การปฏสิ นธแิ ละพฒั นาการของทารกในครรภ์ อ.จริ าจนั ทร์ คณฑา
วตั ถุประสงค์1.อธบิ ายความหมายของการปฏสิ นธไิ ด้ถูกต้อง2.อธบิ ายพฒั นาการของทารกในครรภ์ รกและเยอื หุ้มรกได้ถูกต้อง
การแบ่งตัวของเซลสืบพนั ธ์ุเพศหญงิ เพศชาย
การปฏิสนธิ หมายถึงการทีตวั อสุจสิ ามารถผ่านเยอื หุ้มเซลล์เข้าไปผสมกบั ไข่ได้
ขันตอนการปฏสิ นธิ 1. ตวั อสุจผิ ่านชัน Corona radiata ของไข่ 2. ตวั อสุจจิ ะใช้ enzyme จากส่วน acrosome เพอื จะเจาะทะลุผ่านชัน Zona pellucida ของไข่ 3. ส่วนหัวของตวั อสุจมิ าแตะกบั cell membrane ของไข่ 4. จะเกดิ การเปลยี นแปลงของไข่ 2 อย่าง คอื 4.1 Zona pellucida จะมกี ารเปลยี นแปลง ทาํ ให้ตวั อสุจอิ นื ไม่สามารถเข้ามาในไข่อกี ได้
ขันตอนการปฏิสนธิ 4.2 เกดิ การแบ่งตวั ของไข่ได้ mature ovum ทสี มบูรณ์และมี nucleus เรียกว่าfemale pronucleus ส่วน second polar body จะสลายตวั ไป 5. ส่วนหวั ของตวั อสุจจิ ะมขี นาดโตขนึ เป็ น male pronucleus และส่วนหางจะสลายตวั ไป 6. male และ female pronucleus จะมารวมกนั ตรงกลางของเซลล์ของไข่ โดยnuclear membrane ของทงั 2 เซลล์จะสลายตวั และ chromosome มารวมกนั เป็ นเซลล์ใหม่ทมี ีchromosome 2 ชุดทสี มบูรณ์ เรียกเซลล์นีว่า Zygote เป็ นตวั อ่อนในระยะเซลล์เดยี ว ซึงจะแบ่งตวัและเจริญเตบิ โตเป็ นชีวติ ใหม่ต่อไปได้
การปฏิสนธิ (fertilization) เป็นขบวนการตงั แต่อสุจิเขา้ ใกลแ้ ละ เจาะไข่จนกระทงั รวมตวั กนั ไดไ้ ซโกท เรียงตามลาํ ดบั ไดด้ งั นีคือ Sperm ---> Corona radiata ---> Zona pellucida ---> Fusion of plasma membrane (sperm and egg) ---> Fusion of pronuclei (male pronucleus and female pronucleus) ---> Zygote
การทีอสุจิจะไปผสมกบั ไข่ไดน้ นั จะตอ้ งผา่ นขบวนการ 1) capacitation เป็นขบวนการทีทาํ ใหอ้ สุจิ mature เตม็ ทีใชเ้ วลาประมาณ 7 ชวั โมง โดย glycoprotein coat และ seminal plasma protein หลุด สลายจากผิวของ acrosome แลว้ ทาํ ใหอ้ สุจิ active ขึน 2) acrosome reaction เกิดหลงั capacitation ขณะตวั อสุจิผา่ นเขา้ สู่ corona radiata โดย acrosome membrane จะเชือมกบั plasma membrane ของอสุจิ ต่อมาบริเวณทีเชือมนีขาดออกทาํ ให้เอน็ ไซมจ์ าก acrosomal cap ออกมายอ่ ยเซลลแ์ ละเยอื ทีหุม้ ไข่ เชือวา่ ปฏิกิริยานีถูกกระตุน้ โดยฮอร์โมน progesterone
ภาพแสดงการเปลียนแปลงของเอม็ บริโอในท่อนาํ ไข่จนฝังตวั ทีมดลูก
พฒั นาการของทารกในครรภ์1. ระยะก่อนตวั อ่อน (Pre – embryonic stage)2. ระยะตวั อ่อน (Embryonic stage)3. ระยะทารก (Fetal stage)
ระยะก่อนตวั อ่อน (Pre – embryonic stage) เป็ นระยะทีเริมตังแต่ไข่ทผี สมแล้วมีการรวมตวั ของนิวเคลยี สของไข่และอสุจิ จนเกดิ การฝังตวั ทโี พรงมดลูกในสัปดาห์ที 2 หลังการปฏิสนธิ
สัปดาห์ที 1 แบ่งเป็ น 4 ระยะ คอืระยะที 1 เริมตงั แต่ไข่ทผี สมแล้วมกี ารรวมตวั ของนิวเคลยี สของไข่และอสุจิ ได้เป็ นไซโกต และมกี ารแบ่งตัวของเซลล์แบบไมโตซีส เรียกการ แบ่งตวั นีว่า คลเี วจ (Clevage) ได้เซลล์ 2 เซลล์ เรียกว่า บลาสโตเมอร์ (Blastomeres)ระยะที 2 (วนั ท2ี -3) มีการแบ่งตวั ของเซลล์แบบไมโตซีส จาก 2 เซลล์ เป็ น 4 เซลล์ จาก 4 เซลล์ เป็ น 8 เซลล์ และแบ่งตัวเรือยๆ จนได้เป็ นก้อน กลมเรียกว่า โมรูลา (Morula)
สัปดาห์ที 1 แบ่งเป็ น 4 ระยะ คือระยะที 3 (วันท4ี -5) เซลล์ภายในโมรูลา มกี ารจัดเรียงตัวใหม่ และตรงกลางจะ มนี ํา (Fluid) เกดิ ขนึ เรียกว่า บลาสโตซีส (Blastocyst) โดย บลาสโตซีส จะประกอบด้วยเซลล์ 2 กล่มุ คือ 1. อนิ เนอร์ เซลล์ แมส (Inner cell mass or Embryoblast) เป็ น เซลล์ทอี ย่ตู รงกลางและถูกเบียดไปอย่ดู ้านใดด้านหนึง เซลล์กล่มุ นีจะ พฒั นาเป็ นร่างกายทารก 2. โทรโฟบลาสท์ (Trophoblast or Out cell mass) เป็ นเซลล์ที อย่ชู ันนอก เซลล์กล่มุ นีจะพฒั นาเป็ นรก
การเดินทาง การเคลอื นตวั (Transportation) Ovum + Sperm Zygote Blastomeres Morula BlastocystTrophobast Inner cell mass
สัปดาห์ที 1ระยะที 4 (วันที 6-7) เป็ นระยะทบี ลาสโตซีสเริมฝังตัวทโี พรงมดลูก (Implantation) โดยมีรกส่วนไพรมารี วลิ ไล (Primary villi) ทาํ หน้าทแี ทรกเข้าไปในโพรงมดลูก
สัปดาห์ที 2 บลาสโตซีส จะฝังตวั ลกึ ขนึ ภายในบลาสโตซีสจะมีช่องว่าง 2 ส่วนคือ ส่วนทจี ะกลายเป็ นโพรงถุงนําครํา (Amniotic cavity) และถุงไข่ในระยะแรก (Primary yolk sac) ซึงเป็ นแหล่งอาหารสําหรับตวั อ่อน ปลายสัปดาห์ที 2 อนิ เนอร์ เซลล์ แมสจะมีการเพมิ ขนาดเซลล์จํานวนเซลล์ และการจัดเรียงตวั ของเซลใหม่ ทาํ ให้ได้เซลล์ 2 ชัน คอืเอน็ โดเดิร์ม (Endoderm) และเอค็ โตเดิร์ม (Ectoderm) เรียกตัวอ่อนในระยะนีว่า ไบลามนิ าร์ เอม็ ไบรโอนิค ดิสซ์ (Bilaminar embryonic disc)
ระยะตวั อ่อน (Embryonic stage) เป็ นระยะทีเริมตังแต่วนั ที 15 หลงั ปฏสิ นธิ ถงึ สัปดาห์ที 8 หลงั ไข่ตกหรือสัปดาห์ที 10 หลงั จากLMP ระยะนีเป็ นระยะของการสร้างอวัยวะต่างๆ(Organogenesis) ของทารกในครรภ์
สัปดาห์ที 3 ระยะนมี กี ารสร้างเซลล์ส่วนที 3 คอื มโี ซเดริ ์ม (Mesoderm) เรียกตวั อ่อนในระยะนีว่า ไตรลามนิ าร์ เอม็ ไบรโอ (Trilaminar embryo) เซลล์ทงั 3 ชัน จะเจริญเตบิ โตเป็ นส่วนต่างๆ ของร่างกายดงั นี 1. เอน็ โดเดริ ์ม มลี กั ษณะคล้ายท่อตดิ ต่อกบั ถุงไข่ พฒั นาเป็ นช่องทางเดนิ หายใจและช่องทางเดนิ อาหาร ตบั ตบั อ่อน ต่อมพาราธัยรอยด์ ต่อมธัยรอยด์ ต่อมทอนซิลต่อมธัยมสั กระเพาะปัสสาวะ และท่อทางเดนิ ปัสสาวะ 2. มโี ซเดริ ์มพฒั นาเป็ นอวยั วะเกยี วกบั หวั ใจและหลอดเลอื ด เป็ นระบบแรกทีเกดิ ขึนในร่างกาย เมอื สินสุดสัปดาห์ที 3 จะเริมมหี วั ใจเกดิ ขนึหลอดนําเหลอื ง กล้ามเนอื กระดูกอ่อน กระดูก ไขกระดูก ม้าม ไต ท่อไต ต่อมหมวกไตส่วนนอก และอวยั วะสืบพนั ธ์ุ 3. เอค็ โตเดริ ์มพฒั นาเป็ นระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนปลายผวิ หนังชันหนังกาํ พร้า ผม เลบ็ ต่อมเหงอื ต่อมไขมนั ต่อมนํานม ต่อมในช่องปาก และเยอื บุรับความรู้สึกในหู จมูก ปาก และทวารหนัก
สัปดาห์ที 4 ตวั อ่อนเริมโค้งงอมากขึนคล้ายรูปตวั ซี หัวใจและเยอื หุ้มหัวใจจะเห็นชัด เริมสร้างท่อประสาท กล้ามเนอื และกระดูก เมอื สินสุดสัปดาห์ที 4 จะมตี ่มุ แขน ขา เริมสร้างตา หู ปาก คอหอย หลอดอาหาร หลอดลม หลอดเลอื ด aorta ทวารหนัก สายสะดอื และเยอื หุ้มอวยั วะภายในต่างๆ มกี ารพฒั นาการของปอด ไต ตบั และสมอง เมอืสินสุดสัปดาห์นีตวั อ่อนยาวประมาณ 4 มลิ ลเิ มตร โดยวดั จากยอดศีรษะถึงก้น(Crown-rump length : CRL) ตวั อ่อนมนี น.ประมาณ 400 มก.
สัปดาห์ที 5 มกี ารเจริญของวยั วะต่างๆเพมิ ขึนเพยี งเลก็ น้อย ส่วนหัวจะเจริญมากกว่าส่วนอนื ๆ เริมมกี ารเจริญของสมอง เริมมกี ารสร้างนวิ มอื และนวิ เท้า เริมมสี ่วนของหูนูนขนึ เมอื สินสุดสัปดาห์นีตวั อ่อนยาวประมาณ 8 มลิ ลเิ มตร โดยวดั จากยอดศีรษะถึงก้น หนักประมาณ 800 มก. สัปดาห์ที 6 เริมมองเห็นส่วนต่างๆแยกกนั ชัดขนึ ศีรษะจะโตกว่าลาํ ตวั สามารถแยกนวิ มอืนิวเท้า ลาํ ตวั เริมยดื ออก เริมมกี ารสร้างกล้ามเนอื ต่างๆ และเริมสร้างกระดูกกะโหลกศีรษะและขากรรไกร มกี ารสร้างช่องปาก ช่องจมูกและริมฝี ปาก มกี ะโหลกศีรษะ และขากรรไกร หัวใจมกี ารแบ่งห้องเรียบร้อยแล้ว เมอื สินสุดสัปดาห์นีตวั อ่อนยาวประมาณ 13 มลิ ลเิ มตร หนัก 1,200 มก.
สัปดาห์ที 7 โครงสร้างสําคญั ของร่างกายส่วนใหญ่สร้างเสร็จแล้วเริมมองเห็นลูกตาเด่นชัดขนึ และมกี ารเจริญของเบ้าตา ลนิ เพดาน ปากเกอื บสมบูรณ์ ทางเดนิ อาหารและลาํ ไส้ ทางเดินปัสสาวะและอวยั วะสืบพนั ธ์ุเริมมกี ารเปลยี นแปลงแยกออกจากกนัชัดเจนขึน มกี ารแบ่งแยกของกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะจากทวารหนักเริมมคี วามแตกต่างของต่อมเพศภายในรังไข่และอณั ฑะ แต่ยงั ไม่สามารถแยกเพศจากอวยั วะสืบพนั ธ์ุภายนอกได้ เมอื สินสุดสัปดาห์นีตวั อ่อนยาวประมาณ 18 มลิ ลเิ มตรโดยวดั จากยอดศีรษะถึงก้น
สัปดาห์ที 8 เป็ นระยะสุดท้ายของตวั อ่อน และเริมสู่ระยะทารก มกี ารสร้างอวยั วะต่างๆครบทุกส่วน ใบหน้าจะมลี กั ษณะชัดเจนขนึ มีส่วนของตา หู จมูก แขนและขาชัดเจนนวิ มอื และนวิ เท้าแยกออกจากกนั ได้ เริมมกี ารสร้างอวยั วะสืบพนั ธ์ุภายนอก สายสะดอืเริมมรี ะบบการไหลเวยี นเลอื ดผ่านสายสะดอื เมอื สินสุดสัปดาห์นตี วั อ่อนยาวประมาณ2.5-3 ซม. หนัก 3 กรัม ทารกสามารถเคลอื นไหวได้
ระยะทารก (Fetal stage) เป็ นระยะทีเริมตงั แต่สัปดาห์ที 9 หลงั ปฏสิ นธิ จนถงึ คลอดระยะนีเป็ นการพฒั นาอวยั วะต่างๆ ของร่างกายให้สมบูรณ์
ระยะทารก (Fetal stage)เดอื นที 3 ทารกยาวประมาณ 6-7 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 14 กรัม นิวมอื นิวเท้าจะแยกจากกนั มพี ฒั นาการของเลบ็ มอื เริมแยกเพศจากอวยั วะสืบพนั ธ์ุ ภายนอกได้ เริมมกี ารเคลอื นไหวของระบบหายใจ มกี ารพฒั นาระบบทางเดนิ อาหาร ให้สมบูรณ์ และมกี ารดูดกลนื นาํ ครํา มกี ารเคลอื นไหวร่างกาย เริมมกี ารสร้างเลอื ด จากตบั มกี ารสร้างกระดูกบางชินเดอื นที 4 ทารกยาว 12 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 110 กรัม เริมมขี นอ่อนปกคลุมร่างกาย หวั และตวั ทารกได้สัดส่วนกนั มากขนึ สามารถแยกเพศจากอวยั วะเพศภายนอกได้ชัดเจน ในระยะนมี ารดาครรภ์หลงั จะเริมรู้สึกว่าทารกมกี ารเคลอื นไหวครังแรก
ระยะทารก (Fetal stage)เดอื นที 5 ทารกยาว 16 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 300 กรัม ในระยะนีมารดาครรภ์แรกจะเริมรู้สึกว่าทารกมกี ารเคลอื นไหวครังแรก เริมฟังFHS ได้ด้วยหูฟังผวิ หนงั จะหนาขนึ บางใสน้อยลง มขี นอ่อนปกคลุมทวั ร่างกาย และเริมมเี ส้นผม ควิ และเลบ็เท้าให้เหน็
เดอื นที 6 ทารกยาว 21 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 630 กรัม ผวิ หนัง เหยี วย่น มไี ขมนั สะสมใต้ผวิ หนงั เริมมขี นควิ ขนตาเดอื นที 7 ทารกยาว 25 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 1,000 กรัม ผวิ หนงั แดง มไี ขปกคลุม ปอดเริมมพี ฒั นาการทสี ามารถแลกเปลยี นก๊าซได้ ระบบประสาท ส่วนกลางสามารถควบคุมจงั หวะการหายใจและอณุ หภูมขิ องร่างกายได้ ถ้าทารก คลอดในระยะนีจะขยบั แขนขาได้ ร้องเสียงเบาๆ ถ้าได้รับการดูแลอย่างดี ทารกอาจมี ชีวติ รอด
เดอื นที 8 ทารกยาว 28 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น นน. ประมาณ 1,700 กรัม ผวิ หนังสี แดงและเหียวย่น เลบ็ ยนื ออกจากปลายนวิ ขนอ่อนทใี บหน้าลดลง เส้นผมจะมากขนึเดอื นที 9 ทารกยาว 32 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถึงก้น นน. ประมาณ 2,500 กรัม ผวิ หนังสี ชมพูเต่งตงึ ลาํ ตวั อ้วนกลม มไี ขมนั ใต้ผวิ หนงั มากขนึ ขนอ่อนหายไปเกอื บหมด ปอดเจริญเตม็ ที รอยย่นบนใบหน้าเริมหายไป และมสี ารลดความตงึ ผวิ เพยี งพอเดอื นที 10 ทารกยาว 36 ซม. โดยวดั จากยอดศีรษะถงึ ก้น หรือเฉลยี 50 ซม. โดยวดั จากยอด ศีรษะถึงส้นเท้า นน. ประมาณ 3,000 กรัม ผวิ หนงั สีชมพูเรียบ อวยั วะสืบพนั ธ์ุเพศ ชายลูกอณั ฑะจะลงในถุงอณั ฑะแล้ว ส่วนเพศหญงิ แคมใหญ่จะโตเตม็ ทแี ละชิดกนั ทงั 2 ข้าง ทารกปกตเิ มอื คลอดจะร้อง ลมื ตา และมกี ารเคลอื นไหวแขนและขา
การเปลยี นแปลงของเยอื บุโพรงมดลูกเยอื บุโพรงมดลูกประกอบไปด้วย 3 ส่วน คือ 1. Zona compacta เป็ นชันผิวบนสุดทอี ย่ตู ิดกบั โพรงมดลูก 2. Zona spongiosa เป็ นเยอื บุมดลูกชันกลาง มลี กั ษณะเป็ นรูพรุน 3. Zona basalis เป็ นเยอื บุมดลูกชันในสุดตดิ กบั กล้ามเนือมดลูก
การเปลยี นแปลงของเยอื บุโพรงมดลูก ลกั ษณะของเยอื บุมดลูกชันใน (Endometrium) ทมี กี ารเปลยี นแปลงเกดิ ขนึ ภายหลงั การฝังตวั ของไข่ แบ่งเป็ น 3 ชนิด 1.Decidua basalis คือ ส่วนของเยอื บุโพรงมดลูกทอี ย่ใู ต้ตัวอ่อนฝังตวัในส่วนนีประกอบด้วยส่วนล่างของเยอื บุมดลูกชัน spongiosa และชัน basalis 2. Decidua capsularis คอื ส่วนของเยอื บุโพรงมดลูกทีปกคลุมเหนือบริเวณทตี วั อ่อนฝังตัว ในส่วนนีประกอบด้วยส่วนล่างของเยอื บุมดลูกชันcompacta และชัน spongiosa 3. Decidua vera คอื ส่วนของเยอื บุโพรงมดลูกทเี หลือจากบริเวณทีตวั อ่อนมกี ารฝังตวั ในส่วนนีประกอบด้วยชันของเยอื บุโพรงมดลูกครบทุกชันคอื ชัน compactaชัน spongiosa และชัน basalis
พฒั นาการของรกและเยอื หุ้มรก
พฒั นาการของรกและเยอื หุ้มรก บลาสโตซีส (Blastocyst) จะประกอบด้วยเซลล์ 2 กล่มุ คอื 1. อนิ เนอร์ เซลล์ แมส (Inner cell mass or Embryoblast) เซลล์กล่มุ นจี ะพฒั นาเป็ นร่างกายทารก 2. โทรโฟบลาสท์ (Trophoblast or Out cell mass) เซลล์กล่มุ นีจะพฒั นาเป็ นรก โทรโฟบลาสท์ ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คอื 1. Cytotrophoblast 2. Syncytiotrophoblast
พฒั นาการของรกและเยอื หุ้มรก @ โทรโฟบลาสท์ ส่วน Syncytiotrophoblast จะบุกรุกเยอื บุโพรงมดลูก ด้วยการปล่อยนาํ ย่อยมาทาํ ลายเซลล์เยอื บุโพรงมดลูก เพอื ให้การฝังตวั สมบูรณ์ ส่วน Cytotrophoblastจะเจริญงอกตามเข้าไปในส่วนของ Syncytiotrophoblast @ ประมาณวนั ที 17 หลงั ปฏสิ นธเิ ลอื ดของมารดาและทารกจะไหลเวยี นมาแลกเปลยี นสารกนั ได้ @ Villi จะเจริญและแตกแขนงเป็ นจาํ นวนมาก โดย Villi ทอี ยู่ด้าน Decidua basalisจะเรียกว่า Chorion frondosum
พฒั นาการของรกและเยอื หุ้มรก SyncytiotrophoblastDecidua basalis Decidua capsularisChorionic villi Chorionic villiChorionic ChorionicFrondosum leaveCotyledon Chorion
รกด้านมารดา ผวิ ของรกด้านมารดามลี กั ษณะขรุขระ สีแดงคลาํ เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ15-20 ซม. แบ่งเป็ นก้อนๆ เรียกว่า Cotyledons มปี ระมาณ 15-20 ก้อน
รกด้านทารก ผวิ ของรกด้านทารกจะเรียบเป็ นมนั มสี ีนาํ เงนิ อ่อน รกด้านนีมสี ายสะดอื เชือมต่อระหว่างรกกบั ทารก และมเี ยอื ห้มุ ทารกต่อจากขอบรกด้านนไี ปห่อหุ้มทารก นาํ ครํา และสายสะดอื ไว้ด้านใน มหี ลอดเลอื ดทอดผ่านเป็ นจาํ นวนมาก
การไหลเวยี นเลอื ดในรก (Placental circulation)การไหลเวยี นเลอื ดฝ่ ายทารก (Fetal placental circulation) เส้นเลอื ดทนี าํ เลอื ดทมี อี อกซิเจนน้อยจากทารกมาสู่รกคอื umbilical arteries ซึงมี2 เส้น เส้นเลอื ดนีจะแยกย่อยไปสู่ Villi เพอื แลกเปลยี นของเสียเข้าสู่ Intervillous space และนําเลอื ดทมี อี อกซิเจนมากและสารอาหารกลบั สู่ทารกทาง umbilical vein ซึงมเี ส้นเดยี ว การไหลเวยี นเลอื ดของทารกผ่านรกจะมปี ระมาณ 300-400 มล./นาที
การไหลเวยี นเลอื ดฝ่ ายมารดา (Maternal placental circulation) เส้นเลอื ดของมารดาทมี าเลยี งรก คอื Spiral arteries ซึงแยกมาจาก Uterinearteries ไหลเข้าสู่บริเวณ Intervillous space แล้วเกดิ การแลกเปลยี นก๊าซและสารอาหารกบัเลอื ดของทารก จากนันนําของเสียกลบั เข้าสู่หลอดเลอื ดดาํ บริเวณ Basal plate ของรก แล้วผ่านเข้าสู่หลอดเลอื ดดาํ ในเยอื บุโพรงมดลูก เข้าสู่ Endometrial vein และ Pelvic vein ต่อไปปริมาณเลอื ดของมารดาทผี ่านมารกมปี ระมาณ 500-700 มล./นาที
การขนส่ง Substance จากมารดาไปทารก และ จากทารกไปมารดา มี 6 วธิ ี คือ Simple diffusion : respiratory gas,protein catabolism , Creatinine และอืนๆ Facililated diffusion : CHO Active transport : amino acid,vitamin,Ca,Fe,iodine Pinocytosis : IM (โมเลกลุ ใหญ)่ , ยาบางอยา่ ง Bulk flow or Osmotic pressue: นาํ Breaks in placenta villi or leakage : fetal red cell
Search