Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน

โครงงาน

Published by 20933, 2019-09-10 22:31:07

Description: โครงงาน

Search

Read the Text Version

28 / <<include>> <<extend>> <<include>> <<extend>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<extend>> / <<include>> รปู ที่ 4.3 แผนภาพยสู เคสของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื 4.2.1 ระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื ทาหน้าท่ีเก่ียวกับการจัดเตรียมช้ินส่วนซ่อมและพัสดุอ่ืนท่ี จาเป็นต้องใช้สนับสนุนการซ่อมบารุงเรือและยุทโธปกรณ์ในเรือ ระบบสามารถทาการเพิ่มข้อมูล ปรับปรุง ลบ และแสดงข้อมูล ดงั ต่อไปนี้ 1) ขอ้ มลู เรอื 2)ขอ้ มลู รายการชน้ิ สว่ นยทุ โธปกรณ์ท่มี อี ยใู่ นเรอื แตล่ ะลา 3)ขอ้ มลู แผนการซอ่ มบารงุ ตลอดอายขุ ยั ของยุทโธปกรณ์ 4)ขอ้ มลู รายการชนิ้ สว่ นซอ่ มท่ีจาเป็นตอ้ งใช้ในแผนการ ซอ่ มบารงุ ยุทโธปกรณ์ 5)ขอ้ มูลคาแนะนา คมู่ อื และหลักเกณฑ์ในการซอ่ มบารุง ของยุทโธปกรณ์

29 4.2.2 ระบบการซอ่ มบารงุ ทาหน้าทีเ่ กี่ยวกับการดาเนนิ การซอ่ มบารงุ และการรายงาน ผลการปฏิบัติงานในการซ่อมบารุงเรือ ระบบสามารถทาการเพ่ิม ข้อมูล ปรบั ปรุง ลบ และแสดงขอ้ มูล ดังตอ่ ไปนี้ 1) ขอ้ มลู บตั รจา่ ยงานการซอ่ มบารุงลว่ งหน้า 2) ขอ้ มูลซอ่ มบารุงตามแผนของยทุ โธปกรณ์ 3)ขอ้ มูลการซอ่ มบารงุ แกไ้ ขของยทุ โธปกรณ์ 4)ขอ้ มูลการซอ่ มบารุงการตดิ ต้ังเพิม่ หรอื เปลยี่ นแปลง ยทุ โธปกรณ์ 5)ขอ้ มลู รายการชน้ิ สว่ นซอ่ มท่ใี ช้จรงิ ในการซอ่ มบารงุ ยุทโธปกรณ์ 4.2.3 ระบบพสั ดคุ งคลงั ทาหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารพัสดุคงคลังในเรือ ระบบ สามารถทาการเพิ่มขอ้ มลู ปรบั ปรุง ลบ และแสดงขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ขอ้ มลู รายการพสั ดทุ ่ีตอ้ งจัดหาใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ กาหนดไวต้ ามแผนซอ่ มบารงุ 2)ขอ้ มูลการรับชิ้นสว่ นซอ่ มและพสั ดุจากหนว่ ยสง่ กาลงั ตามอตั ราทก่ี าหนดไว้ 3)ขอ้ มลู การเบกิ ช้นิ สว่ นซอ่ มและพัสดุที่จาเปน็ ในการซอ่ ม บารงุ 4)ขอ้ มูลพัสดพุ สั ดคุ งคลังในเรอื 5)ขอ้ มูลการสง่ คนื พัสดุท่ีเกนิ จากเกณฑ์ทตี่ ้องสะสม 4.3 การออกแบบแบบจาลองขอ้ มลู การออกแบบแบบจาลองข้อมูลของระบบ เป็นการออกแบบ โครงสร้างและความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภายในระบบ โดยการ ออกแบบประกอบดว้ ย 3 ส่วนไดแ้ ก่ 1) การออกแบบเชงิ แนวความคดิ (Conceptual Design) 2)การออกแบบขอ้ มูลเชิงตรรก (Logical Design) 3)การออกแบบเชงิ กายภาพ (Physical Design) 4.3.1 การออกแบบเชงิ แนวคดิ ก า ร อ อ ก แ บ บ เ ชิ ง แ น ว คิ ด เ ป็ น ก า ร น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร วิเคราะห์ความต้องการ และการออกแบบฟังก์ชันการทางานของ ระบบ มาอธิบายเป็นโครงสร้างว่าควรมีอะไรในฐานข้อมูลบ้าง เพื่อเป็นการนาเสนอส่ิงตางๆ ในระบบงานและแสดงความสัมพันธ ระหวางส่ิงเหลานนั้ โดยใช้แผนภาพคลาสตามหลักการออกแบบ ซึ่ง แผนภาพคลาสจะแสดงให้เห็นถึงคลาสต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบและ

30 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งคลาส โดยแผนภาพคลาสของระบบสามารถ แสดงดงั รูปท่ี 4.4 ship Main 1..* 1 1 1 1..* * APL Inventory Sub EquipmentInfo 0..* SpareInfo 11 1 0..* DistributionItem 0..* 1 Manual 0..* 1 111 1 0..* 1..* ReceiveItem Maintenance 1 1 SpareItem 1 1 0..* 0..* 1..* 1..* 1 Distribution Receive PmsSchedule 0..* 1 1..* ChangeItem 0..* 1 Main * 1 0..* 1..* RepairWork Person 1..* 1 1 1..* Main * 1 0..* 01..* 1..* Main 1 * 1..* Sub NecessityType Sub MaintainType RepairItem S1ub Department 11 0..* รปู ท่ี 4.4 แผนภาพคลาสของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื จากรูปที่ 4.4 แผนภาพคลาสของระบบประกอบไปด้วย คลาสทั้งหมด 20 คลาส และสามารถแบ่งกลุ่มของคลาสตาม หน้าที่การทางานได้ทั้งหมด 3 กลุ่มดังต่อไปน้ี 1) กลมุ่ การจัดการขอ้ มูลเรือและส่วนประกอบของเรือ โดย ประกอบดว้ ยคลาสทั้งหมด 9 คลาส ดงั ต่อไปนี้ (1) คลาสเรือ (Ship) มีหน้าท่ีจัดการเพ่ิม ปรับปรุง ลบและแสดงขอ้ มลู เรอื ในกองทัพเรือ (2) ค ล า ส ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ์ (EquipmentInfo) มหี นา้ ท่ีจัดการเพมิ่ ปรบั ปรุง ลบและแสดงข้อมูล ยุทโธปกรณ์ (3) คลาสอตั รารายการชิ้นส่วนยุทโธปกรณ์ (APL) มีหน้าท่ีในการกาหนดอตั รารายการยุทโธปกรณ์ให้กบั เรือแต่ละลา ในกองทัพเรือ

31 (4) ค ล า ส แ ผ น ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ์ (Maintenance) มีหน้าท่ีกาหนดแผนการซ่อมบารุงตลอดอายุขัย ยทุ โธปกรณ์ (5) คลาสวงรอบการซ่อมบารุง (PmsSchedule) มี หนา้ ทกี่ าหนดวงรอบของการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ใหก้ บั แผนการ ซอ่ มบารุง ซง่ึ มีหน่วยเป็น วัน สปั ดาห์ เดือนหรอื ปี (6) คลาสอัตรารายการชิ้นส่วนซ่อม (SpareItem) มี หน้าทก่ี าหนดรายการช้ินส่วนซ่อมท่ีต้องใช้ในการซ่อมบารุงยุทโป กรณ์ใหก้ บั แผนการซอ่ มบารุง (7) คลาสคู่มือการซ่อมบารุง (Manual) มีหน้าท่ี กาหนดวธิ ีการและรายละเอียดในการซอ่ มบารงุ ยทุ โธกรณ์ (8) คลาสพัสดุคงคลัง (Inventory) มีหน้าท่ีในการ แสดงรายการพสั ดุที่มีอยูใ่ นเรือแต่ละลาในกองทัพเรือ (9) คลาสรายละเอียดของชิ้นส่วนซ่อม (SpareInfo) มีหนา้ ทจ่ี ดั การเพิ่ม ปรับปรงุ ลบและแสดงขอ้ มลู ชน้ิ ส่วนซอ่ ม 2)กลุ่มการปฏิบตั งิ านการซอ่ มบารงุ มหี นา้ ท่ีจัดการขอ้ มูล ที่เก่ยี วขอ้ งกบั การบันทึกผลการปฏิบัตงิ านการซอ่ มบารุงและ จานวนรายการชิ้นสว่ นซอ่ มทใ่ี ชจ้ รงิ ในการปฏิบัติงานการซอ่ ม บารุง โดยประกอบดว้ ยคลาสท้งั หมด 7 คลาส ดังตอ่ ไปน้ี (1) ค ล า ส ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง (RepairWork) มีหน้าที่จัดการเพิ่ม ปรับปรุง ลบ และแสดงข้อมูล ผลการปฏบิ ัตงิ านการซอ่ มบารุง (2) คลาสรายการช้ินส่วนซ่อมที่ใช้ (RepairItem) มี หน้าที่จัดการเพ่ิม ปรับปรุง ลบ และแสดงข้อมูลช้ินส่วนซ่อมที่ใช้ จริงในการปฏิบัติงานการซอ่ มบารงุ (3) คลาสลักษณะการซ่อมบารุง (MaintainType) มี หนา้ ท่ีแสดงลกั ษณะของการปฏบิ ตั งิ านการซ่อมบารุง (4) คลาสความจาเป็น (NeccessityType) มีหน้าท่ี แสดงความจาเปน็ ของการปฏบิ ตั ิงานการซอ่ มบารุง (5) คลาสกาลังพล (Person) มีหน้าท่ีจัดการเพ่ิม ปรบั ปรุง ลบและแสดงข้อมลู ของกาลงั พลในกองทัพเรือ ซ่ึงจะมีบท บาท่แี ตกต่างกันตามหนว่ ยงาน (6) คลาสหน่วยงาน (Department) มีหน้าท่ีจัดการ เพม่ิ ปรับปรุง ลบและแสดงขอ้ มูลของหนว่ ยงาน (7) ค ล า ส ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล งห รื อ ติ ด ต้ั งเพิ่ ม ข อ ง ยุท โ ธ ป ก ร ณ์ มี ห น้ า ท่ี จั ด ก า ร เพิ่ ม ป รั บ ป รุ ง ล บ ข้ อ มู ล ข อ ง ยุทโธปกรณ์ทเี่ ปล่ยี นแปลงหรอื ติดตง้ั เพิ่ม 3)กลมุ่ การจัดการพสั ดใุ นเรอื โดยประกอบดว้ ยคลาส ทัง้ หมด 4 คลาส ดงั ตอ่ ไปนี้

32 (1) คลาสรับพัสดุ (Receive) มีหน้าที่จัดการเพิ่ม ขอ้ มลู การรับพสั ดุเข้าคลังในเรอื (2) คลาสรายการรับพัสดุ (ReceiveItem) มีหน้าท่ี เพม่ิ รายการรบั พัสดุเข้าคลังในเรือ (3) คลาสจ่ายพัสดุ (Distribution) มีหน้าที่เพิ่มข้อมูล จ่ายพัสดใุ หก้ ับหนว่ ยซ่อมบารุง (4) คลาสรายการพัสดุท่ีจ่าย (DistributionItem) มี หนา้ ทจี่ ดั การเพิม่ รายการพสั ดุท่ีจา่ ยใหก้ บั หนว่ ยซอ่ มบารงุ 4.3.2 การออกแบบเชงิ ตรรกะ การออกแบบเชิงตรรกะ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือปรับเปล่ียน โครงสรา้ งข้อมูลท่ีได้ออกแบบไว้ในข้ันการออกแบบเชิงแนวคิด ให้ มาอย่ใู นรูปแบบเชิงตรรกะหรืออยู่ในรูปของแบบจาลองฐานข้อมูล (Database Model) ซงึ่ การออกแบบในข้นั นม้ี กี ารใชก้ ฎนอร์มัลไลเซ ชนั (Normalization Rule) และ ดนี อร์มัลไลเซชัน (Denormalization Rule) เพอ่ื ให้ไดข้ ้อมูลที่ไมซ่ ้าซอ้ นและลดความผดิ พลาดท่ีมักเกิดข้ึน ในการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล โดยผลที่ได้เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บ ข้อ มู ลล งใ นฐ าน ข้อ มูล หรื อ ฐา นข้ อ มู ลเชิงสัม พัน ธ์ (Relation Database) ดังแสดงในรปู ที่ 4.5

33 Manufacture EquipmentInfo APL ShipType Inventory ReturnItem Return PK manuid PK equipid PK,FK2 shipid PK shiptypeid PK,FK1 shipid PK,FK1 retid PK,FK1 equipid PK,FK2 nsn PK,FK2 nsn PK retid manuname equipname shiptypename PK rfid description location quantity retdate CommodityType commodity quantity Ship location rettype PK comtypeid model PK shipid receivedate retitem unit UnitType producedate FK1 perid comtypename Manufacture PK unitid shipcode expiredate parentid shipname ReceiveItem Receive Manual FK1 comtypeid unitname category SpareInfo PK,FK2 recid PK recid PK,FK1 equipid FK2 manuid station PK nsn PK,FK1 nsn PK manid FK3 unitid SpareItem status recdate PK,FK2 equipid FK1 shiptypeid name quantity rectype method Maintenance PK,FK2 mainid description recitem description PK,FK1 nsn RepairWork refno DistributionItem FK2 perid PK,FK1 equipid PK workid reftype PK,FK2 disid PmsSchedule PK mainid quantity supplycode PK,FK1 nsn Person PK pmsid workrequire unit PK perid mainname MaintainType workstart FK1 unitid quantity pmsname description PK maintypeid workstate pername pmscycle otherid workend RepairItem position pmsunit otheramount maintypetname workdeatil PK,FK1 workid FK1 deptid pmsamount FK2 pmsid maintypeename progress PK,FK2 nsn parentid objection Distribution FutureWork ChangeItem suggestion quantity Department NecessityType FK2 shipid PK disid PK,FK1 mainid PK shipid PK nectypeid FK1 equipid PK deptid PK,FK1 equipid PK equipid FK1 mainid disdate PK,FK1 workid nectypename FK3 maintypeid distype deptname lastdate PK changetype parentid FK4 nectypeid disitem type futuredate FK5 perid FK1 workid address quantity phone parrent รปู ท่ี 4.5 ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธข์ องระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื 4.3.3 การออกแบบเชงิ กายภาพ การออกแบบเชิงกายภาพ เป็นการนาเอาโครงสร้างของ ฐานข้อมูลท่ีได้ออกแบบไว้ในข้ันตอนการออกแบบเชิงตรรกะ มา กาหนดรูปแบบต่างๆ ทางกายภาพ ให้กับฐานข้อมูลท่ีจะสร้างขึ้น เช่น กาหนดประเภท และความยาวของข้อมูล กาหนดกฎเกณฑ์ ต่างๆ ทใ่ี ช้ควบคมุ ความถูกต้องของขอ้ มูล กาหนดคียห์ ลัก ฯลฯ ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ น ขั้ น น้ี ไ ด้ ท า ก า ร ส ร้ า ง ฐ า น ข้ อ มู ล ซึ่ ง ประกอบด้วยตารางข้อมูลต่างๆ ที่สามารถนาไปใช้งานจริงจาก โครงสร้างท่ีออกแบบ ซ่ึงในการกาหนดฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ข้ึน เป็นตาราง จะต้องกาหนดรายละเอียดต่างๆ ให้กับตารางก่อน ซ่ึง ประกอบด้วย ช่ือตาราง ชื่อแอททริบิวต์คาอธิบาย ประเภท และ ขนาดของขอ้ มูล โดยมีโครงสรา้ งแสดงดงั ตารางท่ี 4.1 ตารางท่ี 4.1 โครงสรา้ งรายละเอยี ดตารางขอ้ มลู ประเภ ขนา ชอื่ คาอธบิ าย ทด

34 จากการออกแบบเชิงกายภาพของระบบสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรือ สามารถแบ่งรายละเอียดตารางข้อมูล ออกเป็น 26 ตาราง ดงั แสดงในภาคผนวก ฉ 4.4 การออกแบบเทคโนโลยี RFID เทคโนโลยี RFID เป็นระบบการระบตุ วั ตนท่ใี ช้เทคนคิ การเก็บ และดงึ ขอ้ มลู จากสอื่ แมเ่ หลก็ ผ่านทางคลนื่ วทิ ยุ ปจั จบุ ันเทคโนโลยลี า้ หนา้ ขน้ึ มาอย่างรวดเร็วทาให้ตน้ ทนุ ของชพิ และอปุ กรณก์ ารอ่าน ลดลง หน่วยความจาในการเก็บขอ้ มลู สูงข้ึนและประสิทธภิ าพสูง ทาให้ระบบน้ไี ด้นา RFID มาช่วยในการจัดการระบบพัสดคุ งคลงั ใน เรือ 4.4.1 โครงสรา้ งเทคโนโลยี RFID กบั ระบบ เทคโนโลยี RFID นามาประยกุ ต์ใช้กบั การจดั การพสั ดุในเรอื เปน็ เทคโนโลยีทเี่ พม่ิ เติมในสว่ นเครอื่ งคอมพวิ เตอรห์ รอื โน้ตบกุ ที่มี เวบ็ เบราเซอรส์ ามารถเชอื่ มตอ่ กบั อนิ เทอรเ์ นตได้ในเรอื แตล่ ะลา เชอ่ื มตอ่ กับเทคโนโลยี RFID โดยมเี ครอ่ื งอ่าน RFID 1 เครอ่ื ง และ แทก็ ทตี่ ดิ พสั ดใุ นเรอื Internet DatabaseSever Client connect RFIDTag Antenna/RFIDReader รปู ที่ 4.6 โครงสรา้ งเทคโนโลยี RFID กบั ระบบ 4.4.2 ออกแบบแทก็ และเครอ่ื งอา่ น RFID แทก็ RFID ทใ่ี ชใ้ นระบบน้ี ใชแ้ บบ active tag ในย่านความถี่ UHF 840–960 MHz ซึง่ สนับสนนุ การเกบ็ ขอ้ มูลในรปู แบบของ EPC Class 1 Gen 2 โดยมอี ายุการใชง้ านประมาณ 2 ปี และ สามารถเขยี นขอ้ มลู ทับไดป้ ระมาณ 10,000 คร้งั 1) การเตรยี มแทก็ จะถกู นาไปเคลอื บดว้ ยแผน่ พลาสตกิ จากนน้ั จึงทาการบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในแทก็ แลว้ ตดิ ทีพ่ ัสดหุ รอื กลอ่ ง

35 พสั ดขุ ้ึนอยกู่ บั หนว่ ยนบั ของพัสดุน้ัน ๆ เชน่ กลอ่ ง ชุด ช้นิ เป็นต้น จากน้ันจึงนาพสั ดุเขา้ สู่คลงั ตอ่ ไป 2) การออกแบบการตดิ ตงั้ เครอื่ งอา่ น RFID ในงานระบบน้ี จะตดิ ตงั้ ในหอ้ งเก็บพสั ดุ จานวน 1 จดุ ในเรอื แตล่ ะลา ตามความเห มะสมท่เี ครอ่ื งอา่ นจะสามารถเขา้ ถงึ พสั ดไุ ดท้ ว่ั ถงึ ในระยะ 10 เมตร 4.4.3 หนา้ ทหี่ ลกั ของการใชเ้ ทคโนโลยี RFID 1) ตรวจสอบพสั ดใุ นเรอื มีจุดมุ่งหมายเพอ่ื ทาการ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของรายการและจานวนพัสดตุ ามทก่ี าหนด ในสมุดอตั ราพัสดปุ ระจาเรอื เทคโนโลยี RFID สามารถตรวจสอบ พัสดไุ ด้หลาย ๆ ชน้ิ ในคร้งั เดียว โดยการจดั พสั ดุเป็นหมวดหมูแ่ ลว้ ทาการตรวจสอบในแตล่ ะหมวดหมู่ แลว้ ระบบจะจัดเก็บรายการและ จานวนพสั ดุท้งั หมดทมี่ อี ยู่จริง เพอื่ นาขอ้ มลู ท่ีได้มาปรบั ปรุงพสั ดุให้ สอดคลอ้ งกบั กบั สมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื 2) คน้ หาและระบตุ าแหน่งพัสดใุ นเรอื เทคโนโลยี RFID สามารถค้นหาและระบตุ าแหน่งของพสั ดุท่ีจัดเก็บอยูใ่ นคลังไดอ้ ยา่ ง รวดเรว็ แมน่ ยา และยังสามารถตรวจสอบพัสดคุ งคลังได้ดว้ ย ทา ให้การเขา้ ถงึ พัสดสุ ะดวกรวดเรว็ ยิ่งขน้ึ และประหยัดเวลาขน้ึ มาก โดยการนาเครอื่ งอา่ น RFID ไปตรวจสอบหาพัสดทุ อ่ี ย่ใู นคลงั ใน ระยะหา่ งไมเ่ กิน 10 เมตร หากพบพสั ดุทต่ี อ้ งการระบบจะแจง้ ให้ ทราบถงึ ตาแหน่ง จานวน ลาดับการใชง้ าน 3) นาพัสดุเข้า-ออกคลงั พสั ดุในเรอื การนาพสั ดเุ ขา้ คลังเพ่ือ สะสมใหเ้ ปน็ ไปตามสมุดอตั ราพัสดปุ ระจาเรอื และการนาพสั ดอุ อก จากคลังเพ่ือการซอ่ มทายทุ โธปกรณ์ตา่ ง ๆ นนั้ เทคโนโลยี RFID สามารถตรวจสอบรายการพสั ดทุ น่ี าเขา้ -ออกคลังได้ครง้ั ละหลาย รายการ และทาการปรับปรงุ ขอ้ มลู พัสดุคงคลงั ในฐานขอ้ มูลเปน็ ไป แบบอตั โนมตั ิ 4.4.4 จดุ คมุ้ ทนุ การคดิ ระยะเวลาการคืนทนุ ของโครงงานนค้ี ดิ ไดโ้ ดย ระยะเวลาคนื ทนุ จะเทา่ กบั เงินลงทนุ เรมิ่ แรกเปรียบเทยี บกบั เงินท่ี ประหยดั ไดใ้ นแตล่ ะเดอื น ซ่ึงมรี ายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ 1) ต้นทุน (Cost) (1)เงนิ ลงทุนประกอบไปดว้ ยชดุ ระบบ Intermec IF30 RFID fixed reader / writer & Tags RFID ของบรษิ ทั Intermec ราคารวม 115,000 บาท (2) คา่ ดาเนินการประจาเดอื น ประกอบไปด้วย Tags RFID 1,000 ตวั ราคารวม 15,000 บาท 2) ผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั (Benefit) ส่วนเงินที่ประหยัดได้ใน แตล่ ะเดอื นรวมแลว้ 15,793 บาทมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

36 (1) คดิ ค่าแรงในการตรวจสอบและปรบั ปรงุ พัสดุในเรอื 1 คร้ัง ใน 1 ปี จะตอ้ งใช้กาลงั คนประมาณ 10 คน คดิ คา่ แรงประมาณ (7620*10)/12 = 6,350 บาทตอ่ เดอื น (2) ค่าเสื่อมราคา กรณีทใ่ี ชพ้ สั ดุไม่เป็นไปตามลาดบั กอ่ นหลัง ให้พัสดุ 1,000 ช้ิน ราคา 100 บาท อตั ราค่าเสอ่ื มราคา ตอ่ ปีรอ้ ยละ 10 คิดคา่ เสอื่ มราคา = (100,000/10)/12 = 833 บาท ต่อเดอื น (3) ค่าเสียเวลาในการคน้ หาพสั ดุ ใน 1 วนั ประมาณ 1 ชั่วโมง จะได้ 22 ชั่วโมงตอ่ เดอื น ค่าแรงชั่วโมงละ 45 บาท คดิ ค่า เสยี เวลาประมาณ 22x45 = 990 บาทต่อเดอื น (4) คา่ แรงพนักงาน 1 คน ทาบญั ชพี สั ดเุ บกิ -จา่ ย จานวน 7,620 บาทตอ่ เดอื น 3) จุดคมุ้ ทนุ (Break Event point) (1) ระยะเวลาคนื ทนุ = 130,000/15,793 = 8 เดอื นตอ่ เรอื 1 ลา 4.5 การออกแบบสว่ นตอ่ ประสานงานผใู้ ช้ การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน จัดทาเพื่อแสดง โครงสร้าง และองค์ประกอบของหน้าจอที่ปรากฏในซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อความแสดงความผิดพลาด และข้อความช่วยเหลือ ผู้ใชง้ าน ตามหลกั การวิศวกรรมความสามารถในการใช้งาน การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน ประกอบด้วยการ ออกแบบ 3 ส่วน ได้แก่ การออกแบบโครงสร้างส่วน ต่อ ประสานงาน การออกแบบการนาเข้าข้อมูล และการออกแบบการ แสดง ผลลัพธ์ ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ 4.5.1 การออกแบบโครงสรา้ งสว่ นตอ่ ประสานงาน การออกแบบโครงสร้างสว่ นต่อประสานงานของระบบสมุด อัตราพัสดุประจาเรือนั้น จัดทาขึ้นเพื่อแสดงโครงสร้างและอง ประกอบของระบบ โดยในการออกแบบโครงสร้างนั้นได้ทาการ ออกแบบใหม้ ลี กั ษณะเหมอื นระบบทท่ี างานผ่านเวบ็ ท่วั ไป เพอื่ ให้ง่าย ต่อการเรียนรู้ของผู้ใช้ ซึ่งการออกแบบโครงสร้างส่วนต่อ ประสาน ไดแ้ บง่ เป็น 5 ส่วน ดังนี้  พืน้ ทแ่ี สดงเมนขู อ้ มูลระบบ  พน้ื ทแ่ี สดงชอื่ ระบบสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื  พื้นทแี่ สดงรายการเมนกู ารทางาน

37  พ้นื ท่ีแสดงสว่ นเนอ้ื หาหรอื ผลลพั ธ์จากการ ทางานของระบบ  พนื้ ทแ่ี สดงส่วนทา้ ยเกย่ี วกบั ผพู้ ัฒนาระบบ รปู ท่ี 4.7 หนา้ จอสว่ นตอ่ ประสานงานของระบบสมดุ อตั ราพสั ดุ ประจาเรอื 4.5.2 การออกแบบการนาเขา้ ขอ้ มลู การออกแบบส่วนการนาเข้าข้อมูลของระบบ เป็นการ ออกแบบรูปแบบที่ผู้ใช้จะสามารถนาข้อมูลที่ต้องการกรอกเข้าสู่ ระบบโดยผ่านส่วนต่อประสานของระบบ ซ่ึงในการออกแบบต้อง คานึงถึงความสะดวกในการใช้งาน ความง่ายต่อการเรียนรู้ของ ผใู้ ช้ ความถูกต้องและสอดคล้องของข้อมูลท่นี าเขา้ ส่รู ะบบ โดยแบ่ง การนาเขา้ ข้อมลู ได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1) การนาเข้าขอ้ มูลทว่ั ไป เป็นการนาเขา้ ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นขอ้ ความ สามารถปอ้ นขอ้ มูล ดว้ ยวิธีการพิมพเ์ ขา้ สรู่ ะบบโดยตรง ซงึ่ การออกแบบในสว่ นนจ้ี ะ คานงึ ถงึ ลักษณะและขนาดขอ้ มลู ทีต่ อ้ งนาเข้า ดงั แสดงไดด้ งั รูปที่ 4.8 – 4.9 โดยรปู แบบทใี่ ชส้ าหรับการนาเขา้ ขอ้ มลู ประเภทน้ี มดี ังน้ี (1) กล่องขอ้ ความ (Text Box) ใช้กบั การนาเข้าขอ้ มลู ท่ี มีความยาวไม่มากเกนิ ไปตวั อย่างเชน่ ขอ้ มลู หมายเลขเรอื ขอ้ มลู ชอ่ื เรอื จากระบบการบันทึกขอ้ มูลเรอื เปน็ ต้น

38 (2) พน้ื ที่ขอ้ ความ (Text Area) ใชก้ ับการนาเขา้ ขอ้ มูลซ่งึ มคี วามยาวหลายบรรทัด สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ขอ้ มูลลกั ษณะท่ี เปน็ การอธิบายรายละเอียดตา่ งๆ ตวั อยา่ งเชน่ ขอ้ มลู อุปสรรค ขอ้ มลู คาแนะนา จากระบบการบนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั กิ ารซอ่ มบารุง เรือ เป็นต้น รปู ที่ 4.8 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทวั่ ไปของระบบ (กลอ่ งขอ้ ความ) รปู ที่ 4.9 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทว่ั ไปของระบบ (พน้ื ทขี่ อ้ ความ) 2)การนาเข้าขอ้ มลู ทมี่ คี าตอบตายตัว เปน็ การนาเข้าขอ้ มูลเขา้ ทมี่ กี ารกาหนดค่าขอ้ มลู ทีจ่ ะ นาเขา้ ตายตวั โดยการกาหนดคา่ ขอ้ มูลขอ้ มูลใหอ้ ยู่ในขอบเขตท่ี เปน็ ไปไดท้ ้ังหมด เพ่ือลดโอกาสความผดิ พลาดจากการนาเข้าขอ้ มูล และเพอ่ื อานวยความสะดวกใหผ้ ้ใู ช้งานระบบดว้ ย ดังรปู ที่ 4.10 – 4.12 โดยรปู แบบท่ีใช้สาหรบั การนาเข้าขอ้ มลู ประเภทน้ี มดี ังนี้ (1) ปมุ่ เรดโิ อ (Radio Button) ใชใ้ นการนาเขา้ ขอ้ มลู แบบ ท่มี ีคา่ ตายตวั และสามารถเลอื กไดค้ ่าเดยี วจากกลมุ่ เดียวกนั สว่ น ใหญ่จะใช้กบั ขอ้ มูลท่ีมตี วั เลอื กไมม่ ากนกั หรอื กรณที ีต่ อ้ งการให้ ผู้ใช้งานเห็นตัวเลอื กทง้ั หมดในคราวเดยี ว ตวั อยา่ งเชน่ ข้อมูล ประเภทวงรอบการซอ่ มบารุง จากระบบการบันทกึ วงรอบการ ซอ่ มบารุง เปน็ ต้น รปู ท่ี 4.10 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทมี่ คี าตอบตายตวั แบบปมุ่ เรดโิ อ (2) ลิสต์บอ็ กซ์ (List Box) ใชใ้ นการนาเข้าขอ้ มลู แบบ ท่ีมคี ่าตายตวั และสามารถเลอื กได้ค่าเดยี ว เหมาะกับการใช้งาน กรณที ีต่ วั เลอื กมีมากและไม่มคี วามจาเปน็ ตอ้ งแสดงใหผ้ ู้ใชเ้ ห็น ท้ังหมดตัง้ แตต่ น้ ตัวอยา่ งเชน่ ขอ้ มลู เรอื จากระบบการบนั ทึกงาน การซอ่ มบารงุ เปน็ ตน้

39 รปู ท่ี 4.11 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทมี่ คี าตอบตายตวั แบบลสิ ตบ์ อ็ กซ์ (3) เชค็ บอ็ กซ์ (Check Box) ใช้ในการนาเขา้ ขอ้ มลู แบบทม่ี คี ่าตายตวั และสามารถเลือกได้หลายค่าในครัง้ เดยี ว ตัวอย่างเชน่ ขอ้ มูลพสั ดุทส่ี ามารถเลอื กได้หลายรายการในการลบ ขอ้ มูล เปน็ ตน้ รปู ท่ี 4.12 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทม่ี คี าตอบตายตวั แบบเชค็ บอ็ กซ์ 3)การนาเขา้ ขอ้ มูลวนั ท่ี การ เพ่อื ลดโอกาสในการผิดพลาดของขอ้ มลู นาเข้า วัน/ นาเขา้ ค่าวนั ทจ่ี ึงใชใ้ นรูปแบบของปฏิทิน โดยมรี ปู แบบเป็น เดอื น/ปี ดังรปู ที่ 4.13 รปู ท่ี 4.13 การนาเขา้ ขอ้ มลู วนั ที่ 4)การนาเข้าขอ้ มูลจานวนตวั เลข การออกแบบฐานข้อมลู มขี ้อมูลในบางสว่ นทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มูล ชนิดตัวเลขเท่าน้ัน ดังน้ันเพื่อลดโอกาสความผิดพลาดจากการ นาเข้าข้อมูล จึงมีการเขียนสคริปต์เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถพิมพ์เฉพาะ ข้อมูลชนิดตัวเลขเข้าสู่กล่องข้อความได้เท่าน้ัน หากใส่ผิดจะมี ขอ้ ความเตอื น ดังรปู ท่ี 4.14 รปู ที่ 4.14 การนาเขา้ ขอ้ มลู จานวนตวั เลข

40 5)การนาเขา้ ขอ้ มลู ประเภทไฟล์ เพ่ือลดโอกาสในการผดิ พลาดของการนาเขา้ ขอ้ มูล จึงได้ ทาการออกแบบให้ผใู้ ช้สามารถทาการเลือกไฟลท์ ตี่ ้องการจะนาเขา้ ได้โดยง่าย เพ่ือเป็นการรับประกันว่าไฟล์ท่ีจะนาเข้าน้ันเป็นไฟล์ที่มี อย่จู รงิ ดงั รูปท่ี 4.15 รปู ท่ี 4.15 การนาเขา้ ขอ้ มลู ประเภทไฟล์ 4.5.3 การออกแบบการแสดงผลลพั ธ์ 1) การแสดงผลลัพธข์ อ้ มลู โดยทวั่ ไป การแสดงผลลัพธ์ข้อมูลทั่วไปขอ งระบบ ได้ทาการ ออกแบบให้จดั วางข้อมูลอยู่ในรูปแบบของตาราง ดังแสดงในรูปท่ี 4.16 รปู ที่ 4.16 การแสดงผลลพั ธข์ อ้ มลู โดยทว่ั ไป 2)การแสดงผลลัพธ์ในกรณีที่เกิดความผดิ พลาดและ ขอ้ ความชว่ ยเหลอื ผูใ้ ช้งาน ในการทางานของผูใ้ ช้ อาจเกดิ ความผิดพลาด เช่น การ บนั ทึกข้อมลู เขา้ สรู่ ะบบแต่กรอกข้อมลู ไม่ครบถ้วน และบันทึกข้อมูล ซา้ ซอ้ นกับขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่ ซึ่งระบบสามารถแสดงข้อความเตือนความ ผดิ พลาดทีเ่ กิดข้ึนต่างๆ ไดด้ ังรปู ที่ 4.17

41 รปู ที่ 4.17 การแสดงผลลพั ธข์ องขอ้ ความแสดงความผดิ พลาดจาก การกรอกขอ้ มลู 3)การแสดงผลลัพธ์ในลกั ษณะการออกรายงาน การออกแบบผลลพั ธใ์ นลกั ษณะรายงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังในรปู ท่ี 4.18  สว่ นหวั รายงาน แสดงตราสญั ญลกั ณ์ ชอ่ื รายงาน หนา้ และวนั ท่ีพมิ พ์  สว่ นแสดงขอ้ มลู แสดงรายการขอ้ มลู  สว่ นท้ายรายงาน แสดงสรปุ ผลรวม รปู ท่ี 4.181 การออกแบบหนา้ จอการแสดงผลลพั ธใ์ นลกั ษณะ รายงาน

42 4.6 การออกแบบระบบความปลอดภยั ในระบบและการกาหนดสทิ ธิ การใชง้ าน ระบบมีการออกแบบในส่วนของการรักษาความปลอดภัย รวมถึงการกาหนดสิทธิการเข้าใช้งานตามบทบาทของผู้ใช้งาน ระบบ โดยมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 4.6.1 การเขา้ สรู่ ะบบ การเขา้ สู่ระบบสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรือ จะต้องเข้าสู่ระบบ กอ่ นเสมอโดยมสี ่วนต่อประสานกบั ผ้ใู ช้งานดงั รูปท่ี 4.19 รปู ท่ี 4.19 สว่ นตอ่ ประสานสาหรบั การเขา้ สรู่ ะบบสมดุ อตั ราพสั ดุ ประจาเรอื 4.6.2 การกาหนดสทิ ธกิ ารใชง้ านระบบ ผู้เข้าใช้งานระบบประกอบด้วยบุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ที่ แตกต่างกัน ซ่ึงมีผลให้แต่ละบุคคลมีสิทธิในการเข้าใช้งานระบบได้ ต่างกัน โดยระบบแบ่งกลุ่มของผู้ใช้งานออกเป็น 5 ประเภท ดงั ตอ่ ไปนี้ (รายละเอียดของแต่ละประเภทได้กลา่ วไว้ในหัวข้อ 4.2) 1) หนว่ ยควบคมุ ระบบ 2)หน่วยเทคนคิ

43 3)หน่วยส่งกาลงั บารุง 4)หน่วยคลงั 5)หนว่ ยซอ่ มบารุง จากการแบ่งประเภทขา้ งตน้ สามารถสรุปฟงั กช์ นั การ ทางานและสิทธกิ ารเขา้ ใชท้ งั้ หมดของระบบตามประเภทผูใ้ ช้งาน ดงั ตารางท่ี 4.2 ตารางที่ 4.2 ตารางสรปุ ฟงั กช์ นั การทางานและสทิ ธกิ ารเขา้ ใชข้ อง ระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื ผมู้ สี ทิ ธเิ ขา้ ใชร้ ะบบ ฟงั กช์ นั ของระบบ ผู้ควบคุมระบบ หน่วยเทค ินค หน่วยส่งกาลัง บา ุรง หน่วย ัคง หน่วยซ่อมบา ุรง 1. ระบบการสรา้ งสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจา เรอื  1.1 ขอ้ มูลเรอื  1.2 ขอ้ มูลยทุ โธปกรณ์ 1.3 ขอ้ มูลชน้ิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ  1.4 กาหนดอตั รารายการช้นิ สว่ น  ยุทโธปกรณ์ในเรอื 1.5 กาหนดแผนการซอ่ มบารงุ  ยุทโธปกรณ์ 1.6 กาหนดอตั รารายการช้ินสว่ นซอ่ ม  และพัสดุ 1.7 จัดทาคาแนะนา คมู่ อื และ  หลกั เกณฑ์ในการซอ่ มบารุงของ ยุทโธปกรณ์ 1.8 แสดงรายการอัตราช้ินสว่ น  ยุทโธปกรณใ์ นเรอื 1.9 แสดงรายการช้นิ สว่ นซอ่ มและ  พัสดุ 1.10 แสดงคาแนะนา คมู่ อื และ   หลกั เกณฑใ์ นการซอ่ มบารงุ ของ ยทุ โธปกรณ์ 1.11 รายงานสรปุ รายการ  ยทุ โธปกรณ์ทม่ี ใี นเรอื

44 1.12 รายงานสถานภาพการสง่ กาลัง  ช้ินสว่ นซอ่ มและพัสดซุ อ่ มยุทโธปกรณ์ 2. ระบบการซอ่ มบารงุ   2.1 สามารถแจ้งเตอื นการซอ่ มบารงุ  ตามแผนลว่ งหนา้  2.2 กาหนดบัตรจา่ ยงานการซอ่ ม บารงุ ลว่ งหน้า  2.3 บนั ทกึ การซอ่ มบารงุ ตามแผนของ  ยุทโธปกรณ์ ผมู้ สี ทิ ธเิ ขา้ ใชร้ ะบบ 2.4 บนั ทกึ การซอ่ มบารุงแกไ้ ขของ ยุทโธปกรณ์ 2.5 บันทกึ การซอ่ มบารุงการติดตงั้ เพมิ่ หรอื เปลี่ยนแปลง ฟงั กช์ นั ของระบบ ผู้ควบคุมระบบ หน่วยเทคนิค หน่วย ่สงกาลัง บา ุรง หน่วย ัคง หน่วย ่ซอม บา ุรง 2.6บันทึกรายการชน้ิ ส่วนซอ่ มทีใ่ ช้  จริงในการซอ่ มบารงุ ยุทโธปกรณ์ 2.7 แสดงสถิ ิตกิ ารใช้ส้นิ เปลอื งท่ีได้  จากงานการซอ่ มบารุงที่ผา่ นมา 2.8แสดงสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานการ   ซอ่ มบารุงเรอื 3. ระบบพสั ดคุ งคลงั 3.1 แสดงรายการพัสดุทตี่ อ้ งจดั หาให้ เปน็ ไปตามเกณฑ์ทกี่ าหนดไวต้ ามแผน     ซอ่ มบารงุ  3.2 บันทึกการรบั ชน้ิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ 3.3 บันทกึ การเบกิ ชน้ิ ส่วนซอ่ มและ  พัสดุ 3.4 ตรวจสอบและปรับปรุงความ   พร้อมของพสั ดใุ นเรอื 3.5 ส่งคนื พัสดุท่เี กนิ จากเกณฑ์ที่ตอ้ ง  สะสม 3.6แสดงชนิ้ สว่ นซอ่ มและพัสดทุ ไ่ี ม่   ตรงกบั อตั ราทีต่ อ้ งมีสะสมไว้

45

บทท่ี 5 การพฒั นาระบบ การพฒั นาระบบตามเอกสารการวเิ คราะห์และออกแบบอาศยั การเลอื กสรรเคร่ืองมือท้งั ทางฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟต์แวร์ท่ีเหมาะสม เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดในการพฒั นาระบบ รวมถึงอาศัยเทคนิค และแนวคิดในการพฒั นาชุดคาสั่ง ซ่ึงท้ังหมดนี้ทาให้ได้มาซึ่งระบบ สมดุ อัตราพสั ดปุ ระจาเรือท่สี มบูรณ์และมีประสทิ ธภิ าพ 5.1 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาระบบ 5.1.1 ฮารด์ แวรท์ ใี่ ชใ้ นการพฒั นาระบบ 1) เครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ ใ่ี ช้พฒั นาระบบ (1) หนว่ ยประมวลผล ดโู อคอร์ ความเรว็ 1.73 กิ กะเฮริ ท์ (2) หน่วยความจา ดดี อี าร-์ ทู 1 กิกะไบต์ (3) ฮารด์ ดิสก์ ไอดอี ี เอทเี อ-133 เมกกะเฮริ ท์ ความจุ 120 กกิ ะไบต์ (4) รองรบั การโอนถา่ ยขอ้ มูลเครอื ข่ายทคี่ วามเรว็ 10/100 เมกกะบิตตอ่ วนิ าที (5) จอภาพ 14.1 นิว้ 2)เครอ่ื งแมข่ า่ ย (เครอ่ื งเดยี วกับเครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ใช้ ในการพฒั นาระบบ) 5.1.2 ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการพฒั นาระบบ 1) ระบบปฏบิ ัตกิ าร (1) ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ เอ็กซ์พี โป รเฟสชันแนล (Microsoft Window XP Professional) สาหรับ เครือ่ งทใี่ ช้พัฒนาระบบ และเครื่องแม่ขา่ ย 2)เครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการออกแบบและจดั ทาเอกสารของ กระบวนการ (1) ไมโครซอฟตอ์ อฟฟศิ รนุ่ 2007 (2) ไมโครซอฟตอ์ อฟฟิศวซิ ิโอ รนุ่ 2007 (3) อะโดบี โฟโตชอ็ ป รนุ่ ซเี อส 3 (4) อะโดบี อะโครแบท ลดี เดอร์ รุน่ 10.0 3)เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาสว่ นตอ่ ประสานผู้ใช้ (1) อนิ เทอร์เนต็ เอกซโ์ พลเรอร์ รนุ่ 8.0 (2) อะโดบี โฟโตชอ็ ป รนุ่ ซีเอส 3 (3) มาโครมเี ดีย ดรมี วีเวอร์ ซเี อส 6 4)เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการพัฒนาสว่ นใหบ้ รกิ ารและสว่ น สนับสนุน

47 (1) เวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์ อาปาเช รนุ่ 2.2.8 รนุ่ (2) ฐานขอ้ มลู มายเอสควิ แอล รนุ่ ที่ 5.0.51b (3) ระบบจดั การฐานขอ้ มูลพีเอชพีมายแอดมนิ 2.10.3 (4) อินเทอร์เนต็ เอกซโ์ พลเรอร์ รนุ่ 8.0 5.2 การพฒั นาระบบ การพฒั นาระบบเป็นส่วนการทางานทเ่ี กดิ หลังจากไดม้ กี าร ออกแบบ และติดตงั้ เครอื่ งมอื การพัฒนาระบบเรยี บรอ้ ยแลว้ สามารถอธบิ ายส่วนการพัฒนาได้ 2 สว่ น ดังน้ี 5.2.1 ขน้ั ตอนการพฒั นาระบบ หลังจากที่ได้ทาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ รวมถึง การตดิ ตัง้ เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการพฒั นาระบบเรียบร้อยแล้ว ผูว้ จิ ัยได้ ทาการพัฒนาระบบโดยมขี ้ันตอน ดังนี้ 1) พัฒนาต้นแบบระบบ (Prototype) เป็นส่วนที่แสดงให้ เห็นถึงโครงสร้างการทางานของระบบท่ีจะพัฒนาข้ึนจริง โดย นาไปเสนอต่อผู้ใช้ระบบ เพ่ือศึกษาความพึงพอใจ ตลอดจนให้ผู้ใช้ เสนอแนวทางในการแก้ไขก่อนท่ีจะพัฒนาจริง เพื่อลดต้นทุนและ ร ะ ย ะ เ ว ล า ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ร ะ บ บ ใ ห้ ต ร ง กั บ ค ว า ม พ อ ใ จ ข อ ง ผู้ ใ ช้ ใ น ภายหลัง และช่วยให้สามารถพฒั นาระบบได้ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้มากที่สุด โดยการพัฒนาต้นแบบระบบนี้ ได้ใช้โปรแกรม มาโครมเี ดียร์ ดรีมวีเวอร์ เป็นเครือ่ งมอื ในการออกแบบและพฒั นา ตน้ แบบระบบ 2)การสร้างฐานข้อมูลระบบ ได้ทาการสร้างฐานข้อมูล ของระบบ จากตารางขอ้ มลู ทีไ่ ดอ้ อกแบบไว้ใน ภาคผนวก ฉ โดยใช้ ฐานข้อมูลมายเอสคิวแอลในการจดั เกบ็ ข้อมูล และเพ่ือให้การสร้าง ฐานขอ้ มลู มปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขึ้น จึงได้มีการนาโปรแกรมเคร่ืองมือ มาช่วยใชใ้ นการสรา้ งฐานขอ้ มลู ซ่ึงมีขั้นตอนดังน้ี (1) ออกแบบฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแผนภาพฐานข้อมูล เชงิ กายภาพ โดยใชโ้ ปรแกรมไมโครซอฟต์ออฟฟิศวิซิโอ รุ่น 2007 เปน็ เครอ่ื งมอื (2) สร้างฐานข้อมูลโดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลพี เอชพีมายแอดมนิ รุ่น 2.10.3 เป็นเครือ่ งมอื 3)การพัฒนาโปรแกรม ได้ทาการพัฒนาระบบโดยใช้ มาโครมีเดีย ดรีมวีเวอร์ ซีเอส 6 เป็นเคร่ืองมือ ในการพัฒนา โปรแกรม โดยโปรแกรมท่ีได้พัฒนาขึ้นแบ่งตามประเภทการทางาน ได้ 2 ประเภทดังนี้

48 (1) พีเอชพี (PHP) เป็นโปรแกรมที่เขียนข้ึนสาหรับทา การประมวลผลในฝ่ังเครื่องแม่ข่าย หรือสาหรับทาการติดต่อกับ ฐานข้อมลู (2) จาวาสคริปต์ (JavaScript) เป็นโปรแกรมท่ีเขียน ขึ้นรองรบั การทางานบนอนิ เทอรเ์ นต็ รว่ มกับเอชทเี อม็ แอล(HTML) สามารถทางานได้บนเว็บเบราว์เซ อ ร์ ช่วยให้การทางานมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 5.2.2 โปรแกรมจากการพฒั นา การจัดเก็บโปรแกรมพีเอชพีและจาวาสคริปต์ที่นาไปใช้ใน การแสดงหน้าจอของระบบ เพื่อเป็นการเชื่อมต่อการทางาน ระหว่างระบบและผู้ใช้นั้น ได้ทาการจัดเก็บในไว้ในโฟลเดอร์รูท (Root Directory) ของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรือ ซงึ่ โฟลเดอร์ รูทสามารถแบง่ โฟลเดอรก์ ารจัดเก็บย่อย ได้ดงั รปู ท่ี 5.1 รปู ที่ 5.1 โครงสรา้ งของโฟลเดอรก์ ารจดั เกบ็ โปรแกรมของระบบที่ ไดพ้ ฒั นา จากรูปท่ี 5.1 ได้แสดงถึงโครงสร้างโฟลเดอร์ท่ีใช้จัดเก็บ โปรแกรมของระบบสมุดอัตราพัสดปุ ระจาเรอื ซ่ึงแต่ละโฟลเดอร์ได้ แบ่งตามหน้าท่ีการทางานของโปรแกรมที่โฟลเดอร์นั้นทาการ จัดเก็บ โดยสามารถแบ่งโฟลเดอร์ตามหน้าที่การทางานเป็น 2 ประเภท คอื 1) โฟลเดอร์ท่สี นบั สนนุ การทางานหลักประกอบด้วย (1) โฟลเดอร์คลาส (class) เป็นโฟลเดอร์ท่ีเก็บไฟล์ คลาสตา่ งๆ ของระบบ สามารถเรยี กใช้ตามหนา้ ท่ที ่ีต้องการ (2) โฟลเดอร์ซีเอสเอส (css) เป็นโฟลเดอร์ท่ีเก็บไฟล์ สไตลช์ ีตควบคุมการแสดงผลตา่ งๆ ของระบบ (3) โฟลเดอรไ์ อเอนซี (inc) เปน็ โฟลเดอร์ท่เี กบ็ ไฟลอ์ นิ คูด (include) ไว้สาหรับดึงไฟล์มาร่วมในการทางานเป็นไฟล์ท่ีใช้ เกบ็ ฟังก์ชันต่างๆ

49 (4) โฟลเดอรเ์ จเอส (js) เป็นโฟลเดอร์ท่ีเก็บไฟล์จาวา สครปิ ต์ เป็นไฟล์ทชี่ ่วยประมวลผลขอ้ มลู ท่ีฝ่งั ของผู้ใชง้ านทาให้การ ทางานเร็วขนึ้ 2)โฟลเดอร์ที่เป็นการทางานหลักประกอบดว้ ย (1) โฟลเดอร์พสั ดุคงคลัง (inventory) เป็นโฟลเดอร์ทใ่ี ช้ เก็บไฟล์โปรแกรมท่ีทาหน้าท่ีในการบริหารจัดการพัสดุ โดยไฟล์ โปรแกรมพเี อสพที ีใ่ ช้ในระบบแสดงได้ ดังตารางท่ี 5.1 ตารางที่ 5.1 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จี่ ดั เกบ็ ในโฟลเดอรพ์ สั ดคุ งคลงั ลาดบั ชอ่ื แฟม้ หนา้ ทก่ี ารทางาน 1 distribution.php เพมิ่ และแสดงใบจ่ายพสั ดุ 2 distributionitem.php เพม่ิ และแสดงรายการพัสดทุ ่ี จ่าย 3 nomatch.php แสดงชนิ้ สว่ นซอ่ มและพัสดทุ ไ่ี ม่ ตรงกบั อตั รา 4 procure.php แสดงรายการพัสดทุ ต่ี อ้ งจดั หา ใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์ 5 receive.php เพิ่มและแสดงใบรบั พัสดุ 6 receiveitem.php เพิ่มและแสดงรายการพัสดุทรี่ ับ 7 return.php สง่ คนื พสั ดทุ ่เี กิน 8 sparecheck.php ตรวจสอบและปรับปรุงความ พร้อมของพสั ดุในเรอื (2) โฟลเดอร์หน้าหลัก (main) เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บ ไฟลโ์ ปรแกรมทที่ าหน้าท่ีในการเข้าใช้ระบบ โดยไฟล์โปรแกรมพีเอส พที ใี่ ช้ในระบบสามารถแสดงได้ ดังตารางที่ 5.2 ตารางที่ 5. 2 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จ่ี ดั เกบ็ ในโฟลเดอรห์ นา้ หลกั ลาดบั ชอ่ื แฟม้ หนา้ ทก่ี ารทางาน 1 login.php ตรวจสอบการเข้าสรู่ ะบบของ ผู้ใช้ 2 logout.php ออกจากระบบ 3 main.php หน้าหลกั ของระบบ 4 register.php กรอกขอ้ มลู การขอเข้าใชร้ ะบบ ของผู้ใช้ (3) โฟลเดอร์ข้อมูลหลัก (master) เป็นโฟลเดอร์ท่ีใช้ เกบ็ ไฟล์โปรแกรมที่ทาหน้าที่เป็นข้อมูลหลักเพ่ือให้ระบบอื่นเรียกใช้ ข้อมูล โดยไฟล์โปรแกรมพีเอสพีที่ใช้ในระบบสามารถแสดงได้ ดัง ตารางที่ 5.3

50 ตารางท่ี 5. 3 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จ่ี ดั เกบ็ ในโฟลเดอรข์ อ้ มลู หลกั ลาดบั ชอ่ื แฟม้ หนา้ ทกี่ ารทางาน 1 commoditytype.php เพ่มิ ลบ แก้ไข และแสดงขอ้ มลู ประเภทระบบของยทุ โธปกรณ์ 2 maintaintype.php เพิม่ ลบ แกไ้ ข และแสดงขอ้ มลู ลักษณะการซอ่ มบารงุ 3 manufacture.php เพิม่ ลบ แกไ้ ข และแสดงขอ้ มูล ผูผ้ ลิต 4 necessitytype.php เพ่มิ ลบ แก้ไข และแสดงขอ้ มลู ความจาเปน็ ตารางที่ 5. 3 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จี่ ดั เกบ็ ในโฟลเดอรข์ อ้ มลู หลกั (ตอ่ ) ลาดบั ชอ่ื แฟม้ หนา้ ทก่ี ารทางาน 5 pmsschedule.php เพมิ่ ลบ แกไ้ ข และแสดงขอ้ มลู วงรอบการซอ่ มบารุง 6 shiptype.php เพิม่ ลบ แก้ไข และแสดงขอ้ มลู ประเภทเรอื 7 unittype.php เพม่ิ ลบ แกไ้ ข และแสดงขอ้ มูล หนว่ ยนบั (4) โฟลเดอร์ข้อมูลเรือ (ship) เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้ สาหรับเก็บโปรแกรมของระบบขอ้ มลู เรอื และส่วนประกอบของเรอื ท่ี จัดทาขึ้นเป็นอตั ราพสั ดปุ ระจาเรือ โดยไฟล์โปรแกรมพีเอสพีท่ีใช้ใน ระบบสามารถแสดงได้ ดังตารางที่ 5.4 ตารางท่ี 5. 4 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จี่ ดั เกบ็ ในโฟลเดอรข์ อ้ มลู เรอื ลาดบั ชอื่ แฟม้ หนา้ ทกี่ ารทางาน 1 apl_ship.php กาหนดอตั รารายการชน้ิ ส่วน ยทุ โธปกรณ์ในเรอื 2 equipment.php เพ่มิ แก้ไข ลบ และแสดงขอ้ มูล ยทุ โธปกรณ์ 3 equipment_disp.php แสดงรายการอตั ราชนิ้ ส่วน ยุทโธปกรณใ์ นเรอื 4 equipment_report รายงานสรปุ รายการ ยทุ โธปกรณท์ ่มี ีในเรอื 5 maintenance.php สร้างแผนการซอ่ มบารุง ยทุ โธปกรณ์ 6 manual.php จดั ทาคาแนะนา คู่มอื และ

51 7 manual_disp.php หลกั เกณฑ์ในการซอ่ มบารงุ ของ ยุทโธปกรณ์ 8 ship.php แสดงคาแนะนา คมู่ อื และ 9 spareinfo.php หลกั เกณฑ์ในการซอ่ มบารุงของ 10 spareitem.php ยุทโธปกรณ์ เพ่ิม แกไ้ ข ลบ และแสดงขอ้ มลู 11 spare_disp.php เรอื เพิ่ม แกไ้ ข ลบ และแสดงขอ้ มูล 12 spare_report.php ช้นิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ กาหนดอตั รารายการชน้ิ ส่วน ซอ่ มท่จี าเปน็ ตอ้ งใช้ในแผนการ ซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ แสดงรายการช้ินส่วนซอ่ มและ พัสดุทต่ี อ้ งสะสมไว้ตามอตั ราใน เรอื แต่ละลา รายงานสถานภาพการสง่ กาลัง ช้นิ สว่ นซอ่ มและพัสดซุ อ่ ม ยทุ โธปกรณ์ (5) โฟลเดอร์งานซ่อม (work) เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้ สาหรับเก็บโปรแกรมขอ งระบบ การซ่อมบารุงเรือ โดยไฟล์ โปรแกรมพเี อสพีที่ใช้ในระบบสามารถแสดงได้ ดังตารางที่ 5.5 ตารางท่ี 5. 5 รายละเอยี ดไฟลพ์ เี อสพที จ่ี ดั เกบ็ ในโฟลเดอร์งานซอ่ ม ลาดบั ชอ่ื แฟม้ หนา้ ทกี่ ารทางาน 1 change_add.php บันทกึ การซอ่ มบารงุ การติดต้งั เพ่ิมหรอื เปล่ยี นแปลง ยทุ โธปกรณ์ 2 corrective_add.php บันทึกการซอ่ มบารงุ แกไ้ ขของ ยทุ โธปกรณ์ 3 Futurework.php กาหนดบตั รจา่ ยงานการซอ่ ม บารุงลว่ งหน้า 4 preventive_add.php บนั ทกึ การซอ่ มบารุงตามแผน ของยุทโธปกรณ์ 5 statistic.php แสดงสถิ ิตกิ ารใชส้ ้ินเปลอื งท่ีได้ จากงานการซอ่ มบารุงท่ีผ่านมา เพ่ือเปน็ ขอ้ มลู คานวณปรบั อตั รา พสั ดใุ หม่

บทที่ 6 การทดสอบระบบ การทดสอ บระบบมีเป้าหมายเพ่ือ ตรวจสอบและค้นหา ข้อผดิ พลาดในการทางานของระบบซ่ึงการทดสอบแต่ละประเภทจะ มวี ิธีการท่ีแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ของการทดสอบ โดยมี รายละเอยี ดดังต่อไปนี้ 6.1 ประเภทของการทดสอบระบบ การทดสอบระบบสมุดอัตราพสั ดปุ ระจาเรือ แบง่ การทดสอบ เปน็ 4 ประเภท ดังนี้ 6.1.1 การทดสอบหนว่ ยยอ่ ย (Unit Testing) การทดสอบหนว่ ยย่อย เป็นการทดสอบขณะทาการพฒั นา ระบบ โดยผู้พัฒนาระบบจะเป็นผู้ทาการทดสอบด้วยตนเอง ซ่ึงจะ พิจารณาท่ีความถูกต้องในการทางานของหน้าที่งานแต่ละหน้า ท่ีว่าสามารถทางานได้ถูกต้องหรือไม่ เช่น การบันทึกข้อมูล การ แก้ไขข้อมูล การลบขอ้ มลู และการแสดงข้อมลู เป็นต้น 6.1.2 การทดสอบแบบบรู ณาการ (Integration Testing) การทดสอบแบบบูรณาการ เป็นการทดสอบการทางาน ของหน้าที่หลักในระบบ ซึ่งระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ นี้ ประกอบด้วย 3 หนา้ ที่งานหลกั ( ดงั รายละเอยี ดในภาคผนวก ง ) โดยผูพ้ ฒั นาได้ทาการทดสอบโดยยึดตามขั้นตอนการทางานหลัก และข้ันตอนการทางานย่อยของคาอธิบายยูสเคสในภาคผนวก จ. เพ่ือตรวจสอบว่าผลลพั ธ์ท่ไี ด้ ตรงกับผลลัพธท์ ี่คาดหวงั หรือไม่ เชน่ คานวณวันการซ่อมบารุงในแต่ละรอบ จะต้องตรวจสอบวงรอบ การซอ่ มบารุงจากแผนการซ่อมว่าถกู ตอ้ งตรงกันหรอื ไม่ เป็นต้น 6.1.3 การทดสอบระบบ (System Testing) การทดสอบระบบ เปน็ การทดสอบทท่ี าหลังจากท่ีผู้พัฒนา ได้ทาการพัฒนาระบบเสร็จสิ้นครบทุกหน้าท่ีการทางาน ซึ่ง ผู้ พั ฒ น า ไ ด้ ท า ก า ร ท ด ส อ บ ร ะ บ บ โ ด ย ใ ช้ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ก า ร ทางานจริง โดยทาการเช่ือมต่อระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เขา้ กับเครอื ขา่ ยของกองทัพเรือ 6.1.4 การทดสอบเพอื่ ยอมรบั (Acceptance Testing) การทดสอบเพื่อการยอมรับ เปน็ การทดสอบที่กระทาโดย กลุ่มผู้ใช้งานระบบจริง ได้แก่ หน่วยเทคนิค หน่วยส่งกาลังบารุง หน่วยคลัง หน่วยซ่อมบารุง และหน่วยควบคุมระบบ โดยทาการ

53 ทดสอบการทางานของระบบกบั กระบวนการจดั ทาสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรือ การซอ่ มบารุงและการจดั การพัสดุในเรือขององคก์ รใน ปัจจุบัน เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องในการทางาน และเสนอสิ่งท่ี ควรแกไ้ ข กอ่ นท่ีผู้พัฒนาจะส่งมอบระบบ รวมท้ังทาการรวบรวม ข้อคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การทางานของระบบเพือ่ นามาใช้ ในการปรับปรุงต่อไป 6.2สภาพแวดลอ้ มการทดสอบระบบ สภาพแวดลอ้ มการทดสอบระบบ ไดม้ ีการจาลองตาม สภาพแวดลอ้ มของเครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ี่ใชง้ านจรงิ ซงึ่ มคี ุณสมบตั ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี 6.2.1 ฮารด์ แวรท์ ใ่ี ชใ้ นการทดสอบระบบ 1) หนว่ ยประมวลผล ดูโอคอร์ ความเรว็ 1.73 กิกะเฮิรท์ 2)หนว่ ยความจา ดีดอี าร-์ ทู 1 กิกะไบต์ 3)ฮารด์ ดสิ ก์ ไอดอี ี เอทเี อ-133 เมกกะเฮริ ์ท ความจุ 120 กิกะไบต์ 4)รองรบั การโอนถา่ ยขอ้ มูลเครอื ข่ายทคี่ วามเรว็ 10/100 เมกกะบิตตอ่ วินาที 5)จอภาพ 15 น้ิว 6) อุปกรณพ์ ื้นฐาน ไดแ้ ก่ ไดร์ฟซีดรี อม คียบอรด์ มาตรฐาน และเมาส์ 6.2.2 ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการทดสอบระบบ 1) ระบบปฏบิ ัติการวนิ โดวสเ์ อ็กซ์พี โปรเฟสชันแนล 2)อนิ เทอรเ์ น็ต เอกซโ์ พลเรอร์ รนุ่ 8.0 3)เวบ็ เซริ ฟ์ เวอรไ์ อไอเอส รุ่น 7 4)ระบบจดั การฐานขอ้ มูลไมโครซอฟท์ เอสคิวแอล เซริ ฟ์ เวอร์ รุ่น 2008 6.3กรณที ดสอบ ผู้พัฒนาได้ทาการทดสอบระบบที่พัฒนาขึ้น โดยทาการ ท ด ส อ บ ที ล ะ ห น่ ว ย ก า ร ท า ง า น ย่ อ ย ข อ ง แ ต่ ล ะ ห น้ า ที่ ง า น ก่ อ น ใ ห้ เรยี บรอ้ ย และจึงทาการทดสอบการทางานของระบบโดยรวมหลัง สิน้ สดุ การพฒั นาระบบ เพ่ือใหก้ ารทดสอบครอบคลมุ ทุกหน้าทกี่ าร ทางานของระบบ อ ย่างไรก็ตามเอกสาร ประกอบโครงงาน มหาบัณฑิตน้ี จะยกตัวอย่างเฉพาะกรณีทดสอบเพียงบางส่วนท่ีมี หนา้ ทก่ี ารทางานทสี่ าคญั เท่าน้นั โดยการสร้างกรณีทดสอบมีการ ทาตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

54 6.3.1 การเตรยี มขอ้ มลู สาหรบั กรณที ดสอบ ในการทดสอบระบบน้ัน จาเป็นจะต้องมีการเตรียมข้อมูล เพื่อใช้ในการตรวจสอบการแสดงผลของการทางานในหน้าที่งาน แตล่ ะหนา้ ที่ ซง่ึ ขอ้ มูลท่จี ัดเตรียมขึ้นน้นั ผพู้ ัฒนาได้นามาจากข้อมูล สมุดอตั ราพสั ดุประจาเรือของกองทพั เรือมาใช้ในการทดสอบ โดย ขอ้ มลู ท่ีนามาทาการทดสอบระบบมดี ังต่อไปน้ี 1) ขอ้ มลู ยทุ โธปกรณ์ 2)ขอ้ มลู ชน้ิ ส่วนซอ่ มและพัสดุ 3)ขอ้ มลู คมู่ อื ยุทโธปกรณท์ ่ีไดจ้ ากผผู้ ลิต 4)เอกสารระเบียบ คาสัง่ ตา่ งๆ ท่ีเกยี่ วกบั การซอ่ มบารุง 5)เอกสารระเบียบ คาสง่ั ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วกบั การพสั ดุ 6.3.2 การสรา้ งกรณที ดสอบ กรณีทดสอบท่ีกาหนดข้ึน พิจารณาจากความต้องการ ดา้ นหนา้ ท่ีของระบบสมดุ อตั ราพสั ดุประจาเรอื โดยกรณีทดสอบแต่ ละกรณปี ระกอบดว้ ยรายละเอียด ดังตอ่ ไปนี้ 1) วัตถปุ ระสงคข์ องกรณีทดสอบ 2)ขอ้ มลู กรณที ดสอบ 3)ผลลัพธ์ท่คี าดหวงั ของกรณที ดสอบ กรณที ดสอบแต่ละกรณีมขี น้ั ตอนในการสรา้ งกรณีทดสอบ ดังต่อไปนี้ 1) กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารทดสอบ 2)ออกแบบการทดสอบ 3)เตรยี มขอ้ มูลทีใ่ ช้ทดสอบจริง 4)ระบผุ ลลัพธท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 5)ทาการทดสอบ 6) สรปุ ผลการทดสอบ 6.3.3 ตวั อยา่ งกรณที ดสอบ กรณีทดสอบท่ีนามาแสดงในเอกสารประกอบโครงงาน มหาบณั ฑติ น้ี เป็นเพียงส่วนหนง่ึ ของกรณีทดสอบจรงิ เน่อื งจากใน การทดสอบที่มีวัตถุประสงค์เดียวกันอาจมีกรณีทดสอบหลายชุด โ ด ย ใ น แ ต่ ล ะ ก ร ณี ท ด ส อ บ ผู้ พั ฒ น า ส า ม า ร ถ ส รุ ป ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ออกเป็นตาราง ซงึ่ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1) ตารางกรณีทดสอบ อธิบายการทดสอบไดแ้ ก่ ชื่อกรณี ทดสอบ ฟังก์ชันท่ีทดสอบ วัตถุประสงค์ ผู้ใช้งาน ข้อมูลนาเข้า เงื่อนไขการทดสอบ ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์จากการ ทดสอบ และสรุปผลการทดสอบ โดยแสดงดงั ตารางท่ี 6.1 2)ตารางขอ้ มลู การทดสอบ แสดงขอ้ มูลทนี่ าเข้าระบบจริง 3)รูปแสดงผลการทดสอบ

55 โดยผู้พัฒนาได้ทาการทดสอบและสร้างตารางการทดสอบ ดงั แสดงในภาคผนวก ช ตารางที่ 6.1 ตวั อยา่ งตารางกรณที ดสอบ ชือ่ กรณีทดสอบ ฟงั ก์ชันทที่ ดสอบ วตั ถปุ ระสงคก์ าร ทดสอบ ผ้ใู ช้งาน ขอ้ มลู นาเขา้ เง่ือนไขการทดสอบ ผลลพั ธ์ทคี่ าดหวงั (กรณปี กติ) ผลลพั ธ์ท่คี าดหวัง (กรณีผดิ พลาด) ขอ้ มูลทดสอบ ผลการทดสอบ (กรณปี กติ) ผลการทดสอบ (กรณผี ิดพลาด) สรุปผลการทดสอบ ผา่ น ไมผ่ า่ นหมาย : เหตุ_________________ 6.4สรปุ ผลการทดสอบระบบ การทดสอบระบบทแ่ี สดงในโครงงานมหาบัณฑิตนี้ เป็นกรณี ที่ใช้ทดสอบหน้าที่ของระบบระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เพื่อ ตรวจสอบการทางานและค้นหาข้อผิดพลาดของระบบ ซ่ึงจากผล การทดสอบระบบในภาคผนวก ช สามารถสรปุ ผลการทดสอบ ดัง แสดงในตารางท่ี 6.2 โดยมีกรณีทดสอบท้ังหมด 10 กรณีทดสอบ แบ่งเป็นกรณีทดสอบผ่าน 10 กรณี และกรณีทดสอบไม่ผ่าน 0 กรณี ตารางที่ 6.2 สรปุ ผลการทดสอบระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื รหสั ชอ่ื กรณที ดสอบ ฟงั กช์ นั ผลการ หมาย กรณี ท่ี ทดสอบ เหตุ ทดสอ ทดสอบ ผา่ ไม่ บ น ผา่ น FR0101  T0101 สรา้ งขอ้ มลู เรอื FR010  T0102 กาหนดอตั รารายการ

56 ชิ้นส่วนยทุ โธปกรณ์ 4  T0103 กาหนดแผนการซอ่ ม FR010  บารงุ ยทุ โธปกรณ์ 5 T0104 กาหนดอตั รารายการ FR010 ช้ินสว่ นซอ่ มและพัสดุ 6 ตารางท่ี 6.2 สรปุ ผลการทดสอบระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื (ตอ่ ) รหสั ชอื่ กรณที ดสอบ ฟงั กช์ นั ผลการ หมาย ทดสอบ เหตุ กรณี ที่  ทดสอ ทดสอบ   บ   T0105 แสดงรายการอตั รา FR010  ชน้ิ สว่ นยทุ โธปกรณ์ 8 T0201 แจ้งเตือนการซอ่ ม FR02 บารงุ ตามแผนลว่ งหนา้ 01 T020 บนั ทึกการซอ่ มบารงุ FR02 2 ตามแผน 02 T020 แสดงสถิ ติ กิ ารใช้ FR02 3 สนิ้ เปลอื ง 06 T0301 แสดงรายการพัสดุท่ี FR03 ต้องจดั หา 01 T030 บนั ทกึ การรบั ชิ้นสว่ น FR03 2 ซอ่ มและพสั ดุ 02

บทที่ 7 บทสรปุ โครงงานและขอ้ เสนอแนะ จากการออกแบบและพฒั นาระบบสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื สามารถสรปุ ผลการดาเนนิ งานและขอ้ เสนอแนะต่างๆ ไดด้ ังน้ี 7.1 สรปุ ผลโครงงานมหาบณั ฑติ โครงงานมหาบัณฑิตน้ีได้ดาเนินการวิเคราะห์ ออกแบบ และ พัฒนาระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ ซึ่งใช้กองทัพเรือเป็น กรณีศึกษา เพ่ือช่วยให้การจัดเตรียมช้ินส่วนซ่อมและพัสดุอ่ืนท่ี จา เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ส นั บ ส นุ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง เรื อ แ ล ะ ยุทโธปกรณ์ในเรือ ให้มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบทั้งในระดับ หน่วยผู้ใช้หรือเรือ ระดับหน่วยกากับดูแลและควบคุม และระดับ หน่วยเทคนิค รวมทั้งให้มีแนวทางในการดาเนินการท้ังปวงที่ เก่ียวขอ้ งกบั การปรบั ปรงุ ความพร้อมของพสั ดุในเรอื ใหม้ ีลักษณะ การดาเนนิ การมีความรวดเร็ว ถูกต้อง ทันต่อสถานการณ์ และมี ความเป็นอัตโนมัติมากขึ้น ซ่ึงจากระบบเดิมท่ีมีการจัดเก็บข้อมูล สมุดอัตราพัสดุประจาเรืออยู่ในรูปแบบของเอกสาร และแจกจ่าย ใหก้ ับหนว่ ยทีเ่ กีย่ วขอ้ งทาให้ข้อมลู กระจดั กระจายทาให้ยากต่อการ บริหารจัดการข้อมลู ในการพัฒนาระบบผู้พัฒนาโครงงานได้ใช้กระบวนการทาง วิศวกรรมซอฟท์แวร์ เป็นแนวทางในการดาเนินงาน โดยเร่ิมต้น จากการศกึ ษาข้อมลู เบอ้ื งตน้ การวางแผน การเกบ็ รวบรวมความ ต้องการของผู้ใช้ท่ีมีข้ันตอนเป็นระบบ ทาให้ได้ข้อกาหนดความ ต้องการที่ชดั เจน จากน้ันจึงนาความต้องการท่ีได้มาวิเคราะห์และ ออกแบบโดยใช้เทคโนโลยีเชิงวัตถุ แสดงเป็นแผนภาพยูเอ็มแอล ตอ่ มาจึงพฒั นาระบบตามที่ได้ออกแบบไว้ และทดสอบระบบอย่างมี แบบแผนข้ันตอน ทาให้ที่สุดแล้วได้การพัฒนาระบบเสร็จสิ้นภายใน เวลาที่กาหนด และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งระบบสมุด อัตราพสั ดุประจาเรอื ได้แบ่งออกเป็น 3 ระบบยอ่ ย ดังนี้ 1) ระบบสมดุ อัตราพสั ดุประจาเรอื 2)ระบบการซอ่ มบารงุ เรอื 3)ระบบพสั ดุคงคลงั โดยสามารถสรปุ ผลิตภัณฑจ์ ากงานท่ีไดจ้ ากการออกแบบและ พฒั นาระบบสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื ได้ดงั น้ี 1) ตารางขอ้ มูลทท่ี าการสรา้ งขนึ้ ใหม่ 27 ตาราง 2)ไฟล์พีเอสพที ีท่ าการสรา้ งใหม่ 67 ไฟล์ ไฟล์ 3)ไฟล์จาวาสครปิ ต์ 7

58 4)ไฟล์ซีเอสเอส 5 ไฟล์ 5)ไฟลอ์ ินคลดู 10 ไฟล์ เมอื่ นาระบบไปใชง้ านจรงิ เครอ่ื งแมข่ ่ายทใี่ หบ้ รกิ ารมฮี ารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ที่ใช้งาน ดงั นี้ 1) ฮาร์ดแวร์ที่ใช้ในเครอ่ื งแมข่ ่ายทีใ่ ห้บริการ (1) หน่วยประมวลผล อนิ เทล ซอี อน ความเรว็ 2.8 กิ กะเฮริ ท์ (2) หนว่ ยความจา ดีดอี าร-์ เอสดแี รม 2.5 กิกะไบต์ (3) ฮาร์ดดิสก์ ไอดอี ี เอทีเอ-133 เมกกะเฮริ ์ท ความจุ 200 กิกะไบต์ (4) รองรบั การโอนถา่ ยขอ้ มลู เครอื ขา่ ยทค่ี วามเรว็ 10/100 เมกกะบติ ตอ่ วนิ าที (5) จอภาพ 17 นิว้ (6)อปุ กรณพ์ น้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ไดรฟ์ ซดี รี อม คียบอร์ด มาตรฐาน และเมาส์ 2)ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ในเครอื่ งแมข่ ่ายที่ให้บริการ (1) ระบบปฏบิ ตั ิการไมโครซอฟต์วนิ โดวส์ 2008 เซริ ฟ์ เวอร์ (2) เว็บเซริ ฟ์ เวอร์ ไอไอเอส รนุ่ 7 (3) ฐานขอ้ มลู ไมโครซอฟท์เอสคิวแอลเซริ ์ฟเวอร์ รนุ่ 2008 (4) อนิ เทอร์เนต็ เอกซโ์ พลเรอร์ รนุ่ 8.0 7.2 ปญั หาและขอ้ จากดั ในการทาโครงงาน การจดั ทาโครงงานมหาบัณฑิตนี้ พบประเดน็ ปัญหาและ ขอ้ จากัดในการทาโครงงานดงั ตอ่ ไปนี้ 1) เน่ืองจากหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับระบบนี้มีจานวนมาก และอยู่กระจัดกระจายในหลายจงั หวดั จงึ ไม่สามารถรวบรวมข้อมลู และความต้องการได้ครบทกุ หนว่ ยงาน ผู้พัฒนาจึงรวบรวมข้อมูล และความต้องการเฉพาะหนว่ ยตัวอย่างบางหน่วยเทา่ นัน้ เน่อื งจาก แตล่ ะหนว่ ยมลี ักษณะกระบวนการทางานทีใ่ กล้เคยี งกัน 2)เน่อื งจากผ้พู ัฒนาได้นาเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ใช้ กับระบบการบริหารพัสดุ ซึ่งผู้พัฒนาไม่มีประสบการณ์ในการใช้ เทคโนโลยดี ังกล่าวมาก่อน จงึ ทาใหก้ ารพฒั นาระบบล่าช้ากว่าแผน ทีก่ าหนดไว้และบางฟงั ก์ชนั อาจใชง้ านไดไ้ ม่เต็มกาลงั ความสามารถ ของเทคโนโลยี 3) เ น่ื อ ง จ า ก เ ป็ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ใ ห้ กั บ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง ทหาร จงึ มีขอ้ จากัดในเร่ืองการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มลู เปน็

59 สาคัญ ขอ้ มลู ทีร่ วบรวมจงึ เข้าถึงได้ยาก ข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ึงมีน้อยเป็นผล ทาใหร้ ะบบทาไดไ้ มต่ รงกับความตอ้ งการอยา่ งแทจ้ รงิ 7.3 ขอ้ เสนอแนะ จากการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรือ ผู้พัฒนาพบว่ายังมีส่วนที่ต้องปรับปรุงและพัฒนา เพิม่ เตมิ ดงั น้ี 1) ระบบท่ีพัฒนาจากัดเฉพาะยุทโธปกรณ์ท่ีอยู่ในเรือ เท่าน้ัน ซ่ึงในกองทัพเรือมียุทโธปกรณ์ต่างๆ มากมาย ท้ังทางบก ทางอากาศ ท่ีมีลักษณะการปฏิบัติการเหมือนกัน ซ่ึงสามารถนา ระบบท่พี ัฒนานไ้ี ปประยุกต์ใช้งานได้ท่วั กองทัพเรอื นอกจากน้ีเหล่า ทัพอื่นไม่ว่าจะเป็น กองทัพบก กองทัพอากาศ ก็สามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ชไ้ ดด้ ว้ ยเช่นกัน 2)เนอื่ งจากกองทัพเรือมีคลังเก็บพัสดุจานวนมาก ท้งั คลงั ใหญ่ คลังสาขา และคลังยอ่ ย ซงึ่ ไม่มกี ารนาเทคโนโลยี RFID มาใช้ ในการจัดการพัสดุ ระบบอัตราพัสดุประจาเรืออาจเป็นระบบนา ร่องในการนาเทคโนโลยี RFID มาใช้และควรมีการพัฒนาต่อยอด ต่อไป 3)ควรนาระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือไปเชื่อมต่อกับ ระบบการบริหารพัสดุของคลังต่างๆ เพื่อใช้ข้อมูลร่วมกันจะทาให้ การบริหารงานมีวิสัยทัศน์กว้างขึ้น ทาให้ได้ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ มากยิ่งข้ึน ช่วยในการตัดสินใจของผู้บังคับบัญชาระดับสูงในการ บริหารจดั การพสั ดไุ ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

รายการอา้ งองิ [1] Tan, H. The Application of RFID Technology in the Warehouse Management Information System. In Electronic Commerce and Security, Pages 1063-1067. 3-5 Aug. 2008 International Symposium on, 2008. [2] ภราดร รชี ยั พิชิตกลุ และ สมจติ ร อาจอนิ ทร์. ระบบจดั การ คลงั สินค้าอจั ฉริยะดว้ ยเทคโนโลยี RFID กรณศี ึกษา : บรษิ ทั พิ มายฟุตแวร์ จากดั . ในการประชมุ สัมมนาเชิงวชิ าการ ประจาปีดา้ นการจดั การโลจสิ ตกิ ส์และโซอ่ ปุ ทานครงั้ ท่ี 9, 19- 21 พฤศจกิ ายน 2552 ณ โรงแรมเดอะไทด์ รีสอรท์ บางแสน, 2552. [3] น.อ.หญงิ ภาวนา เจนถนอมมา้ . สมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื และการปรบั ปรงุ ความพรอ้ มของพัสดใุ นเรอื . กรุงเทพมหานคร : กรมพลาธิการทหารเรอื , 2552 [4] น.อ.หญิง ภาวนา เจนถนอมม้า. ระบบการส่งกาลงั บารุงและ การสนบั สนุนทางการส่งกาลงั บารงุ ชน้ิ ส่วนซอ่ ม. กรุงเทพมหานคร : กรมพลาธกิ ารทหารเรอื , 2554. [5] กองทัพเรอื , ระเบยี บกองทพั เรอื วา่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ.2553, 29 ธันวาคม 2553.

ภาคผนวก

62 ภาคผนวก ก อภธิ านศพั ท์ สมดุ อตั ราพสั ดุ หมายถึง ประจาเรอื เอกสารแหล่งรวมข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการส่ง กาลังสนับสนุนการปฏิบัติการและการซ่อมบารุง การบรหิ ารงาน โดยแสดงรายการคุณลกั ษณะและจานวน (อตั รา) พสั ดุ ขอ งอุ ปกร ณ์หรือ ยุทโ ธปกร ณ์ที่ติ ดต้ังใ นเรื อ รวมทั้งรายการคุณลักษณะและปริมาณ (อัตรา) อตั ราพสั ดใุ นเรอื ข อ ง ช้ิ น ส่ ว น ซ่ อ ม ห รื อ พั ส ดุ ที่ จ า เป็ น ต้ อ ง มี ไ ว้ สนับสนุนการปฏิบัติการและการซ่อมบารุงตาม อตั รารายการ แผนระดบั ผปู้ ฏิบัตใิ นเรอื ให้มรี ะดับสะสม ๔๕ วันส่ง ชน้ิ สว่ น กาลงั หรอื ตามทก่ี องทัพเรอื กาหนด ยทุ โธปกรณ์ หมายถงึ การปฏิบัติทั้งปวงท่ีเก่ียวกับ การกาหนดความ ระบบการซอ่ ม ต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย บารงุ ตามแผน และการจาหน่ายพัสดุ ทั้งนี้หน่วยเทคนิคมีความ รบั ผดิ ชอบตอ่ พสั ดุ ตามประเภทและ/หรือรายการ ทกี่ าหนดในระเบยี บกองทัพเรอื วา่ ดว้ ยการพสั ดุ หมายถงึ บญั ชรี ายการและปริมาณพสั ดุที่กาหนดให้สะสมไว้ ในเรือ และกาหนดให้หน่วยส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อม และพสั ดขุ องเรือรักษาระดบั การสะสมให้เต็มอัตรา อ ยู่ เ ส ม อ เ พ่ื อ ใ ห้ พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง ยุทโธปกรณ์และใช้ยทุ โธปกรณ์ในความรับผิดชอบ โดยการเบิกหรอื จดั หาทดแทนเมื่อไดใ้ ช้ไป หมายถึง เอกสารระบุรายการช้ินส่วนและจานวน ท่ีเป็น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง แ ต่ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ แ ต่ ล ะ ยุทโธปกรณ์ซ่ึงติดตั้งในเรอื โดยเอกสารนี้จะแสดง รายละเอียดขอ้ มลู คณุ ลักษณะของอุปกรณห์ รือยุท โธปกรณ์ รวมทั้งข้อมูลทางเทคนิคของรายการ ชนิ้ ส่วนที่ประกอบอุปกรณน์ ั้น หมายถึง แนวคิดในการปฏบิ ตั งิ านซอ่ มบารุงในลักษณะการ ซ่อมบารงุ ปอ้ งกัน ซ่ึงปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งมแี ผนงาน มี กาหนดระยะเวลาท่แี น่นอน และมีการควบคมุ อย่าง

63 หนว่ ยเทคนคิ ใน ใกล้ชิด เพื่อให้ยุทโธปกรณ์คงสภาพใช้งานได้อยู่ การซอ่ มบารงุ เสมอ สามารถตรวจสอบหรือแสดงส่ิงที่บกพร่อง เพื่อให้ดาเนินการแก้ไขก่อนท่ีการชารุดจะลุกลาม Product Office มากขน้ึ จนใช้การไม่ได้ การซ่อมบารุงตามแผนจะ ปฏิบัติการโดยหนว่ ยใช้ยุทโธปกรณ์ แต่หากมีส่วน หนว่ ยสง่ กาลงั ทีต่ อ้ งใช้เทคนิคสูงหรือต้องใช้เคร่ืองมือพิเศษ ก็จะ ชน้ิ สว่ นซอ่ มและ ปฏิบัติการโดยหน่วยซ่อมบารุงระดับกลางหรือ พสั ดุ ระดับโรงงาน จึงแบ่งระบบการซ่อมบารุงตาม แผน ออกเป็น ๒ ระดับ คือ ระบบการซ่อมบารุง ตามแผนระดับผู้ปฏิบัติ และระบบการซ่อมบารุง ตามแผนระดับผู้สนับสนนุ หมายถงึ ห น่ ว ย ข้ึ น ต ร ง ก อ ง ทั พ เ รื อ ซ่ึ ง ค ว บ คุ ม ท า ง วิท ยา ก า ร ด้า น กา ร ซ่ อ มบ า รุง ยุท โ ธป กร ณ์ ต่า ง ๆ ของกองทพั เรอื เป็นระบบงานทมี ีหนา้ ท่ีบารุงรกั ษา ผลิตภัณฑ์ หรือ ปรับปรุงแก้ไขหน้าท่ีการทางาน เพิ่มเตมิ ของผลิตภัณฑ์ หมายถึง หน่วยซ่อมบารุง หมายถึง หน่วยปฏิบัติงานซ่อม บารุงยุทโธปกรณ์ระดับต่าง ๆ ได้แก่ หน่วยซ่อม บารุงระดับผู้ใช้ หน่วยซ่อมบารุงระดับกลาง และ หน่วยซ่อ มบารุงระดับโรงงาน (ระดับหน่วย เทคนิค) หมายถงึ หน่วยรับผิดชอบในการบริหารงานพัสดุประเภท ช้นิ สว่ นซอ่ มและพัสดุอน่ื ๆ ท่จี าเป็นตอ้ งใชส้ นับสนุน การซ่อมบารุงเรือระดับต่าง ๆ ได้แก่ คลังย่อย (คลังของเรือ) คลังของกองเรือ คลังสาขา คลัง ของหน่วยซ่อมบารุงระดับกลาง คลังของหน่วย ซ่อมบารุงระดับโรงงาน และคลังใหญ่ (คลังของ หน่วยเทคนิค)

64 ภาคผนวก ข คายอ่ และรสั พจน์ (Abbreviations and Acronyms) APL Allowance Parts List PMS Planned Maintenance System PM Preventive Maintenance

65 ภาคผนวก ค โครงสรา้ งองคก์ รของกองทพั เรอื รปู ท่ี ค. 1 โครงสรา้ งองคก์ รของกองทพั เรอื หน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบ (Role and Responsibility) 1) หนว่ ยอนุมตั ิ มหี น้าทใี่ นการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของสมดุ อัตรา พสั ดปุ ระจาเรอื และอนมุ ัติเพอ่ื เสนอกองทพั เรือตอ่ ไป 2) หน่วยส่งกาลงั มีหนา้ ท่บี ริหารจดั การพสั ดุคงคลัง เพื่อใหก้ าร สนับสนุนการส่งกาลังบารงุ พัสดชุ นิ้ สว่ นซอ่ มแกห่ นว่ ยเรอื 3) หน่วยเรอื (หนว่ ยใช้ยทุ โธปกรณ)์ ปฏิบตั กิ ารซอ่ มตามระบบ รายงาน อปุ สรรค ผลการปฏิบตั แิ ละจดั การฝึกอบรมเจ้าหน้าทตี่ าม คาแนะนาของหนว่ ยเทคนิค 4) หน่วยซอ่ มบารุงระดับตา่ ง ๆ ปฏิบตั กิ ารซอ่ มในส่วนท่ไี ดร้ บั มอบ รายงานอปุ สรรคขอ้ ขดั ขอ้ งและผลการปฏบิ ตั ิ 5) หนว่ ยเทคนคิ มีหนา้ ท่ีดาเนนิ การจดั หา พัฒนา ตดิ ต้งั ออก คาแนะนา ปฏบิ ัติการซอ่ มบารงุ ในสว่ นทร่ี บั ผดิ ชอบ รวบรวมขอ้ มลู อปุ สรรค และรายงานผลการปฏบิ ตั ขิ องหน่วยใช้ยุทโธปกรณแ์ ละหนว่ ยซอ่ ม บารงุ ระดับตา่ ง ๆ รวมท้ังจดั การฝึกอบรมเจ้าหนา้ ท่ี

66 ภาคผนวก ง ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบ ความต้องการด้านหน้าทีข่ องระบบสมุดอตั ราพัสดปุ ระจาเรอื สามารถแสดงในรูปแบบของตารางสรุปความต้องการเชิงหน้าที่ เพ่ืออธิบายใหผ้ ู้ทีเ่ กย่ี วข้องเข้าใจถึงรายละเอียดการทางานของแต่ ละฟังก์ชัน ข้อมูลนาเข้า ข้อมูลนาออก โดยระบบสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรอื สามารถแบง่ เปน็ ระบบงานยอ่ ยได้ 3 ระบบ ดังต่อไปนี้ 1) ระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ สามารถแสดงด้วย FR0101 – FR0109 โดยรายละเอยี ดแสดงในตาราง ง.1 – ง.9 2)ระบบการซ่อมบารุงเรือ สามารถแสดงด้วย FR0201 – FR00207 โดยรายละเอยี ดแสดงในตาราง ง.10 – ง.16 3)ระบบการบริหารพัสดใุ นเรอื สามารถแสดงด้วย FR0301 – FR0306 โดยรายละเอียดแสดงในตาราง ง.17 – ง.22 โดยตารางความต้องการด้านหน้าที่ ได้กาหนดรูปแบบ สญั ลกั ษณด์ งั นี้ 1) “FR” แทนความตอ้ งการดา้ นหน้าท่ี 2)หมายเลขแทนรหสั ของแต่ละความต้องการด้านหน้าที่ เพอื่ นาไปใช้อ้างองิ ในการออกแบบ พัฒนา และทดสอบระบบตอ่ ไป ตารางที่ ง. 1 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0101 รหสั ความ FR0101 ชอื่ สร้างขอ้ มลู เรอื ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : คาอธบิ าย หน่วยเทคนคิ เพิ่มขอ้ มลู เรอื ในกองทพั เรอื ท้งั หมด หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ - รหัสเรอื - หมายเลขเรอื ระบบ : - ช่ือเรอื - ประเภทเรอื - สถานะเรอื ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยควบคมุ ระบบ :

67 ตารางที่ ง. 2 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0102 รหสั ความ FR0102 ชอ่ื เพม่ิ ขอ้ มูลยุทโธปกรณ์ ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : คาอธบิ าย ผู้ควบคมุ ระบบทาการเพมิ่ ขอ้ มูลยุทโธปกรณ์ หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ - รหสั ยทุ โธปกรณ์ - ชือ่ ยทุ โธปกรณ์ ระบบ : - ระบบ - แบบ - หนว่ ยนบั - ผผู้ ลิต ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทึกขอ้ มลู ลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - ผู้ควบคุมระบบ : ตารางท่ี ง. 3 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0103 รหสั ความ FR0103 ชอื่ เพ่มิ ข้อมลู ชิ้นสว่ นอะไหลแ่ ละ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : พัสดุ คาอธบิ าย ผูค้ วบคุมระบบเพ่ิมขอ้ มลู ชนิ้ ส่วนอะไหลแ่ ละพัสดุ หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ - หมายเลขช้นิ สว่ นอะไหลแ่ ละพัสดุ - ช่ือชิน้ สว่ นอะไหลแ่ ละพสั ดุ ระบบ : - เลขอา้ งอิง - หนว่ ยนับ ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทกึ ขอ้ มลู ลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - ผู้ควบคุมระบบ : ตารางท่ี ง. 4 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0104 รหสั ความ FR0104 ชอ่ื กาหนดอตั รารายการ ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : ช้ินสว่ นยุทโธปกรณ์ คาอธบิ าย กาหนดอตั รารายการชน้ิ สว่ นยุทโธปกรณ์ใหเ้ รอื หนา้ ท่ี : แตล่ า ขอ้ มลู นาเขา้ - รหัสเรอื - รหัสยทุ โธปกรณ์ ระบบ : - จานวนอตั รา - สถานท่ีตดิ ตตั้ง ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทึกขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู

68 : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยเทคนคิ : ตารางท่ี ง. 5 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0105 รหสั ความ FR0105 ชอื่ กาหนดแผนการซอ่ มบารงุ ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : ยุทโธปกรณ์ คาอธบิ าย กาหนดแผนการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ในแตล่ ะ หนา้ ท่ี : วงรอบ ขอ้ มลู นาเขา้ - รหัสยทุ โธปกรณ์ - รหัสแผน ระบบ : - ชือ่ แผน - วงรอบการซอ่ มบารุง ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยเทคนคิ : ตารางที่ ง. 6 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0106 รหสั ความ FR0106 ชอ่ื กาหนดอตั รารายการ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ชนิ้ ส่วนซอ่ มและพัสดุ คาอธบิ าย กาหนดอตั รารายการชน้ิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุให้ หนา้ ท่ี : ยทุ โธปกรณ์ ขอ้ มลู นาเขา้ - รหัสยทุ โธปกรณ์ - รหสั ชนิ้ ส่วนซอ่ มและพัสดุ ระบบ : - จานวนอตั รา ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บนั ทึกขอ้ มูลลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยเทคนคิ : ตารางท่ี ง. 7 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0107 รหสั ความ FR0107 ชอ่ื สรา้ งคูม่ อื การซอ่ มบารงุ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : คาอธบิ าย กาหนดวิธกี ารซอ่ มบารุงยทุ โธปกรณ์ หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ - ลาดับท่ี - วิธีการ ระบบ : ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บนั ทึกขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู

69 : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยเทคนคิ : ตารางท่ี ง. 8 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0108 รหสั ความ FR0108 ชอื่ แสดงรายการอตั รา ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ช้นิ สว่ นยุทโธปกรณ์ คาอธบิ าย แสดงรายการอัตราชนิ้ สว่ นยุทโธปกรณ์ในเรอื แต่ หนา้ ท่ี : ละลา ขอ้ มลู นาเขา้ <<เลอื ก>>เรอื ท่ีตอ้ งการแสดง ระบบ : ตารางท่ี ง. 9 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0108 (ตอ่ ) ขอ้ มลู นาออก รายการอตั ราชนิ้ สว่ นยทุ โธปกรณ์ : - ชอื่ ยทุ โธปกรณ์ - จานวน - สถานทตี่ ดิ ตง้ั ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยควบคมุ ระบบ : - หน่วยเทคนคิ - หน่วยสง่ กาลัง - หน่วยคลัง ตารางที่ ง. 10 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0109 รหสั ความ FR0109 ชอื่ แสดงรายการชนิ้ ส่วนซอ่ ม ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : และพสั ดุ คาอธบิ าย แสดงรายการช้ินส่วนซอ่ มและพัสดทุ ตี่ อ้ งใชใ้ นการ หนา้ ท่ี : ซอ่ มยทุ โธปกรณ์ ขอ้ มลู นาเขา้ <<เลอื ก>>ยุทโธปกรณท์ ่ีต้องการแสดง ระบบ : ขอ้ มลู นาออก รายการชน้ิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ : - แผนการซอ่ มบารงุ - ชอ่ื ชนิ้ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ - จานวน ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยควบคุมระบบ : - หนว่ ยเทคนคิ - หนว่ ยส่งกาลัง - หน่วยคลงั ตารางท่ี ง. 11 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0201 รหสั ความ FR0201 ชอ่ื แจง้ เตอื นการซอ่ มบารงุ

70 ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ตามแผนล่วงหนา้ คาอธบิ าย แสดงรายการที่จะถึงกาหนดการซอ่ มบารงุ ตาม หนา้ ที่ : แผน ขอ้ มลู นาเขา้ - รหสั ขา้ ราชการ ระบบ : ขอ้ มลู นาออก รายการกาหนดการ : - เรอื - ยุทโธปกรณ์ - วันซอ่ มบารุง ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยซอ่ มบารุง : ตารางท่ี ง. 12 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0202 รหสั ความ FR0202 ชอื่ บันทึกการซอ่ มบารงุ ตาม ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : แผน คาอธบิ าย บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงานการซอ่ มบารุงตามแผน หนา้ ท่ี : ขอ้ มลู นาเขา้ - แผนการซอ่ มบารงุ - รหัสงาน ระบบ : - วันที่เริ่ม - วันทแี่ ลว้ เสร็จ - ความกา้ วหน้า (%) - ปัญหาขอ้ ขัดขอ้ ง - ขอ้ แนะนา - ประเภทการซอ่ ม - ผซู้ อ่ มทา ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยซอ่ มบารงุ : ตารางท่ี ง. 13 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0203 รหสั ความ FR0203 ชอ่ื บันทึกการซอ่ มบารงุ แก้ไข ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : คาอธบิ าย บนั ทึกผลการปฏบิ ัตงิ านการซอ่ มบารงุ แกไ้ ข หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ - เรือ - ยทุ โธปกรณ์ ระบบ : - รหัสงาน - วนั ทเ่ี รม่ิ

71 - วันทแ่ี ล้วเสร็จ - ความก้าวหน้า (%) - ปญั หาขอ้ ขัดขอ้ ง - ขอ้ แนะนา - ประเภทการซอ่ ม - ผซู้ อ่ มทา ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยซอ่ มบารงุ : ตารางที่ ง. 14 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0204 รหสั ความ FR0204 ชอ่ื บนั ทึกการซอ่ มบารุงการ ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : ตดิ ต้งั เพิม่ หรอื เปลีย่ นแปลง คาอธบิ าย บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัตงิ านการซอ่ มบารุงท่กี าร หนา้ ท่ี : ตดิ ต้งั เพ่ิมหรอื เปล่ียนแปลง ขอ้ มลู นาเขา้ - เรือ - ยุทโธปกรณ์ ระบบ : - รหัสงาน - วนั ทเ่ี ริ่ม - วนั ทแ่ี ล้วเสร็จ - ความก้าวหน้า (%) - ปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ ง - ขอ้ แนะนา - ประเภทการซอ่ ม - ผซู้ อ่ มทา ขอ้ มลู นาออก ไม่มี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยซอ่ มบารุง : ตารางที่ ง. 15 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0205 รหสั ความ FR0205 ชอื่ บันทึกรายการชน้ิ ส่วนซอ่ ม ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : ท่ใี ช้จริงในการซอ่ มบารงุ คาอธบิ าย บันทกึ รายการชน้ิ ส่วนซอ่ มที่ใชจ้ รงิ ในการซอ่ ม หนา้ ท่ี : บารุงยทุ โธปกรณ์ ขอ้ มลู นาเขา้ - แผนการซอ่ มบารงุ - จานวน ระบบ :

72 ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บนั ทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มูล : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยซอ่ มบารงุ : ตารางที่ ง. 16 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0206 รหสั ความ FR0206 ชอ่ื แสดงสิถิตกิ ารใช้ส้ินเปลอื ง ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : คาอธบิ าย แสดงสิถิตกิ ารใช้สน้ิ เปลอื งทไี่ ดจ้ ากงานการซอ่ ม หนา้ ที่ : บารงุ ทผี่ ่านมา ขอ้ มลู นาเขา้ << เลือก >> เรือ ระบบ : ตารางที่ ง. 17 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0206 (ตอ่ ) ขอ้ มลู นาออก แสดงสรปุ รายการและจานวนชน้ิ สว่ นซอ่ มและพัสดุ : - ยทุ โธปกรณ์ - ชิน้ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ - จานวน ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยควบคมุ ระบบ : - หนว่ ยเทคนคิ ตารางที่ ง. 18 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0207 รหสั ความ FR0207 ชอ่ื แสดงสรปุ ผลการ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ปฏบิ ตั งิ าน คาอธบิ าย แสดงความกา้ วหน้าของการปฏบิ ัตงิ านการซอ่ ม หนา้ ท่ี : บารงุ เรือ ขอ้ มลู นาเขา้ ไม่มี ระบบ : ขอ้ มลู นาออก - เรอื : - ยุทโธปกรณ์ - ความกา้ วหนา้ - วันกาหนดงาน - วนั เรม่ิ - วันเสร็จ ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยควบคุมระบบ : - หน่วยเทคนคิ ตารางท่ี ง. 19 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0301

73 รหสั ความ FR0301 ชอื่ แสดงรายการพสั ดทุ ตี่ อ้ ง ตอ้ งการ : คาอธบิ าย หนา้ ที่ : จดั หา หนา้ ที่ : ขอ้ มลู นาเขา้ แสดงรายการพัสดทุ ต่ี อ้ งจัดหาให้เปน็ ไปตามเกณฑ์ ระบบ : ขอ้ มลู นาออก ทีก่ าหนดไว้ตามแผนซอ่ มบารุง : - เรือ รายการชิ้นสว่ นซอ่ มและพัสดุ - ชอ่ื ชิ้นสว่ นซอ่ มและพัสดุ - จานวน ตารางท่ี ง. 20 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0301 (ตอ่ ) ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หน่วยควบคมุ ระบบ : - หนว่ ยเทคนคิ - หนว่ ยสง่ กาลงั - หนว่ ยคลงั ตารางที่ ง. 21 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0302 รหสั ความ FR0302 ชอ่ื บนั ทกึ การรบั ชน้ิ สว่ นซอ่ ม ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : และพัสดุ คาอธบิ าย บนั ทกึ การรบั ชนิ้ สว่ นซอ่ มและพัสดุทร่ี บั จากหนว่ ย หนา้ ท่ี : ส่งกาลงั ตามอตั ราทก่ี าหนด ขอ้ มลู นาเขา้ - ใบรับพัสดุ - วนั ทร่ี ับ ระบบ : - รายการช้นิ สว่ นซอ่ มและพัสดุ - จานวนรับ ขอ้ มลู นาออก เพิ่มขอ้ มลู ในตารางพสั ดคุ งคลงั : - รหัสอาร์เอฟไอดี - ตาแหนง่ ทเ่ี ก็บ - วันทร่ี บั - วันทผ่ี ลติ - วนั ทีห่ มดอายุ ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยคลงั : ตารางท่ี ง. 22 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0303 รหสั ความ FR0303 ชอื่ บนั ทึกการเบิกชน้ิ สว่ นซอ่ ม

74 ตอ้ งการ : หนา้ ท่ี : และพัสดุ คาอธบิ าย หนา้ ที่ : บนั ทกึ การเบกิ ชน้ิ สว่ นซอ่ มและพัสดุไปใชใ้ นการ ขอ้ มลู นาเขา้ ระบบ : ซอ่ มบารงุ - เลขทใี่ บเบิก - วนั ทเี่ บกิ - รายการชน้ิ สว่ นซอ่ มและพสั ดุ - จานวนเบิก - รหสั งานทใี่ ช้ ตารางท่ี ง. 23 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0303 (ตอ่ ) ขอ้ มลู นาออก ลบขอ้ มูลทต่ี ารางพัสดคุ งคลัง : - รหสั อาร์เอฟไอดี ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยคลงั : ตารางที่ ง. 24 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0304 รหสั ความ FR0304 ชอื่ ตรวจสอบและปรบั ปรงุ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ความพรอ้ มของพัสดุในเรอื คาอธบิ าย ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของพสั ดทุ มี่ อี ยจู่ ริง หนา้ ที่ : เปรยี บเทยี บกบั ฐานขอ้ มลู และทาการปรบั ปรงุ ให้ ถกู ตอ้ ง ขอ้ มลู นาเขา้ - เทก็ ซไ์ ฟลท์ ่มี ขี อ้ มูลอารเ์ อฟไอดขี องพัสดุที่อา่ นได้ ระบบ : ในคลงั ขอ้ มลู นาออก รายการชนิ้ สว่ นซอ่ มและพัสดุ : - จานวนทมี่ อี ยใู่ นฐานขอ้ มลู - จานวนทม่ี อี ยู่จริง ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยควบคุม : - หนว่ ยเทคนคิ - หนว่ ยคลงั ตารางที่ ง. 25 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0305 รหสั ความ FR0305 ชอ่ื สง่ คืนพสั ดุทเี่ กินจากเกณฑ์ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ทตี่ อ้ งสะสม คาอธบิ าย หากชนิ้ สว่ นซอ่ มและพสั ดเุ กินจากอัตราทต่ี อ้ งสะสม หนา้ ท่ี : ให้สง่ คืนคลังใหญห่ รอื คลังสาขา ขอ้ มลู นาเขา้ - เลขทใี่ บคนื - วันที่คนื ระบบ : - รายการชนิ้ สว่ นซอ่ มและพสั ดทุ ค่ี นื

75 - จานวนทคี่ ืน ขอ้ มลู นาออก ไมม่ ี //บันทกึ ขอ้ มูลลงฐานขอ้ มลู : ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยคลัง : ตารางท่ี ง. 26 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหสั FR0306 รหสั ความ FR0306 ชอ่ื แสดงชิ้นสว่ นซอ่ มและพสั ดุ ตอ้ งการ : หนา้ ที่ : ทไี่ มต่ รงกบั อัตราทต่ี อ้ งมี สะสมไว้ คาอธบิ าย แสดงชนิ้ สว่ นซอ่ มและพัสดทุ ไ่ี มต่ รงกับสมุดอตั รา หนา้ ที่ : พสั ดุประจาเรอื ขอ้ มลู นาเขา้ ไมม่ ี ระบบ : ขอ้ มลู นาออก รายการชิ้นสว่ นซอ่ มและพัสดุ : - จานวนทมี่ อี ย่ใู นคลงั - จานวนทตี่ อ้ งสะสมตามเกณฑ์ ผมู้ สี ทิ ธใิ ชง้ าน - หนว่ ยควบคมุ : - หน่วยเทคนคิ - หน่วยคลงั

76 ภาคผนวก จ แผนภาพและตารางคาอธบิ ายยสู เคส กา ร น า แ ผ น ภ า พยู สเค ส ม า ใ ช้ น้ั น ช่ วย แ ส ด งใ ห้ เห็ น ถึ ง โครงสรา้ งของระบบ ระบบการทางานย่อย และฟังก์ชนั การทางาน ส่วนต่างๆ ของระบบ ซ่ึงนอกจากแผนภาพจะช่วยแสดงให้เห็นถึง ภาพรวมของระบบ และฟงั กช์ ันการทางานยอ่ ยแลว้ ยังแสดงให้เห็น ถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างผ้ใู ชก้ ับระบบอีกด้วย จ.1 แผนภาพยสู เคส (Use Case diagram) / <<include>> <<extend>> <<include>> <<extend>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<include>> <<extend>> / <<include>> รปู ท่ี จ. 1 แผนภาพยสู เคสของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื จ.2 คาอธบิ ายยสู เคส (Use Case description)

77 ตารางท่ี จ. 1 คาอธบิ ายยสู เคสสรา้ งขอ้ มลู เรอื ชอ่ื ยสู เคส : สร้างขอ้ มูลเรอื รหสั 0101 ร ะ ดั บ สูง : ความสาคัญ : ผ้กู ระทาหลกั : หน่วยเทคนิค ช นิ ด ยู ส ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ เคส : สาระสาคัญ ผู้มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งและการใชป้ ระโยชน์ : หนว่ ยเทคนคิ : ต้องการสรา้ งขอ้ มูลเรอื ใหก้ บั ระบบ รา ยล ะ เอี ย ด เป็นยูสเคสท่ีใช้ในการสร้างเรือให้กับระบบลง ยสู เคส : ฐานขอ้ มลู สิง่ กระตุน้ : เม่อื หนว่ ยเทคนคิ ต้องการเพม่ิ เรือเขา้ สู่ระบบ ความสัมพนั ธ์ : ค ว า ม หน่วยเทคนิค เก่ียวเนอื่ ง : การรวม : การขยาย : การสืบทอด : ภาวะกอ่ นทางาน ระบบแสดงขอ้ มลู เรือทมี่ ีอยู่ในระบบ : สายงานปกติ : 1. กรอกรหสั เรอื 2. ระบบทาการตรวจสอบรหัสเรอื เทียบกบั ฐานขอ้ มูล 3. ทาการกรอกชือ่ เรอื ประเภทเรอื และสถานะ 4. กดปุ่มบนั ทกึ 5. ระบบทาการจัดเกบ็ ขอ้ มูลเรอื ลงฐานขอ้ มลู ภ า ว ะ ห ลั ง ข้อมลู เรอื ถกู เพมิ่ เข้าสู่ระบบ ทางาน : สายงานยอ่ ย : สายงานทางเลือก / สายงานพเิ ศษ : 2-1 กรณีพบรหัสเรือ แสดงข้อความเตือนและให้กรอกรหัสเรือ ใหม่ ตารางท่ี จ. 2 คาอธบิ ายยสู เคสกาหนดรายการยทุ โธปกรณ์ ช่อื ยูสเคส : กาหนด รหสั 0102 ร ะ ดั บ สงู รายการ : ความสาคัญ ยุทโธปกรณ์ : ผู้กระทาหลัก หน่วยเทคนคิ ชนิดยูสเคส ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ : : สาระสาคัญ ผมู้ ีสว่ นเกี่ยวขอ้ งและการใชป้ ระโยชน์ : หนว่ ยเทคนคิ : ตอ้ งการกาหนดรายการยุทโธปกรณใ์ ห้กบั เรอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook