Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore preg evaluation

preg evaluation

Published by JIRAJAN KONTHA, 2018-08-17 00:05:34

Description: preg evaluation

Keywords: preg evaluation

Search

Read the Text Version

What ’s happen ?

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์ ทาํ ได้ 3 วธิ ี คอื 1. การซักประวตั ิ 2. การตรวจร่างกาย และการตรวจภายใน 3. การตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์อาการและอาการแสดงทชี ่วยวนิ ิจฉัยการตังครรภ์ 1. อาจมกี ารตงั ครรภ์ (Presumptive signs) 2. น่าจะมกี ารตงั ครรภ์(Probable signs) 3. ตังครรภ์แน่นอน (Positive signs)

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์1. อาการและอาการแสดงทอี าจมกี ารตังครรภ์ (Presumptive signs)1.1 ขาดประจําเดือน (Secondary amenorrhea)1.2 คลนื ไส้ อาเจียน หรือ แพ้ท้อง (Morning sickness)1.3 อ่อนเพลยี (Fatigue)1.4 ปัสสาวะบ่อย1.5 การเปลยี นแปลงของเต้านมและผวิ หนัง1.6 การรู้สึกทารกดินครังแรก (Quickening)

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์1.7 การเปลยี นแปลงของสีของเยอื บุผนังช่องคลอด (Chadwick’s sign )

การเปลยี นแปลงทเี ต้านมLinea nigra Striae gravidarum

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2. อาการและอาการแสดงทนี ่าจะมีการตังครรภ์ (Probable signs)2.1 ท้องมขี นาดโตขนึ2.2 การเปลยี นแปลงรูปร่าง ขนาดและความนุ่มของ มดลูก 2.2.1 Von Ferwald ’s sign : อายุครรภ์ประมาณ 4 – 5 สัปดาห์ จะตรวจพบว่าบริเวณยอดมดลูกทีมกี ารฝังตวั ของ ตวั อ่อนจะนุ่ม และโป่ งออกเลก็ น้อย

Von Fernwald ’s sign

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2. อาการและอาการแสดงทนี ่าจะมกี ารตังครรภ์ (Probable signs) 2.2.2 Piskacek ’s sign : อายุครรภ์ประมาณ 8 สัปดาห์ จะมี การฝังตวั ของบริเวณ cornu เมอื ตรวจภายในจะพบว่า มดลูกบริเวณนันนุ่ม และเด่นออกไป และเมอื อายุครรภ์มาก ขนึ มดลูกจะโตสมาํ เสมอเท่าๆ มะกรูด 2.2.3 McDonald ’s sign : อายุครรภ์ประมาณ 7 – 8 สัปดาห์ การตรวจภายในโดยใช้วธิ ี Bimanual Examination พบว่า มดลูกยดื หย่นุ จนสามารถหักงอได้ทตี าํ แหน่ง uterocervical junction

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2.2.4 Ladin ’s sign: การตรวจภายในจะพบว่าบริเวณรอยต่อ ระหว่างปากมดลูกกบั ตวั มดลูกด้านหน้าตรงกลางจะนุ่ม

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2.2.5 Goodell ’s sign : ปากมดลูกนุ่ม

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2.2.6 Hegar ’s sign : อายุครรภ์ประมาณ 6 – 8 สัปดาห์ มดลูกโต นุ่ม กลม

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2.3 Ballottement : มดลูกนุ่มและทารกลอยอย่ใู นนําครํา เมือกระตุ้นมดลูกทารกจะโก่งตัวลอยมากระทบมอื

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์2. อาการและอาการแสดงทีน่าจะมีการตงั ครรภ์ (Probable signs)2.4 Braxton Hicks Contractions: มดลูกหดรัดตัว แต่ไม่มี อาการเจ็บปวด2.5 Outlining : การคลาํ ได้ขอบเขตของทารก (outlining the fetus) หลงั จากตงั ครรภ์ 6 เดอื นไปแล้ว จะคลาํ ขอบเขต ของทารกได้ทางหน้าท้อง2.6 Preg test positive : ระดบั Hcg จะสูงทสี ุดเมอื อายุครรภ์ ได้ประมาณ 10 สัปดาห์

การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์3. อาการและอาการแสดงทีมกี ารตงั ครรภ์แน่นอน (Positive signs)3.1 การฟังได้ยนิ fetal heart sound จาก Stethoscope หรือ Doppler/Doptone จะเริมฟังได้เมอื อายุครรภ์ประมาณ 17 – 19 สัปดาห์ ถ้าใช้หูฟังธรรมดา (stethoscope) แต่ถ้าใช้ ultrasonic Doppler จะฟังได้เมอื อายุครรภ์ ประมาณ 10 – 12 สัปดาห์3.2 การตรวจพบการเคลอื นไหวของทารกในครรภ์3.3 การตรวจด้วยคลนื เสียงความถสี ูง (Ultrasound)3.4 การตรวจด้วยภาพถ่ายรังสี

หญงิ รายหนึงสงสัยว่าจะตังครรภ์ มาโรงพยาบาลให้ ประวตั วิ ่าขาดประจําเดือนมา 10 สัปดาห์ มอี าการ คลนื ไส้ อาเจียน เต้านมคัดตึง ส่งปัสสาวะตรวจหา ฮอร์โมน HCG แพทย์ตรวจภายใน และทาํ ultrasound จากสถานการณ์ดังกล่าว ข้อมูลใดเป็ น การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์ทีแท้จริงก.การตรวจภายในข.การทาํ ultrasoundค.การตรวจปัสสาวะหาฮอร์โมน HCGง. คลนื ไส้ อาเจียน เต้านมคดั ตงึ

คาํ ตอบ คอืข.การทาํ ultrasound

ข้อใดต่อไปนีเป็ น Presumptive signก. มี Braxton Hicks contractionข. ผล Urine preg test positiveค. มารดารู้สึกว่ามี Fetal movementง. ฟัง FHS โดย stethoscope ได้

คาํ ตอบ คอืค. มารดารู้สึกว่ามี Fetal movement

การประเมนิ ภาวะสุขภาพของมารดาและทารก ในระยะตงั ครรภ์ปกติ

การฝากครรภ์วตั ถุประสงค์ของการฝากครรภ์1. เพอื ให้การตงั ครรภ์ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ทางด้านร่างกายและจิตใจ2. เพอื เสริมสร้างความรู้แก่สตรีตังครรภ์3. เพอื ให้ทารกทีเกดิ มามสี ุขภาพดี4. เพอื วางรากฐานทจี ะให้เดก็ มกี ารเจริญเตบิ โต และพฒั นาการเป็ นไปอย่างปกติ5. เพอื ค้นหาอาการผดิ ปกตใิ นระยะเริมแรก6. เพอื เสริมสร้างสัมพนั ธภาพระหว่างมารดาและทารก7. เพอื ช่วยให้สตรีมีครรภ์มกี ารเตรียมตวั สําหรับบทบาทการเป็ นมารดา

การดูแลสตรีตังครรภ์ในคลนิ ิกฝากครรภ์การดูแลสตรีตังครรภ์ทมี าฝากครรภ์ครังแรก1. ประเมินสุขภาพสตรีตงั ครรภ์ (health assessment)2. การวนิ ิจฉัยการตงั ครรภ์ (pregnancy diagnosis)3. การประเมินภาวะเสียงของการตงั ครรภ์ (risk assessment)4. การให้คาํ แนะนํา (instruction)

การดูแลสตรีตังครรภ์ในคลนิ ิกฝากครรภ์การดูแลสตรีตังครรภ์ทมี าฝากครรภ์ครังหลงั1. การประเมินความสูงของยอดมดลูก (fundal assessment)2. การเฝ้ าระวงั อาการเปลยี นแปลงผดิ ปกติ (prenatal surveillance)3. การตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารซํา (subsequent laboratory test)4. การให้คําแนะนํา (instruction)

ระยะเวลาการมารับบริการฝากครรภ์ตังแต่ทราบว่าตงั ครรภ์ - 7 เดอื น (28 สัปดาห์) นัดทุก 4 สัปดาห์28 สัปดาห์ ขึนไป - 36 สัปดาห์ นัดทุก 2 สัปดาห์36 สัปดาห์ ขึนไป นัดทุก 1 สัปดาห์จนกว่าจะคลอด

ฝากครรภ์ครบ 5 ครัง ตามเกณฑ์ (Healthy Thailand) หญิงตงั ครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์ 5 ครังตามเกณฑ์ หมายถึงหญิงตงั ครรภก์ ลุ่มปกติไดร้ ับการตรวจครรภห์ รือดแู ลก่อนคลอดครบทงั 5 ครังตามเกณฑข์ องการดแู ลผฝู้ ากครรภแ์ นวใหม่ในช่วงเวลาทีกาํ หนด ไดแ้ ก่ ครังที 1 ก่อนอายคุ รรภ์ 12 สปั ดาห์ ครังที 2 เมืออายคุ รรภ์ 18 สปั ดาห์ (บวก/ลบ ได้ 2 สัปดาห)์ ครังที 3 เมืออายคุ รรภ์ 26 สปั ดาห์ (บวก/ลบ ได้ 2 สปั ดาห)์ ครังที 4 เมืออายคุ รรภ์ 32 สปั ดาห์ (บวก/ลบ ได้ 2 สปั ดาห)์ ครังที 5 เมืออายคุ รรภ์ 38 สปั ดาห์ (บวก/ลบ ได้ 2 สปั ดาห)์

การประเมนิ ภาวะสุขภาพของสตรีตังครรภ์ 1. การซักประวตั ิ 2. การตรวจร่างกาย 3. การตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร 4. การประเมินภาวะจิตสังคม

การซักประวตั ิเทคนิคและวธิ ีการซักประวตั ิ 1. สร้างสัมพนั ธภาพกับสตรีตงั ครรภ์ 2. ขณะซักประวตั คิ วรสังเกตอากปั กริยาไปด้วย โดยเฉพาะใน สตรีครรภ์แรก หรือมาฝากครรภ์ครังแรก 3. คําพูดและกริ ิยาต้องนุ่มนวล ให้ความเป็ นกนั เอง 4. หลกี เลยี งคาํ ถามทีทําให้สตรีตงั ครรภ์เกดิ ความรู้สึกว่า เรา สงสัยสตรีตงั ครรภ์จะเจบ็ ป่ วยด้วยโรคใดโรคหนงึ โดยเฉพาะ

การซักประวตั ิเทคนิคและวธิ ีการซักประวตั ิ 5. ในการซักประวตั เิ กยี วกบั ความเจบ็ ป่ วย ควรถามให้ละเอยี ด 6. ใช้ภาษาทงี ่าย และไม่ใช้คําทีเป็ นภาษาทางเทคนิค 7. มศี ิลปะในการพูด และการฟัง ต้องเป็ นคนช่างสังเกตและ รอบคอบ 8. บันทึกข้อมูลทีได้จากการซักถามหรือสังเกตอย่างละเอยี ด ครบถ้วน 9. ผู้เริมซักประวตั คิ รังแรก ควรได้หัดฟังและสังเกตผ้ทู ีมี ประสบการณ์

การซักประวตั ิประวตั ิทคี วรซักถามจากสตรีตงั ครรภ์1. ประวตั สิ ่วนตวั ชือ นามสกุล อายุ ศาสนา ระดบั การศึกษา อาชีพปัจจุบนั สถานภาพสมรส ทอี ย่ปู ัจจุบัน อาการสําคัญทมี าโรงพยาบาล แบบแผนการดําเนินชีวติ

2. ประวตั ิประจาํ เดือน2.1 อายุเมอื มปี ระจาํ เดอื นครังแรก (menarche)2.2 ความสมาํ เสมอของการมปี ระจาํ เดอื น ช่วงห่างของการมี ประจาํ เดอื นแต่ละครัง (INTERVAL) และระยะเวลาทีมี ประจาํ เดอื น (DURATION)2.3 อาการปวดขณะมปี ระจาํ เดอื น (DYSMENORRHEA)2.4 วนั แรกของการมปี ระจาํ เดอื นครังสุดท้าย (LAST MENSTRUAL PERIOD :LMP) ประวตั ปิ ระจาํ เดอื นวนั แรกของการมปี ระจาํ เดอื นก่อนครัง สุดท้าย (PRE MENSTRUAL PERIOD :PMP)

3. ประวตั กิ ารตังครรภ์3.1 ประวตั กิ ารตังครรภ์และการคลอดครังก่อน @ เคยตงั ครรภ์มาแล้วกคี รัง @ อายุครรภ์หรือระยะเวลาทตี งั ครรภ์ @ วนั เดอื น ปี และสถานทคี ลอด ชนดิ ของการคลอด @ ถ้าเคยผ่าตดั เอาทารกออกทางหน้าท้อง แนะนาํ ให้มาคลอด ทโี รงพยาบาล @ ระยะเวลาทใี ช้ในการคลอด @ นําหนักและเพศของทารก @ ประวตั กิ ารเกดิ ไร้ชีพ หรือตายในระยะแรก @ ภาวะแทรกซ้อนระยะหลงั คลอด ครรภ์ก่อน @ ประวตั กิ ารแท้ง การตงั ครรภ์ไข่ปลาอุก และการขูดมดลูก

3. ประวตั กิ ารตังครรภ์คาํ ศัพท์ทคี วรทราบในการซักประวตั ิ @ จาํ นวนครังทมี กี ารตงั ครรภ์ (Gravida = G) @ จาํ นวนการคลอด (Para = P) อายุครรภ์ 28 สัปดาห์ขนึ ไป @ การแท้ง (Abortion) อายุครรภ์น้อยกว่า 28 สัปดาห์ หรือ นาํ หนักทารกน้อยกว่า 400 กรัม @ การตงั ครรภ์ครังแรก (Primigravidarum) @ การตงั ครรภ์ครังแรกเมอื อายุมากกว่า 35 ปี (Eldery Primigravidarum)

3. ประวตั กิ ารตังครรภ์การบนั ทกึ ประวตั ทิ างสูตกิ รรม @ ระบบตวั อกั ษร (GPAL) เช่น G3P1A1L1หมายถึง ตงั ครรภ์ครังที 3 คลอดบุตร 1 ครัง แท้ง 1 ครัง บุตรมชี ีวติ อยู่ 1 คน @ ระบบตวั เลข 4 หลกั (TPAL 4 digit) T = จาํ นวนบุตรทีคลอดครบกาํ หนด P = จาํ นวนบุตรทคี ลอดก่อนกาํ หนด A = จาํ นวนครังของการแท้ง L = จาํ นวนบุตรทีมีชีวติ อยู่เช่น G3P0-1-1-1 หมายถึง ตงั ครรภ์ครังที 3 บุตรคลอดครบกาํ หนดไม่มีคลอดบุตรก่อนกาํ หนด 1 คน แท้ง 1 ครัง บุตรมชี ีวติ อยู่ 1 คน

3. ประวตั กิ ารตังครรภ์ 3.2 การตงั ครรภ์ปัจจุบัน จะต้องถามเกยี วกบั @ ครรภ์ทเี ท่าไร @ LMP @ การติดเชือในระยะตังครรภ์ @ อาการผดิ ปกตใิ นระหว่างตังครรภ์4. ประวตั ิการเจ็บป่ วยในอดีต5. ประวตั ิครอบครัว

การตรวจร่างกาย1. ท่าเดนิ (gait)2. การวดั ส่วนสูง3. การชังนําหนกั นําหนกั ทเี พมิ ขึนทงั หมดในระยะตงั ครรภ์ประมาณ 10-12 กโิ ลกรัม4. การวดั ความดนั โลหิต5. ศีรษะและคอ6. ทรวงอกและเต้านม หวั นม7. การตรวจครรภ์8. แขน ขา9. อวยั วะเพศ10. การตรวจตามระบบ ซึงทสี ําคญั คอื ระบบหายใจ และระบบหัวใจ11. การตรวจภายใน

การตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ ารการตรวจเลอื ด @ การตรวจหาความเข้มข้นของเลอื ด @ การตรวจนําเหลอื งเพอื หาเชือซิฟิ ลสิ @ การตรวจหมู่เลอื ด @ การตรวจคัดกรองหาผ้ปู ่ วยและพาหะของโรคของ ธาลสั ซีเมยี @ การตรวจหาเชือ HIV @ การตรวจหาภาวะตบั อกั เสบบี

การตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารการตรวจปัสสาวะ @ การตรวจหาโปรตีนในปัสสาวะ (Albumin) @ การตรวจหานําตาลในปัสสาวะ (Sugar)

การตรวจพเิ ศษเพอื ตรวจสอบสุขภาพทารกในครรภ์

การประเมนิ ภาวะจิตสังคม1. สภาพจติ ใจและอารมณ์2. ความต้องการเรียนรู้เกยี วกบั การตงั ครรภ์ และการปรับตวั ต่อการตงั ครรภ์3.ระบบสนบั สนุนและคาํ จุน4. สัมพนั ธภาพในครอบครัว5. การปรับตวั ต่อบทบาทการเป็ นมารดา ตามพฒั นกจิ ของหญิงมคี รรภ์ 5.1 การสร้างความมนั ใจ และยอมรับการตงั ครรภ์ 5.2 การรับรู้การมตี วั ตนของทารก 5.3 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็ นบุคคล 5.4 การเปลยี นบทบาทการเป็ นมารดา

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)1. การกาํ หนดวนั คลอดโดยวธิ ีของ Naegele’ s rule ใช้วนั แรกของ LMP นับย้อนหลงั ไป 3 เดือน หรือบวกไปข้างหน้า 9 เดอื น แล้วเอา 7 วนั บวกกบั LMP การกาํ หนดอายุครรภ์ นับจํานวนวนั จาก LMP จนถึงวนั ทมี าฝาก ครรภ์ แล้วหารด้วย 7

แบบฝึ กหัดสตรีรายหนึงมาฝากครรภ์วนั ที 10 สิงหาคม 2560 ให้ประวตั ิ LMP (วนั แรกของการมปี ระจาํ เดอื นครังสุดท้าย)20 มถิ ุนายน 2560 เมอื ใช้วธิ ีของ Naegele ‘s rule กาํ หนดวนั คลอดของสตรีรายนี คอื เมอื ไร

คาํ ตอบ คอื 27 มนี าคม 2561

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)2. การกาํ หนดวนั คลอดจากประวตั เิ ด็กดนิ(Quickening) ครรภ์แรก อายุครรภ์ 18 – 20 สัปดาห์ ครรภ์หลงั อายุครรภ์ 16 – 18 สัปดาห์

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)3. การกาํ หนดอายุครรภ์โดยอาศัยการวดั ระดับยอดมดลูกและขนาดของมดลูก

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)อาศัยความสัมพนั ธ์ของระดบั ยอดมดลูกกบั ผนงั หน้าท้อง

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)การวดั ความสูงของระดบั ยอดมดลูก (fundalheight) ความสูงของระดบั ยอดมดลูก เทยี บเท่าอายุครรภ์ แม่นยาํ อายุครรภ์ 18-30 wks (จากการศึกษาในคนไทยพบว่า จาํ นวนซม.ของระดบัยอดมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์ 2-3 ซม.) ตามวธิ ีของ McDonald (ความยาวเป็ นซม.*8/7) แม่นยาํ อายุครรภ์ 20 wks ขนึ ไปและมดลูกอยูในแนวตามยาว

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC) การคาํ นวณอายุครรภ์จากการตรวจภายใน

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC)4. การคาดคะเนอายุครรภ์โดยใช้คลนื เสียงความถสี ูง• การตรวจถุงห่อห้มุ ทารก (Gestational sac)GA 5 wks• การวดั Crown-rump length แม่นยาํ GA 6-14 wks• การวดั ขนาด Biparietal diameter ในครรภ์ครบกาํ หนด•ยาวประมาณ 9.25 ซม.•แม่นยาํ GA 14-26 wks

การกาํ หนดอายุครรภ์หรือการคาดคะเนกาํ หนดวนั คลอด (Expected Date of Confinement: EDC) *5. การคาดคะเนอายุครรภ์จากภาพรังสี * GA 36 wks พบ ossification center ทปี ลายล่าง ก.femur •GA 40 wks พบทปี ลายบน ก.tibia • ควรหลกี เลยี งใน ไตรมาสท1ี และ 2 เพราะทาํ ให้แท้ง (2-3 wks แรก พกิ ารแต่กาํ เนิด (1-3 ด แรก) ความผดิ ปกติแต่กาํ เนิดในเม็ด เลอื ดขาว ตายคลอด หรือมะเร็งเมด็ เลอื ดขาว การเจริญเติบโตช้า (3- 4 ด แรก)

6. การกาํ หนดอายุครรภ์จากขนาดตวั เด็ก การวดั ความยาวของเด็ก Crown-heel length จากHasse ‘s rule คือ* ความยาวใน 5 ด แรกของการตงั ครรภ์ = อายุครรภ์เป็ นเดือน 2 ความยาวใน 5 ด หลงั ของการตังครรภ์ = อายุครรภ์เป็ นเดอื น x 5(ความยาว * 4/5)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook