Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงาน

โครงงาน

Published by 20933, 2019-09-10 22:31:07

Description: โครงงาน

Search

Read the Text Version

การออกแบบและพฒั นาระบบสมุดอตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื นายสมจนี แสงดาว โครงงานมหาบณั ฑติ นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู ร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบณั ทิต สาขาวิชาวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ภาควิชาวศิ วกรรม คอมพิวเตอร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ปีการศึกษา 2555

A DESIGN AND DEVELOPMENT OF RTN COORDINATED SHIPBOARD ALLOWANCE LIST Mr. Somjean Sangdao A Master Project Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Software Engineering Department of Computer Engineering Faculty of Engineering Chulalongkorn University Academic Year 2012

หวั ขอ้ โครงงาน การออกแบบและพัฒนาระบบสมดุ อตั รา มหาบณั ฑติ พสั ดปุ ระจาเรอื โดย นายสมจีน แสงดาว ภาควชิ า วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ อาจารย์ทป่ี รกึ ษา อ. เชษฐ พัฒโนทัย หนว่ ยงานทรี่ ่วม กรมพลาธกิ ารทหารเรอื โครงการ ผ้แู ทนจากหนว่ ยงาน น.อ.หญงิ ภาวนา เจนถนอมม้า ภาควิชาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนมุ ตั ิใหน้ บั โครงงานมหาบัณฑติ ฉบับนี้ เปน็ สว่ นหน่ึงของการศกึ ษาตามหลักสตู รปริญญามหาบัณฑติ ....................................................... หวั หนา้ ภาควิชาวศิ วกรรม คอมพิวเตอร์ (ผศ. บญุ ชัย โสวรรณ วณชิ กลุ ) ....................................................... อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา .. (อ. เชษฐ พฒั โนทยั )

ง สมจีน แสงดาว : การออกแบบและพฒั นาระบบสมดุ อัตราพัสดุ ประจาเรอื (A Design and Development of RTN Coordinated Shipboard Allowance List) อาจารย์ทป่ี รกึ ษา : อาจารย์ เชษฐ พัฒโนทัย, หนว่ ยงานกรณศี ึกษา : กองทัพเรอื , ผทู้ รงคุณวุฒิจากหนว่ ยงาน น.อ.หญงิ ภาวนา เจนถนอมมา้ , จานวน 118 หน้า โครงงานมหาบณั ฑิตนม้ี วี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือศึกษาระบบ วิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ โดยใช้ข้อมูลของ กองทพั เรือ เปน็ กรณีศกึ ษา ระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เป็นระบบที่รวบรวมข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการส่งกาลังสนับสนุนการปฏิบัติการและการซ่อม บารุงของยุทโธปกรณท์ ี่ติดตั้งในเรือ จึงได้ทาการออกแบบให้มีความ สอดคลอ้ งกับระบบ ซ่งึ สถาปตั ยกรรมของระบบเปน็ ลักษณะโปรแกรม ป ร ะ ยุ ก ต์ บ น เว็ บ ใ ช้ ภ า ษ า พี เอ ส พี แ ล ะ ร ะ บ บ จั ด ก า ร ฐ า น ข้ อ มู ล ไมโครซอฟท์เอสควิ แอลเซริ ฟ์ เวอร์ โดยระบบสมดุ อัตราพสั ดปุ ระจาเรือ มีระบบย่อย 3 ระบบ คือ ระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ ระบบการ ซอ่ มบารุง และระบบพัสดคุ งคลัง ผลการทาโครงงานมหาบัณฑิตน้ี ได้ซอฟต์แวร์ซ่ึงช่วยอานวย ความสะดวกในการบริหารจดั การพสั ดุประจาเรอื ท้งั ดา้ นความพร้อม ใช้ของยุทโธปกรณ์ และความประหยัดงบประมาณเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังได้นาหลักทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์มา ประยุกต์ใช้ประกอบกับการกาหนดมาตรฐาน ของข้ันตอนการ ดาเนนิ งานของการพัฒนาระบบ และรูปแบบเอกสารที่ใช้ในการพัฒนา เ พ่ื อ ใ ห้ ร ะ บ บ ที่ พั ฒ น า ข้ึ น มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ส า ม า ร ถ ท า ง า น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธภิ าพ ภาควิชา วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ลายมอื ชอื่ นสิ ติ ลายมอื ชอื่ อาจารยท์ ่ี สาขาวชิ า วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ ปกรี ึการษศาึกษา 2555

จ # # 5470404121 : MAJOR SOFTWARE ENGINEERING KEY WORD : COORDINATED SHIPBOARD ALLOWANCE LIST / MAINTENANCE / LOGISTICS / RADIO FREQUENCY IDENTIFICATION SOMJEAN SANGDAO : A DESIGN AND DEVELOPMENT OF RTN COORDINATED SHIPBOARD ALLOWANCE LIST. MASTER PROJECT ADVISOR : CHATE PATANOTHAI, CO-ORGAINIZATION : NAVAL SUPPLY DEPARTMENT, CO-ORGANIZATION REPRESENTATIVES : CAPT.PAWANA JENTANORMA. This master project aims to study, analyze, design and implement a Coordinated Shipboard Allowance List System. The relevant information from Royal Thai Navy will be used as a master project case study. Coordinated Shipboard Allowance List System collects information about the logistic for operation and maintenance of the equipment installed in the ship which is designed to conform with it. The system architecture is a web-based application using PHP language and MySql database system. The system has three subsystems which consist of Coordinated Shipboard Allowance List System, Maintenance System and Inventory System. This master project has produced a software which supports supply management in ship, both the availability of equipment and budget saving to be effective. Software engineering principles are applied to this master project to define a standard procedure of system development and design document templates in order to earn a system with quality and efficiency. Department of Computer Engineering Student’s signature Advisor’s signature Field of study Software Engineering Academic year 2012

ฉ กติ ตกิ รรมประกาศ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ เชษฐ พัฒโนทัย อาจารย์ที่ ปรึกษาโครงงาน เปน็ อยา่ งยิง่ ทไี่ ดส้ ละเวลาให้คาปรึกษา คาแนะนา และแนวทางสาหรับการทาโครงงานมหาบัณฑิต รวมท้ังเป็นผู้ ประสานงานใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกน่ สิ ติ ท่ีทาโครงงานทุกคน ขอกราบขอบพระคุณ ผศ.ดร.อาทิตย์ ทองทักษ์ และผศ.ดร. ธนารัตน์ ชลิดาพงศ์ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร คุ ม ส อ บ โ ค ร ง ง า น มหาบัณฑิตเป็นอย่างยิ่ง ท่ีได้กรุณาแนะนาแนวทาง รวมถึงการ ตรวจสอบและแก้ไขโครงงานมหาบัณฑติ นี้ ขอกราบขอบพระคุณ ผศ. ดร. ทวิตีย์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา อาจารย์ผู้ประสานงานโครงงานมหาบัณฑิตที่ได้สละเวลาให้ความ ช่วยเหลอื แกน่ สิ ิตที่ทาโครงงานทกุ คน ขอขอบคณุ น.อ.หญิง ภาวนา เจนถนอมม้า เป็นอย่างย่ิงท่ีได้ ให้ความอนุเคราะห์รับเป็นหน่วยงานกรณีศึกษาสาหรับโครงงาน มหาบัณฑิตนี้ ขอ ข อ บ คุณ คณ าจาร ย์ทุ กท่า นใ นภ าค วิชา วิศ วก รร ม คอมพวิ เตอร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ทใ่ี ห้คาแนะนา ความรู้และ แนวทางการทาโครงงาน ขอขอบคุณ เพ่ือนๆ หลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาหรับ กาลังใจและคาแนะนาในการจดั ทาโครงงานมหาบณั ฑิต สุดทา้ ยนี้ ขอกราบขอบพระคุณ บดิ า มารดา รวมถึงสมาชกิ ในครอบครวั ท่ีให้การสนบั สนนุ และใหก้ าลังใจทีด่ ีเสมอมา สมจนี แสงดาว

ช สารบญั หนา้ บทคัดยอ่ ภาษาไทย...........................................................................................ง บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษ ...................................................................................จ กิตตกิ รรมประกาศ .........................................................................................ฉ ................................................................................................................................. สารบญั ...............................................................................................................ช สารบญั ตาราง .................................................................................................ฎ สารบญั ภาพ ......................................................................................................ต บทที่ 1. บทนา ...............................................................................................................1 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ...................................1 1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน .............................................................3 1.3 ขอบเขตของโครงงาน.......................................................................3 1.4 ขน้ั ตอนและวธิ กี ารดาเนนิ โครงงาน .............................................5 1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ ...............................................................5 1.6 โครงสร้างของเนอื้ หาโครงงาน 6 2. ทฤษฎีและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ................................................................7 2.1 ทฤษฎีท่ีเกย่ี วขอ้ ง................................................................................7 2.1.1 สมดุ อัตราพสั ดุประจาเรอื ....................................................7 2.1.2 ระบบการซอ่ มบารุง...............................................................8 2.1.3 ระบบการส่งกาลังบารุง 9 2.1.4 Radio Frequency Identification (RFID) 9 2.2 งานวิจัยทีเ่ กยี่ วขอ้ ง......................................................................... 11 2.2.1 The Application of RFID Technology in the Warehouse Management Information System ................. 11 2.2.2 ระบบจัดการคลงั สนิ คา้ อจั ฉรยิ ะดว้ ยเทคโนโลยี RFID .................................................................................................... 12 3. การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการระบบ ..................................................... 13 3.1 การศึกษาระบบงานทดี่ าเนนิ การอยใู่ นปจั จุบนั .................... 13 3.2 การรวบรวมความตอ้ งการของผู้ใช้ ....................................... 15 3.2.1 การสัมภาษณบ์ คุ คล........................................................... 15 สารบญั (ตอ่ )

ซ บทที่ หนา้ 3.2.2 การวิเคราะหเ์ อกสาร ......................................................... 16 3.2.3 การมีสว่ นรว่ มในการออกแบบระบบ ............................ 17 3.3 การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของระบบ .................................... 17 3.3.1 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ี ................................................ 17 3.3.2 ความตอ้ งการที่ไมใ่ ชห่ นา้ ท่ี .............................................. 18 4. การออกแบบระบบ................................................................................... 20 4.1 การออกแบบสถาปตั ยกรรมของระบบ ................................... 20 4.2 การออกแบบหนา้ ทก่ี ารทางานของระบบ ............................. 21 4.2.1 ระบบสมดุ อัตราพสั ดปุ ระจาเรอื ...................................... 23 4.2.2 ระบบการซอ่ มบารุง............................................................ 24 4.2.3 ระบบพัสดคุ งคลงั ................................................................. 24 4.3 การออกแบบแบบจาลองขอ้ มลู ................................................... 24 4.3.1 การออกแบบเชงิ แนวคดิ .................................................... 24 4.3.2 การออกแบบเชิงตรรกะ..................................................... 27 4.3.3 การออกแบบเชิงกายภาพ................................................. 27 4.4 การออกแบบเทคโนโลยี RFID..................................................... 28 4.4.1 โครงสรา้ งเทคโนโลยี RFID กับระบบ........................... 28 4.4.2ออกแบบแทก็ และเครอื่ งอ่าน RFID ................................ 29 4.4.3หนา้ ทห่ี ลกั ของการใชเ้ ทคโนโลยี RFID......................... 29 4.4.4จุดคมุ้ ทนุ .................................................................................. 29 4.5 การออกแบบส่วนตอ่ ประสานงานผู้ใช.้ ..................................... 30

ฌ 4.5.1 การออกแบบโครงสรา้ งส่วนต่อประสานงาน............ 30 4.5.2การออกแบบการนาเขา้ ขอ้ มูล......................................... 31 4.5.3การออกแบบการแสดงผลลัพธ์ ...................................... 34 4.6 การออกแบบระบบความปลอดภยั ในระบบและการกาหนด สิทธกิ ารใช้งาน ............................................................................................... 36 4.6.1 การเขา้ สรู่ ะบบ....................................................................... 36 4.6.2การกาหนดสทิ ธกิ ารใชง้ านระบบ .................................. 36 5. การพฒั นาระบบ....................................................................................... 39 5.1 เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการพัฒนาระบบ .............................................. 39 สารบญั (ตอ่ ) บทที่ หนา้ 5.1.1 ฮารด์ แวรท์ ใี่ ช้ในการพัฒนาระบบ .................................. 39 5.1.2 ซอฟตแ์ วร์ทใี่ ช้ในการพฒั นาระบบ.................................. 39 5.2 การพัฒนาระบบ.............................................................................. 40 5.2.1 ขั้นตอนการพฒั นาระบบ ................................................... 40 5.2.2 โปรแกรมจากการพัฒนา ................................................. 41 6. การทดสอบระบบ ..................................................................................... 45 6.1 ประเภทของการทดสอบระบบ .................................................... 45 6.1.1 การทดสอบหนว่ ยยอ่ ย....................................................... 45 6.1.2 การทดสอบแบบบรู ณาการ ............................................. 45 6.1.3 การทดสอบระบบ................................................................. 45

ญ 6.1.4 การทดสอบเพ่อื ยอมรบั ..................................................... 45 6.2 สภาพแวดลอ้ มการทดสอบระบบ............................................... 46 6.2.1 ฮาร์ดแวร์ที่ใชใ้ นการทดสอบระบบ................................. 46 6.2.2ซอฟตแ์ วร์ท่ีใชใ้ นการทดสอบระบบ ................................ 46 6.3 กรณที ดสอบ ..................................................................................... 46 6.3.1 การเตรยี มขอ้ มูลสาหรบั กรณที ดสอบ......................... 46 6.3.2การสร้างกรณที ดสอบ...................................................... 47 6.3.3ตวั อยา่ งกรณที ดสอบ......................................................... 47 6.4 สรุปผลการทดสอบระบบ ............................................................. 48 7. บทสรปุ โครงงานและขอ้ เสนอแนะ ....................................................... 50 7.1 สรปุ ผลโครงงานมหาบณั ฑิต...................................................... 50 7.2 ปญั หาและขอ้ จากดั ในการทาโครงงาน ................................... 51 7.3 ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................ 51 รายการอา้ งองิ ............................................................................................... 53 ภาคผนวก......................................................................................................... 54 ภาคผนวก ก อภิธานศพั ท์................................................................................................ 55 ภาคผนวก ข .....................................................................................คา ย่อและรัสพจน์.................................................................................................. 57 ภาคผนวก ค โครงสรา้ งองคก์ รของระบบสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื ............. 58

ฎ ภาคผนวก ง ความตอ้ งการด้านหนา้ ที่ของระบบ................................................... 59 สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ภาคผนวก จ แผนภาพและตารางคาอธบิ ายยสู เคส................................................ 69 ภาคผนวก ฉ โครงสร้างและรายละเอยี ดของตารางขอ้ มลู ................................. 83 ภาคผนวก ช ตวั อย่างกรณที ดสอบ............................................................................. 94 ประวัตผิ เู้ ขยี นโครงงานมหาบณั ฑติ ........................................................ 118



ฐ สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 3.1 ความตอ้ งการท่ไี มใ่ ชห่ น้าทด่ี า้ นผลติ ภณั ฑ์ ................. 23 ตารางท่ี 3.2 ความตอ้ งการท่ีไม่ใช่หนา้ ทีด่ ้านกระบวนการ .......... 23 ตารางท่ี 3.3 ความตอ้ งการทไ่ี ม่ใชห่ นา้ ทีด่ า้ นความตอ้ งการ ภายนอก ............................................................................................................ 24 ตารางที่ 4.1 โครงสรา้ งรายละเอยี ดตารางขอ้ มลู ............................. 33 ตารางท่ี 4.2 ตารางสรปุ ฟงั กช์ นั การทางานและสิทธิการเขา้ ใช้ ของระบบสมุดอัตราพัสดปุ ระจาเรอื ........................................................ 43 ตารางท่ี 5.1 รายละเอียดไฟลพ์ ีเอสพีท่จี ัดเก็บในโฟลเดอร์พัสดคุ ง คลงั .....................................................................................................................49 ตารางท่ี 5. 2 รายละเอียดไฟลพ์ เี อสพีทจี่ ัดเกบ็ ในโฟลเดอรห์ นา้ หลกั ..............................................................................................................................49 ตารางท่ี 5. 3 รายละเอียดไฟลพ์ ีเอสพีทจี่ ัดเกบ็ ในโฟลเดอรข์ อ้ มลู หลัก.....................................................................................................................50 ตารางท่ี 5. 3 รายละเอยี ดไฟล์พีเอสพีทจี่ ดั เก็บในโฟลเดอรข์ อ้ มูล หลกั (ตอ่ ) ........................................................................................................50 ตารางท่ี 5. 4 รายละเอยี ดไฟลพ์ ีเอสพีทจ่ี ดั เกบ็ ในโฟลเดอรข์ อ้ มูล เรอื .......................................................................................................................50 ตารางท่ี 5. 5 รายละเอยี ดไฟลพ์ ีเอสพีทจี่ ัดเก็บในโฟลเดอร์งานซอ่ ม ................................................................................................................................ 51 ตารางที่ 6.1 ตัวอยา่ งตารางกรณที ดสอบ ..........................................55 ตารางท่ี 6.2 สรปุ ผลการทดสอบระบบสมุดอตั ราพัสดปุ ระจาเรอื .............................................................................................................................. 55 ตารางท่ี 6.2 สรุปผลการทดสอบระบบสมุดอัตราพสั ดปุ ระจาเรอื (ต่อ) ...................................................................................................................56 ตารางท่ี ง. 1 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทข่ี องระบบรหัส FR0101.. 66 ตารางที่ ง. 2 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ที่ของระบบรหัส FR010267 ตารางที่ ง. 3 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ที่ของระบบรหสั FR010367 ตารางท่ี ง. 4 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหสั FR010467 ตารางที่ ง. 5 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR0105 ..............................................................................................................................68

ฑ ตารางที่ ง. 6 ความตอ้ งการดา้ นหน้าท่ีของระบบรหสั FR0106 ..............................................................................................................................68 ตารางท่ี ง. 7 ความตอ้ งการด้านหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR010768 ตารางที่ ง. 8 ความตอ้ งการดา้ นหน้าที่ของระบบรหัส FR0108 ............................................................................................................................. 69 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางที่ ง. 8 ความตอ้ งการดา้ นหน้าท่ีของระบบรหสั FR0108 (ตอ่ ).................................................................................................................. 69 ตารางท่ี ง. 9 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR0109 ............................................................................................................................. 69 ตารางที่ ง. 10 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR0201 ............................................................................................................................. 69 ตารางที่ ง. 11 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ทขี่ องระบบรหสั FR0202 .............................................................................................................................. 70 ตารางที่ ง. 12 ความตอ้ งการด้านหน้าที่ของระบบรหสั FR0203 .............................................................................................................................. 70 ตารางที่ ง. 13 ความตอ้ งการดา้ นหน้าที่ของระบบรหสั FR0204 ................................................................................................................................ 71 ตารางท่ี ง. 14 ความตอ้ งการด้านหน้าท่ีของระบบรหัส FR0205 ................................................................................................................................ 71 ตารางที่ ง. 15 ความต้องการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหสั FR0206 .............................................................................................................................. 72 ตารางท่ี ง. 15 ความต้องการดา้ นหน้าท่ีของระบบรหสั FR0206 (ต่อ)................................................................................................................... 72 ตารางท่ี ง. 16 ความตอ้ งการดา้ นหน้าที่ของระบบรหสั FR0207 .............................................................................................................................. 72 ตารางที่ ง. 17 ความตอ้ งการดา้ นหน้าที่ของระบบรหัส FR0301 .............................................................................................................................. 72 ตารางท่ี ง. 17 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ที่ของระบบรหสั FR0301 (ต่อ)................................................................................................................... 73 ตารางที่ ง. 18 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR0302 .............................................................................................................................. 73

ฒ ตารางท่ี ง. 19 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ที่ของระบบรหัส FR0303 .............................................................................................................................. 73 ตารางที่ ง. 19 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหสั FR0303 (ตอ่ )................................................................................................................... 74 ตารางท่ี ง. 20 ความตอ้ งการด้านหนา้ ที่ของระบบรหัส FR0304 .............................................................................................................................. 74 ตารางท่ี ง. 21 ความตอ้ งการดา้ นหน้าท่ีของระบบรหสั FR0305 .............................................................................................................................. 74 ตารางที่ ง. 22 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ีของระบบรหัส FR0306 .............................................................................................................................. 75 ตารางท่ี จ. 1 คาอธบิ ายยสู เคสสรา้ งขอ้ มูลเรอื ....................................77 ตารางที่ จ. 2 คาอธิบายยูสเคสกาหนดรายการยทุ โธปกรณ์ .......77 ตารางที่ จ. 2 คาอธบิ ายยสู เคสกาหนดรายการยุทโธปกรณ์ (ตอ่ ) .............................................................................................................................. 78 ตารางที่ จ. 3 คาอธิบายยสู เคสกาหนดแผนงานการซอ่ ม............ 78 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางท่ี จ. 3 คาอธบิ ายยูสเคสกาหนดแผนงานการซอ่ ม (ตอ่ )79 ตารางที่ จ. 4 คาอธบิ ายยสู เคสกาหนดอัตราพัสดุ........................... 79 ตารางที่ จ. 4 คาอธบิ ายยูสเคสกาหนดอัตราพัสดุ (ตอ่ ) ............. 80 ตารางท่ี จ. 5 คาอธบิ ายยูสเคสกาหนดคู่มอื การซอ่ มบารงุ ......... 80 ตารางที่ จ. 6 คาอธิบายยูสเคสเปล่ยี นแปลงหรอื ติดตัง้ เพิม่ ยุทโธปกรณ์ .....................................................................................................82 ตารางที่ จ. 7 คาอธบิ ายยสู เคสจดั ทาบตั รจา่ ยงาน..........................82 ตารางท่ี จ. 7 คาอธิบายยูสเคสจดั ทาบตั รจ่ายงาน (ตอ่ ) .............83 ตารางท่ี จ. 8 คาอธบิ ายยสู เคสบันทกึ ผลการปฏบิ ตั ิงาน...............83 ตารางท่ี จ. 8 คาอธบิ ายยูสเคสบันทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ าน (ตอ่ ) ..84 ตารางที่ จ. 9 คาอธบิ ายยูสเคสแจ้งเตอื นการทางานลว่ งหนา้ ....84 ตารางที่ จ. 9 คาอธบิ ายยูสเคสแจ้งเตอื นการทางานลว่ งหนา้ (ตอ่ )...................................................................................................................85 ตารางที่ จ. 10 คาอธิบายยูสเคสจา่ ยพสั ดุ............................................85

ณ ตารางท่ี จ. 10 คาอธบิ ายยูสเคสจา่ ยพสั ดุ (ต่อ) ...............................86 ตารางท่ี จ. 11 คาอธบิ ายยูสเคสรบั พัสดุ ................................................86 ตารางที่ จ. 12 คาอธบิ ายยูสเคสคนื พัสดุ............................................... 87 ตารางที่ จ. 12 คาอธบิ ายยสู เคสคืนพัสดุ (ตอ่ ).................................. 87 ตารางที่ จ. 13 คาอธิบายยสู เคสตรวจสอบและปรบั ปรุงพัสดุ.......88 ตารางที่ จ. 13 คาอธบิ ายยสู เคสตรวจสอบและปรบั ปรงุ พสั ดุ (ตอ่ ) ..............................................................................................................................88 ตารางที่ จ. 14 คาอธิบายยูสเคสแสดงรายการจดั หาตามเกณฑ์ 89 ตารางที่ จ. 14 คาอธิบายยสู เคสแสดงรายการจดั หาตามเกณฑ์ (ตอ่ )...................................................................................................................89 ตารางที่ จ. 15 คาอธบิ ายยูสเคสแสดงสถิตอิ ตั ราสิ้นเปลอื ง.......... 90 ตารางท่ี จ. 15 คาอธบิ ายยสู เคสแสดงสถิตอิ ัตราสิ้นเปลอื ง (ตอ่ ) ............................................................................................................................. 90 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางที่ ฉ. 1 ชอ่ื ตารางที่มใี นการออกแบบฐานขอ้ มูลเชิงสัมพนั ธ์ .............................................................................................................................. 93 ตารางที่ ฉ. 2 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู MTMAINTAINTYPE ....95 ตารางท่ี ฉ. 3 รายละเอียดตารางขอ้ มลู MTNECESSITYTYPE.95 ตารางท่ี ฉ. 4 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู MTPMSSCHEDULE.95 ตารางท่ี ฉ. 4 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู MTPMSSCHEDULE (ตอ่ )...................................................................................................................95 ตารางที่ ฉ. 5 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBAPL............................. 96 ตารางที่ ฉ. 6 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBCHANGEITEM...... 96 ตารางที่ ฉ. 7 รายละเอยี ดตารางขอ้ มูล TBDEPARTMENT....... 96 ตารางท่ี ฉ. 8 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBDISTRIBUTION...... 96 ตารางท่ี ฉ. 9 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBDISTRIBUTIONITEM .............................................................................................................................. 97 ตารางที่ ฉ. 10 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBEQUIPMENTINFO .............................................................................................................................. 97

ด ตารางท่ี ฉ. 10 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBEQUIPMENTINFO (ตอ่ )................................................................................................................... 97 ตารางที่ ฉ. 11 รายละเอียดตารางขอ้ มูล TBINVENTORY ............. 97 ตารางที่ ฉ. 12 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBMAINTENANCE ....98 ตารางท่ี ฉ. 12 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBMAINTENANCE (ต่อ) ...................................................................................................................98 ตารางที่ ฉ. 13 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBMANUAL................98 ตารางที่ ฉ. 14 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBPERSON.................98 ตารางท่ี ฉ. 15 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBRECEIVE ................. 99 ตารางที่ ฉ. 15 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBRECEIVE (ตอ่ )..... 99 ตารางที่ ฉ. 16 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBRECEIVEITEM...... 99 ตารางท่ี ฉ. 17 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBREPAIRITEM.......... 99 ตารางท่ี ฉ. 18 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBREPAIRWORK ..... 99 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางท่ี ฉ. 18 รายละเอียดตารางขอ้ มลู TBREPAIRWORK (ตอ่ ) ............................................................................................................................ 100 ตารางที่ ฉ. 19 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBSHIP......................... 100 ตารางท่ี ฉ. 20 รายละเอียดตารางขอ้ มูล TBSPAREINFO......... 101 ตารางที่ ฉ. 21 รายละเอยี ดตารางขอ้ มลู TBSPAREITEM ........... 101 ตารางท่ี ฉ. 22 รายละเอยี ดตารางขอ้ มูล TBUSER ....................... 101 ตารางที่ ฉ. 22 รายละเอยี ดตารางขอ้ มูล TBUSER (ตอ่ )........... 101 ตารางที่ ช. 1 กรณที ดสอบรหสั T0101.................................................103 ตารางท่ี ช. 2 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0101 (กรณี ปกต)ิ ................................................................................................................ 105 ตารางท่ี ช. 3 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0101 (กรณี ผดิ พลาด 1) .................................................................................................... 105 ตารางที่ ช. 4 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0101 (กรณี ผดิ พลาด 2) .................................................................................................. 105 ตารางที่ ช. 5 กรณที ดสอบรหสั T0102 .............................................107

ต ตารางท่ี ช. 6 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณีทดสอบรหสั T0102 (กรณี ปรกต)ิ ..............................................................................................................107 ตารางท่ี ช. 7 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบรหสั T0102 (กรณี ผดิ พลาด 1) .....................................................................................................107 ตารางท่ี ช. 8 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบรหสั T0102 (กรณี ผดิ พลาด 2) .................................................................................................. 108 ตารางท่ี ช. 9 กรณที ดสอบรหัส T0103............................................ 109 ตารางที่ ช. 9 กรณที ดสอบรหสั T0103 (ตอ่ ) ................................. 110 ตารางท่ี ช. 10 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบรหสั T0103 (กรณี ปกต)ิ .................................................................................................................. 110 ตารางที่ ช. 11 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0103 (กรณี ผดิ พลาด 1) ...................................................................................................... 110 ตารางที่ ช. 12 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0103 (กรณี ผิดพลาด 2) .......................................................................................................111 ตารางที่ ช. 13 กรณที ดสอบรหสั T0104 ..............................................112 ตารางที่ ช. 13 กรณีทดสอบรหสั T0104 (ตอ่ ) .................................113 ตารางท่ี ช. 13 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0104 (กรณี ปกต)ิ ...................................................................................................................113 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางท่ี ช. 14 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณีทดสอบ รหัส T0104 (กรณี ผดิ พลาด 1) .......................................................................................................113 ตารางที่ ช. 15 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0104 (กรณี ผดิ พลาด 2) .....................................................................................................114 ตารางที่ ช. 16 กรณที ดสอบรหัส T0105..............................................115 ตารางท่ี ช. 16 กรณีทดสอบรหสั T0105 (ต่อ) .................................115 ตารางที่ ช. 17 กรณที ดสอบรหัส T0201 ..............................................116 ตารางที่ ช. 18 ข้อมูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0201 (กรณี ปกต)ิ ................................................................................................................... 117 ตารางที่ ช. 19 กรณีทดสอบรหสั T0202............................................ 117 ตารางที่ ช. 19 กรณีทดสอบรหัส T0202 (ตอ่ ) ............................... 117

ถ ตารางที่ ช. 20 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณีทดสอบ รหสั T0202 (กรณปี กต)ิ ......................................................................................................118 ตารางท่ี ช. 21 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0202 (กรณี ผิดพลาด 1) .......................................................................................................119 ตารางที่ ช. 21 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0202 (กรณี ผิดพลาด 1) (ตอ่ ).........................................................................................120 ตารางที่ ช. 22 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0202 (กรณผี ดิ พลาด 2) ......................................................................................120 ตารางท่ี ช. 23 กรณที ดสอบรหสั T0203......................................... 122 ตารางท่ี ช. 24 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0203 (กรณปี กต)ิ .................................................................................................... 123 ตารางท่ี ช. 25 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0203 (กรณผี ดิ พลาด)........................................................................................... 123 ตารางที่ ช. 26 กรณที ดสอบรหสั T0301 .......................................... 123 ตารางที่ ช. 26 กรณที ดสอบรหสั T0301 (ตอ่ )..............................124 ตารางท่ี ช. 27 ข้อมูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0301 (กรณปี กต)ิ ....................................................................................................124 ตารางท่ี ช. 28 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0301 (กรณผี ิดพลาด)...........................................................................................124 ตารางท่ี ช. 29 กรณที ดสอบรหัส T0302 ........................................124 ตารางที่ ช. 29 กรณที ดสอบรหัส T0302 (ตอ่ )............................125 ตารางที่ ช. 30 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณีทดสอบ รหัส T0302 (กรณปี กต)ิ ....................................................................................................125 สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตารางที่ ช. 30 ขอ้ มูลทดสอบของกรณีทดสอบ รหัส T0302 (กรณปี กต)ิ (ตอ่ ) .......................................................................................126 ตารางที่ ช. 31 ขอ้ มูลทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0302 (กรณผี ดิ พลาด 1) ........................................................................................126 ตารางที่ ช. 32 ขอ้ มลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหัส T0302 (กรณผี ดิ พลาด 2) ......................................................................................126

ท สารบญั ภาพ หนา้ รปู ท่ี 3.1 แผนภาพกิจกรรมแสดงข้ันตอนการจัดทาสมดุ อตั ราพัสดุ ประจาเรอื ในปจั จบุ นั ........................................................................................16 รูปที่ 3.2 แผนภาพกจิ กรรแสดงขน้ั ตอนการทางานของระบบสมุด อัตราพสั ดปุ ระจาเรอื ระบบใหม่ .................................................................20 รปู ท่ี 4.1 สถาปตั ยกรรมพ้นื ฐานของระบบสมุดอตั ราพัสดปุ ระจา เรอื ....................................................................................................................... 25 รูปที่ 4.2 ภาพรวมของผู้ใช้ระบบสมุดอตั ราพสั ดปุ รจาเรอื ............26 รูปท่ี 4.3 แผนภาพยสู เคสของระบบสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื .....28 รูปท่ี 4.4 แผนภาพคลาสของระบบสมุดอัตราพัสดปุ ระจาเรอื ......30

ธ รปู ที่ 4.5 ฐานขอ้ มลู เชงิ สมั พนั ธ์ของระบบสมุดอตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื .............................................................................................................................. 33 รปู ท่ี 4.6 โครงสรา้ งเทคโนโลยี RFID กับระบบ................................. 34 รูปท่ี 4.7 หน้าจอสว่ นตอ่ ประสานงานของระบบสมุดอตั ราพัสดุ ประจาเรอื ......................................................................................................... 37 รูปท่ี 4.8 การนาเขา้ ขอ้ มลู ทั่วไปของระบบ (กลอ่ งขอ้ ความ).......38 รูปท่ี 4.9 การนาเข้าขอ้ มลู ทว่ั ไปของระบบ (พนื้ ท่ขี อ้ ความ).........38 รูปที่ 4.10 การนาเข้าขอ้ มลู ทีม่ ีคาตอบตายตวั แบบปมุ่ เรดิโอ.........38 รูปที่ 4.11 การนาเข้าขอ้ มลู ที่มคี าตอบตายตวั แบบลิสตบ์ อ็ กซ์ ........39 รูปที่ 4.12 การนาเขา้ ขอ้ มูลทีม่ ีคาตอบตายตัวแบบเชค็ บอ็ กซ์ ........39 รปู ที่ 4.13 การนาเขา้ ขอ้ มูลวนั ท่ี...............................................................39 รปู ที่ 4.14 การนาเข้าขอ้ มูลจานวนตวั เลข ............................................39 รปู ที่ 4.15 การนาเข้าขอ้ มูลประเภทไฟล์ ................................................40 รปู ที่ 4.16 การแสดงผลลัพธข์ อ้ มูลโดยทั่วไป .....................................40 รูปที่ 4.17 การแสดงผลลัพธข์ องขอ้ ความแสดงความผิดพลาดจาก การกรอกขอ้ มลู ................................................................................................41 รปู ที่ 4.18 การออกแบบหนา้ จอการแสดงผลลัพธ์ในลกั ษณะ รายงาน...............................................................................................................41 รปู ท่ี 4.19 สว่ นตอ่ ประสานสาหรบั การเข้าสู่ระบบสมุดอตั ราพสั ดุ ประจาเรอื .........................................................................................................42 รูปที่ 5.1 โครงสร้างของโฟลเดอรก์ ารจดั เกบ็ โปรแกรมของระบบท่ี ไดพ้ ฒั นา ...........................................................................................................48 สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ รูปที่ ค. 1 โครงสร้างองคก์ รของกองทพั เรือ ......................................65 รูปท่ี จ. 1 แผนภาพยสู เคสของระบบสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื ..... 76 รูปท่ี ฉ. 2 ฐานขอ้ มูลเชิงสัมพันธข์ องระบบสมุดอตั ราพสั ดปุ ระจา เรือ.......................................................................................................................92 รปู ที่ ช. 1 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0101 : (กรณีปกต)ิ ... 106 รูปที่ ช. 2 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0101 : (กรณผี ดิ ปรกติ 1) ........................................................................................................................ 106

น รปู ท่ี ช. 3 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0101 : (กรณีผดิ ปรกติ 2) ...................................................................................................................... 106 รูปที่ ช. 4 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0102 : (กรณปี กต)ิ ............................................................................................................................ 108 รปู ท่ี ช. 5 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0102 : (กรณผี ิดพลาด 1) ........................................................................................................................ 109 รปู ท่ี ช. 6 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0201 : (กรณผี ิดพลาด 2) ...................................................................................................................... 109 รูปที่ ช. 7 หนา้ จอส่วนการทดสอบ รหสั T0103 : (กรณปี รกต)ิ ..111 รูปที่ ช. 8 หนา้ จอส่วนการทดสอบ รหสั T0103 : (กรณผี ดิ พลาด 1) ...........................................................................................................................112 รูปที่ ช. 9 หน้าจอสว่ นการทดสอบ รหสั T0103 : (กรณผี ิดพลาด 2) .........................................................................................................................112 รูปท่ี ช. 10 หน้าจอสว่ นการทดสอบ รหสั T0104 : (กรณปี รกต)ิ ...............................................................................................................................114 รูปที่ ช. 11 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0104 : (กรณผี ิดพลาด 1) ...........................................................................................................................114 รูปที่ ช. 12 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0104 : (กรณผี ดิ พลาด 2) .........................................................................................................................115 รปู ท่ี ช. 13 ข้อมลู ทดสอบของกรณที ดสอบ รหสั T0105 (กรณี ปกต)ิ ...................................................................................................................116 รปู ที่ ช. 14 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0105 : (กรณปี กต)ิ .116 รูปท่ี ช. 15 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0201 : (กรณปี กต)ิ .. 117 รูปท่ี ช. 16 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0202 : (กรณปี กต)ิ 121 รูปท่ี ช. 17 หน้าจอสว่ นการทดสอบ รหสั T0202 : (กรณี ผดิ พลาด 1) .......................................................................................................121 รูปท่ี ช. 18 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0202 : (กรณี ผดิ พลาด 2) ................................................................................................... 122 รูปท่ี ช. 19 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0203 : (กรณปี กต)ิ ............................................................................................................................. 123 สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้

บ รูปที่ ช. 20 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0203 : (กรณี ผดิ พลาด)........................................................................................................ 123 รูปที่ ช. 21 หนา้ จอส่วนการทดสอบ รหสั T0301 : (กรณปี กต)ิ 124 รูปท่ี ช. 22 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหัส T0301 : (กรณี ผิดพลาด) ........................................................................................................ 124 รปู ที่ ช. 23 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0302 : (กรณีปกต)ิ ............................................................................................................................. 127 รปู ที่ ช. 24 หน้าจอส่วนการทดสอบ รหสั T0302 : (กรณี ผิดปรกติ 1)..................................................................................................... 127 รปู ที่ ช. 25 หนา้ จอส่วนการทดสอบ รหัส T0302 : (กรณี ผดิ ปรกติ 2)................................................................................................... 127 รปู ที่ ช. 26 หนา้ จอสว่ นการทดสอบ รหสั T0302 : (กรณี ผดิ ปรกติ 3)...................................................................................................128

บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา กองทัพเรือ มีหน้าท่ีเตรียมกาลังและป้องกันราชอาณาจักร ซึ่งจากหน้าที่ดังกล่าว จึงมีความจาเป็นที่จะต้องมียุทโธปกรณ์อัน ประกอบด้วย เรือรบ เครื่องบิน และระบบอาวุธท้ังปวงท่ีจะใช้เป็น เครื่องมือในการปฏิบัติหน้าที่ให้บรรลุภารกิจที่ได้รับมอบหมาย ยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ที่จัดหาเพ่ือเตรียมไว้ใช้งานน้ัน ส่วนใหญ่เป็น พสั ดทุ ีม่ รี าคาสูงต้องสิ้นเปลืองงบประมาณมากกว่างบประมาณท่ี จะนาไปใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ ของประเทศ และประการสาคัญก็คือ ยุทโธปกรณ์ส่วนใหญ่จาเป็นต้องจัดหามาจากต่างประเทศ ซ่ึง นอกจากจะใช้งบประมาณเป็นจานวนมากแล้วยังต้องเสียเวลาใน การจัดหาคอ่ นขา้ งยาวนานอีกด้วย ดังนั้น เมื่อกองทัพเรือได้ยุทโธปกรณ์มาใช้งานแล้ว จึง จาเป็นต้องบารุงรกั ษาใหม้ สี ภาพใชง้ านได้และมอี ายุการใช้งานนาน ท่ี สุ ด เ ท่ า ท่ี ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ์ น้ั น มี อ ยู่ ซึ่ ง ยทุ โธปกรณ์ที่มีอยจู่ ะสามารถปฏบิ ัตกิ ารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพได้นั้น จาเป็นต้องเตรียมการสนับสนุนด้านต่าง ๆ ไว้อย่างพร้อมเพรียง เพอื่ ให้ยทุ โธปกรณท์ ่ีมีอยู่น้ันมคี วามพร้อมใช้ (Availability) กองทัพเรือ จึงได้ตระหนักถึงความสาคัญของค่าใช้จ่ายใน การใชแ้ ละการซอ่ มบารงุ ตลอดอายกุ ารใชง้ าน จงึ กาหนดให้มรี ะบบ การซ่อมยุทโธปกรณ์ท่ีดี ซ่ึงหน่วยเก่ียวข้อ งต่าง ๆ ภายใน กองทพั เรือได้ถอื ปฏบิ ตั ติ ามวตั ถุประสงค์ “เพอ่ื ใหย้ ทุ โธปกรณอ์ ย่ใู น สภาพความพรอ้ มใชง้ าน และสามารถใช้งานได้ในระยะเวลาคุ้มค่า หรอื เกนิ กวา่ ค่าของการลงทุนที่จัดหา” ท้ังนี้กองทัพเรือและหน่วย เกี่ยวข้องต่าง ๆ เหล่าน้ี ได้พัฒนาหลักการและการปฏิบัติอย่าง ต่อเน่ือง จึงได้มีนโยบายในเรื่องการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ของ กองทัพเรือ กาหนดให้หน่วยที่เก่ียวข้องต่าง ๆ มีหน้าท่ีและความ รับผดิ ชอบ คือ 1) อานวยการและกากับดูแลการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ใน ความรับผิดชอบทุกระดับ ทางเทคนิคให้เป็นไปโดยถูกต้องตาม หลกั เกณฑท์ ก่ี าหนด 2)จัดทาคาแนะนา คู่มือและหลักเกณฑ์ในการซ่อมบารุง ยุทโธปกรณใ์ นความรับผดิ ชอบทกุ ระดบั 3)กาหนดวิธีในการรายงานสถานะภาพของยุทโธปกรณ์ใน ความรับผิดชอบ รวมทั้งการรายงานความต้องการการซ่อม บารุงให้หน่วยผู้ใช้ยุทโธปกรณ์ถือปฏิบัติ เพื่อให้การวางแผนและ การซ่อมบารุงมีประสิทธภิ าพอย่างแทจ้ ริง

2 4)กาหนดอัตราเครื่องมือ พัสดุ อุปกรณ์ ชิ้นส่วนอะไหล่และ ช้นิ ส่วนซ่อม ท่จี าเปน็ ตอ้ งใช้สาหรับการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณข์ อง หน่วยซ่อมบารุงระดับต่าง ๆ และดาเนินการจัดหาสนับสนุนให้มี อย่างครบถว้ น 5)เสนอความต้องการเจ้าหน้าท่ี เคร่ืองมือ พัสดุ อุปกรณ์ ช้ินส่วนอะไหลแ่ ละชิน้ สว่ นซ่อม จาเป็นต้องใช้สาหรับการซ่อมบารุง ในระดบั หน่วยตามความรับผิดชอบ เสนอใหห้ นว่ ยเทคนิคพิจารณา ให้การสนบั สนนุ 6) รกั ษาระดับการสะสมพัสดุ อุปกรณ์ ชิ้นส่วนอะไหล่และ ชิ้นสว่ นซอ่ ม ให้เต็มอัตราอย่เู สมอ เพ่อื ใหพ้ ร้อมในการซ่อมบารงุ ระยะเวลาในการจดั หาอะไหลแ่ ละการจดั หาอะไหล่เพิม่ เติม เป็น ปัญหาที่ทาให้การซ่อมบารุงเรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ขอ ง กองทัพเรือ การเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดซ้ือจัดจ้าง น่าจะเป็น หนทางหน่ึงในการแก้ปัญหาการจัดหาอะไหล่ได้ตรงตามต้องการ แต่ไม่สามารถแกป้ ญั หาระยะเวลาในการจัดหาอะไหลห่ รือการจัดหา อะไหล่เพ่ิมเติมได้ จึงมีแนวทางในการแก้ปัญหาน้ีด้วยการจัดทา “สมุดอัตราพัสดุประจาเรือ” เพื่อให้เป็นแหล่งรวมข้อมูลเก่ียวกับ การส่ งกา ลังส นับส นุนก ารป ฏิบัติก ารแ ละก ารซ่ อ มบ ารุงท่ี จาเป็นต้องมีไว้สนบั สนุนการปฏบิ ตั ิการและซ่อมบารุงตามแผนให้มี ระดบั สะสมตามทกี่ องทัพเรือกาหนด รวมท้ังเพื่อใช้ให้เป็นแนวทาง แก่เรือและหน่วยสนับสนุนการซ่อมบารุงทุกระดับให้แก่เรือ และมี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ พ ร้ อ ม กั บ ป รั บ ป รุ ง อั ต ร า พั ส ดุ ใ น เ รื อ แ ต่ ล ะ ล า ท่ี สอดคล้องกับแผนงานซ่อมบารุง ตามช่วงเวลาที่กองทัพเรือ กาหนดเปน็ เกณฑ์ในการรกั ษาระดบั สะสมในเรือ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ร ะ บ บ ใ น ปั จ จุ บั น ยั ง มี ปั ญ ห า ใ น เ รื่ อ ง ประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติงาน เนื่องจากไม่มีการนา เทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ และไม่มีเครื่องมือช่วยอานวย ความสะดวกในการปฏิบัติงาน ซ่ึงปัญหาของระบบในปัจจุบัน สามารถจาแนกไดด้ งั น้ี 1) สมุดอัตราพัสดุประจาเรือ ยังอยู่ในรูปแบบของเอกสาร บรรณสาร ทาให้การบริหารจัดการ มีความยุ่งยาก มีความ ซับซ้อน ใช้เวลานาน สิ้นเปลืองทรัพยากร ท้ังในเรื่อง การสร้าง การแกไ้ ขปรบั ปรุง การเปล่ียนแปลง การแจกจ่าย การคน้ หา 2)สมดุ อัตราพัสดปุ ระจาเรือ ไม่เป็นศูนย์กลาง มีการกระจัด ก ร ะ จ า ย ต า ม ห น่ ว ย ต่ า ง ๆ เ มื่ อ มี ก า ร แ ก้ ไข ป รั บ ป รุ ง ก า ร เปลยี่ นแปลง ทาใหข้ ้อมลู ไม่ตรงกัน 3)การติดต่อสอ่ื สารในการรบั -ส่งขอ้ มูล มีความล่าช้าไม่ทัน ต่อสถานการณ์ เพราะต้องใช้เจา้ หนา้ ทีใ่ นการเดินเอกสารตามสาย

3 งาน ท้งั ในเรื่องการตรวจสอบ การเสนออนมุ ัติ การแจกจ่าย การ รายงานการซอ่ มบารงุ 4)ขาดเครื่องมือช่วยในการติดตาม การคานวณ การ วิเคราะห์ การประมาณการ เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการวาง แผนการซอ่ มบารุง การสง่ กาลังบารุง 5)การตรวจสอบหรือคน้ หาพัสดใุ นเรอื แต่ละลายงั ไมเ่ ป็นแบบ อัตโนมตั ิ ทาให้การตรวจสอบหรอื ค้นหาพัสดทุ าได้ยากและล่าช้า 6) พัสดุในเรือไม่มีสิ่งที่ใช้ระบุตัวตนจึงไม่ทราบลาดับ กอ่ นหลัง ทาให้พัสดุท่มี ากอ่ นแต่ยังไมไ่ ด้ใชห้ มดอายหุ รือเสื่อมสภาพ ตามกาลเวลา จากปัญหาดังกล่าว จึงได้มีออกแบบและการพัฒนาระบบ สมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงได้นา หลักการของวิศวกรรมซอฟต์แวร์มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ และพัฒนา ต้ังแต่ขั้นตอนแรกของกระบวนการจนถึงขั้นตอนการ บารุงรักษา โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือการผลิตซอฟต์แวร์ให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด อันประกอบด้วยปัจจัยคุณภาพหลายประการ เช่น ต้องเป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้งานง่าย ใช้ต้นทุนต่า ใช้เวลาในการ ผลิตน้อย และบารงุ รักษางา่ ยเป็นต้น ด้วยหลักการทางวิศวกรรม ที่เป็นการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ประสบการณ์และการตัดสินใจ เพ่ือสร้างสิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาด้วย ความคิดสร้างสรรค์ ทาให้วิศวกรรมซอฟต์แวร์สามารถวัดและ ประเมนิ คณุ ภาพของซอฟตแ์ วรแ์ ตล่ ะดา้ นในเชิงปรมิ าณได้ ตลอดจน สามารถปรับปรุงหรือพัฒนาให้กระบวนการผลิตซอฟต์แวร์เป็น กระบวนการท่ีมีคุณภาพ ก่อให้เกิดซอฟต์แวร์ท่ีมีคุณภาพ คุ้มค่า ในทางเศรษฐศาสตร์ และปลอดภัยตอ่ ชวี ิตและทรพั ยส์ นิ ได้ นอกจากนี้ ยังไดอ้ อกแบบระบบการจดั การคลังพสั ดุในเรือให้ เป็นระบบอตั โนมัติ ด้วยเทคโนโลยี RFID เพ่ือช่วยในการระบุตัวตน ของพัสดุ ช่วยในการค้นหาตาแหน่งการจัดเก็บพัสดุในคลังได้ รวดเรว็ สามารถหยบิ ใช้ได้ทนั ที ช่วยในการตรวจสอบรายการและ ปริมาณพัสดุไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและรวดเร็วแบบอัตโนมัติ 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1) เพื่อนาเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาประยุกต์ใช้กับกระบวนการ ทางานในการจดั ทาสมดุ อัตราพัสดปุ ระจาเรือใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมาก ข้ึน 2)เพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ทใ่ี ช้เป็นเคร่ืองมือช่วยในการการสร้าง การปรบั ปรุง การปรับเปล่ียน การแลกเปล่ียน การติดตาม การ ประเมินและการประมาณการให้มีความถูกต้องและสอดคล้องกับ สมดุ อัตราพัสดปุ ระจาเรือ

4 3)เพ่ือนาเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ใช้กับระบบ ให้มีลักษณะ เปน็ แบบอตั โนมัติ 1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1) วเิ คราะห์ ออกแบบ และพฒั นาระบบสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื เป็นการจัดทาสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ ขอ งเรือแต่ละลาใน กองทัพเรือ ซึง่ ประกอบด้วย (1) รายการยทุ โธปกรณท์ ี่ติดตัง้ ในเรอื และครุภณั ฑ์ที่ นามาใช้ในเรอื (2) อตั รารายการชน้ิ สว่ นยุทโธปกรณ์ (3) อตั ราพัสดุในเรอื (4) คณุ ลกั ษณะและขดี ความสามารถของพสั ดุ (5) ขีดความสามารถในการซอ่ มบารุงเรอื (6) สถิตการใช้ส้ินเปลอื ง (7) ความจาเปน็ ทางเทคนคิ และความจาเปน็ ทางทหาร (8) ระบบตรวจสอบสิทธิการใช้งาน 2)ระบบการสนบั สนุนการส่งกาลงั เปน็ การสนับสนนุ ชนิ้ สว่ น ซอ่ มและพัสดตุ ามสมุดอตั ราพสั ดปุ ระจาเรือของเรอื แตล่ ะลาใน กองทพั เรอื 3)ระบบการซอ่ มบารงุ เปน็ การซอ่ มบารงุ ในระดบั หนว่ ยเรอื (หนว่ ยผูใ้ ช้) เทา่ นน้ั 4)ใช้เทคโนโลยี RFID ในการจดั การพัสดุในเรอื แต่ละลา 5)ระบบสามารถใชง้ านผ่านทางเวบ็ บราวเซอรเ์ ทา่ น้นั 6) ระบบสามารถจัดการสทิ ธใิ นการเข้าใชร้ ะบบของ หน่วยงานตา่ ง ๆ ได้ 7) ระบบไม่ครอบคลุมถึงการรกั ษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลใน การรบั สง่ ภายในเครอื ขา่ ย เนอ่ื งจากเครอื ข่ายของระบบนอี้ ยู่ ภายใต้เครอื ข่ายกองทัพเรอื อีกที ซง่ึ เครอื ขา่ ยกองทัพเรอื มีการ รักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลอยแู่ ลว้ 8)ระบบมีสว่ นทต่ี ิดตอ่ กับผใู้ ช้งานในลกั ษณะทเี่ ปน็ กราฟกิ (Graphic User Interface : GUI) 9) ระบบคอมพิวเตอรท์ ่ีใชใ้ นการพฒั นาระบบ ใช้ ทรพั ยากรทมี่ อี ยขู่ องหนว่ ยงานซึ่งมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ (1) ฮาร์ดแวร์ - เครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ ่ายใหบ้ รกิ ารฐานขอ้ มลู (Database Server) - เครอื่ งคอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ยใหบ้ รกิ ารเวบ็ (Web Server) - เครอื่ งคอมพวิ เตอรล์ กู ข่าย (Client)

5 (2) ซอฟตแ์ วร์ - ร ะ บ บ ป ฏิ บั ติ ก า ร ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ต์ วิ น โ ด ว ส์ 2 0 0 8 เซริ ์ฟเวอร์ (Microsoft Windows 2008 Server) - โปรแกรมประยุกตไ์ มโครซอฟทว์ สิ โิ อ 2007 (Microsoft Visio 2007) - โปรแกรมประยกุ ตไ์ มโครซอฟทเ์ วริ ด์ 2007 (Microsoft Word 2007) - โปรแกรมประยุกต์อินเตอร์เน็ตเอ็กซ์เพลอเรอร์ 8.0 (Internet Explorer 8.0) - ระ บ บ จั ด ก า รฐ า น ข้ อ มู ล ไม โ ค ร ซ อ ฟต์เอ ส คิ ว แ อ ล เซริ ์ฟเวอร์ (Microsoft SQL 2008 Sever) - พเี อชพี (PHP 5.0) - อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต อิ น ฟ อ ร์ เ ม ชั น เ ซ อ ร์ วิ ส ( Internet Information Services : IIS) 1.4ขนั้ ตอนและวธิ กี ารดาเนนิ โครงงาน มกี ารดาเนินงานสามารถแบ่งเป็น 3 สว่ น คอื 1) การศกึ ษาขอ้ มูลเบอ้ื งตน้ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง (1) ศกึ ษาความเปน็ ไปไดข้ องระบบ (2) ศกึ ษาขอ้ มลู พืน้ ฐานระบบงานปัจจบุ นั ของหนว่ ยงาน (3) ศกึ ษานโยบาย เปา้ หมาย และลกั ษณะการดาเนนิ งาน ของหนว่ ยงาน (4) ศกึ ษาเทคโนโลยแี ละทฤษฎีท่ีเกยี่ วขอ้ ง 2)การดาเนินงานวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ (กาหนดความตอ้ งการ และออกแบบ) เปน็ การดาเนินงานตามขน้ั ตอนหลกั ของ กระบวนการวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ (1) เริ่มต้นทีข่ นั้ ตอนการกาหนดความตอ้ งการ ดว้ ย กระบวนการทเี่ รียกว่า วศิ วกรรมความตอ้ งการ ไมว่ า่ จะเปน็ ความ ตอ้ งการของผใู้ ช้ ความตอ้ งการดา้ นระบบ ความตอ้ งการหน้าท่ี หลักและไมใ่ ชห่ นา้ ทหี่ ลัก (2) เป็นการทบทวนแบบจาลอง ท่ีใชจ้ าลองระบบในดา้ น ต่าง ๆ ตามแนวคดิ เชิงวัตถุ (3) การออกแบบซอฟต์แวร์ เปน็ แนวคดิ ในการออกแบบ ซอฟตแ์ วร์ ออกแบบสถาปตั ยกรรมซอฟต์แวร์ รวมถงึ การจัด โครงสร้าง การแบ่งสว่ น และการควบคมุ การทางานของ สว่ นประกอบยอ่ ยของซอฟตแ์ วร์

6 (4) การออกแบบส่วนตอ่ ประสานกับผใู้ ช้ และเน้นคณุ ภาพ ตลอดจนอานวยความสะดวกในการใชง้ านผใู้ ช้ 3)การดาเนนิ งานวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ (สร้าง ทดสอบ และ บารุงรักษา) (1) การเขยี นโปรแกรม เป็นกจิ กรรมในการสรา้ งหรือผลิต ซอฟตแ์ วร์ ใหค้ วามสาคญั ของมาตรฐานที่กาหนดขึ้นในการเขยี น โปรแกรม หลกั ปฏบิ ตั ิในการเขยี นโปรแกรม โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เดียวกนั คอื “คุณภาพ” (2) การทดสอบซอฟตแ์ วร์ เปน็ สว่ นสาคญั ของงาน วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ มกี ลยุทธต์ ่าง ๆ ในการทดสอบแต่ละระดบั (3) การบารงุ รกั ษาซอฟตแ์ วร์ มปี ระเภทและกระบวนการ ในการบารุงรกั ษา ตลอดจนเทคนิคและเครอื่ งมอื ท่ีใช้ 1.5ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั 1) มกี ระบวนการทางานท่ปี ระสิทธิภาพมากขึ้นในการสนับสนุน การบารงุ รกั ษายทุ โธปกรณ์ 2)ได้เคร่ืองมือท่ีช่วยในการจัดการหรือบริหารการจัดทาสมุด อัตราพสั ดปุ ระจาเรือ 3)ได้มกี ารรวบรวมขอ้ มลู และเทคนิคต่าง ๆ ไว้เป็นศูนย์กลางใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ปลอดภัย และบริหารจดั การง่าย 4)การบริหารพัสดคุ งคลังในเรือเป็นไปแบบอัตโนมตั ิ 5)ช่วยในการรายงาน ติดตาม สืบค้น ประมาณการ และ วางแผนการซอ่ มทายทุ โธปกรณ์ 6) เป็นประโยชน์ตอ่ กองทัพเรือ ทั้งด้านความพร้อมใช้ของ ยุ ท โ ธ ป ก ร ณ์ แ ล ะ ค ว า ม ป ร ะ ห ยั ด ง บ ป ร ะ ม า ณ เ ป็ น อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ 1.6โครงสรา้ งของเนอ้ื หาโครงงาน โค รงส ร้า งขอ งเนื้ อ ห า รา ยงา นโ ค รงงา น มห า บัณ ฑิ ต ประกอบด้วยรายละเอียด 7 บท และภาคผนวก 7 ภาคผนวก ดงั ต่อไปนี้ บทท่ี 1 กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน ขั้นตอนและ วิธีการดาเนินโครงงาน ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากโครงงาน มหาบัณฑติ บทท่ี 2 กล่าวถึงทฤษฎแี ละงานวิจยั ท่เี กย่ี วขอ้ งในการทา โครงงานมหาบัณฑิต

7 บทท่ี 3 กลา่ วถงึ การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของ กระบวนการและระบบ บทท่ี 4 กล่าวถงึ การออกแบบระบบ บทท่ี 5 กลา่ วถึงการพัฒนาระบบ บทที่ 6 กล่าวถงึ การทดสอบระบบ บทที่ 7 กลา่ วถงึ บทสรุปของโครงงาน ปัญหาและข้อจากัดใน การทาโครงงาน รวมถึงข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ก อภธิ านศพั ท์ ภาคผนวก ข คายอ่ และรสั พจน์ ภาคผนวก ค โครงสรา้ งองค์กรของทม่ี บี ทบาทเกีย่ วขอ้ งกับ ระบบสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื ภาคผนวก ง ความตอ้ งการด้านหนา้ ทีข่ องระบบ ภาคผนวก จ แผนภาพและตารางคาอธบิ ายยสู เคส ภาคผนวก ฉ โครงสร้างและรายละเอยี ดของตารางขอ้ มูล ภาคผนวก ช ตัวอยา่ งกรณที ดสอบ

บทท่ี 2 ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.1 ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง 2.1.1 สมดุ อัตราพสั ดปุ ระจาเรือ [3] สมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เป็นท้ังเอกสารทางเทคนิคและ ทางการส่งกาลัง ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลทางเทคนิคของอุปกรณ์ รายการช้ินส่วนซ่อม และข้อมูลทางการส่งกาลัง ท่ีจะระบุให้ฝ่าย สนั บ สนุ น ทร า บ รา ย กา ร แ ละ จาน ว น ชิ้น ส่ วน ซ่ อ ม ท่ี มีค ว า ม จาเปน็ ตอ้ งจัดใหม้ ไี ว้ในหอ้ งพัสดุบนเรอื รวมถงึ จานวนรายการและ จานวนครภุ ณั ฑอ์ น่ื ๆ ทจี่ าเปน็ จดั ใหม้ ีไวใ้ ช้ปฏบิ ัติงานบนเรอื ดว้ ย โดยทั่วไปข้อมูลที่ต้องนามาใช้ในการกาหนดอัตราพัสดุใน เรอื ได้แก่ 1) รายการยุทโธปกรณ์ที่ติดต้ังในเรือ และครุภัณฑ์ที นามาใชใ้ นเรอื 2) อตั รารายการชน้ิ ส่วนยทุ โธปกรณ์ 3) คุณลักษณะและขดี ความสามารถของพัสดุ 4) ขีดความสามารถในการซอ่ มบารงุ เรอื 5) สถิตกิ ารสน้ิ เปลือง 6) ความจาเปน็ ทางเทคนิคและความจาเป็นทางทหาร หลกั การจดั ทาสมุดอัตราพสั ดปุ ระจาเรอื จะมสี ว่ นท่ี เก่ียวขอ้ งกบั ส่วนตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี 1) รายการชิน้ สว่ นซ่อม ท่ีต้องการใช้ในการซ่อมบารุง มี การดาเนินการเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซึง่ ความพร้อมในการสนับสนุนช้ินส่วน ซ่อมที่ถูกต้อง เพียงพอต่อทุกเมื่อ และทุกหนทุกแห่งที่เกิดความ ตอ้ งการใชใ้ นการซ่อมบารุง 2) การกาหนดความต้องการอะไหล่ช้ินส่วนซ่อม ท้ังในแง่ ของจานวนรายการและในแง่ของปริมาณของแต่ละรายการ ซ่ึง สามารถบ่งช้ีรายการและปริมาณที่ถูกต้องตามที่จะเป็นจริงใน อนาคตได้ ความถูกต้องของการประมาณขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และข้อมูลสถิติ เพื่อที่จะประมาณการได้อย่างพอเพียงต่อเนื่อง ตลอดช่วงเวลาหนงึ่ ๆ ในอนาคต 3) การจัดให้มีปริมาณเร่ิมแรกของรายการอะไหล่และ ชิ้นส่วนซ่อ ม เพ่ือ ให้พอ เพียงสนับสนุนการใช้ยุทโธปกรณ์ใน ช่ ว ง เ ว ล า ห น่ึ ง จ น ก ว่ า จ ะ มี ข้ อ มู ล ห รื อ ป ร ะ ส บ ก า ร เ พี ย ง พ อ ท่ี จ ะ ป ร ะ ม า ณ ก า ร แ ล ะ จั ด ใ ห้ มี ร า ย ก า ร อ ะ ไ ห ล่ แ ล ะ ช้ิ น ส่ ว น ซ่ อ ม เ ข้ า ม า เพิม่ เตมิ ได้อย่างพอเพยี งตอ่ เนอ่ื งตอ่ ไปได้

9 4) ปริมาณความต้องการอะไหล่และชิ้นส่วนซ่อม ซ่ึงเป็น แนวคดิ ในการจดั หาอะไหล่และช้นิ ส่วนซอ่ มเพมิ่ เตมิ เข้ามา เป็นปัจจัย สาคญั ในการรักษาระดบั ปรมิ าณคงคลงั ท่ีกาหนดไวไ้ ด้ 5) ในบางโอกาสมีความจาเป็นตอ้ งจดั หาอะไหลแ่ ละช้ินส่วน ซ่อม เขา้ มาพรอ้ มกับการจัดหาหรอื ก่อสรา้ งยทุ โธปกรณ์หลักด้วย แมว้ ่าจะไม่มีความต้องการใช้ในเวลาน้ัน เนื่องจากหากจัดซ้ือพร้อม การจัดซ้อื ยุทโธปกรณ์หลักจะได้รับการเสนอราคาท่ีตา่ กวา่ 6) ผู้จัดการพัสดุคงคลังต้องพิจารณาว่า จัดหาอะไรตาม ความจาเปน็ จดั หาเมือ่ ไหร่ จดั หาในปริมาณเท่าไหร่ จดั เก็บไวท้ ี่ไหน 7) แนวความคิดของ “push” ฝ่ายสนับสนุนต้องมีความ แม่นยาในการประมาณการปริมาณพัสดทุ ่ีจัดสง่ ไดอ้ ย่างเข้าจังหวะ กับความสิ้นเปลืองที่เกิดข้ึนทุกรายการ ดังนั้นการส่งกาลังไปยัง พื้นท่ีปฏิบัติการในลักษณะ “push” ใช้หลักการ “resupply” หรือ ทยอยเพิ่มเติม 8) แนวความคิดของ “pull” กองกาลังในพ้ืนที่ปฏิบัติการ หรือหน่วยปฏิบตั ิการจะไดร้ ับการพิจารณาให้สาสมพัสดุตามระดับ ความสามารถในการแบกภาระและระดบั ของการสนบั สนุนทางการ ส่งกาลงั 2.1.2 ระบบการซ่อมบารงุ [3] การซอ่ มบารงุ หมายถึง การปฏิบัติท้ังปวงท่ีกระทาเพ่ือให้ ยุทโธปกรณ์คงอยู่ในสภาพหรือกลับคืนสู่สภาพใช้การได้ การ ปฏิบตั ดิ งั กลา่ วได้แก่ การตรวจ การทดสอบ การบรกิ าร การแยก ประเภทความสามารถใช้การได้ การซอ่ ม การสร้าง การดัดแปลง และการทาใหก้ ลบั ใชก้ ารได้ 1) การซ่อมบารงุ เรือตามแผนในกองทัพเรอื การซ่อมบารุงตามแผน เป็นการซ่อมบารุงในลักษณะ การซ่อมบารุงป้องกัน ซ่ึงปฏิบัติการอย่างมีแผนงาน มีกาหนด ระยะเวลาที่แนน่ อน มีการควบคมุ อย่างใกล้ชิด สามารถรายงานสิ่ง ทีบ่ กพรอ่ งให้ดาเนินการแกไ้ ขกอ่ นทก่ี ารชารุดจะลุกลามมากข้ึนจน ใช้การไม่ได้ การซ่อมบารุงตามแผนจะปฏิบัติการโดยหน่วยใช้ ยทุ โธปกรณ์ แตห่ ากมีส่วนท่ีต้องใช้เทคนิคสูงหรือต้องใช้เคร่ืองมือ พิเศษจะปฏบิ ตั ิโดยหนว่ ยซอ่ มบารุงระดบั หนว่ ยสนับสนุน หรือระดับ โรงงาน 2) ลักษณะการซ่อมบารงุ มี 3 ลกั ษณะคอื - การซ่อมบารุงป้องกัน (Preventive) เป็นการ ซอ่ มบารงุ ในลกั ษณะปอ้ งกนั ยุทโธปกรณ์ไวก้ อ่ นที่ยุทโธปกรณ์น้ันจะ ชารดุ เสียหาย

10 - การซ่อมบารุงแก้ไข (Corrective) เป็นการซ่อม บารุงในลกั ษณะที่ยุทโธปกรณ์ชารุดแลว้ จึงแกไ้ ข - การซ่อมบารุงปรับปรุง (Overhaul) เป็นการ ซอ่ มบารงุ ในลกั ษณะเพมิ่ เตมิ ดดั แปลงหรอื ปรบั ปรงุ ยุทโธปกรณ์ให้ มปี ระสิทธิภาพดีขึน้ 3) ระดบั การซอ่ มบารุงมี 3 ระดับ คือ - ระดับ เรือ ก ารซ่อ ม บารุงร ะดับหน่ วยผู้ใ ช้ ดาเนนิ การโดยเจา้ หน้าทป่ี ระจาเรือ โดยอาศยั เครอ่ื งมือและชิ้นส่วน อะไหลท่ ม่ี ีอยู่ในเรอื - ระดับกลาง การซ่อมบารุงระดับหน่วยสนับสนุน ดาเนินการโดยหนว่ ยซ่อมบารุง - ระดับโรงงาน ดาเนินการโดยหน่วยซ่อมบารุง ของหน่วยเทคนิค 2.1.3 ระบบการสง่ กาลังบารุง [4] 1) การส่งกาลังบารุง (Logistics) หมายถึง การ ปฏบิ ัติการทางทหารในด้านท่ีวา่ ดว้ ย - การออกแบบและการพัฒนา การจัดหา การเก็บ รักษา การเคลื่อนย้าย การแจกจ่าย การซ่อมบารุง การส่งกลับ และการจาหนา่ ยพสั ดุ - การเคล่อื นย้าย การส่งกลับ การรักษาพยาบาล กาลังพล - การจดั หาหรอื การก่อสร้าง การซอ่ มบารุง การ ปฏิบตั กิ าร และการจดั วางสิง่ อานวยความสะดวก - การจัดหาหรอื การจัดการบรกิ าร 2) การสนับสนุนการส่งกาลังบารุง (Logistics Support) หมายถึง การเตรยี มการสนบั สนนุ ดา้ นต่าง ๆ หรือสาขาต่าง ๆ ไว้ อย่างพร้อมเพรยี ง เพือ่ ใหย้ ุทโธปกรณ์ที่มีอยู่มีความพร้อมใช้ ทั้งน้ี การสนับสนุนการส่งกาลังบารุงท่ีทาให้ยุทโธปกรณ์ดังกล่าว สามารถใช้ได้ตลอดวงรอบอายุการใช้งาน (Life Cycle) อย่างมี ประสิทธิภาพและประหยัดน้ัน จาเป็นต้องนาเอาสาขาต่าง ๆ ของ การส่ งกาลั งบา รุงมา ผสม ผสาน ให้เกิดคว ามก ลมกลื นแล ะ สอดคล้องกัน 2.1.4 Radio Frequency Identification (RFID) 1) RFID Technology [2] เป็นระบบท่ีพัฒนามาจากระบบ Barcode ซ่ึงเป็นระบบการระบุตัวตนที่ใช้เทคนิคการเก็บและดึง ข้อมูลจากส่ือแม่เหล็กผ่านทางคลื่นวิทยุ ปัจจุบันเทคโนโลยีล้าหน้า ขึน้ มาอย่างรวดเรว็ เพราะต้นทนุ ของชพิ และอุปกรณก์ ารอ่านราคา

11 ลดลง การเพ่ิมความสามารถในการส่งข้อมูลที่ราคาต่าและ ประสทิ ธภิ าพสูง ทาใหห้ ลายบรษิ ทั เรมิ่ นา RFID มาติดตามสินค้าที่ ส่งตลอดชัพพลายเชน ซ่ึงกิจกรรมท่ีนิยมใช้ได้แก่ งานคลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า งาน Logistic การจัดการสินค้าคงคลัง ป้าย ประจาตัวสัตว์ และห้างสรรพสนิ คา้ เป็นตน้ 2) การทางานขอ งระบบ RFID ประกอ บไปด้วย สว่ นประกอบ 3 ส่วนดงั น้ี - แท็ก (Tag) คือแผงวงจรวิทยุขนาดเล็กบรรจุ ขอ้ มูลความจา (Memory chip) สามารถตดิ ไว้ทีต่ ัวสนิ ค้าได้ ภายใน บรรจชุ ิพขนาดเลก็ (Microchip) สามารถเขยี นและลบข้อมูลได้ - เคร่ืองอ่าน (Reader) สามารถสร้างสัญญาณ คลื่นความถ่วี ิทยทุ ี่แท็ก สามารถตอบสนองได้เพ่ือใหแ้ ท็กตอบสนอง ตอ่ สัญญาณคลน่ื และทาการรับหรือสง่ ขอ้ มลู ได้ - เสาอากาศ (Antenna) จะเชื่อมต่อกับเคร่ืองอ่าน เพ่ือส่งคลื่นวิทยุไปยังแท็กกระตุ้นให้แท็กส่งข้อมูลกลับมาให้เครื่อง อา่ น 3) กระบวนการทางานของ RFID [1] กระบวนการทางานพ้ืนฐานของระบบ RFID คือ หลังจากเครื่องอ่านส่งสัญญาณคล่ืนความถ่ีวิทยุท่ีมี ความถ่ี บ า ง อ ย่ า ง ไ ป ท่ี เ ส า อ า ก า ศ แ ล้ ว จ ะ ส ร้ า ง ค ล่ื น เ ห นี่ ย ว น า ไ ป ที่ แ ท็ ก เปา้ หมายในพนื้ ทีก่ ารทางานของการส่งเสาอากาศและแท็ก อาศัย พ ลั ง ง า น ที่ ไ ด้ จ า ก ค ลื่ น เ ห นี่ ย ว น า แ ท็ ก จ ะ ส่ ง ค ว า ม จ า ข อ ง ข้ อ มู ล ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น ชิ ป ห รื อ ส่ ง สั ญ ญ า ณ ข อ ง ค ว า ม ถ่ี บ า ง อ ย่ า ง ทั น ที หลังจาก หลังจากการแปลงสัญญาณและถอดรหัสของสัญญาณ คลื่นพาหะท่ีส่งมาจากแท็กไปท่ีเสาอากาศจะรับ เคร่ืองอ่านจะส่ง ข้อมูลไปที่ระบบการจัดการข้อมูลท่ีเก่ียวข้องในเก็บข้อมูล ระบบ การจัดก ารข้อ มูล จะตรว จความถู กต้อ งข อ งแท็ก โดยกา ร ดาเนนิ การตรรกะและกระบวนการและการควบคุมตามลาดับตาม การตง้ั ค่าทแี่ ตกตา่ งกัน และจากนั้นส่งสัญญาณคาสั่งเพื่อควบคุม การทางานของตัวกระตุ้น 4) มาตรฐาน EPC Standard สาหรบั RFID [2] เปน็ โครงสรา้ งใหมใ่ นการกาหนดเลขรหัสให้กับสินค้าท่ี ถูกพฒั นาขน้ึ โดย Auto-ID Center โดยองคก์ ร GS1 เปน็ ผูส้ นับสนุน การวจิ ัยและพฒั นาซง่ึ ทาให้การกาหนดเลขรหัสเพอื่ บง่ ชีส้ นิ คา้ แตล่ ะ หน่วยย่อย เพื่อการค้าปลีกมีความแตกต่างกันไม่ซ้ากัน ซ่ึงมี ประสิทธิภาพดีกว่าเลขบาร์โค้ดในระบบเดิม และยังสามารถใช้ ร่วมกับเทคโนโลยี RFID เพ่ือใช้บ่งช้ีสินค้าได้อีกด้วย ซ่ึงเลขรหัส EPC จะเป็นโครงสร้างเลขรหัสที่อยู่ในไมโครชิพ ที่จะใช้กับระบบ

12 RFID ซ่ึงทาหน้าท่ีแทน Sticker หรือแถบ Barcode บนตัวสินค้า โดยอปุ กรณ์ RFID Reader จะสามารถอา่ นรหัส EPC ซ่ึงจะช่วยให้ สามารถตรวจสอบการเคลื่อนที่และกาหนดตาแหน่งของสินค้าได้ อย่างถูกต้อง รวมถึงการบ่งช้ีข้อมูลของสินค้าในระบบเพ่ือนามา บันทึกข้อมูลและประมวลผลในด้านต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและ รวดเรว็ โดยใช้ประโยชนจ์ ากการอา่ นข้อมลู ไดท้ ีละมาก ๆ ด้วยคลื่น ความถว่ี ทิ ยุ มาตรฐานสากลที่ได้ประกาศตาม EPC Global Tags Standard V.1.3 เม่ือวันท่ี 8 มีนาคม 2006 เป็นมาตรฐานที่ใช้ สาหรับ RFID Class 1 Generation 2 UHF ซึ่งเป็น Passive ย่าน ความถตี่ า่ ท่ีใชก้ บั สินคา้ ทั่วไป 5) คณุ สมบัตเิ ดน่ ของระบบ RFID [1][2] RFID เป็นระบบบ่งช้ีอัตโนมัติท่ีได้เปรียบระบบบ่งชี้ อตั โนมตั แิ บบอน่ื ๆ ซ่ึงมีส่วนช่วยในการตดั สนิ ใจเลือกเทคโนโลยีนมี้ า ใชก้ บั ระบบพสั ดุคงคลงั สามารถสรุปไดด้ ังนี้ - สามารถอ่านค่าข้อมูลจากแท็กได้หลาย ๆ ค่า ด้วยกัน ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลได้รวดเร็วต่างจากระบบบ่งช้ี อตั โนมัตแิ บบอน่ื ๆ สว่ นมากจะสามารถอ่านค่าไดท้ ีละครงั้ - สามารถอา่ นขอ้ มลู ไดใ้ นทกุ สภาพแวดลอ้ ม จงึ เปน็ อุปกรณท์ ่เี หมาะสมสาหรบั การใช้งานในโรงงานอตุ สาหกรรม - ส า ม า ร ถ น า ก ลั บ ม า ใ ช้ ใ ห ม่ ไ ด้ ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ โครงสร้างและความสามารถในการเขียนข้อมูลซ้า จึงทาให้แท็ก สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้มากกว่า 100,000 คร้ัง ต่อ 1 แท็ก คณุ สมบตั ิขอ้ น้ีเป็นจุดแขง็ อกี จดุ หน่งึ ทีร่ ะบบบ่งชอ้ี ัตโนมตั ิ ชนดิ อ่ืนไม่ สามารถทาได้ - สื่อสารได้ในระยะไกล ระยะในการอ่านหรือเขียน ขอ้ มลู ของระบบ RFID น้ันได้ ต้ังแต่ 0-10 เมตร ซึ่งถือว่าไกลท่ีสุด ในบรรดาระบบบ่งช้ีอตั โนมตั ิ ท้งั น้รี ะยะในการอ่านหรือเขียนข้อมูล จะขึน้ อยู่กบั กาลงั ส่งของเสาอากาศและชว่ งความถท่ี ่ีใชง้ าน - แท็กมีหลากหลายแบบให้ประยุกต์ใช้งาน จะถูก ออกแบบให้มีรูปร่าง ขนาดโครงสร้างความจุของหน่วยความจา และลักษณะการใช้งานท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น มีลักษณะเป็น สมารท์ การ์ด กระดมุ เหรยี ญ ทรงสเ่ี หลีย่ ม หรือแมก้ ระท่งั เป็นแผน่ บาง ๆ เพื่อให้ผ้ใู ชง้ านสามารถเลือกใช้ตามความตอ้ งการ - อ่าน/เขียนโดยไม่ต้องสัมผัส (Contact less) เครือ่ งอา่ นกบั แท็กสามารถสื่อสารกันได้โดยไม่ต้องสัมผัส ทาให้ไม่ เกดิ ส่วนของการสึกหรอเหมือนการ์ดแถบแม่เหล็ก ทาให้ต้นทุนใน การดูแลรักษาต่า อายุการใช้งานยาวนานและสะดวกรวดเร็วใน การใช้งาน

13 - หน่วยความจาขนาดใหญ่ ซ่ึงหน่วยความจาท่ีใช้ ในระบบ RFID มีตั้งแต่ขนาด 1 บิต จนถึงมากกว่า 8 กิโลไบต์ หน่วยความจาที่เป็น RAM จะสามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่า หนว่ ยความจาแบบอน่ื 2.2 งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2.2.1 The Application of RFID Technology in the Warehouse Management Information System นาเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ในการจัดการคลังสินค้าให้ มีการจดั การขอ้ มลู อตั โนมตั เิ กย่ี วกบั หว่ งโซข่ องการตรวจรับ การ จัดเก็บ การจัดส่ง การจัดสรร การเปลี่ยนแปลง การตรวจสอบ สินคา้ คงคลังและกระบวนการดาเนินการอ่ืน ๆ นอกจากนา RFID ใชร้ ะบสุ ินคา้ แล้วยังนา RFID ระบุคลังสินค้าในแต่ละคลังด้วย การ นาเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ใช้เพื่อให้แน่ใจว่ามีความถูกต้อง ความเร็ว และเป็นแบบอัตโนมัติของการจัดการข้อมูลของสินค้า ข้ อ ดี ข อ ง ร ะ บ บ น้ี คื อ มี ก า ร ติ ด ต่ อ สื่ อ ส า ร ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง อุ ป ก ร ณ์ RFID กับระบบคอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless communication network) ทาให้การใช้งานเทคโนโลยี RFID คล่องตัวข้ึน สามารถติดตั้งไว้ในอุปกรณ์เคล่ือนท่ีได้ เช่น รถยก ของ รถ AGV(Automated Guided Vehicles) และรถเขน เป็นต้น แ ล ะ ติ ด ตั้ ง เ ส า อ า ก า ศ ไ ว้ กั บ ค า น ข อ ง ค ลั ง สิ น ค้ า ไ ม่ มี สิ่ ง กี ด ข ว า ง ทางเข้า-ออกทาใหค้ ลอ่ งตัวในการขนถ่ายสินคา้ และใชร้ ถ AGV ใน คลงั สินค้าเพือ่ ค้นหาตรวจสอบสนิ ค้าแบบอตั โนมัติ แตเ่ นอ่ื งจากเป็น ระบบการจัดการคลังสินค้าขนาดใหญต่ ้องใชง้ บประมาณสงู ดังนั้น จงึ ไมเ่ หมาะท่จี ะนาเทคโนโลยีดงั กลา่ วมาใช้กับระบบสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรือ เน่ืองจากคลังพัสดุในเรือมีขนาดเล็กจึงสามารถ ประยุกตใ์ ชเ้ ฉพาะบางสว่ นทจ่ี าเป็นตามหน้าทีท่ ีต่ อ้ งการใช้ 2.2.2 ระบบจัดการคลังสินค้าอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี RFID กรณศี กึ ษา : บรษิ ทั พิมายฟตุ แวร์ จากดั นาเทคโนโลยี RFID มาประยุกต์ใชใ้ นการจัดคลังสินค้า เพ่ือ จั ด ก า ร ร ะ บ บ ค ลั ง สิ น ค้ า ใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ อั ต โ น มั ติ ห รื อ ใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ อัจฉริยะ เช่น สามารถตรวจสอบการรับเข้า และจ่ายออกของ สินค้าโดยอัตโนมัติ สามารถค้นหาและระบุตาแหน่งของสินค้าใน คลงั มีระบบเตอื นเมือ่ สินคา้ ใดถงึ เวลาทีต่ ้องนาเขา้ และมรี ะบบเตอื น เมื่อมีการขโมยสินค้าออกจากคลังสินค้า เป็นต้น และท่ีสาคัญคือ ความสามารถในการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของการจัดเก็บสินค้าและ ความเชอ่ื ม่ันของลูกคา้ ท่ีมีต่อองค์กร ระบบดังกล่าวมีข้อดีคือการ นาสินค้าเข้า-ออกคลังสินค้าได้ครั้งละจานวนมากและมีการปรับ

14 ยอดสินค้าโดยอัตโนมัติไม่ต้องคนเข้ามาเกี่ยวข้อง การค้นหาและ ระบตุ าแหนง่ ทเ่ี กบ็ ในคลงั สนิ คา้ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว แม่นยา ทาให้การ เข้าถึงสินค้าสะดวกย่ิงข้ึน และมีระบบแจ้งเตือนทาให้การจัดการ สินคา้ มคี วามผิดพลาดน้อยลงหรืออาจไม่มีเลย แต่มีข้อเสียในเร่ือง ของการติดตั้งเสาอากาศท่ีติดตั้งไว้ที่ประตูทางเข้า-ออก ทาให้ ขัดขวางช่องทางในการขนถ่ายสินค้าเป็นผลให้การขนถ่ายสินค้า ขาดความคล่องตัว หรือ อาจมีการเฉี่ยวหรือชนระหว่างขนถ่าย สินค้าทาให้เกิดความเสียหายของอุปกรณ์หรือสินค้า ควรมีการ ติดตั้งไว้ในท่ีไม่มีการขัดขวางช่องทางเข้า-ออก ระบบดังกล่าว สามารถนามาประยุกตใ์ ช้กบั ระบบสมดุ อัตราพัสดุประจาเรือได้ แต่ ต่างกันทเี่ สาอากาศและเคร่ืองอ่านอยู่ในตัวเดียวกันซ่ึงมีขนาดเล็ก ทาให้การทางานมีความยดื หย่นุ มคี วามสะดวกมากข้นึ

บทท่ี 3 การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการระบบ การวเิ คราะห์ความตอ้ งการของระบบสมุดอัตราพัสดุประจา เรือนนั้ จะทาการวิเคราะห์จากขอ้ มลู ความต้องการทไี่ ด้รวบรวมมา ที่สาคัญ ได้แก่ แนวปฏิบัติของกลุ่มกระบวนการจัดทาสมุดอัตรา พสั ดปุ ระจาเรอื การปฏิบัตกิ ารซอ่ มบารุงเรือ และการบริหารพสั ดุ ในเรอื รวมถงึ เอกสารต่างๆ ท่ีใช้ในการทางาน ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ีจะ นาไปสู่ความต้องการของระบบท่ีมีมาตรฐานและความถูกต้อง สมบูรณ์ 3.1 การศกึ ษาระบบงานทด่ี าเนนิ การอยใู่ นปจั จบุ นั เพ่ือช่วยในการวิเคราะห์ ออกแบบ และกาหนดแนวทางการ ดาเนินงานที่เหมาะสมสาหรับระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ จึง ควรท่ีจะศึกษากระบวนการ ปฏิบัติงานอ ยู่ในปัจจุบัน (As–Is System) ดังแสดงในรูปที่ 3.1

16 ... SOAP / SOAP SOAP รปู ท่ี 3.1 แผนภาพกจิ กรรมแสดงขนั้ ตอนการจดั ทาสมดุ อตั ราพสั ดุ ประจาเรอื ในปจั จบุ นั

17 3.1.1 ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านของการจดั ทาสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจา เรอื มขี นั้ ตอนดงั น้ี 1) ข้นั ตอนการกาหนดอตั รารายการชน้ิ สว่ นยทุ โธปกรณ์ - หนว่ ยเทคนคิ โดยหนว่ ยควบคมุ และกากับดูแล เปน็ หนว่ ยรวบรวมและกาหนดอตั ราช้ินสว่ นยุทโธปกรณ์เร่มิ แรก สาหรบั ยทุ โธปกรณแ์ ต่ละแต่ละรายการทตี่ ิดตั้งในเรอื - หนว่ ยเทคนคิ กาหนดความตอ้ งการรายการ ชิ้นส่วนซอ่ ม เพอื่ การซอ่ มบารงุ เรอื ในแต่ละระดบั โดยใชข้ อ้ มลู จาก ค่มู อื ซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ ระยะเวลาปฏบิ ัตงิ านในทะเล 30 วันส่ง กาลัง - หนว่ ยเทคนคิ การรวบรวมขอ้ มูลเพอ่ื บนั ทึกขอ้ มูล อาจประสานขอรบั ขอ้ มลู จากหนว่ ยเรอื ทด่ี าเนินการ 2) ขัน้ ตอนการกาหนดอตั ราพัสดุในเรอื - หน่วยซอ่ มบารุง เปน็ หนว่ ยกากบั ดแู ลและซอ่ ม บารุงตามแผนงานซอ่ มบารงุ ของเรอื ในสังกดั โดยจดั ทาบตั รจ่าย งานและแผนงานตามค่มู อื ระบบการซอ่ มบารงุ ตามแผน - หนว่ ยซอ่ มบารงุ บนั ทึกขอ้ มลู ความตอ้ งการ ชิน้ ส่วนซอ่ มตามแผนซอ่ มเรอื ระดบั ผปู้ ฏบิ ัติ 3) ขน้ั ตอนการจดั ทาระบบสมุดอตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื - จดั ทาสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื โดยแยกเป็นกล่มุ (Volumn) ประกอบดว้ ยขอ้ มลู อย่างนอ้ ย 2 สว่ น คอื 1. สรปุ รายการยทุ โธปกรณ์/ครุภณั ฑท์ ม่ี ีในเรอื 2. รายการและปริมาณพสั ดุในเรอื ท่จี าเป็นต้องมีสะสม ในเรอื - เสนอสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรอื ใหห้ นว่ ยอนุมตั ิ 3 หน่วย เพื่อขอใหพ้ ิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบหรอื แกไ้ ขปรบั ปรงุ - หนว่ ยอนมุ ตั ิ 3 หนว่ ย ตรวจสอบสมดุ อตั ราพสั ดุ ประจาเรอื แตล่ ะกลมุ่ ของเรอื แตล่ ะลา โดยเป็นได้ 2 กรณี คอื 1. กรณเี หน็ ชอบทงั้ 3 หนว่ ย เสนอขออนุมตั ิ กองทพั เรอื เพ่อื ใชส้ มุดอตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื นนั้ 2. กรณหี น่วยใดหน่วยหนง่ึ หรอื ทกุ หนว่ ยเหน็ ควรให้ แก้ไขขอ้ มูลอตั ราพัสดใุ นเรอื ให้กรมพลาธิการทหารเรอื (ศบพ.พธ.ทร.) ประสานหนว่ ยเก่ียวขอ้ ง เพื่อปรับปรุงขอ้ มูลให้ เหมาะสมกอ่ นเสนอขออนุมตั กิ องทัพเรอื เพือ่ ใช้สมดุ อัตราพสั ดุ ประจาเรอื ฉบบั นนั้ 4)ข้นั ตอนการกาหนดปรมิ าณพสั ดุคงคลงั และการจดั ให้ เปน็ ไปตามเกณฑ์ - หน่วยเทคนคิ ทรี่ บั ผดิ ชอบยุทโธปกรณ์ กาหนด ปริมาณพสั ดคุ งคลังระดบั ตา่ ง ๆ

18 - จัดหาพสั ดุให้เป็นไปตามเกณฑท์ ก่ี าหนด เพอื่ สะสม ไว้ในคลังให้เพยี งพอหรอื พรอ้ มใชง้ านตอ่ ไป - หน่วยเรอื ใชข้ อ้ มูลอตั ราพสั ดุในสมดุ อตั ราพสั ดุ ประจาเรอื ในการเบกิ เพ่มิ ช้ินสว่ นซอ่ มและพัสดุ เพอื่ รกั ษาระดับสะสม ในเรอื 5)ข้ันตอนการตรวจสอบและปรบั ปรงุ ความพรอ้ มของพสั ดุ ในเรอื (SOAP) หน่วยเรอื มภี าระหนา้ ทต่ี อ้ งตรวจสอบความถกู ตอ้ งและ ความครบถว้ นของพัสดทุ ก่ี าหนดใหม้ สี ะสมในเรอื โดยจดั ใหม้ กี าร ปรบั ปรงุ ความพรอ้ มของพสั ดุทก่ี าหนดให้มสี ะสมในเรอื ทง้ั ดา้ น ความครบถว้ นและดา้ นการจัดงานพสั ดใุ นเรอื ใหถ้ ูกตอ้ งอยเู่ สมอ ซึ่งมขี ั้นตอนดงั น้ี - การสารวจความถกู ตอ้ งของยทุ โธปกรณแ์ ละ ครภุ ณั ฑ์ในเรอื (Validation) - การพสิ ูจน์ทราบรายการช้ินส่วนซอ่ มทมี่ ใี นเรอื (Identification) - การจัดทาคลงั จาลองบนบก (Mock Up) เพือ่ จาลองการจัดเก็บพสั ดุท่ถี กู ตอ้ งในเรอื กอ่ นนาขนึ้ ไปเกบ็ ในเรอื ต่อไป - การปรบั ปรุงแกไ้ ขรายการชนิ้ ส่วนซอ่ มในสมุด อัตราพัสดปุ ระจาเรอื - การนาชนิ้ สว่ นซอ่ มทต่ี รวจสอบแลว้ กลบั คืนสู่คลัง ในเรอื โดยเบกิ เพิม่ สว่ นทข่ี าดหรอื สง่ คนื คลังสว่ นที่เกนิ จากหนว่ ย สง่ กาลังชิน้ สว่ นซอ่ มและพัสดุ 6)ขัน้ ตอนการติดตัง้ เพ่มิ หรอื การเปลย่ี นแปลงยทุ โธปกรณ์ ในเรอื - หนว่ ยเทคนคิ ทร่ี ับผดิ ชอบยทุ โธปกรณใ์ นเรอื ซ่ึง เห็นชอบการเปลยี่ นแปลง/ติดตงั้ เพิ่มเตมิ และปรบั ปรงุ รายการ ชิน้ สว่ นซอ่ มและพัสดุท่ีใช้ประกอบการปฏิบตั งิ านของยุทโธปกรณท์ ี่ เปลยี่ นแปลง ตามแนวทท่ี างระบุในขอ้ 1) - หนว่ ยซอ่ มบารุง เปน็ หนว่ ยกากับดแู ลการซอ่ ม บารุงตามแผน งานซอ่ มบารุงระดับผู้ปฏบิ ตั ิ (ระดบั เรอื ) ปรบั ปรุง บัตรจ่ายงานและความตอ้ งการชนิ้ สว่ นซอ่ มทใ่ี หส้ ะสมในเรอื ตาม แนวที่ทางระบใุ นขอ้ 2) - ปรับปรงุ ขอ้ มูลในสมดุ อตั ราพัสดุประจาเรอื และ เสนอหนว่ ยที่เก่ยี วขอ้ ง 3 หน่วยพิจารณาความเห็นชอบ เพอ่ื ใชส้ มุด อัตราพัสดปุ ระจาเรอื ฉบับน้นั ตามแนวทางทรี่ ะบุในขอ้ 3) - หนว่ ยเรอื เสนอขอคนื พัสดทุ ี่เกนิ ความจาเปน็ หรอื หมดความจาเปน็ คนื คลงั สาขา และเสนอขอรบั การสนบั สนุนพสั ดุ

19 ตามรายการและจานวนทีก่ าหนดใหม้ สี ะสมในเรอื เพิม่ ขนึ้ เนอื่ งมาจากการเปล่ียนแปลงยุทโธปกรณใ์ หม่ 3.2 การรวบรวมความตอ้ งการของผใู้ ช้ 3.2.1 การสมั ภาษณบ์ คุ คล (Personal Interview) ทาการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาระบบ ได้แก่ หน่วยเทคนิค หน่วยส่งกาลังบารุง หน่วยซ่อมบารุง หน่วย เรือ หน่วยรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล เพ่ือรวบรวมความ ต้องการของระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ จากการสัมภาษณ์ บุคคลทาใหส้ ามารถกาหนดขั้นตอนการทางานของระบบใหม่ (To- Be System) ดังแสดงในรูปท่ี 3.2

20 / รปู ท่ี 3.2 แผนภาพกจิ กรรแสดงขนั้ ตอนการทางานของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื ระบบใหม่ 3.2.2 การวเิ คราะหเ์ อกสาร (Documents Analysis) ทาการวิเคราะห์เอกสารท้ังหมดที่ใช้ในโครงการ และ เอกสารทีใ่ ชใ้ นกระบวนการ ได้แก่ เอกสารสมุดอัตราพัสดุประจา เรอื และการปรบั ปรงุ ความพรอ้ มของพสั ดใุ นเรือ เอกสารระบบการ ส่ ง ก า ลั ง บ า รุ ง แ ล ะ ก า ร ส นั บ ส นุ น ท า ง ก า ร ส่ ง ก า ลั ง ช้ิ น ส่ ว น ซ่ อ ม

21 ระเบียบกองทัพเรือว่าด้วยการพัสดุ คาส่ังกองทัพเรือเร่ืองการ ซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ของกองทัพเรือ และแบบฟอร์มการเสนอ รายงานต่างๆ เช่น แบบฟอร์มรายการอัตราชิ้นส่วนยุทโธปกรณ์ แบบฟอร์มสรุปรายการยุทโธปกรณ์และครุภัณฑ์ท่ีมีอยู่ในเรือ แบบฟอร์มอัตราพัสดใุ นเรือ แบบฟอร์ม APL-1 เป็นตน้ 3.2.3 การมสี ว่ นรว่ มในการออกแบบระบบ (Joint Application Design: JAD) มกี ารประชุมเพ่ือทวนสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จาก การสมั ภาษณ์ และการวเิ คราะห์เอกสาร เพื่อให้ผ้มู สี ่วนรว่ มในการ พัฒนา ได้แก่ ผู้อานวยการกองแผน ผู้ทรงคุณวุฒิในการจัดทา สมุดอัตราพัสดุประจาเรือ หัวหน้ากรรมวิธีข้อมูล หน่วยเทคนิค หน่วยซ่อมบารุง หน่วยเรือ และผู้พัฒนาโครงงานมหาบัณฑิต ได้ ทาความเขา้ ใจระบบไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้ได้ข้อมูลท่ีใกล้เคียง กับความเป็นจริงและเห็นถึงภาวะหรือปัญหาท่ีเกิดข้ึน เพ่ือนาไปสู่ การวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาอย่างตรงจุด 3.3 การวเิ คราะหค์ วามตอ้ งการของระบบ จากการวิเคราะหค์ วามตอ้ งการของระบบสามารถแบง่ ความ ต้องการของระบบออกเป็น ความต้องการของระบบด้านหน้าท่ี (Functional Requirements: FR) ความต้องการที่ไม่ใช่หน้าที่ (Non-Functional Requirements: NFR) 3.3.1 ความตอ้ งการดา้ นหนา้ ท่ี (Functional Requirements: FR) ระบบสมดุ อัตราพัสดปุ ระจาเรือ สามารถแบ่งเป็นระบบงาน ย่อยได้ 3 ระบบดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ระบบการสรา้ งสมุดอตั ราพสั ดุประจาเรอื - สร้างขอ้ มูลเรือ - กาหนดอัตรารายการชน้ิ ส่วนยุทโธปกรณท์ ม่ี อี ย่ใู นเรือ แตล่ ะลา - ส ร้ า ง แ ผ น ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง ต ล อ ด อ า ยุ ขั ย ข อ ง ยุทโธปกรณ์ - กาหนดอัตรารายการช้ินส่วนซ่อมที่จาเป็นต้องใช้ใน แผนการซอ่ มบารงุ ยทุ โธปกรณ์ - จดั ทาคาแนะนา คู่มือ และหลักเกณฑ์ในการซ่อมบารุง ของยทุ โธปกรณ์ - แสดงรายการอตั ราชนิ้ ส่วนยุทโธปกรณใ์ นเรือแต่ละลา - แสดงรายการชิ้นส่วนซ่อมและพัสดุท่ีต้องสะสมไว้ตาม อตั ราในเรือแต่ละลา

22 - แสดงคาแนะนา คูม่ อื และหลักเกณฑ์ในการซ่อมบารุง ของยุทโธปกรณ์ - รายงานสรุปรายการยุทโธปกรณท์ ม่ี ีในเรือ - รายงานสถานภาพการส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมและพัสดุ ซอ่ มยทุ โธปกรณ์ 2) ระบบการซ่อมบารงุ - สามารถแจง้ เตือนการซ่อมบารงุ ตามแผนลว่ งหน้าได้ - กาหนดบัตรจา่ ยงานการซ่อมบารงุ ล่วงหน้า - บนั ทึกการซ่อมบารงุ ตามแผนของยุทโธปกรณ์ - บนั ทึกการซ่อมบารุงแก้ไขของยทุ โธปกรณ์ - บนั ทึกการซอ่ มบารงุ การติดตง้ั เพม่ิ หรอื เปลี่ยนแปลงยุทโธปกรณ์ - บันทึกรายการชนิ้ ส่วนซอ่ มท่ีใช้จริงในการซอ่ ม บารุงยทุ โธปกรณ์ - แสดงสถิ ิตกิ ารใช้สนิ้ เปลอื งทไี่ ดจ้ ากงานการซอ่ ม บารุงทผ่ี า่ นมา เพอื่ เปน็ ขอ้ มูลในการคานวณปรบั อตั ราพัสดุใหม่ - รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงานการซอ่ มบารุง เรือ 3) ระบบพัสดคุ งคลงั - แสดงรายการชิ้นส่วนซอ่ มและพสั ดทุ ี่ตอ้ งจดั หาให้ เป็นไปตามเกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้ตามแผนซอ่ มบารงุ - บนั ทกึ การรบั ช้ินสว่ นซอ่ มและพัสดุจากหน่วยสง่ กาลังตามอัตราท่กี าหนดไว้ เพื่อรักษาระดับการสะสมชิ้นสว่ นซอ่ ม และพสั ดุ - บันทึกการเบกิ ชนิ้ สว่ นซอ่ มและพสั ดุทีจ่ าเป็นใน การซอ่ มบารงุ - สามารถตรวจสอบและปรบั ปรงุ ความพรอ้ มของ พสั ดใุ นเรอื - สามารถสง่ คนื พัสดุทเี่ กนิ จากเกณฑ์ทต่ี อ้ งสะสม - แสดงชน้ิ สว่ นซอ่ มและพัสดุที่ไมต่ รงกบั อตั ราท่ีตอ้ ง มีสะสมไว้ 3.3.2 ความตอ้ งการทไี่ มใ่ ชห่ นา้ ท่ี (Non-Functional Requirements: NFR) เป็นขอ้ จากัดหรอื ความตอ้ งการใชเ้ ชิงคุณภาพของระบบ ซ่ึง เป็นผลมาจากความต้องการของระบบ นโยบายขององคก์ ร ความ จาเป็นในการเชื่อมต่อกับซอฟต์แวร์ รวมถึงปัจจัยภายนอกต่างๆ เชน่ ความน่าใช้งานของระบบ ความคงทนของระบบ เป็นต้น โดย สามารถจาแนกความตอ้ งการเปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี

23 1) ความตอ้ งการด้านผลิตภณั ฑ์ (Product Requirements: PDR) 2) ความตอ้ งการดา้ นกระบวนการ (Process Requirements: PCR) 3) ความตอ้ งการภายนอก (External Requirements: EXR) ทั้งน้ี กาหนดให้ NFR แทน Non-Functional Requirement และกาหนดรหัสของแตล่ ะความต้องการ เพอ่ื นาไปใช้อ้างอิงในการ ออกแบบและพฒั นาระบบ โดยแสดงในตารางท่ี 3.1 – 3.3 ตารางที่ 3.1 ความตอ้ งการทไี่ มใ่ ชห่ นา้ ทดี่ า้ นผลติ ภณั ฑ์ ดา้ นความสามารถในการใชง้ าน (Usability Requirements) NFR01 ระบบควรมีสว่ นตอ่ ประสานกบั ผู้ใชง้ านแบบกราฟกิ (Graphical User Interface: GUI) NFR02 ลกั ษณะสว่ นตอ่ ประสานกับผูใ้ ช้ของระบบควรจะมีรปู แบบ สอดคลอ้ งกบั ส่วนตอ่ ประสานกบั ผ้ใู ชข้ องระบบตดิ ตาม คารอ้ งขอบรกิ าร ดา้ นประสทิ ธภิ าพของระบบ (Efficiency Requirements) NFR03 ระบบควรจะสามารถแสดงผลลัพธใ์ หมท่ นั ทหี ลังจากทมี่ ี การเพมิ่ หรอื แกไ้ ขขอ้ มลู ดา้ นความปลอดภยั ของระบบ (Security Requirements) NFR04 ระบบสามารถตรวจสอบสิทธิการเรยี กใช้ฟังกช์ ันของ ผู้ใชง้ านในแต่ละประเภทได้ NFR05 ระบบควรมีการพิสูจนท์ ราบตวั ตนในการเขา้ ใชร้ ะบบ จะ อนุญาตใช้งานได้เฉพาะขา้ ราชการของกองทพั เรอื เทา่ น้นั NFR06 ระบบตอ้ งมกี ารถามยนื ยนั ทกุ ครงั้ เมอื่ ผใู้ ช้จะทาการแก้ไข หรอื ลบขอ้ มลู NFR07 ระบบจะแสดงรายการเมนูเฉพาะทผี่ ใู้ ชค้ นนัน้ สามารถ เขา้ ถึงได้เทา่ นนั้ NFR08 ระบบตอ้ งมกี ารบันทึกชื่อผูใ้ ชแ้ ละวันที่ลา่ สุด ของการ บนั ทกึ และแกไ้ ขขอ้ มลู ตารางที่ 3.2 ความตอ้ งการทไี่ มใ่ ชห่ นา้ ทดี่ า้ นกระบวนการ ดา้ นความตอ้ งการทเ่ี ปน็ มาตรฐาน (Standards Requirements) NFR09 ระบบควรจะไดร้ บั การพฒั นาตามกระบวนการ วิศวกรรมซอฟตแ์ วรแ์ ละมเี อกสารประกอบการวเิ คราะห์ และออกแบบระบบ NFR10 ระบบควรเปน็ ไปตามขอ้ กาหนดการปฏบิ ตั ิใน กระบวนการจัดทาสมดุ อตั ราพัสดปุ ระจาเรือ

24 NFR11 ระบบตอ้ งพฒั นาโดยใชภ้ าษาพเี อชพี ดา้ นวธิ กี ารออกแบบ (Implementation Requirements : Design Method) NFR12 ระบบควรจะไดร้ ับการวิเคราะห์และออกแบบโดยใชภ้ าษา ยเู อม็ แอล NFR13 ระบบควรจะไดร้ ับการออกแบบและพฒั นาใหร้ องรับกบั การใชง้ านผ่านเว็บเบส NFR14 ระบบควรจะใช้ ไมโครซอฟท์ อินเทอรเ์ นต็ เอกซโ์ พลเรอร์ เป็นเบราวเ์ ซอร์ในการทดสอบการแสดงผล ตารางที่ 3.3 ความตอ้ งการทไ่ี มใ่ ชห่ นา้ ทดี่ า้ นความตอ้ งการ ภายนอก ดา้ นการใชง้ านรว่ มกนั ของระบบ (Inter-Operability Requirements) NFR16 ระบบควรจะสามารถนาไปใชแ้ สดงผลกบั เบราว์เซอรท์ ่ี สามารถตดิ ต้ังได้ในระบบปฏบิ ตั กิ ารวินโดวส์ทกุ รนุ่ ดา้ นขอ้ มลู ระบบ (Data Architecture Requirements) NFR17 ขอ้ มูลทเ่ี กบ็ ในระบบมคี วามสอดคลอ้ งตอ้ งกัน (Consistency)

บทที่ 4 การออกแบบระบบ ในบทน้ีจะกล่าวถึงการออกแบบระบบซ่ึงประกอบด้วย การ ออกแบบสถาปตั ยกรรมของระบบ การออกแบบหน้าท่ีการทางาน ของระบบ การออกแบบแบบจาลองข้อมูล การออกแบบส่วนต่อ ประสานผู้ใช้งาน การออกแบบเอกสารที่ได้จากระบบ และการ ออกแบบระบบความปลอดภยั 4.1 การออกแบบสถาปตั ยกรรมของระบบ ระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ เลือกใช้สถาปัตยกรรมแบบ เว็บเบสแอพพลิเคชัน (Web Based Application) ทม่ี ีโครงสร้างแบ บทรเี ทียร์ (Three tier) ซึง่ โครงสร้างนี้มคี วามยดื หยุ่นในด้านการ จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล แ ล ะ บ า รุ ง รั ก ษ า ท า ใ ห้ ส า ม า ร ถ ร อ ง รั บ ก า ร เปล่ียนแปลงในอนาคตได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งาน ดังรูปที่ 4.1 <<Presentation>> <<Processing>> <<Data>> WebBrowser <<HTTP>> <<WebServer>> <<ADO>> <<DBMS>> RFIDReader - IIS7.0 MSSQL2008 - php5 รปู ที่ 4.1 สถาปตั ยกรรมพน้ื ฐานของระบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ ระจาเรอื จากรูปท่ี 4.1 สถาปตั ยกรรมพื้นฐานของระบบสมดุ อตั ราพัสดุ ประจาเรอื สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น ได้แก่ 1) สวนการนาเสนอ (Presentation Tier) เป็นส่วนลูกขายซ่ึง ทาหนาทเี่ ปนส่วนตอ ประสานกับผูใชระบบโดยใช้โปรแกรมประยุกต์ แบบเว็บเบส และมีเทคโนโลยี RFID Reader เชื่อมต่อกับเคร่ืองลูก ขา่ ย 2) ส่วนของการประมวลผล (Processing Tier) เป็นสวน กลางทาหนาที่ใหบริการแก่เคร่ืองลูกขาย ซึ่งประกอบด้วยเว็บ เซิรฟ์ เวอร์และโปรแกรมทพ่ี ฒั นา 3) สวนหน่วยเกบ็ ขอ้ มูลของระบบ (Data Tier) เป็นส่วนที่ทา หนาทจี่ ดั เกบ็ ขอมูลของระบบ โดยใช้ฐานข้อมูลไมโครซอฟท์เอสคิว แอวเซิร์เวอร์ (Microsoft SQL Server) ในการจัดเก็บข้อมูลของ ระบบ

26 4.2 การออกแบบหนา้ ทก่ี ารทางานของระบบ วัตถุประสงค์ของการออกแบบหน้าท่ีการทางานของระบบ คือ เพ่ือให้เห็นถึงความสามารถของระบบ โดยการใช้แบบจาลอง เป็นตัวแทนในการสอื่ ความหมายระหวา่ งผู้ออกแบบและผูใ้ ช้งาน ซึง่ ในโครงงานมหาบัณฑิตนี้ เลือกใช้เทคโนโลยีเชิงวัตถุ (Object- Oriented Technology) และภาษายูเอ็มแอลในการวิเคราะห์และ ออกแบบ การออกแบบฟังก์ชันการทางานของสมุดอัตราพัสดุประจา เรือ ได้ดาเนินการออกแบบโดยเริ่มจากการศึกษาผู้ท่ีมีส่วน เกี่ยวข้องกับระบบ ซ่ึงจากการศึกษาระบบการทางานท่ีเป็นอยู่ใน ปัจจุบัน ทาให้ได้พบว่าระบบมีผู้ที่เกี่ยวข้องอยู่หลายฝ่าย โดยผู้ท่ี เก่ียวข้องแต่ละคนจะสามารถเข้าถึงระบบได้แตกต่างกัน ตาม ตาแหน่งงานและสทิ ธิทไี่ ดร้ ับ ซง่ึ มีการแบง่ กลมุ่ ผู้เกย่ี วข้องกับระบบ ตามลกั ษณะการทางาน ดังรปู ท่ี 4.2 รปู ท่ี 4.2 ภาพรวมของผใู้ ชร้ ะบบสมดุ อตั ราพสั ดปุ รจาเรอื จากรูปที่ 4.2 สามารถแบ่งประเภทผู้ใช้ระบบ ออกเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการทางานได้ดงั นี้ 1) ผู้ควบคุมระบบ(ศบพ.พธ.ทร.) มีหน้าท่ีรวบรวมข้อมูล ความต้องการช้ินส่วนซ่อมและเคร่ืองมือซ่อมตามแผนงานซ่อม

27 บารุงระดบั เรอื โดยให้มีการตรวจสอบและดาเนินกรรมวิธีกาหนด หรอื ปรบั ปรงุ อตั ราพสั ดใุ นเรือแต่ละลาทสี่ อดคลอ้ งกบั แผนงานซอ่ ม บารุง ตามช่วงเวลาที่กองทัพเรือกาหนดเป็นเกณฑ์ในการรักษา ระดับสะสมในเรอื 2) หน่ ว ย เท ค นิ ค มี ห น้ า ท่ี ใ นก า ร บ ริ ห า รงา น พั ส ดุ เพ่ื อ สนบั สนุนชิ้นสว่ นซอ่ มตามสมุดอตั ราพัสดุประจาเรือ และเป็นหน่วย ส่งกาลังชิ้นส่วนซ่อมและพัสดุในระดับต่าง ๆ ในการรักษาระดับ สะสมช้ินส่วนซ่อมไว้สนับสนุนระบบซ่อมบารุงตามแผนได้อย่าง เพยี งพอและต่อเนอ่ื ง ซงึ่ ประกอบดว้ ย 3 หนว่ ยยอ่ ย คือ -หน่วยเทคนิค มีหน้าท่ีควบคุมทางวิทยาการในด้านที่ รับผิดชอบ -หน่วยคลัง มีหน้าท่ีบริหารจัดการพัสดุคงคลัง เพ่ือให้ การสนับสนุนการส่งกาลังบารุงพัสดชุ น้ิ ส่วนซ่อมแกห่ นว่ ยเรือ -หน่วยซ่อ ม บารุง เป็นการซ่อ มบารุงท่ี กระทาต่ อ ยุทโ ธปก รณ์ที่ ต้อ งซ่อ ม ใหญ่ ห รือ ซ่ อ มส ร้างอ ย่า งสม บูร ณ์ สนับสนุนการซ่อมบารุงในระดับหน่วยเรือ ด้วยการให้ความ ช่วยเหลือทางเทคนิค และการซ่อมบารุงในรายการท่ีเหนือความ รบั ผิดชอบของระดับหน่วยเรือ 3) หน่วยเรือ มีหน้าท่ีกากับดูแล ควบคุมการส่งกาลัง สนบั สนุนการซอ่ มบารงุ และการปฏบิ ตั ิภารกิจกากับดูแลการซ่อม บารงุ -หน่วยคลัง มีหน้าที่บริหารจัดการพัสดุคงคลัง เพ่ือให้ การ สนั บสนุน กา รส่ งก าลังบ ารุ งพั สดุ ชิ้น ส่ว นซ่ อม แก่ หน่ วย ซ่อ ม บารงุ ในเรอื -หน่วยซ่อมบารุง รับผิดชอบดาเนินการซ่อมบารุงโดย เจ้าหน้าทีป่ ระจาเรอื โดยอาศัยเครื่องมือและช้ินส่วนอะไหล่ท่ีมีอยู่ใน เรือ หน้าที่พ้ืนฐานของระบบสมุดอัตราพัสดุประจาเรือ สามารถ แบ่งเป็นระบบงานย่อยได้ 3 ระบบ ได้แก่ ระบบสมุดอัตราพัสดุ ประจาเรอื ระบบการซอ่ มบารุง และระบบพัสดคุ งคลงั ซง่ึ สามารถ แสดงเป็นแผนภาพยูสเคสดังรูปท่ี 4.3 (รายละเอียดในภาคผนวก จ)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook