Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัตว์มหัศจรรย์ใต้มหาสมุทร

สัตว์มหัศจรรย์ใต้มหาสมุทร

Published by flukker1998, 2020-09-05 04:24:17

Description: Sea Animals Climate Change Poster

Keywords: สัตว์น้ำ,สัตว์ทะเล

Search

Read the Text Version

สตั วม์ หศั จรรย์ ใต้มหาสมุทร FANTASTIC LIFE UNDER THE SEA

คํานํา นนั เปนความเขา้ ใจผดิ เพราะ ยงั มสี งิ มชี วี ติ ทีมนษุ ย์ ยงั ไมเ่ คยเหน็ อีกมากมาย โดยเฉพาะใต้ท้องทะเลลึก พนื ผวิ โลกเปนมหาสมุทรถึง 70% และมคี วามลึกโดยเฉลีย 4 กิโลเมตร เมอื เปรยี บเทียบกับทีอืนๆ แล้วใต้ท้องทะเลลึก เปนบรเิ วณ ทีหนาวเยน็ มดื ทึบและมอี อกซเิ จนนอ้ ย สภาพแวดล้อมจงึ เอือ ต่อการมชี วี ติ นอ้ ยมาก แต่ทีนกี ลับมี สงิ มชี วี ติ ทีหลากหลายและมรี ปู ลักษณแ์ ปลกๆ ท้องทะเลลึกมสี งิ มชี วี ติ ขนาดใหญ่ ไปจนถึงขนาดเล็ก ตังแต่วาฬ สเปรม์ ปลาหมกึ ยกั ษ์ อารช์ ทิ ิวทิส ปลาหมกึ ยกั ษ์คอลอสซอล ปลาฉลามสลีปเปอร์ ไปจนกระทังถึง ปะการงั ปลาหมกึ ขนาดเล็ก หนอน และแบคทีเรยี ผจู้ ดั ทํา กันต์ธรี ์ พรสี

สารบญั หวั ขอ้ หน้า ปลาการต์ นู (CLOWNFISH)...........................................................................................1 ปลาขตี ังเบด็ ฟา (BLUE TANG)........................................................................................2 เต่าตนุ (GREEN SEA TURTLE).......................................................................................3 ปลาฉลามครบี ดํา (BLACKTIP REEF SHARK).....................................................................4 เมน่ ทะเล (SEA HEDGEHOG).........................................................................................5 ปลาดาวสนี ําเงิน (ฺBLUE SEA STAR).................................................................................6 ปลาสงิ โต (LION FISH).................................................................................................7 ปลาปกเปายกั ษ์ (STELLATE PUFFER)..............................................................................8 กัลปงหา (SEA FAN).....................................................................................................9 ปูทะเล (BRACHYURA).................................................................................................10 แมงกระพรุน(JELLYFISH).............................................................................................11

ปลาการต์ นู (CLOWNFISH) เปนปลาพระเอกทีใครไปทะเลทางใต้ยงั ไงก็ต้องได้เจอ นนั ก็คือ “ปลา การต์ นู หรอื เจา้ นีโมน่ นั เอง” แต่พระเอกตัวนีเจอแล้วขอลายเซน็ ต์ไมไ่ ด้นะคะ หยงิ ให้ถ่ายรูปอยา่ งเดียว ถ้าดําๆ นาํ อยูแ่ ล้วเจอดงดอกไมท้ ะเลสยายหนวดพรวิ ไหวไปกับสายนาํ อยูก่ ็นนั แหละค่ะ บา้ นของเจา้ นีโม่ เขาเลย นีโมก่ ับดอกไมท้ ะเลเขาเปนเพอื นบา้ นทีรกั กันดีสดุ ๆ ค่ะ พงึ พาอาศัยกันตลอด นีโมจ่ ะใชด้ อกไม้ ทะเลเปนหลมุ หลบภัยและแหล่งหาอาหาร เพราะในปลายหนวดทีอ่อนนมุ่ ของดอกไมท้ ะเลจะมเี ขม็ พษิ จาํ นวนมหาศาล พอมปี ลาวา่ ยหลงผา่ นมา ดอกไมท้ ะเลก็จะใชห้ นวดพษิ ทิมเหยอื ให้เปนอัมพาต และใช้ หนวดจบั เขา้ ปาก ทําให้ไมม่ ปี ลาตัวไหนกล้าเขา้ ใกล้ดอกไมท้ ะเล ยกเวน้ เจา้ นีโมน่ ีแหละค่ะ ทีเทียววา่ ยหา สาหรา่ ยกินอยูร่ อบๆ พอมศี ัตรูมาบุก จะได้รบี หนีวา่ ยหลบเขา้ ไปในดงดอกไมท้ ะเลได้อยา่ งปลอดภัย สาเหตทุ ีพแี กไมเ่ ปนอะไรก็เพราะวา่ พแี กมเี มอื กทีเปนเกราะปองกันพษิ จากดอกไมท้ ะเลอยู่ ถ้าเมอื ไหรท่ ี เมอื กนนั หายไปนางก็จะเปนเหมอื นปลาตัวอืนๆ ค่ะ มอ่ งเท่งตามๆ กันไปแต่นีโมเ่ ขาก็ไมไ่ ด้มาอาศัยอยู่ เฉยๆ นะคะ ตอนกลางคืนเวลาทีออกซเิ จนในนาํ ลดลงนีโมจ่ ะคอยโบกครบี ไป มา เพอื ให้เกิดกระแสนาํ ไหลผา่ นดอกไมท้ ะเลเพอื ให้ออกซเิ จนกับดอกไมท้ ะเลอีกด้วย 1

ปลาขตี ังเบด็ ฟา (BLUE TANG) ปลาขตี ังเบด็ ฟา หรอื ชอื ทีนยิ มเรยี กกันในวงการปลาสวยงามวา่  ปลาบลแู ทง (อังกฤษ: BLUE TANG, REGAL TANG, PALETTE SURGEONFISH, ROYAL BLUE TANG, HIPPO TANG, FLAGTAIL SURGEONFISH, BLUE SURGEONFISH, PACIFIC REGAL BLUE TANG) เปนปลาทะเลทีอาศัยตามแนวปะการงั ทีมสี สี นั สดใส จงึ นยิ มเลียงเปนปลาสวยงาม จดั อยูใ่ นวงศ์ปลาขตี ัง เบด็  (ACANTHURIDAE) จดั เปนปลาเพยี งชนดิ เดียวในสกลุ  PARACANTHURUS[1][2]ปลาขตี ังเบด็ ฟามลี ําตัวสนี าํ เงินเขม้ หาง สเี หลือง มลี ายสดี ําคล้ายจานสี ปลาทีมลี ําตัวสว่ นล่างเปนสเี หลืองพบในตะวนั ตกจนถึงกลางมหาสมุทรอินเดีย[3] มลี ําตัวยาว 31 เซนติเมตร[1] มกี ารกระจายพนั ธุก์ วา้ ง พบได้ตลอดภมู ภิ าคอินโด-แปซฟิ ก อยา่ งตามแนวปะการงั ในแอฟรกิ าตะวนั ออก, ประเทศญีปุน, ประเทศซามวั , นวิ แคลิโดเนีย และเกรตแบรร์ เิ ออรร์ ฟี [1]ปลาขตี ังเบด็ ฟายงั ไมไ่ ด้รบั การประเมนิ สถานะการ อนรุ กั ษ์โดยสหภาพนานาชาติเพอื การอนรุ กั ษ์ธรรมชาติและทรพั ยากรธรรมชาติ (IUCN)[1]ในต้เู ลียง ปลาขตี ังเบด็ ฟาได้รบั ความ นยิ มไมใ่ ชเ่ ฉพาะแค่ความสวยงาม แต่ยงั สามารถกําจดั ตะไครน่ าํ ประเภทต่าง ๆ ทีขนึ ในตู้ (ซงึ ทําให้แลดสู กปรกและอาจสง่ ผลต่อ การเจรญิ เติบโตของปะการงั ) ได้เปนอยา่ งดีอีกด้วย เนอื งจากเปนปลาทีกินพชื เปนอาหารหลัก และในธรรมชาติ ถือเปนปลาทีมี ความสาํ คัญต่อระบบนเิ วศ[4]ในวฒั นธรรมรว่ มสมยั  ในภาพยนตรก์ ารต์ นู เรอื ง นีโม...ปลาเล็ก หัวใจโต๊...โต ในป พ.ศ. 2546 (รวม ถึงภาคต่อ คือ ผจญภัยดอรขี ลี ืม ในป พ.ศ. 2559) ปลาขตี ังเบด็ ฟาเปนตัวละครตัวหนงึ ชอื ดอรี (เสยี งพากยโ์ ดย เอลเลน ดีเจนเนอ เรส) เปนปลาเพศเมยี ทีออกตามหานีโม่ ลกู ปลาการต์ นู สม้ ขาว ลกู ชายของมารล์ ิน ปลาการต์ นู สม้ ขาวทีเปนตัวละครเอกของเรอื ง 2

เต่าตนุ (GREEN SEA TURTLE) เต่าตนุ [ตะ-หนฺ ุ] เปนเต่าทะเลชนิดหนึง มชี อื วทิ ยาศาสตรว์ า่ CHELONIA MYDAS อยูใ่ นวงศ์ CHELONIIDAE และเปน เพยี งชนิดเดียวเท่านันทีอยูใ่ นสกลุ CHELONIA[1]เต่าตนุเปนเต่าทะเลทีมขี นาดค่อนขา้ งใหญ่และมนี ําหนักมากเมอื โตเต็ม ที โดยมคี วามยาวตังแต่หัวจรดหางประมาณ 1 เมตร นําหนักราว 130 กิโลกรมั หัวปอมสนั ปากสนั เกล็ดเรยี งต่อกันโดยไม่ ซอ้ นกัน กระดองหลังโค้งนูนเล็กน้อย บรเิ วณกลางหลังเปนแนวนูนเกือบเปนสนั ท้องแบนราบขาทังสแี บนเปนใบพาย ขา ค่หู ลังมขี นาดเล็กกวา่ ขาค่หู น้ามาก ขาค่หู น้ามเี ล็บแหลมเพยี งขา้ งละชนิ สขี องกระดองดเู ผิน ๆ มเี พยี งสนี ําตาลแดงเท่านัน แต่ถ้าหากพจิ ารณาให้ละเอียดจะพบวา่ เกล็ดแต่ละเกล็ดของกระดองหลังมสี นี ําตาลแดงหรอื นําตาลอมเขยี ว ขอบเกล็ดมสี ี อ่อน ๆ เปนรอยด่างและมลี ายเปนเสน้ กระจายออกจากจุดสแี ดงปนนําตาล คล้ายกับแสงของพระอาทิตยท์ ีลอดออกจาก เมฆ จงึ มชี อื เรยี กเต่าชนิดนีวา่ อีกชอื หนึงวา่ \"เต่าแสงอาทิตย\"์ ขณะทีชาวตะวนั ตกเรยี กวา่ \"เต่าเขยี ว\" อันเนืองจากมี กระดองเหลือบสเี ขยี วนันเอง[2]เต่าชนิดนีเปนเต่าทีกินทังพชื และสตั ว์ แต่จะกินพชื เปนหลัก โดยกินอาหารจาํ พวกหญ้า ทะเลหรอื สาหรา่ ยทะเล โดยมสี ตั วน์ ําขนาดเล็กทัวไป เชน่ ปลาหรอื แมงกะพรุน เปนอาหารรองลงไปเรามกั พบเต่าตนุในเขต นําตืนใกล้ชายฝงหรอื ตามเกาะต่าง ๆ โดยกระจายพนั ธุท์ ังในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุนเดีย และมหาสมุทรแปซฟิ ก ในน่านนําไทยพบทังทีอ่าวไทยและทะเลอันดามนั นับเปนเต่าทะเลชนิดทีพบได้บอ่ ยทีสดุ ในน่านนําไทย โดยมกั พบในเขตทีมี อุณหภมู นิ ําทีค่อนขา้ งอุ่น คือ สงู กวา่ 20 องศาเซลเซยี สขนึ ไป โดยขนึ มาวางไขม่ ากทีเกาะครามและเกาะกระในอ่าวไทย และ ทางฝงทะเลอันดามนั พบวางไขม่ ากทีอุทยานแห่งชาติตะรุเตา บนชายหาดและเกาะหลายแห่งในจงั หวดั ภเู ก็ตและพงั งา 3

ปลาฉลามครบี ดํา (BLACKTIP REEF SHARK) ปลาฉลามครบี ดํา หรอื  ปลาฉลามหดู ํา (อังกฤษ: BLACKTIP REEF SHARK; ชอื วทิ ยาศาสตร:์  CARCHARHINUS MELANOPTERUS) เปนปลาฉลามชนิดหนึง มรี ูปรา่ งเพรยี วยาว ปากกวา้ ง มแี ถบดําทีครบี หลัง ครบี ไขมนั ครบี ก้น และ ครบี หางตอนล่าง เปนทีมาของชอื กินปลาและสตั วน์ ําขนาดเล็กเปนอาหาร มนี ิสยั ไมด่ รุ า้ ยเมอื เทียบกับปลาฉลามชนิดอืนๆ นิยมอยูร่ วมเปนฝูงบรเิ วณใกล้ชายฝง และอาจเขา้ มาในบรเิ วณนํากรอ่ ย หรอื ปากแมน่ ํา โดยสามารถเขา้ มาหากินใกล้ ชายฝง แมก้ ระทังในพนื ที ๆ มนี ําสงู เพยี ง 1 ฟุต[2] เปนปลาหากินในเวลากลางคืน ในเวลากลางวนั จะหลบซอ่ นตัวพกั ผ่อน ตามแนวปะการงั โดยจะหากินอยูใ่ นระดับนําความลึกไมเ่ กิน 100 เมตร[3] ขนาดโตเต็มทีประมาณ 2 เมตร ตัวเมยี ตังท้อง นาน 18 เดือน ออกลกู เปนตัว ครงั ละ 2-4 ตัว เมอื โตขนึ มาแล้วสดี ําตรงทีครบี หลังจะหายไป คงเหลือไวแ้ ต่ตรงครบี อกและ ครบี สว่ นอืนปลาฉลามครบี ดํา นับเปนปลาฉลามชนิดทีพบได้บอ่ ยทีสดุ ในทะเล และเปนต้นแบบของปลาฉลามในสกลุ ปลา ฉลามปะการงั [4] มนี ิสยั เชอื งคน สามารถวา่ ยเขา้ มาขออาหารได้จากมอื เปนทีชนื ชอบของบรรดาผู้ทีนิยมการดํานํา พบทัง ฝงอ่าวไทยและทะเลอันดามนั  นิยมใชบ้ รโิ ภคโดยเฉพาะปรุงเปนหฉู ลาม เมนูอาหารจนี ราคาแพง และนิยมเลียงเปนปลาตู้ สวยงามอีกด้วย 4

เมน่ ทะเล (SEA HEDGEHOG) เมน่ ทะเล หรอื  หอยเมน่  (อังกฤษ: SEA URCHIN) เปนสตั วท์ ีมที รงกลม(GLOBULAR ANIMAL)และมกั มหี นาม เปนเอไคโนเดิรม์ (ECHINODERMS - สตั วใ์ นไฟลัม ECHINODERMATA) อยูใ่ นชนั  เอไคนอย เดีย ( ECHINOIDEA )สตั วใ์ นชนั เอไคนอยเดีย เรยี กวา่  เอไคนอยด์ ECHINOIDS มรี าว 950 สปชสี อ์ าศัยอยูต่ าม พนื ทะเล ในทกุ มหาสมุทรตังแต่ชายฝงจนถึงระดับความลึึก 5,000 เมตร(16,000 ฟุต; 2,700 ฟารธ์ อม) เปลือกน อกมลี ักษณะแขง็ กลม และมหี นาม มขี นาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางลําตัวตังแต่ 3 ซม. ถึง 10 ซม. เมน่ ทะเลเคลือนทีได้ อยา่ งชา้ ๆด้วยขาท่อ(TUBE FEET) และบางครงั ยงั เคลือนทีด้วยหนามของมนั อาหารหลักของเมน่ ทะเลคือ สาหรา่ ยต่างๆ แต่ก็กินสตั วท์ ีเคลือนทีชา้ หรอื อยูก่ ับทีด้วย นักล่าทีกินเมน่ ทะเลเปนอาหารได้แก่ นากทะเล, ปลาดาว, ปลาไหลหมาปา(WOLF EELS) และปลาววั (TRIGGER FISH)เชน่ เดียวกับเอไคโนเดิรม์ อืนๆ เมน่ ทะเลจะมี ลักษณะลําตัวห้าพูสมมาตร(FIVEFOLD SYMMETRY)เมอื โตเต็มที แต่ตัวอ่อนมลี ักษณะสมมาตร 2 ด้าน(BILATERAL SYMMETRY)แสดงถึงการเปนสงิ มชี วี ติ ทีมรี า่ งกายสมมาตร 2 ด้าน(BILATERIA) กล่มุ ของ สงิ มชี วี ติ ในไฟลัมขนาดใหญ่อันประกอบไปด้วยไฟลัม CHORDATES, ARTHROPODS, ANNELIDS และ MOLLUSCS ซงึ มแี หล่งอาศัยอยูใ่ นทกุ มหาสมุทรตังแต่ศูนยส์ ตู รถึงขวั โลก อาศัยอยูบ่ นพนื มหาสมุทรตังแต่ ชายฝงถึงก้นมหาสมุทร เราค้นพบฟอสซสิ ของเอไคนอยยอ้ นกลับไปถึงยุค ORDOVICIAN (450 ล้านปทีแล้ว) มี ความสมั พนั ธใ์ กล้เคCียUงCกUับMสตั BวEใ์ RนSก(ลH่มุ OเLอOไคTโHนUเดRิรOม์ IดD้วEยAก)ันทคังือแตงกวาทะเล SEA ค่จู ดั เปนสตั วป์ ระเภท DEUTEROSTOMES (ปากกับทวารอยูค่ นละ ด้าน) จดั วา่ มบี รรพบุรุษรว่ มกันกับ CHORDATES(สตั วใ์ นไฟลัม CHORDATA)เราได้ศึกษาเมน่ ทะเลมาตังแต่ ศตวรรษที 19 โดยใชเ้ ปนตัวอยา่ งสงิ มชี วี ติ (MODEL ORGANISM) ในสาขาวชิ าการพฒั นาการทางชวี ะวทิ ยา (DEVELOPMENTAL BIOLOGY) เนืองจากตัวอ่อน EMBRYO ของเมน่ ทะเลง่ายต่อการสงั เกตการณ์ และมกี าร ศึกษาจโี นม GENOMES ของลักษณะลําตัวห้าพูสมมาตร(FIVEFOLD SYMMETRY)และความสมั พนั ธก์ ับ CHORDATES(สตั วใ์ นไฟลัม CHORDATA) เมน่ ทะเลหนามดินสอเปนทีนิยมในวงการปลาทะเลสวยงามเนืองจาก ความสามารถในการควบคมุ ปรมิ าณสาหรา่ ย ALGAE ฟอสซสิ ของเมน่ ทะเลยงั ใชท้ ําเครอื งรางปองกัน ภัย(PROTECTIVE AMULETS)ด้วย 5

ปลาดาวสนี ําเงิน (ฺBLUE SEA STAR) (อังกฤษ: STARFISH, SEA STAR) เปนสตั วท์ ะเลไมม่ กี ระดกู สนั หลัง ทีอยูใ่ นชนั ASTEROID EA ลักษณะทัวไป มลี ําตัว แยกเปนห้าแฉกคล้ายรูปดาวเรยี กวา่ แขน สว่ นกลาง มลี ักษณะเปนจานกลม ด้านหลังมตี ่มุ หินปูน ขนาดเล็กกระจายอยู่ ทัวไป มปี ากอยูด่ ้านล่างบรเิ วณ จุดกึงกลางของ ลําตัว ใต้แขนแต่ละขา้ งมหี นวดสนั ๆ เรยี งตามสว่ นยาว ของแขนเปนคู่ ๆ มลี ักษณะเปนกล้ามเนือทีเหนียวและแขง็ แรงเรยี กวา่ โปเดีย ใชส้ าํ หรบั ยดึ เกาะกับเคลือนที มสี ตี ่าง ๆ ออกไป ทัง ขาว, ชมพู, แดง, ดํา, มว่ ง หรอื นําเงินเปนต้น พบอยูต่ ามชายฝงทะเล โขดหิน และบางสว่ นอาจพบได้ถึงพนื ทะเลลึก กินหอย สองฝา โดยเฉพาะ หอยนางรม, ก้งุ , ปู หนอน และ สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลังอืน ๆ เชน่ ฟองนําหรอื ปะการงั เปนอาหาร การสบื พนั ธุข์ องดาวทะเล           ดาวทะเลสามารถสบื พนั ธุไ์ ด้ทังแบบอาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศ โดยมที ังเพศผู้และเพศเมยี การปฏิสนธเิ กิดภายนอกตัว ระยะแรกตัวอ่อนจะดํารงชวี ติ แบบ ZOO PLANKTON จากนันจะเรมิ พฒั นาตัวแล้วจมตัว ลงเพอื หาทียดึ เกาะแล้วเจรญิ เปนตัวเต็มวยั บางชนิดมคี วามสามารถในการงอกทดแทนสงู (REGENERATION) ชนิ สว่ น ของรา่ งกาย แต่ใชเ้ วลานานมาก อาจจะเปนป  การเคลือนทีของดาวทะเล            ดาวทะเลเปนสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลัง มโี ครง แขง็ ทีผิวนอก ไมไ่ ด้ยดึ เกาะกับกล้ามเนือ ดาวทะเลมรี ะบบการเคลือนทีด้วยระบบท่อนํา (WATER-VASCULA R SYSTEM)จากท่อวงแหวนจะมที ่อนําแยกออกไปในแขน (ARM) ทัง 5 ของดาวทะเล เรยี กท่อนีวา่ เรเดียลแคแนล (RADIAL CANAL) ทางด้านขา้ งของเรเดียลคาแนล มที ่อแยกไปยงั ทิวบฟ์ ต (TUBE FEET) การยดื และหดของทิวบฟ์ ต ของดาวทะเลจะเกิดขนึ หลายๆครงั ทิวบฟ์ ตและหลายๆครงั และมคี วามสมั พนั ธก์ ันทําให้เกิดการเคลือนทีไปได้อาหารของ ดาวทะเล          ทีใต้ลําตัวของดาวทะเลจะมปี าก และเลยจากปากขนึ ไปเปนกระเพาะ ปลาดาวกินอาหารโดยการยนื กระเพาะ ออกมาคลมุ ห้มุ เหยอื แล้วชกั กระเพาะกลับคืน เขา้ ไปภายในลําตัว เพอื ยอ่ ยเหยอื นันเปนอาหาร ดาวทะเลโดยสว่ นมากเปน นักล่า โดยจะกินสตั วอ์ ืนเปนอาหาร ซงึ ได้แก่ หอยฝาเดียว หอยสองฝา ครสั เตเซยี น และปลา  บางชนิดกินปะการงั หรอื ฟองนํา  บางชนิดกินซากพชื ซากสตั วเ์ ปนอาหาร โดยสว่ นใหญ่จะกินหอยสองฝา เชน่ หอยแครง หอยแมลงภ่แู ละอืนๆ มี ปลาดาวบางชนิดกินเฉพาะสตั วบ์ างกล่มุ เชน่ ดาวทะเลหนามกินปะการงั อยา่ งเดียว 6

ปลาสงิ โต (LION FISH) มลี ักษณะทัวไป คือ มลี ําตัวยาวปานกลาง แบนขา้ งเล็กนอ้ ย หัวมขี นาดใหญ่ ลําตัวปกคลมุ ด้วยแผน่ กระดกู และมหี นามจาํ นวน มาก เกล็ดขนาดเล็ก ครบี หลัง และครบี อกขนาดใหญแ่ ผก่ วา้ ง โดยทัวไปครบี อกมคี วามยาวถึงโคนหาง ก้านครบี แขง็ ของครบี หลัง และครบี อกมขี นาดใหญแ่ หลมคม แต่ละชนดิ มกี ้านครบี แขง็ จาํ นวนแตกต่างกัน หัวและลําตัวมแี ถบลายสนี าํ ตาลปนแดง มกั วา่ ยชา้ ๆ หรอื ลอยตัวนิง ๆ ตามแนวปะการงั และบรเิ วณแนวหินในเขตนําตืนชายฝงทัวไป เปนปลาทีมตี ่อมพษิ ทีก้านครบี แขง็ ทกุ ก้าน รวมถึงมถี งุ พษิ เล็ก ๆ อยูเ่ ต็มรอบไปหมด[3] โดยจะอยูใ่ ต้ชนั ผวิ หนังโดยอยูร่ อบสว่ น กลาง สว่ นปลายของก้านหนามห้มุ ห่อด้วยเนือเยอื พษิ เปนสารประกอบโปรตีน เมอื แทงเขา้ ไปแล้ว ถงุ พษิ เล็ก ๆ นนั จะแตกกลาย เปนของเหลวเขา้ ไปในเนือเยอื ของเหยอื ซงึ ผู้ทีโดนแทงจะรูส้ กึ ปวดแสบปวดรอ้ น ซงึ เปนลักษณะเฉพาะของปลาในวงศ์นี แต่โดย รวมแล้ว ปลาสงิ โตจะมคี วามรุนแรงของพษิ น้อยกวา่ ปลาสกลุ อืนหรอื วงศ์อืน ในอันดับเดียวกัน[4] ผ้ทู ีโดนต่อมพษิ ของปลา สงิ โตแทงจะมหี ลายอาการ ทังอัมพาต, อัมพาตชวั คราว หรอื แผลพุพอง[3] เปนปลาทีมคี วามสวยงาม จงึ นิยมเลียงเปนปลาสวยงาม ปกติไมบ่ รโิ ภคเปนอาหาร พบกระจายพนั ธุอ์ ยูต่ ามแนวปะการงั หรอื กอง หินใต้นาํ ในเขตอินโด-แปซฟิ ก เปนปลาทีกินก้งุ หรอื ปลาขนาดเล็กชนิดอืนเปนอาหาร ด้วยการกางครบี แล้วไล่ต้อนให้จนมุม แล้ว ใชป้ ากฮุบกินไปทังตัว ขากรรไกรขยายออกถึงรอ้ ยละ 40 นอกจากนีแล้วครบี ต่าง ๆ นนั ยงั ใชส้ าํ หรบั กางเพอื ขูศ่ ัตรูได้ด้วย[5] นอกจากนีแล้วปลาสงิ โตยงั ถือเปนปลาทีฮุบกินอาหารได้เรว็ มากจนตาเปล่าไมอ่ าจมองทัน ต้องใชก้ ล้องถ่ายภาพความเรว็ สงู ทีมี ความเรว็ 2,000 เฟรม/วนิ าที จงึ จะจบั ภาพทัน 7

)ปลาปกเปายกั ษ์(STELLATE PUFFER ปลาปกเปายกั ษ์ หรอื  ปลาปกเปาลายเสอื [2] หรอื  ปลาปกเปาก้นดํา[3] (อังกฤษ: STARRY BLOWFISH, STARRY TOADFISH, STAR PUFFER; ชอื วทิ ยาศาสตร:์  AROTHRON STELLATUS) เปนปลาปกเปาชนดิ หนงึ ในวงศ์ปลา ฟนสซี  ี (TETRAODONTIDAE)มรี ูปรา่ งยาว หัวโต ลําตัวค่อนขา้ งกลม สว่ นท้ายแบนขา้ งเล็กนอ้ ย ลําตัวสขี าว มลี าย เลอะสเี ทาและจุดสดี ําเล็ก ๆ กระจายทัวตัวมคี วามยาวเต็มทีได้ถึง 120 เซนติเมตร นบั เปนปลาปกเปาชนดิ ทีใหญท่ ีสดุ ทีพบได้ในประเทศไทย เปนปลาทีหากินในระดับใกล้กับหนา้ ดิน อาศัยอยูต่ ามแนวปะการงั  กินสตั วน์ าํ เล็ก ๆ ตามหนา้ ดินเปนอาหารพบกระจายพนั ธุใ์ นแถบอินโด-แปซฟิ ก ในนา่ นนาํ ไทยพบได้ทังฝงอ่าวไทยและทะเลอันดามนั แต่เปน ปลาทีไมพ่ บบอ่ ยมากนกั 8

กัลปงหา (SEA FAN) กัลปงหา หรอื กะละปงหา (SEA FAN) (ยมื มาจากภาษามลายูคําวา่ \"KALAM PANGHA\") เปนสตั วท์ ะเลไมม่ กี ระดกู สนั หลัง แต่ละตัวมขี นาดเล็กมาก รูปรา่ งคล้ายทรงกระบอกหรอื รูปถ้วย[1] จดั อยูใ่ นพวกเดียวกับปะการงั กะละปงหาประกอบด้วย 2 สว่ นคือ ตัวกะละปงหา (โพลิป) ตัวของกะละปงหานีมลี ักษณะคล้ายดอกไมท้ ะเลขนาดเล็ก มเี นือเยอื อ่อนนุ่ม และมหี นวด รอบปากจาํ นวนแปดเสน้ ฝงและกระจายตัวอยูต่ ามโครงสรา้ งกะละปงหา และอีกสว่ นเปนสว่ นโครงสรา้ งทีเปนกิงแตกกิง ก้านคล้ายพดั และซหี วี แล้วแต่ชนิดกิงโครงสรา้ งนีตัวกะละปงหาสรา้ งขนึ มาเพอื รองรบั ตัวเองและเปนสารเขาจาํ พสตั ว[์ 2] กะละปงหาชอบอาศัยอยูต่ ามทีมกี ระแสนําไหล เนืองจากกระแสนําจะชว่ ยพดั พาอาหารมาให้และจะชว่ ยพดั พาของเสยี ทีถกู ปล่อยออกจากกะละปงหาออกไป โดยกะละปงหาจะใชห้ นวดในการดักจบั สงิ มชี วี ติ ขนาดเล็กเพอื นํามาเปนอาหารสว่ นเขม็ พษิ ทีหนวดจะชว่ ยในการจบั พวกแพลงก์ตอน กะละปงหามปี ระโยชน์โดยเปนแหล่งทีอาศัยของสตั วท์ ะเลขนาดเล็กหลาย ชนิดโดยสตั วเ์ หล่านีจะเกาะตามกิงก้าน และนอกจากนีกะละปงหาสามารถใชเ้ ปนสมุนไพรตามความเชอื ของชาวจนี โบราณ 9

ปูทะเล (BRACHYURA) มลี ักษณะกระดองกลมรเี ปนรูปไข่ สดี ําปนแดงหรอื สนี ําตาลเขม้ ขอบระหวา่ งนัยน์ตามหี นาม 4 อัน สว่ นด้าขา้ ง แต่ละขา้ งมหี นามขา้ งละ 8-9 อัน ก้ามจะมหี นามแหลม สว่ นขาอืน ๆ ไมม่ หี นาม ตัวผู้จะมกี ้ามขนาดใหญ่แขง็ แรงกวา่ ตัวเมยี อยา่ งเห็นได้ชดั เจรญิ เติบโตด้วยวธิ กี ารลอกคราบ โดยตรงขอบหลังของกระดองจะเผยออก ให้เห็นกระดองใหมย่ งั เปนเนือเยอื บาง ๆ ซงึ เรยี กวา่ ปูสองกระดอง ถ้าหากเปนตัวเมยี ทีมคี วามสมบูรณ์เพศ จะมไี ขอ่ ยูใ่ นกระดอง ซงึ พบมากในเดือนพฤศจกิ ายน ปลายสดุ ของขาค่ทู ี 2-4 มลี ักษณะแหลมเรยี กวา่ \"ขา เดิน\" ทําหน้าทีในการเดินเคลือนที สว่ นขาค่ทู ี 5 เปนค่สู ดุ ท้ายเรยี กวา่ \"ขาวา่ ยนํา\"ตอนปลายสดุ ของขาค่นู ีมี ลักษณะแบนคล้ายใบพาย ใชส้ าํ หรบั วา่ ยนําพบกระจายพนั ธุอ์ ยูต่ ามแถบชายฝงของแอฟรกิ า, เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้จนถึงออสเตรเลีย โดยอาศัยอยูใ่ นโคลนตมตามปาชายเลนหรอื ปากแมน่ ําทีนําท่วมถึง กินอาหาร จาํ พวกสตั วน์ ําขนาดเล็ก ซากพชื  ซากสตั วต์ ่าง ๆ สาํ หรบั ในประเทศไทยพบได้ทังฝงอ่าวไทยและฝงอันดามนั ปู ทะเลนันมคี วามสาํ คัญต่อมนุษยใ์ นฐานะของสตั วเ์ ศรษฐกิจทีนิยมนํามาปรุงสดเปนอาหาร เชน่ ปูผัดผงกะหร,ี ปูนึง เปนต้น โดยทางการ ได้แก่ กรมประมง สนับสนุนให้เกษตรกรเพาะเลียง โดยมกั จะเลียงในกระชงั ใกล้กับ ทะเล เชน่ ในพนื ทีเขตบางขุนเทียน ของกรุงเทพมหานคร ถึงขนาดจดั เปนเทศกาลท่องเทียวโดยรว่ มกับการ ท่องเทียวแห่งประเทศไทย (ททท.)[4]ปูทะเลเปนทีนิยมรบั ประทานอยา่ งยงิ โดยเฉพาะในเวลาทีกําลังลอก คราบเพราะเนือปูจะนิม กระดองยงั ไมแ่ ขง็ เท่าไหร่ ซงึ เรยี กวา่ \"ปูนิม\"[5]ทีประเทศจนี มตี ้อู ัตโนมตั ิหยอด เหรยี ญจาํ หน่ายปูทะเลด้วย โดยจาํ หน่ายใสก่ ล่องพลาสติกกล่องละตัว[6] และในประเทศญีปุนมกี ารดัดแปลง ให้เปนลักษณะต้คู ล้ายต้คู ีบต๊กุ ตา 10

แมงกระพรุน(JELLYFISH) แมงกะพรุน หรอื กะพรุน[1] จดั อยูใ่ นประเภทสตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลัง ไฟลัม ไนดาเรยี ไฟลัมยอ่ ยเมดโู ซซวั แบง่ ออกเปนอันดับได้ 5 อันดับ (ดใู นตาราง) ลักษณะลําตัวใสและนมิ มโี พรงทําหนา้ ทีเปนทางเดินอาหารมเี ขม็ พษิ ที บรเิ วณหนวดทีอยูด่ ้านล่าง ไวป้ องกันตัวและจบั เหยอื เมอื โตเต็มวยั สว่ น ประกอบหลักในลําตัวเปนนาํ รอ้ ยละ 94-98 ด้านบนเปนวงโค้งคล้ายรม่ ด้าน ล่างตอนกลางเปนอวยั วะทําหนา้ ทีกินและยอ่ ยอาหาร พบได้ในทะเลทกุ แห่ง ทัวโลกแมงกะพรุนสว่ นใหญจ่ ดั อยูใ่ นอันดับไซโฟซวั แต่ก็บางประเภททีอยู่ ในอันดับไฮโดรซวั อาทิ แมงกะพรุนไฟหมวกโปรตเุ กส (PHYSALIA PHYSALIS) ซงึ เปนแมงกะพรุนทีมพี ษิ รา้ ยแรงทีสดุ ในโลก และแมงกะพรุ นอิรุคันจิ (MALO KINGI) ทีอยูใ่ นอันดับคโู บซวั ก็ถกู เรยี กวา่ แมงกะพรุน เชน่ กัน 11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook