผลติ เอกสาร การสอนวชิ า ประเทศจนี ประกอบการสอน ความร้ทู ่ัวไปเก่ียวกบั ประเท ศจนี นอกจากนยี้ ังมีอาจารยใ์ นหลกั สตู รไดว้ างแผนการพฒั นาตนเองโดยการผลิตตำรา ดังนี้ อาจารย์ในหลกั สตู ร แผนการพัฒนา ผลงานทางวชิ าการท่ี รายวชิ าทบ่ี ูรณาการ ปที คี่ าดว่า วางแผนพัฒนา จะดำเนนิ การได้ อาจารย์ ดร.พชรมน ตีพิมพ์บทความวชิ าการ ผลติ ตำราวัฒนธรรมจีนเพื่อ วัฒนธรรมประเพณจี ีน 2566 ซอื่ สจั ลอื สกุล และผลิตตำรา การสือ่ สาร และศิลปะจีน (P) ระบบและกลไกการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์ หลักสูตรมรี ะบบและกลไกระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร ดังนี้ 1. หลักสตู รจดั ทำแผนบริหารและพัฒนาอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

32 2. หลกั สตู รวางแผนเพื่อทบทวนและสำรวจความต้องการพัฒนาตนเอง การทำผลงานทางวชิ าการ การเข้ารบั การอบรม และ สมั มนาตา่ งๆ 3. คณะและมหาวิทยาลยั จดั สรรงบประมาณในการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาจารย์ 4. หลักสตู รมีการสำรวจความพึงพอใจตอ่ ระบบส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ 5. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รประชมุ ทบทวนกระบวนการสง่ เสริมและพฒั นาอาจารย์ 6.หลักสูตรทบทวนการดำเนินงานมาพฒั นาและปรบั ปรงุ กระบวนการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารย์ (D) การดำเนินงานตามระบบการส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ หลกั สตู รได้นำระบบและกลไกดงั กลา่ วนำไปสู่การปฏบิ ตั ิซึ่งไดด้ ำเนนิ การประชมุ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรเพอื่ ดำเนนิ การ บริหารและพฒั นาอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยสำรวจความต้องการด้านการศึกษาต่อ และการเข้าสตู่ ำแหนง่ ทางวชิ าการ และการพัฒนาตนเองของอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ดงั ตารางข้างต้น (หลกั ฐาน : หลกั ฐานการเข้าอบรมตามตวั บ่งช้ีท่ี 4.3 ) (C) การประเมินระบบกลไกการบรหิ ารของอาจารย์ หลกั สตู รมีการประชุมอาจารย์ผู้สอน เพ่อื ประเมนิ ระบบกลไกการบริหารอาจารย์ในข้นั ตอนการกำหนด บทบาทและหนา้ ที่ ความรบั ผิดชอบของหลกั สูตร ซึ่งไดม้ ีการดำเนนิ การตามวาระการประชุม (A) การปรบั ปรงุ ระบบกลไกการบริหารอาจารย์ ผลการประเมินจากอาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร 1.3 การกำหนดหน้าทขี่ องอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร มีการแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร โดยคณบดีหรือผู้รับมอบอำนาจ และกำหนดอำนาจหน้าที่ของอาจารย์ ผ้รู ับผิดชอบหลักสูตร ซ่ึงการกำหนดหน้าทอ่ี าจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู รมีหน้าทใ่ี นการบริหารหลกั สตู รและจดั การเรียนการสอน โดยวางแผน ติดตาม ทบทวนการดำเนินงานหลักสตู รและปฏิบตั ิงานประจำหลักสตู รนั้น มีคุณวฒุ ติ รงหรือสัมพันธก์ บั สาขาวิชาที่ เปิดสอนไม่นอ้ ยกวา่ 5 คน และทุกคนเป็นอาจารยป์ ระจำเกินกวา่ 1 หลกั สตู รในเวลาเดียวกันไมไ่ ด้ มีผลงานทางวิชาการอย่าง นอ้ ย 1 รายการในรอบ 5 ปยี ้อนหลัง 2) การบรหิ ารอาจารย์ หลักสูตรมีผลการดำเนนิ งาน ดงั น้ี 2.1 การวางแผนกำลงั คน หลักสตู รได้วเิ คราะหแ์ ละวางแผนอตั รากำลังของหลกั สตู รตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2560-2564 โดยใหอ้ าจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร ทุกท่านวางแผนการพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ เพื่อนำเสนอต่อหลักสูตรและจะได้นำข้อมูลรายบุคคลมาใช้ในการวางแผน อัตรากำลังและภาระงานของหลักสูตรในปีการศึกษา 2564 ทั้งนี้ อาจารย์ชาวไต้หวัน Huang Wanting ซึ่งเป็นอาจารย์ ผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รในปีทผ่ี ่านมา ได้ลากลบั ภมู ลิ ำเนา เน่ืองจากส้ินสดุ สัญญาการวา่ จ้าง วันท่ี 31 พ.ค. 2564 และอาจารยว์ รยศ ชื่นสบาย ก็ได้สิ้นสุดสัญญาจ้าง วันที่ 8 สิงหาคม 2564 และกำลังดำเนินการต่อสัญญา ทางหลักสูตรจึงดำเนินตามกลไกวาง แผนการแตง่ ตงั้ อาจารย์ทีม่ คี ุณสมบัตคิ รบตามเงือ่ นไขของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร โดยแต่งต้งั อาจารย์ปานดวงใจ บุญจนา วิโรจน์ ซึ่งเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มคี ุณวุฒติ รงกับสาขาวชิ าทดแทนตามมติในที่ประชุม เมื่อวันที่ 16 ก.ค. 2564 ทาง หลกั สตู รดำเนินการปรับปรงุ สมอ.08 เลก็ นอ้ ยในทันที และไดม้ ีมติเหน็ ชอบจากสภามหาวทิ ยาลัยในการประชุมสภามหาวิทยาลัย คร้ังที่ 9/2564 วันท่ี 15 ต.ค. 2564 2.2 การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ในปี 2564-2565 มีอาจารย์ 6 ทา่ น เขา้ รว่ มโครงการจดั ทำตำราและเอกสารประกอบการสอนของคณะ ไดแ้ ก่ 1. อ.ดร.รจุ ริ า ศรีสภุ า จัดทำตำราการทอ่ งเทย่ี วในทอ้ งถน่ิ และ ศพั ทานกุ รมจนี -ไทย จ.นครราชสีมา แล้วเสรจ็ 2. อ.จิราพร ปาสาจะ จดั ทำเอกสารประกอบการสอนในรายวชิ าการอา่ นภาษาจีน 2 แล้วเสรจ็ และกำลังจัดทำตำราเรือ่ ง ตวั เลข ในภาษาและวัฒนธรรมจนี 3. อ.จินตนา แยม้ ละมุล กำลังจดั ทำตำรา เร่อื ง การอา่ นภาษาจนี ผ่านส่ือออนไลน์ 4. อ.ดร.พชรมน ซื่อสจั ลอื สกลุ กำลังจัดทำตำราเรอ่ื งวฒั นธรรมจนี เพอ่ื การสื่อสาร 5. อ.ดร.ธีรวฒั น์ การโสภา กำลังจดั ทำตำราหลกั การเขียนภาษาจีน 6. อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์ กำลงั จดั ทำเอกสารประกอบการสอนวชิ า ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกับประเทศจีน อาจารย์ทุกคนได้ทำแผนพัฒนาตนเองเสนอต่อหลักสตู ร และหลักสูตรมีการส่งเสริมให้อาจารย์พัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่ ตำแหนง่ ทางวิชาการโดยให้เข้ารว่ มโครงการพฒั นาเอกสารประกอบการสอน พฒั นาตำราของคณะฯ ซึง่ คณะได้จดั วทิ ยากรพี่เลย้ี ง

33 ชว่ ยเหลอื ใหค้ ำแนะนำ อาจารยข์ องหลกั สูตรไดท้ ำวิจยั และได้รับงบประมาณสนบั สนนุ นอกจากนอ้ี าจารย์แต่ละทา่ นยังสมัครทุน วิจัยอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยและหลักสูตร ทำให้มีบทความวิจัยที่มกี ารเผยแพร่และตีพิมพ์ในปี 2564 และคาดการณว์ ่าจะมี ชิ้นงานการตีพิมพ์บทความเพิ่มเติมในปี 2565-2566 รายวิชาที่อาจารย์ต้องการทำเอกสารประกอบการสอนหรือตำรา ทาง หลักสูตรได้จดั ให้อาจารย์สอนรายวชิ านั้นๆ อย่างต่อเน่อื งและซอ้ื หนงั สอื พจนานกุ รม และหนงั สือต่างๆ เพื่อใชป้ ระกอบการทำ เอกสารประกอบการสอน การเขา้ รว่ มอบรม ประชุมของมหาวิทยาลัยทช่ี ้ีแจงเกี่ยวกับเกณฑก์ ารส่งผลงานเกณฑใ์ หม่ ปี 2565 ได้มี อาจารย์จิราพร ปาสาจะ อาจารย์จินตนา แย้มละมุล อาจารย์ ดร.พชรมน ซื่อสัจลือสกุล อาจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา และ อาจารย์ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์ เข้าร่วมการทำผลงานทางวิชาการกบั โครงการที่คณะจัดข้ึน เพื่อเตรียมการในการพัฒนา ผลงาน หลักสูตรได้สนบั สนุนงบจดั ซื้อหนังสือ เอกสารที่ใช้ประกอบการค้นคว้า การเขียนตำรา และนอกจากนีท้ างสำนกั วิทย บริการได้จัดงบสนบั สนนุ การจัดซอ้ื หนังสือใหก้ บั หลกั สตู รเพื่อใชใ้ นการเรียนการสอนและการค้นคว้าหาขอ้ มลู ต่างๆ การจัดภาระ งานสอนท่เี หมาะสม และใหอ้ าจารยม์ ีเวลาวา่ งตดิ ต่อกนั เพ่อื เอ้อื ให้อาจารย์ได้มีเวลาในการพัฒนาผลงานทางวชิ าการของตนเอง 2.3 การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน หลักสูตรมีการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านของอาจารยไ์ ดก้ ำหนดภาระงานข้นั ตำ่ ไมน่ อ้ ยกว่า 35 ภาระงานต่อสปั ดาห์ ได้แก่ ภาระงานด้านตา่ งๆ ได้แก่ ภาระงานสอน ภาระงานวจิ ยั และวิชาการอืน่ ภาระงานด้านบริการวิชาการ/ทำนุบำรงุ ศิลปวัฒนธรรม ภาระงานอื่นๆ รวมถึงภาระงานในการจัดโครงการตา่ งๆ ของหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาของแต่ละชั้นปีเปน็ ผู้รับผิดชอบเปน็ ประธานโครงการดำเนินงานท่จี ดั ใหก้ บั นักศึกษาทุกชนั้ ปี โดยการประเมินเลอื่ นขัน้ มี 2 คร้งั ตอ่ ปงี บประมาณ อาจารยต์ อ้ งรายงาน และส่งหลักฐานต่อหลักสูตร เพอื่ ให้ประธานหลักสูตรตรวจสอบลงนาม นำเสนอตอ่ คณบดี 2.4 การสรา้ งแรงจงู ใจและสวสั ดกิ าร ในการสรา้ งแรงจูงใจและการจดั สวัสดกิ ารในระดับหลกั สูตรเพอ่ื ใหอ้ าจารย์ดำรงอยู่อย่างเป็นสุข การบริหารงานเป็นการ บริหารของอาจารย์ทั้ง 5 คน การตกลงในเรื่องต่างๆ เป็นการตัดสินใจร่วมกันทุกคนในที่ประชุม การจัดภาระงานสอนอย่าง เหมาะสมตามความสามารถและความเช่ยี วชาญ ใหม้ ีโอกาสกา้ วหน้าในหน้าท่อี ยา่ งเทา่ เทียมโดยคำนงึ ถงึ แผนพัฒนาทางวชิ าการที่ อาจารย์วางแผนไว้ หลักสูตรมีสวสั ดิการให้แก่อาจารย์ประจำหลักสูตร เช่น มีการจัดสวัสดิการให้ยืมเงินโดยไม่คิดดอกเบี้ยใน วงเงนิ ไม่เกนิ 5,000 บาท โดยมีอาจารยใ์ นหลักสูตรทุกคนเปน็ ผู้ค้ำประกัน กรณีเจบ็ ป่วยหลกั สูตรมกี ารจัดสวัสดิการเยี่ยมผู้ป่วย และในด้านการทำผลงานวิชาการหลกั สูตรสนบั สนนุ งบประมาณจัดซื้อหนังสอื หรือสนบั สนุนค่าถ่ายเอกสารเพ่ือให้อาจารย์ได้มี เอกสารทตี่ อ้ งใช้ค้นคว้าในการทำผลงานวิชาการคนละ 1,000 บาทตอ่ ภาคเรยี น รวมถงึ การสมคั รรบั บรจิ าคหนงั สือและสื่อการ เรียนการสอนจากหนว่ ยงานภายนอก ไดแ้ ก่ Center for language Education and Cooperation (语合中心-CLEC) โดย เชือ้ เชญิ ให้คณาจารย์ร่วมกนั คัดเลอื กหนังสอื บรจิ าคแกห่ ลักสตู รซ่งึ มมี ูลคา่ 20,000 หยวน นอกจากนี้ ยังอนุญาตใหส้ อนพิเศษราย ชั่วโมงนอกมหาวิทยาลัยช่วงเวลาทไ่ี ม่กระทบการคาบสอนปกติ เปน็ ต้น (หลกั ฐาน ผลประเมนิ ความพงึ พอใจของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบตอ่ หลักสูตร) 3) การสง่ เสริมและพฒั นาอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรมีผลการดำเนินงาน ดังน้ี 3.1 การฝกึ อบรม/สมั มนา/ศกึ ษาดงู าน อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสตู รแตล่ ะคนจะได้รับงบประมาณสนบั สนนุ การฝึกอบรม สัมมนา เป็นเงิน 2,800 บาทต่อคน ต่อปีงบประมาณและในระดับหลกั สูตรไดจ้ ัดโครงการอบรมให้ความรเู้ พื่อพัฒนาผลงานวชิ าการในระดับหลักสตู ร และหลกั สตู ร สนับสนนุ ให้อาจารย์เขา้ รว่ มการอบรม สมั มนาทคี่ ณะฯ หรอื มหาวิทยาลยั จดั ขน้ึ โดยเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในวงเงนิ ทต่ี นเองสามารถเบิกได้ ตามสทิ ธิ แต่หากมีค่าใช้จ่ายท่ีเกินกว่าสิทธิ การอนมุ ัติหรอื ไม่ขน้ึ กบั การพจิ ารณาของประธานหลักสูตรและคณบดี ชื่อ-สกุล กิจกรรม เวลา/ สถานที่ หนว่ ยงานทจ่ี ดั สถานท่ี 1.อ.ดร.รุจริ า 1. การบรรยายและเผยแพร่งานวจิ ยั เรอื่ ง 22 ส.ค. ออนไลน์ มหาวทิ ยาลัย ศรีสุภา “การศึกษากลวธิ กี ารแปลข้อมูลของปราสาทหิน 64 อุบลราชธานี เขมร ในภาคอีสานตอนลา่ งของไทยเปน็ ภาษาจีน” โดย อาจารย ดร.ณัฐวุฒิ สุขประสงค์

34 2.อ.จริ าพร 2. อบรมหวั ข้อ สถานภาพและอทิ ธิพลนยิ ายองิ 14 ก.ย. ออนไลน์ มหาวิทยาลยั ปาสาจะ พงศาวดารจนี ในประวัตวิ รรณคดจี นี โดย รศ.ดร. 64 ออนไลน์ เชยี งใหม่ กนกพร นมุ่ ทอง ออนไลน์ สาขาวชิ าภาษาจนี 3. การบรรยายหวั ขอ้ \" 汉字的秘密 \" โดย 18 ก.ย. ออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั 马静老师 มหาวทิ ยาลยั จ๋ีหลนิ 64 วลัยลกั ษณ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ออนไลน์ 1. การอบรม โครงการ จีนศึกษาแบบใหม่- 6 ส.ค. ออนไลน์ 语合中心 - โครงการครูผ้สู อน 64 CLEC 2. โครงการภาษาเสวนา : ตะวนั ตกพบตะวนั ออก 21 ส.ค. ออนไลน์ เรื่องเทพปกรณมั : วิจกั ษ์ วิจารณ์ วจิ ัย 64 ออนไลน์ คณะมนษุ ยศาสตร์ ออนไลน์ และสังคมศาสตร์ 3. การบรรยายเร่อื ง“หลกั การแปลวรรคดจี ีน 22 ส.ค. ออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั โบราณเป็นภาษาไทย” โดย รศ.ดร.กนกพร นมุ่ 64 ออนไลน์ ขอนแกน่ ทอง มหาวิทยาลัย 4. การบรรยายและเผยแพรง่ านวิจัย เรอื่ ง 22 ส.ค. เกษตรศาสตร์ “การศกึ ษากลวิธีการแปลขอ้ มูลของปราสาทหนิ เ 64 ขมร ในภาคอสี านตอนล่างของไทยเปน็ ภาษาจีน” มหาวิทยาลยั โดย อาจารย ดร.ณัฐวฒุ ิ สขุ ประสงค์ 24 ส.ค. อบุ ลราชธานี 5. เข้าอบรม 64 เร่ืองความเขา้ ใจบางเรื่องเกยี่ วกับวฒั นธรรมขงจื่อ สถาบนั ขงจอื่ โดย รศ.วรศักดิ์ มหัทธโนบล 31 ส.ค. มหาวทิ ยาลยั 6. เขา้ อบรมหวั ขอ้ ระบบสอบเข้ารับราชการกับ 64 เกษตรศาสตร์ การธำรงแผ่นดนิ ราชวงศ์ซ่ง โดย ผศ.ดร.ศิริวรรณ สถาบนั ขงจอ่ื วรชยั ยุทธ 7 ก.ย. มหาวิทยาลัย 7. เขา้ อบรมเร่ือง คตชิ นวทิ ยาจีน 64 เกษตรศาสตร์ วา่ ด้วยพฒั นาการและพ้ืนทวี่ า่ งทางการศกึ ษาใน สถาบันขงจอ่ื 14 ก.ย. มหาวิทยาลัย วงวิชาการจนี โดย ดร.เพ็ญพิสทุ ธิ์ สีกาแกว้ 64 เกษตรศาสตร์ 8. เข้าอบรมหัวขอ้ สถานภาพและอิทธพิ ลนยิ าย 18 ก.ย. สถาบนั ขงจื่อ อิงพงศาวดารจนี ในประวตั วิ รรณคดีจีน โดย รศ. 64 มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์ ดร.กนกพร นุม่ ทอง มหาวิทยาลัย 9. การบรรยายหวั ข้อ \" 汉字的秘密 \" โดย วลัยลักษณ์ 马静老师 มหาวทิ ยาลัยจี๋หลิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน 10. โครงการภาษาเสวนา : ตะวนั ตกพบ 18 ก.ย. ออนไลน์ คณะมนุษยศาสตร์ ตะวันออก ครั้งท่ี 2 การเรยี นการสอน 64 และสงั คมศาสตร์ ภาษาต่างประเทศในศตวรรษท่ี 21 : ทบทวน มหาวิทยาลัย ทศิ ทาง ท้าทาย ขอนแก่น

35 11.ข้าอบรมหลักสตู รวิจยั ข้นั สูงสำหรับครไู ทยสอ 3 ส.ค. ออนไลน์ ศูนย์ฝกึ อบรมครไู ทย นภาษาจนี จำนวน 24 ช่ัวโมง - 10 สอนภาษาจีน พ.ย. สถาบนั ขงจ่ือ 64 ม.ขอนแก่น 12. เขา้ ร่วมโครงการภาษาเสวนา : 16 ออนไลน์ คณะมนษุ ยศาสตร์ ตะวันตกพบตะวนั ออก เรอ่ื งภาษาศาสตร์ : ต.ค.64 และสงั คมศาสตร์ ศาสตร์ศลิ ป์ สร้างเสริม ส่ือสอน มหาวิทยาลัย ขอนแกน่ 13. เข้าอบรมหัวขอ้ Application 10 ออนไลน์ สถาบันการจดั การ ในชัน้ เรยี นภาษาจีนและการเผยแพร่สื่อการสอน พ.ย. ปญั ญาภวิ ฒั น์ ภาษาจนี 64 14. อบรมเรอื่ ง เทคนคิ การให้คำปรึกษาอย่างถูก 22-23 โรงแรม คณะมนษุ ยศาสตร์ วธิ ี พ.ย. เซนเตอร์ และสงั คมศาสตร์ 64 พ้อยท์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เทอรม์ ิ นครราชสมี า นอล 21 นคร ราชสมี า 15. อบรมเตรียมความพรอ้ มเพอื่ รองรับ 3 ธ.ค. ออนไลน์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 64 นครราชสีมา 2562 (PDPA) 23-24 หอ้ ง คณะมนษุ ยศาสตร์ 16. อบรมเชิงปฏิบตั ิการฝกึ ปฏิบตั ิการพัฒนา มี.ค.65 ประชมุ และสังคมศาสตร์ ทักษะการเรยี นการสอนและการสร้างหลกั สตู ร ระยะสน้ั ในยคุ ดจิ ิทลั ชัน้ 2 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ อาคาร36 นครราชสีมา 3. อ.จนิ ตนา 1. การอบรมภาษาจีนระยะสนั้ ณ สาธารณรัฐจนี ม.ิ ย.- มหา มหาวิทยาลัย แยม้ ละมลุ (ไตห้ วนั ) ส.ค. 64 วิทยาลัย ซนุ ยดั เซ็น ซุนยดั เซน็ ไตห้ วนั ไตห้ วนั 2. อบรมเรอื่ ง เทคนคิ การให้คำปรกึ ษาอยา่ ง 22-23 โรงแรม คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ล ถูกวิธี พ.ย. เซนเตอร์ ะสังคมศาสตร์ 3. อบรมเชงิ หัวขอ้ สอนจนี แนวใหม่ สไตล์ Active Learningโดย อาจารย์ ทมิ ทอง นาถ 64 พ้อยท์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ จำนง หัวหน้าสาขาวชิ าการสอนภาษาจนี เทอร์มิ นครราชสมี า นอล 21 นคร ราชสมี า 27 ออนไลน์ คณะการจัดการ พ.ย.64 การศึกษาเชงิ สร้างสรรค์ PIM

36 4. อบรมเตรียมความพร้อมเพอื่ รองรบั 3 ธ.ค. ออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองขอ้ มลู สว่ นบุคคล พ.ศ. 64 นครราชสมี า 2562 (PDPA) 4. อ.ดร. 5. อบรมเชิงปฏิบัตกิ ารฝกึ ปฏิบตั กิ ารพัฒนาทักษะ 23-24 ห้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏ ธรี วฒั น์ การเรยี นการสอนและการสรา้ งหลกั สตู รระยะสนั้ มี.ค.65 ประชุม นครราชสีมา การโสภา ในยคุ ดจิ ทิ ลั ชน้ั 2 18-19 อาคาร36 คณะมนษุ ยศาสตร์ 6. อบรมโครงการพัฒนาทกั ษะดา้ นการให้ พ.ค. Ozne และสงั คมศาสตร์ คำปรกึ ษา สำหรบั อาจารย์ 65 Hotel มหาวิทยาลยั ราชภัฏ 25-27 Khaoyai นครราชสีมา 7. เข้าร่วมโครงการศึกษาดูงานและอบรมเชิง พ.ค.65 คณะมนษุ ยศาสตร์ ปฏบิ ัติการจัดทำแผนกจิ กรรมการบริการวิชาการ สำนกั และสังคมศาสตร์ และการจัดการรายได้ 9-10 บรกิ าร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ม.ิ ย.65 วชิ าการ นครราชสีมา 8. การอบรมเชิงปฏบิ ัติการ เร่อื ง มหา การพฒั นาการวัดประเมินผลการเรียนร้แู ละการส 22 ส.ค. วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ รา้ งสรรค์เกณฑก์ ารประเมินผลการเรยี นรู้วถิ ีใหม่ 64 บรู พา นครราชสีมา 22 ส.ค. จ.ชลบุรี 1. การบรรยายเรื่อง“หลักการแปลวรรคดจี นี 64 มหาวทิ มหาวิทยาลัย โบราณเป็นภาษาไทย” โดย รศ.ดร.กนกพร น่มุ ยาลัย เกษตรศาสตร์ ทอง 14 ก.ย. เทคโนโล 2. การบรรยายและเผยแพรง่ านวจิ ยั เร่ือง 64 ยีราช มหาวิทยาลยั “การศกึ ษากลวธิ ีการแปลขอ้ มูลของปราสาทหินเ 18 ก.ย. มงคล อบุ ลราชธานี ขมร ในภาคอีสานตอนล่างของไทยเป็นภาษาจนี ” 64 อีสาน โดย อาจารย ดร.ณฐั วุฒิ สขุ ประสงค์ ออนไลน์ สถาบันขงจ่ือ 3. เขา้ อบรมหัวขอ้ สถานภาพและอทิ ธพิ ลนยิ าย 19 ก.ย. มหาวทิ ยาลยั องิ พงศาวดารจนี ในประวตั วิ รรณคดจี นี โดย รศ. 64 ออนไลน์ เกษตรศาสตร์ ดร.กนกพร นุม่ ทอง คณะมนษุ ยศาสตร์ 4. โครงการภาษาเสวนา : ตะวันตกพบตะวันออก ออนไลน์ และสงั คมศาสตร์ ครง้ั ที่ 2 การเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศใน มหาวทิ ยาลยั ศตวรรษที่ 21 : ทบทวน ทิศทาง ท้าทาย ออนไลน์ ขอนแก่น สถาบนั ขงจ่ือ 5. การบรรยายพิเศษหวั ขอ้ “汉语教学中 ออนไลน์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 的中国历史与文学课程教学思考” โดย รศ.ดร.กนกพร นมุ่ ทอง

37 6. เข้าร่วมโครงการภาษาเสวนา : 16 ออนไลน์ คณะมนุษยศาสตร์ ตะวันตกพบตะวนั ออก เร่ืองภาษาศาสตร์ : ต.ค.64 ออนไลน์ และสังคมศาสตร์ ศาสตร์ศลิ ป์ สร้างเสริม สือ่ สอน ออนไลน์ มหาวทิ ยาลัย ขอนแก่น 7. อบรมเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั 3 ธ.ค. มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พระราชบญั ญตั ิคุ้มครองข้อมลู สว่ นบุคคล พ.ศ. 64 นครราชสมี า 2562 (PDPA) 8. การอบรมด้านภาษาจีน การสร้างสรรคผ์ ลงาน 19 คณะมนุษยศาสตร์ การแปล การผลติ ผลงานแปล ตำราการแปล และ ม.ค. มหาวทิ ยาลยั วจิ ัยดา้ นการแปล 65 เชียงใหม่ 5. 9. อบรมเชิงปฏบิ ัติการฝกึ ปฏิบัตกิ ารพฒั นาทักษะ 23-24 ห้อง คณะมนุษยศาสตร์ อ.ปานดวงใจ การเรียนการสอนและการสร้างหลกั สตู รระยะส้นั มี.ค.65 ประชมุ และสังคมศาสตร์ ม. บญุ จนา ในยุคดิจิทลั ชน้ั 2 ราชภัฏนครราชสมี า วิโรจน์ 9-10 อาคาร 10. การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง มิ.ย.65 36 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ การพฒั นาการวัดประเมนิ ผลการเรียนรูแ้ ละการส มหาวิท นครราชสมี า ร้างสรรค์เกณฑ์การประเมนิ ผลการเรยี นรู้วิถีใหม่ 18 ก.ย. ยาลยั 64 เทคโนโล คณะมนุษยศาสตร์ 1. โครงการภาษาเสวนา : ตะวันตกพบตะวนั ออก ยีราช และสงั คมศาสตร์ ครง้ั ที่ 2 การเรยี นการสอนภาษาต่างประเทศใน มงคล มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ศตวรรษท่ี 21: ทบทวน ทิศทาง ทา้ ทาย อสี าน นครราชสีมา ออนไลน์ คณะการจัดการ การศกึ ษาเชงิ 2. อบรมหวั ขอ้ สอนจีนแนวใหม่ สไตล์ Active 27 ออนไลน์ สรา้ งสรรค์ PIM Learningโดย อาจารย์ ทิมทอง นาถจำนง พ.ย. หัวหนา้ สาขาวิชาการสอนภาษาจีน 64 3. อบรมเตรียมความพรอ้ มเพือ่ รองรบั 3 ธ.ค. ออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระราชบัญญตั ิค้มุ ครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 64 ออนไลน์ นครราชสมี า 2562 (PDPA) 4. การบรรยาย หวั ข้อ โป๊ยเซียน เทพแห่งโชค 24 ธ.ค. อาศรมสยามจนี วทิ ยา ลาภ สัญลักษณม์ งคล ตามคติความเช่อื จีนโบราณ 64 5. การบรรยาย หัวข้อ การเปล่ียนแปลงสภาพ 28 ออนไลน์ อาศรมสยามจีนวทิ ยา ภูมอิ ากาศในสมัยราชวงศ์ซ่ง ม.ค. 65 ออนไลน์ สถาบนั ขงจอื่ 6. การบรรยายหวั ข้อ วิถชี ีวิตสตรีจีน: ศกึ ษาผา่ น 22 มหาวทิ ยาลยั ตวั ละคร “ฉินเขอ่ ฉงิ ”ในนยิ ายความฝันในหอแดง ก.พ. เกษตรศาสตร์ 65

38 7. การบรรยาย หัวข้อ พัฒนาการออกเสียง 22 สถาบันขงจอ่ื วรรณยกุ ตภ์ าษาจนี กลาง ก.พ. มหาวิทยาลยั 65 เกษตรศาสตร์ (หลกั ฐาน: เอกสารการเขา้ อบรม เช่น คำสง่ั เกียรตบิ ัตร) 3.2 การจดั ประชุม/การเข้าร่วมประชุมวิชาการระดบั ชาต/ิ นานาชาติ ในระดับหลกั สูตรมกี ารสนบั สนุนให้อาจารย์ทำวิจยั และเขยี นบทความเพ่อื ตีพมิ ในวารสารในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ 3.3 การสนับสนุนทนุ การศกึ ษาตอ่ ท้งั ในและต่างประเทศ มหาวทิ ยาลัยมีการตั้งกองทุนเพ่อื การพฒั นาคุณวฒุ ิของอาจารย์และบคุ ลากร ในระดับคณะและระดบั หลกั สูตรสนับสนุนให้ อาจารยพ์ ฒั นาคณุ วุฒิของตนเองท้งั การศกึ ษาต่อในประเทศ และการศกึ ษาต่อตา่ งประเทศ การไดร้ ับอนมุ ตั ิศกึ ษาต่อตอ้ งไม่ส่งผล กระทบต่อจำนวนอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร และการดำเนินงานของหลักสูตร โดยได้ให้อาจารยส์ ่งแผนพัฒนาตนเองใหก้ ับ หลักสูตรเพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติการศึกษาต่อของอาจารย์แต่ละคน ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมา อาจารย์จินตนา แยม้ ละมลุ ไดร้ บั ทุนเรยี นภาษาจีนระยะส้ัน 2021 Huayu Enrichment Scholarship (HES) For Thai Students หน่วยงานผู้ มอบทนุ : กระทรวงศึกษาธิการสาธารณรฐั จีน (ไตห้ วนั ) ให้ไปศกึ ษาตอ่ ระยะส้ัน ณ ประเทศไต้หวนั เปน็ ระยะเวลา 3 เดอื น (ม.ิ ย.- ส.ค.64) 3.4 การใหร้ างวัลเชดิ ชเู กยี รติ เมอ่ื อาจารยข์ องหลกั สูตรไดส้ ร้างสรรค์ผลงานและสร้างชื่อเสยี งหรือการไดร้ บั รางวัล หรอื การเขา้ สตู่ ำแหน่งทางวชิ าการ หลักสูตรมีการเชิดชเู กยี รติเพอื่ เชดิ ชคู วามดี ความสามารถของอาจารย์ คุณภาพ วิธเี ขยี นผลการดำเนินงาน อาจารย์ (ตวั ในปีการศกึ ษา 2564 คณุ ภาพของอาจารย์ มีรายละเอยี ด ดงั นี้ บง่ ช้ี 4.2) 1) ร้อยละของอาจารยท์ ี่มวี ฒุ ปิ ริญญาเอก อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู ร จำนวน ......5...... คน มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จำนวน .......2.... คน อาจารยท์ มี่ คี ณุ วฒุ ิปริญญาเอกคดิ เปน็ รอ้ ยละ .........20............. 2) ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหนง่ ทางวิชาการ อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลกั สูตร จำนวน .......5..... คน มีตำแหน่งทางวชิ าการ จำนวน .......0..... คน อาจารยท์ ่มี ีตำแหน่งทางวิชาการคดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............0......... 3) ผลงานวชิ าการของอาจารย์ ตามปปี ฏทิ ิน ปี 2564 อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรมีการเผยแพรผ่ ลงาน ทางวชิ าการจำนวน 3 เรือ่ ง ดังนี้ 1. บทความวจิ ัยหรอื บทความวิชาการฉบับสมบูรณท์ ต่ี ีพิมพ์ในวารสารทางวชิ าการ ระดับนานาชาตทิ ีป่ รากฏในฐานข้อมูล ระดับนานาชาตติ ามประกาศ ก.พ.อ. จำนวน 1 บทความ ซึ่งมีค่านำ้ หนักเทา่ กบั 1 คือ เรือ่ ง English for Geotourism Speaking Achievement of the Youth Guides at Khorat Geopark Area in Nakhon Ratchasima via Language Instruction Innovation ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร Advances in Language and Literary Studies ปีที่ 12 ฉบับ ที่ 4 หน้าท่ี 79-90 อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตรท่มี สี ว่ นรว่ มในบทความวิจยั น้ีคอื อาจารย์ ดร.รุจริ า ศรสี ภุ า (หลักฐาน : English for Geotourism Speaking Achievement of the Youth Guides at Khorat Geopark Area in Nakhon Ratchasima via Language Instruction Innovation) 2. บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณ์ทีต่ ีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 จำนวน 2 บทความ ซึ่ง มคี า่ นำ้ หนกั เท่ากบั 0.6x2= 1.2 คือ เรอื่ ง 1) การพัฒนาผลสัมฤทธก์ิ ารใช้ “几” และ “多少” ของนักศกึ ษาชนั้ ปีที่ 2 สาขาวชิ าภาษาจีน มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมาโดยใช้ชดุ ฝึกทกั ษะ ตีตพี มิ พ์เผยแพร่ในวารสารการ บรหิ ารนิตบิ คุ คลและนวัตกรรมท้องถ่ิน ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 ผเู้ ขยี น คอื อาจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา และ อาจารย์ปานดวงใจ บญุ จ นาวโิ รจน์ 2) การพฒั นาความสามารถในการอ่านป้ายสัญลักษณ์ภาษาจีนของนกั ศึกษาชัน้ ปที ี่ 2 สาขาวิชาภาษาจีน โดยใช้ส่ือที่

39 เป็นชุดฝึกภาษาจีน ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารการบริหารนิติบคุ คลและนวตั กรรมท้องถ่ิน ปีท่ี 7 ฉบับที่ 2 ผู้เขียนคือ อาจารย์ จนิ ตนา แยม้ ละมลุ และ อาจารยว์ รยศ ชืน่ สบาย ผลงานวิชาการของอาจารย์ ในปี 2564 มีคะแนนร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร = (2.2X100)/5= 44 (หลักฐาน : การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การใช้ “几” และ “多少”ของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาโดยใช้ชดุ ฝกึ ทักษะ) (หลกั ฐาน : การพฒั นาความสามารถในการอา่ นป้ายสัญลกั ษณ์ภาษาจีน ของนกั ศกึ ษาช้ันปีท่ี 2 สาขาวชิ าภาษาจีน โดยใช้ส่อื ทีเ่ ป็นชดุ ฝกึ ภาษาจีน) 4) จำนวนบทความของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รปริญญาเอกทไ่ี ด้รบั การอ้างอิงในฐานขอ้ มลู TCI และ SCOPUS ต่อจำนวนอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สูตร ..........-.......... ผลที่เกิดกับ ผลการดำเนินงาน อาจารย์ 1) อัตราการคงอยูข่ องอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร (ตวั บง่ ช้ี 4.3) ในปีการศกึ ษา 2564 พบว่า จำนวนอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สตู ร .......5..... คน จำนวนอาจารย์ที่ลาออก ........0.... คน จำนวนอาจารย์ทเ่ี สียชวี ิต ......0...... คน จำนวนอาจารยท์ ล่ี าศึกษาตอ่ ........0.... คน จำนวนอาจารย์ที่เกษียณอายรุ าชการ .......0..... คน รอ้ ยละอัตราการคงอยูข่ องอาจารย์ = .............100........... 2) ภาระงานของอาจารย์ (P) 2.1 การประชมุ วางแผนจดั อาจารยผ์ ู้สอนและภาระงานประจำปกี ารศึกษา 2564 มหาวทิ ยาลยั ไดก้ ำหนดการปฏบิ ัติงานของอาจารย์ คือ ตอ้ งมภี าระงานขนั้ ตำ่ ไม่นอ้ ยกว่า 35 ภาระงานตอ่ สัปดาห์ สามารถ แบ่งเป็นภาระงานด้านต่างๆ ได้ดังน้ี ภาระงานสอน ภาระงานวิจัย และวิชาการอื่น ภาระงานด้านบริการวิชาการ/ทำนุบำรุง ศลิ ปวัฒนธรรม และภาระงานอ่ืนๆ โดยการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน แบ่งออกเปน็ 2 คร้ังตอ่ ปีงบประมาณ อาจารยต์ ้องรายงาน และส่งหลักฐานต่อหลักสูตรและประธานหลักสูตรตรวจสอบลงนามและนำเสนอต่อคณบดีฯ ดังนั้นก่อนเปิดภาคเรียนทาง หลักสูตรฯจงึ ได้จัดประชุมวางแผนจัดคาบสอนภาคเรยี นที่ 1/64 ตดิ ตามโครงการต่างๆ ที่จะตอ้ งดำเนินการในปกี ารศกึ ษา 2564 และวางแผนภาระงานทางด้านวจิ ยั และวิชาการของอาจารยใ์ นหลักสูตรเพ่ือเตรียมทำผลงานทางวชิ าการอาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบ หลักสูตรได้รวบรวมรายวชิ าท่เี ปิดสอนตามแผนการเรยี นของนักศึกษาชั้นปที ่ี 1-4 เพอื่ ทจ่ี ะไดว้ างแผนการทำผลงานทางวิชาการ ซึ่งมีเกณฑ์การจดั ภาระงานสอน ดังนี้ สอนไม่เกิน 5 รายวิชา/ภาคเรียน สอนไม่น้อยกว่าภาระงานขั้นตำ่ ของมหาวทิ ยาลยั 14 คาบ/สัปดาห์ รายวิชาทีอ่ าจารย์ประสงค์ทำเอกสารประกอบการสอน ตำรา เพือ่ เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เพ่ือที่จะได้จัดการ เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง และบูรณาการกับโครงการต่าง ๆ ได้สะดวกขึ้น การจัดสอนรายวิชาเอกบังคับ จะจัดให้อาจารย์ ประจำวชิ าที่ระบลุ งในแผนการพฒั นาตนเองได้สอนก่อน โดยเฉพาะหลักสตู รปี พ.ศ.2560 รวมท้ังยงั พิจารณาการจัดรายวิชาให้ อาจารย์ทป่ี รึกษาได้สอนนักศึกษาท่ตี นเองเป็นทีป่ รกึ ษาเปน็ หลกั หากเปน็ อาจารยพ์ เิ ศษจะพิจารณาเป็นรายวิชาไป อาจารย์ชาว จีนจะได้สอนในรายวิชาที่เน้นการสื่อสาร เน้นทักษะการพูด การฟัง นักศึกษาทกุ ชั้นปีอย่างน้อย 1 ภาคเรียนต้องได้เรยี นกับ อาจารยช์ าวจนี อาจารย์ทกุ ทา่ นตอ้ งไดส้ อนท้ังวชิ าบรรยาย (3/3) และ วิชาปฏบิ ัติ (3/4) (หลักฐาน: การประชุมคร้งั ที่ 1 วันท่ี 4 มิ.ย.2564) (D) 2.2 ภาระงานของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรและอาจารย์ประจำ ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 ตารางแสดงภาระงานของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู รและอาจารย์ประจำ ภาคการศกึ ษา 1/2564 ช่อื -สกุล ภาระงานสอน ภาระงานวิจยั ภาระงานดา้ นบริการ ภาระ รวม ภาระงาน และ วชิ าการ/ งาน

40 วิชาการอน่ื ทำนุบำรงุ อน่ื ๆ ศิลปวัฒนธรรม 1.อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร 16 30 10 5 61 อ.ดร.รจุ ิรา ศรสี ภุ า 16 21 10 5 52 อ.ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา 18 27 10 5 60 อ.จิราพร ปาสาจะ 14 21 10 3 48 อ.จนิ ตนา แย้มละมุล 16 21 10 2 49 อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์ 2.อาจารย์ประจำ 18 30 10 2 60 อ.ดร.พชรมน ซ่อื สจั ลอื สกลุ 19 - 10 2 31 อ.วรยศ ชน่ื สบาย 16 - 10 2.5 28.5 อ.Yang Shujuan ตารางแสดงภาระงานของอาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลักสตู รและอาจารยป์ ระจำ ภาคการศึกษา 2/2564 ชอ่ื -สกลุ ภาระงานสอน ภาระงานวิจัย ภาระงานด้านบรกิ าร ภาระงาน รวม และวชิ า วชิ าการ/ อ่ืนๆ ภาระงาน การอ่นื ทำนบุ ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม 1.อาจารย์ผ้รู ับผดิ ชอบหลักสูตร (ต่อ) อ.ดร. รจุ ริ า ศรีสุภา 16 32 10 5 55 อ.ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา 19 29 10 8 58 อ.จิราพร ปาสาจะ 16 21 10 10 57 อ.จินตนา แย้มละมุล 16 21 10 5.5 52.5 อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์ 16 21 10 4 51 2.อาจารย์ประจำ อ.ดร.พชรมน ซอ่ื สัจลือสกลุ 16 30 10 5 61 อ.วรยศ ช่นื สบาย 19 - 10 7 36 (C) 2.3 ผลจากการวางแผนด้านภาระงานของอาจารยป์ ระจำหลกั สตู รศศ.บ.ภาษาจีน

41 จากตารางภาระงานข้างต้นจะเห็นว่าอาจารย์ในหลักสูตรฯมีภาระงานสูงกว่า 35 ภาระงานต่อสัปดาห์ซึ่งเป็นไปตามที่ มหาวทิ ยาลยั กำหนด นอกจากนอี้ าจารย์แต่ละท่านนอกจากจะมุ่งเน้นภาระงานสอนแลว้ ยังไดม้ ุ่งพฒั นาภาระงานด้านวิจัยและ งานวชิ าการอื่นเพ่ิมขน้ึ ดว้ ย โดยในปงี บประมาณ 2564 อาจารย์ในหลกั สูตร ศศ.บ.สาขาวชิ าภาษาจนี 5 ทา่ น ไดร้ ับทนุ สนับสนุน การทำวจิ ัยและการเขยี นตำรา จากงบรายได้ของมหาวทิ ยาลัย และงบรายไดจ้ ากคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ (A) 2.4 การปรับปรุงแก้ไขภาระงานของอาจารยป์ ระจำหลกั สตู รศศ.บ.ภาษาจนี เนอื่ งด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโควดิ 19 ทำใหโ้ ครงการบริการวิชาการล่าชา้ ออกไปส่งผลกระทบต่อภาระ งานด้านบริการวชิ าการ ซง่ึ ในปีการศึกษาถดั ไปจะต้องวางแผนจดั โครงการบริการวิชาการรวมถึงงานด้านทำนบุ ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม ให้เหมาะสมย่งิ ข้นึ และในส่วนของภาระงานด้านอื่นๆ เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้แลว้ 3) สดั สว่ นอาจารยต์ ่อนักศึกษา จำนวนนกั ศกึ ษา สดั สว่ นอาจารยต์ ่อนกั ศึกษา ปีการศึกษาที่เข้า 2561 80 1:62 2562 74 1:61 2563 76 1:57 2564 71 1:71 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สตู รตอ่ การบรหิ ารหลักสูตร รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู รต่อการบรหิ ารหลกั สตู ร โดยแสดงผลสำรวจความพงึ พอใจย้อนหลัง 3 ปี ปกี ารศึกษา คะแนนความพึงพอใจตอ่ การบรหิ ารหลักสูตร คะแนนความพงึ พอใจต่อการบรหิ ารงาน ทปี่ ระเมิน ของมหาวิทยาลัย 2562 4.37 4.32 2563 4.66 4.75 2564 4.56 4.69 หมายเหตุ ประธานหลักสูตรสามารถตรวจสอบผลการประเมินความพงึ พอใจความพงึ พอใจของอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรต่อการบริหาร หลกั สูตรไดท้ ่ี http://mis.nrru.ac.th (หลกั ฐาน: ผลการประเมินความพึงพอใจความพึงพอใจของอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรตอ่ การบริหารหลักสูตร ) 2. การปฐมนิเทศอาจารยใ์ หม่ (ถา้ ม)ี การปฐมนิเทศเพอ่ื ชี้แจงหลกั สตู ร << ✔ >> มี <<>> ไมม่ ี จำนวนอาจารย์ที่เขา้ รว่ มปฐมนิเทศ 1 คน ท้ังนี้ ใหร้ ะบุสาระสำคญั ในการปฐมนิเทศ กรณีไมม่ ีการปฐมนเิ ทศใหร้ ะบเุ หตุผล มีการปฐมนิเทศอาจารย์ผูร้ ับผิดชอบหลักสตู รใหม่ ไดแ้ ก่ อาจารย์ปานดวงใจ บุญจนาวโิ รจน์ จากการประชุมหลักสตู ร ได้ คัดเลือกจากอาจารยใ์ นหลักสูตรทม่ี ีคุณสมบัติแทนที่อาจารย์ท่ีลาออกไป ทางหลักสูตรดำเนินการปรับปรุง สมอ.08 เล็กน้อย ในทันที และได้มมี ติเหน็ ชอบจากสภามหาวิทยาลยั ในการประชุมสภามหาวทิ ยาลัยคร้งั ท่ี 9/2564 วนั ท่ี 15 ต.ค. 2564 แล้วจึง

42 ดำเนินการปฐมนิเทศอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรใหม่ โดยอธิบายความสำคัญ ทบทวนหน้าที่และอื่นๆ ของอาจารย์ ผูร้ ับผิดชอบหลักสูตร ตามหลกั ฐาน : รายงานการประชมุ หลักสตู ร ครัง้ ท่ี 5/2564 วนั ท่ี 25 ตุลาคม 2564 3. กิจกรรมการพัฒนาวชิ าชีพของอาจารย์และบคุ ลากรสายสนับสนุน เนื่องดว้ ยสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั Covid-19 ทำให้กิจกรรมพฒั นาอาจารย์สว่ นใหญ่ในปีการศกึ ษา 2564 จัดในรูปแบบออนไลน์หลักสูตร ศศ.บ.ภาษาจีนมีอาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรและอาจารย์ผูส้ อนได้เข้าร่วมการอบรมเพอ่ื พฒั นาความรู้ทางด้านต่างๆ ดังนี้ โครงการ/กิจกรรม วันทีจ่ ดั กิจกรรม/ อาจารย์ผ้เู ขา้ ร่วม สรปุ ข้อคดิ เห็นและ สถานท่ี ปญั หาทีผ่ เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมไดร้ ับ 1.อบรมหลกั สตู รภาษาจีน มหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาติ อ.จินตนา แย้มละมลุ -ได้ประสบการณใ์ นการเรยี นภาษาตา่ งประเทศ ระยะส้นั ซุนยดั เซ็นสาธารณรัฐ -ได้เรยี นรู้ภาษาและวัฒนธรรมตา่ งประเทศ จีน (ไต้หวัน) ระหว่าง -ไดเ้ ทคนคิ การเรียนการสอนของอาจารย์ไตห้ วัน วันท่ี 1 ม.ิ ย. - 31 ส.ค. 64 2.การอบรมโครงการจนี 6 ส.ค. 64/ ออนไลน์ อ.จิราพร ปาสาจะ -ได้ทราบแนวทางการขอทนุ การศึกษาดา้ นการทำวจิ ยั ศึกษาแบบใหม่-โครงการ อ.ดร.รจุ ริ า ศรีสุภา -การส่งครไู ปอบรมระยะสนั้ ระยะยาว ครูผสู้ อน -การแลกเปลยี่ นนกั ศึกษา การอบรมการแปลลา่ ม -ได้ลงทะเบียนรับหนังสือฟรจี ำนวน 2 หม่ืนหยวน 3.การอบรมหลากมมุ มอง 15 ส.ค. 64 / อ.ดร.รจุ ิรา ศรสี ุภา -ได้ทราบแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน ผูเ้ ชีย่ วชาญดา้ นมาตรฐาน ออนไลน์ อ.ดร.พชรมน ซอื่ สจั ลอื สกลุ ภาษาจนี ในประเทศไทย การศกึ ษาภาษาจีนระดบั อ. ปานดวงใจ บญุ จนาวโิ รจน์ -ไดท้ ราบเกณฑม์ าตรฐานในการวดั ระดับความรดู้ ้าน นานาชาติ 国际中文教 ภาษาจีน 3 ขนั้ 9 ระดบั 育标准专家论坛 21 สิงหาคม 2564 / อ.จริ าพร ปาสาจะ ไดค้ วามรู้เก่ียวกับเทพปกรณมั ทางตะวนั ตกและตะวัน 4.เขา้ ร่วมโครงการภาษา เสวนา : ตะวันตกพบ ออนไลน์ ออกควบคู่ไปกบั ภาษาเพิม่ มากข้ึน ตะวนั ออก เรอ่ื งเทพปกรณมั :วิจกั ษ์ วจิ ารณ์ วิจยั โดย คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ม.ขอนแกน่ 5. การบรรยายเรือ่ ง วันอาทิตย์ ท่ี 22 อ.ดร.ธรี วฒั น์ การโสภา -ไดร้ ู้ปญั หาและหลักการในการแปลวรรณคดจี นี “หลักการแปลวรรคดจี ีน สงิ หาคม 2564 เวลา อ.จิราพร ปาสาจะ โบราณเปภ็ าษาไทย โบราณเปน็ ภาษาไทย” โดย 09.00-12.00 -ไดร้ ู้ความแตกตา่ งกลวธิ ีการแปลวรรณคดีจีนโบราณ รศ.ดร.กนกพร นุ่มทอง เปน็ ภาษาไทยในอดตี กบั กลวิธีท่ีใช้แปลในปัจจบุ นั 6. การบรรยายและเผยแพร่ วนั อาทิตย์ ท่ี 22 อ.ดร.ธรี วฒั น์ การโสภา -ไดท้ ราบกลวธิ กี ารแปลขอ้ มูลของปราสาทหินเขมร งานวจิ ัย เร่อื ง “การศึกษา สงิ หาคม 2564 เวลา อ.จริ าพร ปาสาจะ ในภาคอสี านตอนลา่ งของไทยเปน็ ภาษาจนี กลวิธีการแปลข้อมลู ของ 13.00-15.00 -ได้ทบทวนความรู้ดา้ นกลวธิ ีการแปล ปราสาทหินเขมร ในภาค และได้สอบถามแลกเปลยี่ นความรเู้ รื่องคำศพั ท์ท่ีเก่ียว อีสานตอนลา่ งของไทยเป็น ข้องกับปราสาทหินเขมร

ภาษาจีน” โดย อาจารย ดร. 24 สิงหาคม อ.จริ าพร ปาสาจะ 43 ณัฐวุฒิ สุขประสงค์ 2564 / ออนไลน์ 7. เขา้ อบรม เร่อื งความ อ.จริ าพร ปาสาจะ ไดท้ ราบรายละเอียดและความเป็นมาทเี่ กย่ี วข้องกบั เขา้ ใจบางเรือ่ งเกี่ยวกบั 31 สิงหาคม วัฒนธรรมขงจื่อมากยงิ่ ขนึ้ วฒั นธรรมขงจือ่ โดย รศ. 2564 / ออนไลน์ อ.จริ าพร ปาสาจะ วรศักดิ์ มหทั ธโนบล ได้ทบทวนและเพิม่ พูนความรูด้ า้ นประวตั ิศาสตร์ท่ี 8.เขา้ อบรมหวั ขอ้ ระบบสอบ วนั ท่ี 7 กันยายน อ.จริ าพร ปาสาจะ เก่ียวกบั การสอบคัดเลอื กขา้ ราชการในยคุ ราชวงศ์ เข้ารบั ราชการกับการธำรง 2564 / ออนไลน์ อ.ดร.พชรมน ซือ่ สจั ลอื สกุล ซง่ และราชวงศ์อ่นื แผ่นดินราชวงศ์ซ่ง โดย ผศ. ได้ความร้เู ก่ียวกบั พัฒนาการในยคุ บุกเบกิ ของคตชิ น ดร.ศิรวิ รรณ วรชยั ยุทธ วันท่ี 14 กันยายน อ.ดร.รจุ ิรา ศรีสุภา วทิ ยาจีน 9.เข้าอบรมเรือ่ ง คติชน 2564 / ออนไลน์ อ.ดร.พชรมน ซอ่ื สัจลอื สกุล วทิ ยาจีน วา่ ดว้ ยพัฒนาการ อ.จริ าพร ปาสาจะ ได้ความรู้เร่ืองสถานภาพของนยิ ายองิ ประวตั ศิ าสตร์ใน และพน้ื ท่ีวา่ งทางการศึกษา วนั เสาร์ที่ 18 แงม่ ุมทไ่ี ม่เคยรมู้ าก่อน และได้ทราบปรากฏการณ์ ในวงวิชาการจีน โดย ดร. กันยายน 2564 เวลา อ.ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา ความนิยมในการแปลจีนเปน็ ไทยในยุคแรกๆ เพ็ญพสิ ทุ ธิ์ สีกาแก้ว 10.00 - 12.00 น./ อ.จิราพร ปาสาจะ 10.เขา้ อบรมหวั ขอ้ ออนไลน์ ได้ทราบการสอนวิวัฒนาการอกั ษรจนี และการเขียน สถานภาพและอทิ ธพิ ลนยิ าย อ.ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา ตวั อักษรจีน องิ พงศาวดารจีนในประวตั ิ วันเสาร์ที่ 18 วรรณคดีจีน กนั ยายน 2564 เวลา ไดท้ ราบทิศทางในการปรับปรุงหลกั สตู รด้าน โดย รศ.ดร.กนกพร นุ่มทอง 09.00 - 12.00 น./ ภาษาตา่ งประเทศของหลายมหาวิทยาลัย 11. การบรรยายพเิ ศษหวั ข้อ ออนไลน์ ได้เรยี นร้แู นวทางการพฒั นาการเรียนการสอนในวชิ า “汉字的秘密“” วนั เสารท์ ่ี 19 ประวัติศาสตร์และวรรณกรรม วา่ ควรจัดการเรียนการ กันยายน 2564 เวลา โดย 马静老师 อาจารย์เจ้าของภาษาจากม หาวิทยาลยั จ๋ีหลนิ ประเทศสาธารณรัฐประชา ชนจีน 12. โครงการภาษาเสวนา : ตะวนั ตกพบตะวันออก คร้งั ที่ 2 การเรียนการสอน ภาษาต่างประเทศใน ศตวรรษที่ 21 : ทบทวน ทิศทาง ทา้ ทาย จัดโดย คณะมนษุ ยศาสตร์และ สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 13. การบรรยายพเิ ศษหัวขอ้ “汉语教学中的中

44 国历史与文学课程 09.00 - 11.00 น./ สอนอย่างไรให้มีประสทิ ธภิ าพ และให้ผ้เู รียนมคี วาม 教学思考” โดย รศ.ดร. ออนไลน์ สนใจใรายวิชาดังกล่าว เนือ่ งจากรายวชิ าดงั กลา่ วไม่ กนกพร นมุ่ ทอง คอ่ ยเป็นทีน่ ยิ มเรยี นสำหรบั ผู้เรยี นชาวไทย ไดเ้ รยี นรสู้ ิง่ ใหม่ๆ และทบทวนความรูเ้ ดมิ ในด้านการ 14.เข้าอบรมหลักสูตรวจิ ัย วันที่ 3 สงิ หาคม - 10 อ.จิราพร ปาสาจะ เรยี นการสอนภาษาจีนและการวิจยั โดย อ.刘珣 ขน้ั สงู สำหรับครูไทยสอน พฤศจกิ ายน 2564 / และ อ.傅增有 การสอนประวัตวิ รรณคดี โดย รศ. ภาษาจีนจำนวน24ช่ัวโมง ออนไลน์ อ.จริ าพร ปาสาจะ ดร.กนกพร น่มุ ทอง มมุ มองดา้ นภาษาศาสตร์ โดย อ. โดยศนู ยฝ์ ึกอบรมครไู ทย สอนภาษาจนี สถาบนั ขงจอ่ื วนั ที่ 16 ตุลาคม อ.จริ าพร ปาสาจะ 王葆华 ม.ขอนแกน่ 2564 / ออนไลน์ 15.เขา้ รว่ มโครงการภาษา อ.จริ าพร ปาสาจะ ไดเ้ พมิ่ พูนความรดู้ า้ นภาษาศาสตร์ เสวนา : ตะวันตกพบ วนั ท่ี 16 พฤศจกิ ายน อ.จินตนา แย้มละมุล ในแง่มมุ ของภาษาตะวันตกและตะวนั ออก ตะวนั ออก เรือ่ งภาษาศาสตร์ 2564 / ออนไลน์ : ศาสตรศ์ ลิ ป์ สร้างเสรมิ สอื่ อ.จิราพร ปาสาจะ รู้จกั แอพพลิเคชัน่ ใหม่ๆทีส่ ามารถใช้ในการเรยี นการ สอนโดย คณะมนุษยศาสตร์ วนั ท่ี 22-23 อ.จินตนา แย้มละมุล สอนภาษาจนี ได้ และสงั คมศาสตร์ พฤศจกิ ายน 2564 / อ.ดร.ธรี วฒั น์ การโสภา ม.ขอนแก่น โรงแรมเซนเตอร์ อ.ดร.รุจริ า ศรสี ุภา ได้เพ่ิมพนู ความร้ดู า้ นจิตวิทยาเบอ้ื งตน้ 16.เข้าอบรมหวั ข้อ พอ้ ยท์ เทอร์มนิ อล อ.ดร.พชรมน ซอ่ื สัจลือสกลุ และทราบแนวทางการใหค้ ำปรกึ ษาแก่นกั ศกึ ษา Application ในชัน้ เรียน 21 จ.นครราชสมี า อ.ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์ ภาษาจีนและการเผยแพร่ส่ือ วันที่ 3 ธันวามคม อ.วรยศ ชนื่ สบาย ได้รับรูข้ ้อมูลและแนวทางความคุม้ ครองทางกฎหมาย การสอนภาษาจนี โดย 2564 /ออนไลน์ อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวโิ รจน์ สว่ นบคุ คล สถาบนั การจดั การปญั ญา อ.วรยศ ชืน่ สบาย ภวิ ัฒน์ วันศกุ รท์ ่ี 28 มกราคม เขา้ ใจถงึ สภาพภูมิอากาศ และความเป็นอยขู่ องชาวจีน 17.อบรมเร่อื ง เทคนคิ การให้ 2565/ออนไลน์ ในอดตี ตลอดจนสามารถบรู ณาการเรยี นการสอนใน คำปรกึ ษาอยา่ งถูกวธิ ี รายวิชา ประวตั ิศาตรจ์ ีนได้ 18.อบรมเตรยี มความพรอ้ ม เพื่อรองรับพระราชบญั ญตั ิ คุม้ ครองข้อมูลสว่ นบคุ คล พ.ศ. 2562 (PDPA) 19.การเปลยี่ นแปลงสภาพภู มอิ ากาศในสมัยราชวงศซ์ ง่ โดย อาศรมสยาม-จีนวทิ ยา

45 20.วิถชี ีวิตสตรจี ีน:ศกึ ษา วันอังคารท่ี 22 อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวิโรจน์ ทราบถึงการสะท้อน การเสยี ดสี ของผู้เขยี น ผ่าน ผ่านตวั ละคร “ฉนิ เขอ่ ฉิง” กมุ ภาพันธ์ อ.วรยศ ช่ืนสบาย บทบาทของสตรใี นยคุ ศักดนิ า ในนยิ ายความฝนั ในหอ ในนิยายความฝันในหอแดง 2564/ออนไลน์ แดง โดยสถาบนั ขงจื๊อ อ.ปานดวงใจ บญุ จนาวโิ รจน์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วันองั คารท่ี 22 อ.วรยศ ชน่ื สบาย เพิ่มความชำนาญในการสอนรายวิชา สทั ศาสตร์ 21.พัฒนาการเสยี ง กุมภาพนั ธ์ ภาษาจนี กลางได้ วรรณยุกตภ์ าษาจีนกลาง 2564/ออนไลน์ อ.ดร.พชรมน ซ่ือสัจลอื สกลุ โดยสถาบนั ขงจ๊ือ ไดเ้ รียนรู้เทคนิคการแปลนยิ าย การแปลละคร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วนั เสาร์-อาทิตย์ที่13- โทรทัศน์ การเปน็ ลา่ ม/พธิ กี รภาษาจีนจากผมู้ ี 22.การอบรมการแปลและ 14,20-21 ประสบการณ์ รวมถงึ ทิศทางการประกอบอาชพี และ การล่ามจีนไทย-ไทยจนี ครัง้ พฤศจกิ ายน 2564 การหารายไดจ้ ากการแปล การทำคลิปภาษาจนี ผา่ น ที่ 2 /ออนไลน์ Bilibili ได้พัฒนาทกั ษะการสื่อสารภาษาองั กฤษกับเจา้ ของ 23.การอบรมพฒั นา เดอื นกรกฎาคม- อ.ดร.พชรมน ซ่ือสัจลอื สกลุ ภาษาตามหวั ขอ้ สนทนาทก่ี ำหนด ฝกึ ทักษะการอ่าน ภาษาองั กฤษกบั เจ้าของ ตุลาคม 2564 บทความวชิ าการ บทความในชีวติ ประจำวันและการ ภาษา ผ่านโปรแกรม /ออนไลน์ เขยี นภาษาองั กฤษ ออนไลน์ Voxy สามารถนำไปใชป้ รับปรงุ การสอน เข้าใจการจดั การ 24.อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารฝกึ 23-24 มี.ค.65/ห้อง อ.จิราพร ปาสาจะ เรียนการสอนระยะส้นั และผลติ หลกั สตู รระยะสั้นได้ ปฏิบตั ิการพฒั นาทักษะการ ประชุมช้ัน 2 อาคาร อ.จนิ ตนา แยม้ ละมลุ ในอนาคต เรยี นการสอนและการสร้าง 36 คณะมนุษยศาสตร์ อ.ดร.ธีรวัฒน์ การโสภา หลักสูตรระยะสน้ั ในยุค และสงั คมศาสตร์ อ.ดร.รจุ ริ า ศรีสภุ า ดจิ ิทัล มหาวิทยาลยั ราชภัฏ อ.ดร.พชรมน ซ่ือสจั ลือสกุล นครราชสีมา อ.วรยศ ชน่ื สบาย หมายเหตุ กจิ กรรมการพฒั นาวิชาชพี ใหร้ ะบุท้ังอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสตู รและอาจารย์ประจำหลักสูตร (หลกั ฐาน: การเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาวิชาชพี ของอาจารยใ์ นหลักสูตร)

46 หมวดท่ี 4 ขอ้ มลู ผลการเรียนในรายวิชาของหลักสูตรและคณุ ภาพการสอนของหลกั สตู ร 1. สรปุ ผลรายวิชาที่เปดิ สอนในปีการศึกษา(ข้อมูลจาก มคอ.5 ของแต่ละรายวชิ า) จำนวนนกั ศกึ ษา การกระจายระดับคะแนน รายวชิ า ลงทะเ สอบผ่าน A B+ B C+ C D+ D F W I M ไม่ระบุ บียน ภาคการศกึ ษาที่ 1 210110 สัทศาสตร์ภาษาจนี กลาง 75 64 29 12 4 7 5 5 2 6 0 0 0 0 210112 ภาษาจีนระดับต้น 1 70 69 38 14 6 5 3 3 0 1 0 0 0 0 210130 วฒั นธรรม 70 68 23 12 16 9 1 3 4 2 0 0 0 0 ประเพณีจีนและศิลปะจีน 56 54 10 9 7 6 8 3 11 2 0 0 0 0 210210 ภาษาจีนระดับตน้ 3 210312 การเขยี นภาษาจนี 1 63 63 18 16 10 9 3 2 5 0 0 0 0 0 210270 ภาษาจนี เพือ่ การส่ือสาร 2 94 86 45 13 12 5 5 3 0 8 0 0 3 0 210270 ภาษาจนี เพอื่ การสื่อสาร 4 49 49 27 6 8 2 5 1 0 0 0 0 0 0 210310 ภาษาจีนระดับกลาง 1 70 70 13 25 9 14 4 3 2 0 0 0 0 0 210313 การแปลภาษาจีน 1 61 61 35 11 8 2 3 3 7 1 0 0 0 0 061108 ภาษาจีนกลางพืน้ ฐาน 60 58 36 9 6 2 2 3 4 2 0 0 0 0 210314 ไวยากรณ์ภาษาจีน 1 61 61 15 14 15 4 4 4 5 0 0 0 0 0 210114 การอา่ นภาษาจีน 1 58 58 43 7 4 3 1 0 0 0 0 0 0 0 210411การสอนภาษาจนี ในฐานะภาษาต่าง 64 64 22 27 10 14 3 1 1 0 0 0 0 0 ประเทศ 64 64 8 10 10 12 8 9 7 0 0 0 0 0 210430 ประวัตศิ าสตรจ์ นี

47 210461 การเตรียมฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 63 62 26 27 7 2 1 0 0 0 1 0 0 0 63 49 23 3 0 0 0 0 0 1 0 0 0 210451 ระเบียบวธิ วี จิ ยั ภาษาจนี 64 58 30 21 7 0 0 0 0 0 0 0 0 0 210240 การใช้คอมพวิ เตอร์ 58 และเทคโนโลยสี ารสนเทศภาษาจนี ภาคการศกึ ษาที่ 2 71 60 14 7 3 7 6 5 18 8 0 0 0 3 210113 ภาษาจนี ระดับต้น 2 57 56 28 14 4 6 1 2 1 0 1 0 0 0 75 72 30 18 14 5 5 0 0 0 0 0 0 3 210211 ภาษาจนี ระดับตน้ 4 72 72 22 22 11 11 2 1 0 0 0 0 0 1 210213 การฟงั และการพดู ภาษาจีน 1 60 60 30 13 12 1 3 0 0 0 0 0 0 1 58 57 10 11 14 10 6 6 0 0 0 0 0 1 210120 ภาษาจนี เพื่อการสอื่ สาร ในชวี ติ ประจำวนั 61 61 9 30 18 3 1 0 0 0 0 0 0 0 210212 การอา่ นภาษาจีน 2 60 60 48 8 2 2 0 0 0 0 0 0 0 0 61 61 4 8 6 8 18 7 10 0 0 0 0 0 210213 วัฒนธรรม ประเพณีจีน 61 61 1 14 40 6 0 0 0 0 0 0 0 0 และศิลปะจีน 69 66 51 9 4 1 1 0 0 0 0 0 0 3 68 68 19 6 14 15 7 4 1 2 0 0 0 0 210242 การเขยี นภาษาจนี 2 72 72 68 4 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 16 9 9 6 3 3 1 0 3 0 1 3 210311 ภาษาจนี ระดับกลาง 2 54 48 210315 ไวยากรณภ์ าษาจนี 2 210317 การแปลภาษาจีน 2 210114 การอ่านภาษาจีน 1 210111 อกั ษรจนี 210462 การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ภาษาจีน 210170 ภาษาจีนเพื่อการสือ่ สาร 1

210271 ภาษาจนี เพ่อื การสอ่ื สาร 3 90 90 48 210370 ภาษาจนี เพ่อื การสือ่ สาร 4 58 48 061108 ภาษาจนี กลางพื้นฐาน 82 82 21 7 19 15 13 5 6 0 1 2 1 0 210220 สนทนาภาษาจีน 17 17 1 24 6 9 4 1 1 0 0 0 0 0 52 13 7 8 1 1 0 0 0 0 0 0 15 2 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 หมายเหตุ 1. จำนวนนกั ศกึ ษาท่ีสอบผ่าน ไม่นบั รวมนักศึกษาทไี่ ดร้ ะดับคะแนน F, W, I, M 2. ข้อมูลสรุปรายวิชา สามารตรวจสอบได้ท่ี http://mis.nrru.ac.th/assess/index.php (หลกั ฐาน: มคอ5) 2. การวเิ คราะห์รายวชิ าท่ีมีผลการเรยี นไมป่ กติ (วิเคราะห์จาก มคอ.5 หมวดท่ี 3 ขอ้ 5. ทุกรายวิชา) รายวชิ า ความไม่ปกติท่ีพบ วธิ กี ารตรวจสอบ เหตุผลทเี่ กดิ ความไม่ปกติ มาตรการแกไ้ ขที่ไดด้ ำเนินการแลว้ (หากจำเป็น) ภาคการศึกษาที่ 1 ระบุชอ่ื วิชา ระบุความไมป่ กติ ระบวุ ธิ กี าร ระบเุ หตุผลท่ีเกิดความไมป่ กติ ระบุมาตรการแกไ้ ขที่ดำเนินการแล้ว ท่ีพบ ตรวจสอบ ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ระบุชื่อวชิ า ระบุความไม่ปกติ ระบวุ ธิ ีการ ระบุเหตุผลที่เกดิ ความไม่ปกติ ระบุมาตรการแก้ไขที่ดำเนินการแลว้ ท่พี บ ตรวจสอบ 3. การเปดิ รายวชิ าในภาคหรอื ปีการศึกษา 3.1 รายวชิ าท่ไี ม่ไดเ้ ปิดตามแผนการศกึ ษา และเหตผุ ลทไ่ี ม่ไดเ้ ปดิ : ไม่มี รหสั และช่ือรายวชิ า เหตผุ ลท่ไี มไ่ ดเ้ ปิด มาตรการทดแทนทไ่ี ด้ดำเนนิ การ (ถา้ ม)ี ภาคการศกึ ษาที่ 1 ระบเุ หตผุ ล ระบุมาตรการทดแทนทไ่ี ด้ดำเนนิ การ ระบุรหัสและชือ่ วิชาท่ีไม่ได้เปิดตาม มคอ.2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

ระบรุ หสั และชอ่ื วชิ าทีไ่ ม่ได้เปิดตาม มคอ.2 ระบุเหตผุ ล 49 ระบุมาตรการทดแทนทไ่ี ดด้ ำเนินการ 3.2 วิธีแกไ้ ขกรณที มี่ กี ารสอนเนอ้ื หาในรายวชิ าไมค่ รบถว้ น : ไมม่ ี รหสั และช่ือรายวชิ า สาระหรอื หวั ขอ้ ที่ขาด สาเหตทุ ไ่ี มไ่ ด้สอน วิธีแก้ไข ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ระบรุ หัสและชือ่ วิชาทไ่ี มไ่ ด้เปดิ ตาม ระบสุ าระหรอื หวั ขอ้ ที่ขาดโดยสรปุ ระบุสาเหตุทีไ่ มไ่ ดส้ อน ระบวุ ิธีการแกไ้ ขโดยสรุปจาก มคอ.2 จาก มคอ.2 ใน มคอ.5 ทกุ รายวชิ า หมวดที่ 2 ขอ้ 2. แนวทางชดเชย ใน มคอ.5 ของทุกรายวิชา ภาคการศึกษาท่ี 2 ระบรุ หัสและชือ่ วิชาทีไ่ มไ่ ด้เปดิ ตาม ระบสุ าระหรือหัวขอ้ ท่ขี าดโดยสรุป ระบสุ าเหตทุ ไ่ี ม่ไดส้ อน ระบวุ ธิ กี ารแกไ้ ขโดยสรปุ จาก มคอ.2 จาก มคอ.2 ใน มคอ.5 ทุกรายวชิ า หมวดท่ี 2 ข้อ 2. แนวทางชดเชย ใน มคอ.5 ของทุกรายวชิ า 4. การประเมนิ รายวิชาทีเ่ ปดิ สอนในปีทร่ี ายงาน รายวิชาทม่ี กี ารประเมนิ คณุ ภาพการสอนและแผนการปรบั ปรุงจากผลการประเมนิ รหสั และชื่อรายวิชา การประเมินจากนักศกึ ษา แผนการปรับปรุง (เต็ม 5) จากผลการประเมิน ภาคการศึกษาท่ี 1 210110 สัทศาสตรภ์ าษาจีนกลาง มี ไม่มี 210112 ภาษาจนี ระดับต้น1 210210 ภาษาจนี ระดับต้น 3 4.49 ไม่มี 210130 วัฒนธรรมประเพณีจนี และศิลปะจีน 4.71 ไมม่ ี 4.63 ไมม่ ี 210114 การอ่านภาษาจีน 1 4.55 210270 ภาษาจีนเพ่ือการสือ่ สาร 2 210310 ภาษาจนี ระดับกลาง 1 บันทกึ การสอนออนไลนส์ ำหรบั ใหน้ ัก 210312 การเขยี นภาษาจีน 1 ศึกษาทบทวน 4.39 ไมม่ ี 4.37 ไม่มี 4.36 ไมม่ ี 4.28 ไม่มี 210370 ภาษาจีนเพอื่ การสื่อสาร 4 4.16 ไมม่ ี 210313 การแปลภาษาจีน 1 4.06 ไม่มี 210314 ไวยากรณภ์ าษาจนี 1 4.36 ไมม่ ี 210430 ประวัติศาสตรจ์ ีน 4.55 ใหท้ ำแบบฝกึ หดั เพอื่ ทบทวนมากขน้ึ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook