Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

ch2

Published by kengkung4514, 2019-02-19 11:05:44

Description: ch2

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 ทฤษฏีและงานวิจัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง การศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบทานายอาชีพโดยใช้จักรกลการเรียนรู้เพ่ือจาแนกคุณลักษณะ บัณฑิตสูก่ าลังคนดจิ ิทัล ผู้วิจยั ได้ศึกษา แนวคิด ทฤษฎี รวมถงึ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้องดังนี้ 2.1 มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ 2.2 รปู แบบเสน้ ทางอาชพี ทางด้านดิจิทัล 2.3 แนวคดิ และทฤษฎกี ารเลอื กอาชพี 2.4 การพัฒนากาลงั คนดจิ ิทัล 2.5 การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบเชงิ ยืนยนั 2.6 การทานายโดยใช้จกั รกลการเรียนรู้ 2.7 การวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถติ ิ 2.8 คลาวด์คอมพิวต้งิ 2.9 งานวิจัยท่เี กย่ี วขอ้ ง 2.1 มาตรฐานคุณวุฒิระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ กระบวนการหรือข้ันตอนการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2552 ข) ได้ให้ความหมายของ มาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์เป็นศาสตร์ที่มีความหลากหลายและมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ครอบคลุมทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติตั้งแต่ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่าย ข้อมูล และบุคลากรด้าน คอมพิวเตอร์ ซ่ึงต้องประสมประสานศาสตร์ต่างๆ เร่ิมจากศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ/หรือ วิศวกรรมศาสตร์ เพ่ือให้มีหลักการและกรอบปฏิบัตใิ นการพัฒนาสาขาคอมพวิ เตอรท์ ่ีเปน็ เคร่ืองมือ สาคัญในการพัฒนาด้านต่างๆ หลักสูตรสาขาคอมพิวเตอร์ในสถาบันอุดมศึกษาไทยมีความ หลากหลายจากรายงานโครงการพัฒนาหลกั สตู รมาตรฐานกลางสาขาคอมพิวเตอรร์ ะดับปรญิ ญาตรี

14 ภาพท่ี 2-1 ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานตามกรอบ มคอ. (สานักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา, 2552 ก) จากภาพท่ี 2-1 ข้ันตอนการดาเนนิ งานตามกรอบ มคอ. ประกอบดว้ ยส่วนประกอบของกรอบ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษาของชาติ ดงั นี้ มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวิชา หมายถึง กรอบท่ีกาหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบณั ฑิต ในแต่ละระดับการศึกษาของสาขา/สาขาวิชาหน่ึงซ่ึงจะกาหนดคุณลักษณะของบัณฑิตในสาขา/ สาขาวิชา ปริญญา และองค์ความรู้ท่ีเปน็ เนื้อหาเทา่ ที่จาเป็นจะต้องมีในหลักสตู รสาขา/สาขาวชิ าและ ระดับคุณวุฒินั้นๆ เพื่อเป็นหลักประกันว่าผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆในสาขา/ สาขาวิชาและระดับคุณวุฒิเดียวกันจะมีผลการเรียนรไู้ ม่นอ้ ยกว่าท่ีกาหนด ในขณะเดียวกันมาตรฐาน คุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาจะเปิดกว้างและส่งเสริมให้สถาบันต่างๆ มีโอกาสบรรจุเน้ือหาวิชาในส่วนที่ นอกเหนอื จากทก่ี าหนดไว้ได้อย่างอิสระ เหมาะสม และตรงกบั ความต้องการหรือเอกลกั ษณข์ องแตล่ ะ สถาบัน ซึ่งจะทาให้สถาบันต่างๆสามารถพัฒนาหลักสูตรได้อย่างหลากหลาย แต่มีมาตรฐานผลการ เรียนรู้ของหลักสูตรในสาขา/สาขาวิชาและระดับคุณวุฒิเดียวกันท่ีเทียบเคียงกันได้นอกจากน้ี มาตรฐานคณุ วุฒิของสาขา/สาขาวิชายงั ได้กาหนดเงื่อนไข ข้อแนะนา ในการบริหารจัดการการเรียน การสอนที่สถาบันอุดมศึกษาต้องนาไปปฏิบัติ เพื่อให้หลักประกันว่า หลักสูตรที่จดั การเรียนการสอน สามารถบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง มคอ.1 เป็นแบบที่คณะกรรมการการอุดมศึกษา

15 กาหนดให้คณะผู้เช่ียวชาญใช้ในการจัดทามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาต่างๆ ให้สอดคล้องกับ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 แนวทางในการจัดขอบเขตองค์ความรู้ของสาขาคอมพวิ เตอร์จะพิจารณามุมมองหลายมติ เิ พ่ือ ความครบถ้วนทง้ั ด้านทฤษฎีและการประยุกต์ โดยสามารถนาเสนอกรอบการจัดขอบเขตองค์ความรู้ ของสาขาคอมพวิ เตอร์ออกเปน็ 5 ด้านหลัก คือ ประเดน็ ด้านองคก์ ารและระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ืองานประยุกต์ เทคโนโลยีและวิธีการทางซอฟต์แวร์ โครงสร้างพ้ืนฐานของระบบ และ ฮาร์ดแวร์และสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานสากลตาม The Association for Computing Machinery (ACM), The Association for Information Systems (AIS) และ The Institute of Electrical and Electronics Engineer - Computer Society (IEEE-CS) ขอบเขตองค์ ความรูข้ องสาขาคอมพิวเตอร์ ทั้ง 5 สาขาวชิ า สามารถแสดงได้ดงั รปู ที่ 2-2 ภาพท่ี 2-2 ขอบเขตองค์ความร้ขู องสาขาคอมพวิ เตอร์ 2.1.1 คุณลกั ษณะของบัณฑิตทพี่ งึ ประสงค์ มรี ายละเอียดดังต่อไปนี้ 2.1.1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ถอ่ มตนและทาหน้าทเ่ี ปน็ พลเมอื งดี รับผิดชอบต่อ ตนเอง วิชาชพี และสงั คม 2.1.1.2 มคี วามรู้พ้ืนฐานในศาสตรท์ ี่เกย่ี วข้องทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฎบิ ตั อิ ยใู่ น เกณฑด์ ี สามารถประยุกตไ์ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ และศกึ ษาตอ่ ในระดับสูง 2.1.1.3 มีความร้ทู นั สมัย ใฝร่ ู้ และมีความสามารถพฒั นาความรู้ เพือ่ พัฒนาตนเอง พฒั นางานและพัฒนาสังคม 2.1.1.4 คิดเป็น ทาเปน็ และเลือกวิธีการแกป้ ัญหาได้อยา่ งเป็นระบบและเหมาะสม

16 2.1.1.5 มคี วามสามารถทางานร่วมกับผู้อ่นื มีทกั ษะการบริหารจดั การและทางาน เปน็ หม่คู ณะ 2.1.1.6 รู้จักแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองและสามารถติดต่อสอื่ สารกบั ผู้อื่นได้เป็น อยา่ งดี 2.1.1.7 มคี วามสามารถการใช้ภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศในการสอื่ สารและใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศได้ดี 2.1.1.8 มีความสามารถวิเคราะห์ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ ออกแบบ พัฒนา ติดต้งั และปรับปรงุ ระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถแก้ไขปัญหาขององค์กรหรือบุคคลตามข้อกาหนด ได้อยา่ ง มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกบั สภาพแวดลอ้ มการทางาน 2.1.1.9 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบของการประยกุ ต์คอมพิวเตอรต์ ่อบคุ คล องค์กร 2.1.1.10 มคี วามสามารถเปน็ ที่ปรกึ ษาในการใช้งานระบบคอมพวิ เตอรใ์ นองคก์ ร 2.1.1.11 มีความสามารถบริหารระบบสารสนเทศในองคก์ ร 2.1.1.12 มคี วามสามารถในการพฒั นาโปรแกรมขนาดเลก็ เพอ่ื ใชง้ านได้ 2.1.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ควรสะท้อนคณุ ลักษณะบณั ฑิตท่ีพึงประสงคไ์ ด้ ประกอบดว้ ย 2.1.2.1 คุณธรรม จริยธรรม ก) ตระหนกั ในคุณค่าและคุณธรรม จรยิ ธรรม เสียสละ และซ่ือสตั ย์สจุ รติ ข) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชพี และสงั คม ค) มีภาวะความเปน็ ผู้นาและผตู้ าม สามารถทางานเปน็ ทีมและสามารถ แก้ไขข้อขัดแยง้ และลาดับความสาคัญ ง) เคารพสิทธิและรับฟังความคดิ เห็นของผู้อื่น รวมทัง้ เคารพในคณุ คา่ และ ศกั ด์ศิ รขี องความเปน็ มนุษย์ จ) เคารพกฎระเบียบและข้อบงั คับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม ฉ) สามารถวิเคราะหผ์ ลกระทบจากการใชค้ อมพิวเตอร์ตอ่ บุคคล องคก์ ร และสงั คม ช) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวชิ าชีพ 2.1.2.2 ความรู้ ก) มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจเกีย่ วกับหลกั การและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหา สาขาวชิ าที่ศกึ ษา ข) สามารถวิเคราะหป์ ญั หา เข้าใจและอธิบายความต้องการทาง คอมพวิ เตอร์ รวมทัง้ ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เคร่ืองมือท่เี หมาะสมกับการแกไ้ ขปญั หา ค) สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตัง้ ปรบั ปรงุ และ/หรอื ประเมนิ ระบบ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ใหไ้ ด้ตรงตามขอ้ กาหนด ง) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวชิ าการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทง้ั การนาไปประยกุ ต์

17 จ) รู้ เข้าใจและสนใจพฒั นาความรู้ ความชานาญทางคอมพวิ เตอร์อย่าง ตอ่ เนื่อง ฉ) มคี วามรใู้ นแนวกวา้ งของสาขาวชิ าท่ศี กึ ษาเพื่อใหเ้ ลง็ เห็นการ เปล่ียนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ท่เี กี่ยวข้อง ช) มปี ระสบการณ์ในการพฒั นาและ/หรอื การประยกุ ต์ซอฟต์แวร์ทีใ่ ช้งาน ได้จริง ซ) สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรใู้ นศาสตรอ์ ่ืน ๆ 2.1.2.3 ทักษะทางปัญญา ก) คดิ อย่างมีวิจารณญาณและอยา่ งเป็นระบบ ข) สามารถสบื คน้ ตีความ และประเมนิ สารสนเทศ เพอ่ื ใช้ในการแกไ้ ข ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ค) สามารถรวบรวม ศกึ ษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความ ต้องการ ง) สามารถประยกุ ตค์ วามรแู้ ละทกั ษะกบั การแก้ไขปัญหาทางคอมพวิ เตอร์ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 2.1.2.4 ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ ก) สามารถสื่อสารท้ังภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศกบั กลุ่มคน หลากหลายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ข) สามารถให้ความชว่ ยเหลอื และอานวยความสะดวกในการแกป้ ญั หา สถานการณ์ต่าง ๆ ทัง้ ในบทบาทของผนู้ า หรอื ในบทบาทของผรู้ ่วมทีมทางาน ค) สามารถใช้ความรู้ในศาสตรม์ าชีน้ าสงั คมในประเด็นท่เี หมาะสม ง) มคี วามรบั ผิดชอบในการกระทาของตนเองและรับผดิ ชอบงานในกลุม่ จ) สามารถเปน็ ผรู้ ิเร่มิ แสดงประเดน็ ในการแก้ไขสถานการณ์ทง้ั สว่ นตวั และ ส่วนรวม พรอ้ มท้งั แสดงจุดยืนอยา่ งพอเหมาะทง้ั ของตนเองและของกลุ่ม ฉ) มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรยี นรทู้ ้งั ของตนเองและทางวชิ าชีพ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2.1.2.5 ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ก) มที กั ษะการใช้เครื่องมือท่จี าเป็นทมี่ ีอยู่ในปจั จุบนั ตอ่ การทางานที่ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ ข) สามารถแนะนาประเดน็ การแก้ไขปญั หาโดยใช้สารสนเทศทาง คณิตศาสตร์หรอื การแสดงสถิติประยุกต์ตอ่ ปญั หาทเ่ี ก่ียวขอ้ งอยา่ งสร้างสรรค์ ค) สามารถสื่อสารอย่างมปี ระสิทธิภาพทัง้ ปากเปล่าและการเขียน พร้อมทง้ั เลือกใช้รูปแบบของสอื่ การนาเสนอได้อย่างเหมาะสม ง) สามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

18 2.1.3 หลกั สตู รทเ่ี ก่ยี วกับการพฒั นากาลงั คนดิจิ ทิ ัล การประเมนิ ความพร้อมของกาลังคนในอตุ สาหกรรมดิจิทัล โดยยึดตามมาตรฐาน คุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ. 2552 ซ่ึงประกอบด้วย 5 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คอมพิวเตอร์ศึกษา และหลักสูตรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องของสถาบันการศึกษาในเขต เศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) ทั้งนกี้ ารเรียนในสาขาดงั กลา่ วจะสรา้ งทักษะความรู้ดา้ นดจิ ทิ ลั ท่ี สามารถนาไปตอ่ ยอดสาหรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายอ่ืนๆ ไดด้ ว้ ย สถาบนั การศกึ ษาที่เปิดสอนในสาขาคอมพิวเตอรจ์ ะต้องจดั ทาโครงสรา้ งหลักสตู รให้มี หน่วยกิตรวมไม่ต่ากว่า 120 หน่วยกิต และต้องมีหมวดวิชาเฉพาะไม่ต่ากว่า 84 หน่วยกิต รวมถึง กาหนดเน้ือหาให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิสาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552 ซ่ึงมีการอ้างอิงจาก มาตรฐานสากลของ Association for Computing Machinery (ACM) และ Institute of Electrical and Electronic Engineers (IEEE) แสดงในตารางที่ 2-1 ตารางที่ 2-1 เน้ือสาระสาคัญที่เรียนในหลักสูตรทางดา้ น ICT สาขาวชิ า เนอื้ หาสาระที่เรยี น โครงสรา้ งดสิ ครตี (Discrete Structure) พื้นฐานการเขยี นโปรแกรม (Programming Fundamentals) ความซบั ซอ้ นและขัน้ ตอนวิธี (Algorithm and Complexity) โครงสรา้ งและสถาปตั ยกรรม (Architecture and Organization) ระบบปฏบิ ตั กิ าร (Operating System) การประมวลผลเครอื ข่าย (Net-Centric Computer) ภาษาการเขยี นโปรแกรม (Programming Languages) ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างมนษุ ยแ์ ละคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) สาขาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ กราฟฟกิ และการประมวลผล (graphics and Visual Computing) ระบบชาญฉลาด (Intelligent System) การจดั การสารสนเทศ (Information Management) วศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ (Software Engineering) ศาสตร์เพื่อการคานวณ (Computation Science) ประเด็นทางสังคมและวชิ าชีพ (Social and Professional Issues)

19 สาขาวชิ า เน้อื หาสาระที่เรยี น สาขาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ พื้นฐานการเขียนโปรแกรม (Programming สาขาวิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ Fundamentals) สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณิตศาสตรท์ างคอมพวิ เตอร์ (Computer Mathematics) อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronics) ตรรกศาสตรด์ ิจิทลั (Digital Logic) โครงสร้างข้อมลู และขนั้ ตอนวธิ ี (Data Structures and Algorithms) ระบบปฏิบัตกิ าร (Operating System ระบบฐานข้อมลู (Database System) วิศวกรรมซอฟตแ์ วร์ (Software Engineering) เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Computer Networks) ความจาเปน็ ของคอมพวิ เตอร์ (Computing Essentials) พ้นื ฐานคณติ ศาสตร์และวิศวกรรม (Mathematical and Engineering Fundamental) วิชาชีพภาคปฏบิ ตั ิ (Professional Practices) การวิเคราะห์และการสรา้ งแบบจาลองซอฟต์แวร์ (Software Modeling and Analysis) การออกแบบซอฟตแ์ วร์ (Software Design) การทวนสอบและตรวจสอบซอฟตแ์ วร์ (Software Validation and Verification) ววิ ฒั นาการของซอฟตแ์ วร์ (Software Evolution) การบวนการทางซอฟตแ์ วร์ (Software Process) คณุ ภาพซอฟตแ์ วร์ (Software Quality) การจดั การซอฟต์แวร์ (Software Management) พ้นื ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Fundamentals) ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษยแ์ ละคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction) ความมั่นคงและการประกนั สารสนเทศ (Information Assure and Security) การจัดการสารสนเทศ (Information Management)

20 สาขาวิชา เนื้อหาสาระท่ีเรยี น สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ การบูรณาการการเขยี นโปรแกรมและเทคโนโลยี (Integrative Programming and Technologies) คณิตศาสตร์และสถิติสาหรบั เทคเทคโนโลยสี ารสนเทศ (Mathematics and Statistics for Information Technology) เครอื ข่าย (Networking) พ้ืนฐานการเขยี นโปรแกรม (Programming Fundamentals) แพลตฟอร์มเทคโนโลยี (Platform Technologies) การบารงุ รักษาและการบริหารระบบ (Systems Administration and Maintenance) สถาปัตยกรรมและการบูรณาการระบบ (System Integration and Architecture) ระบบเวบ็ และเทคโนโลยี (Web System and Technologies) ประเดน็ ทางสังคมและวิชาชีพ (Social and Professional Issues) พื้ น ฐ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ (Information Technology Fundamentals) ก า ร เ ขี ย น โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ (Computer Programming) โครงสร้างข้อมูลและข้ันตอนวิธี (Data Structures and Algorithms) การเขียนโปรแกรมบนเวบ็ (Web Programming) ระบบฐานขอ้ มูล (Database System) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System) การวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ (Systems Analysis and Design) เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Computer Networks) ความมัน่ คงของระบบสารสนเทศ (Information Systems Security) โครงงานคอมพวิ เตอร์เพอ่ื ธรุ กจิ (Business Computer Project)

สาขาวิชา 21 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ เนอ้ื หาสาระทีเ่ รยี น เทคโนโลยีสาหรบั วิทยาศาสตร์ (Technology for Science) ขนั้ ตอนวิธแี ละการเขียนโปรแกรม (Algorithm and Programming) วิทยาการคานวณและคณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Calculation and Mathematics for Computer) สถาปัตยกรรมและการซอ่ มบารงุ คอมพิวเตอร์ (Computer Architecture and Maintenance) การออกแบบคอมพวิ เตอร์กราฟิก (Computer Graphics Design) การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) การออกแบบมลั ติมเี ดียและแอนิเมชัน (Multimedia Design and Animation) ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล (Database Management System) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม (Innovation Development and Design) การพฒั นาและผลติ สอ่ื การสอนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media Production and Development) การเขียนโปรแกรมภาษาข้ันสูง (Advance Programming) การออกแบบและพฒั นาแอพพลเิ คชันบนอปุ กรณ์เคลอ่ื นท่ี (Mobile Application and Design) วทิ ยาการการจัดการเรยี นรูท้ างคอมพวิ เตอร์ (Computer Educational Science)

22 2.2 รูปแบบเสน้ ทางอาชีพทางด้านดิจทิ ลั (Digital Career Path Model) สาหรบั นิยามและประเภทกาลังคนดา้ นดจิ ิทัลของต่างประเทศนั้น องค์การเพ่ือความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation and Development: OECD) และ กองอานวยการของคณะกรรมาธิการยุโรปท่ีรับผดิ ชอบด้านสถิติ (Eurostat) ได้นิยาม ผู้เชี่ยวชาญด้าน ICT (ICT specialists) ตามการจัดประเภทอาชีพ International Standard Classification of Occupation (ISCO-08) ประกอบด้วย 2 กล่มุ ใหญ่ ดงั แสดงในตารางที่ 2-2 1) กลุ่มผชู้ ว่ ยนักวชิ าชีพ นกั วชิ าชีพ และผจู้ ัดการด้าน ICT 2) กลุ่มอ่นื ๆ ที่เกีย่ วข้องกับการผลิตสินค้าและบรกิ าร ICT ตารางท่ี 2-2 ประเภทกาลังคนด้านดจิ ิทัลของตา่ งประเทศ กองสง่ เสริมการมงี านทา กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (2560) ได้ให้ความหมายไวว้ ่า สานักงานส่งเสรมิ เศรษฐกิจและดจิ ิทลั (2561) ได้กาหนดนยิ ามและประเภทของกาลังคนดา้ น ดิจิทัลของประเทศไทย คณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ ใช้การจาแนกประเภทอาชีพงานด้านดิจิทัล ISCO-08 ของ OECD (2015) และ Eurostat เป็นหลกั และเสริม ดว้ ยอาชพี ดา้ นดจิ ิทลั ใหมๆ่ ที่เกิดข้นึ ในช่วงทศวรรษท่ผี ่านมา ดังแสดงในตารางที่ 2-3

23 ตารางท่ี 2-3 นยิ ามและประเภทกาลงั คนดา้ นดิจิทลั ของไทย ทัง้ น้ีจะเหน็ ได้ว่าการจาแนกประเภทอาชพี งานด้านดจิ ิทัลท่ีมีอิย่ยังค่อนข้างลา้ สมัย ไม่ทนั กับ พฒั นาการทางเทคโนโลยที เี่ กิดข้ึนอย่างรวดเร็ว เหน็ ได้จาก ไม่มตี าแหน่งงานใหมๆ่ หลายตาแหน่งงาน เช่น นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data scientist) นักจัดการระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) และ นกั พัฒนาระบบปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial intelligence) องคก์ รแรงงานระหว่างประเทศไดต้ ระหนัก ถงึ ปัญหาดงั กลา่ ว และอยู่ในระหวา่ งการทบทวนการจาแนกประเภทอาชีพงานต่างๆ รวมท้ังอาชพี งาน ด้านดิจทิ ลั (Hunter, 2015) กองสงเสรมิ การมีงานทา กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (2560) ได้กลา่ วไว้ในหนังสือ “เสนทางสู 50 อาชีพตามเทรนดนิยม” ว่าประเทศไทยกาลงั ปรับตัวให้ทนั กระแสโลกด้วยการเตรียม ตัว ก้าวเข้าสู่ยุค “Thailand 4.0” โดยการพัฒนาอุตสาหกรรม ที่พึ่งพาความรู ความคิดสรางสรรค นวัตกรรม และการใชเทคโนโลยีดิจิทัล ซ่ึงทาใหแนวโนมของการประกอบอาชีพ ของคนไทยมีการ เปล่ยี นแปลงไป เราจึงตองมีการเตรียมความพรอมในการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษยใหกาวทันและสอด คลองกับความเปลี่ยนแปลง กรมการจัดหางานเล็งเห็นถึงความสาคัญในการเตรียมความพรอมแก กาลังแรงงานกอนเขาสูตลาดแรงงานใหมีทักษะพรอมสาหรับงานในโลกปจจุบันและอนาคต เพื่อใหมี ความรูเรือ่ งโลกอาชีพ และสถานการณตลาดแรงงาน รวมท้งั สงเสริมใหเกิดการอบรมในทกั ษะพ้ืนฐาน และทักษะเฉพาะทาง เพ่ือเปนทางเลือกในการคนหาและพฒั นาตนเองใหมีศักยภาพสูง ยกระดบั ฝมือ แรงงาน เพ่ือสงเสริมขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจและดานความมั่นคงท่ี สงเสริม คุณภาพชีวิตของกาลังแรงงาน ใหดียิ่งข้ึน เพ่ือเปนกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนประเทศใหทัดเทียม

24 นานาประเทศ ผู้วิจยั จึงได้คัดเลือกอาชีพท่ีมคี วามเก่ียวข้องทางด้านดิจิทัลจากท้ังหมด โดยพบวา่ จาก อาชีพท้งั หมดมีถึง 11 อาชพี ท่เี กย่ี วข้องกับกับอาชพี ทางด้านดจิ ทิ ลั ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี 2.2.1 อาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ทาการศึกษาและรวบรวมข้อมูลท่ี กระจัดกระจายจากแหล่งต่างๆ มาทาการจัดกลุ่มและวิเคราะห์เพื่อนาไป ใช้ประโยชนในการตอบ โจทย์ของลกู ค้า อกี ทั้งยังช่วย ประกอบการตัดสินใจของลูกค้า หรือองค์กรเพ่อื การทา ธุรกิจ ขอมูลท่ี ผ่านการวิเคราะห์จะถูกนาเสนอในรูปแบบ ประเภทต่างๆ เช่น การสร้างรูปแบบของการคาดการณ ในอนาคต (Predictive Model) หรือสร้างระบบวิธีการ (อัลกอรทิ ึม) ประมวลผล การค้นหาขอ้ มูลเชิง ลึกเกย่ี วกับ ผู้ใชง้ าน (User) เป็นตน้ 2.2.1.1 ความสาคัญของอาชพี นกั วทิ ยาศาสตร์ข้อมลู พบวา่ ในปีพทุ ธศักราช 2559 ไดมีการจัดทารายงานเกี่ยวกับอาชีพที่ดีที่สุดในสหรัฐอเมริกา โดยมีเกณฑ์ การตัดสินจากจานวน ตาแหน่งงานว่าง และเงินเดือนเฉล่ีย ปรากฏว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) ไดรับ โหวตเปน็ อาชีพยอดนิยมอันดับหน่ึง และจากเวบ็ ไซต์ต่างๆ ไดมีการกล่าวว่า วิทยาศาสตร์ขอ้ มูลเป็น สาขาอาชีพทจ่ี ะมาแรง ในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงเป็นยคุ ที่เต็มไปด้วยขอ้ มูลมหาศาล และพฤตกิ รรมของคน เปลี่ยนจากการใชง้ านออฟไลน์ไปสู่ออนไลน์มากขน้ึ ทาให้อาชีพนีเ้ ปน็ ทตี่ อ้ งการของตลาดและนา่ สนใจ เพ่ิมข้ึน ไมแมแ้ ต่ในประเทศไทย ก็มคี วามต้องการเพิม่ ข้ึน ตามการใชป้ ระโยชนจากข้อมลู ดา้ นไอที 2.2.1.2 คณุ สมบตั ขิ องผทู้ ต่ี ้องการประกอบอาชพี เปน็ คนกระตอื รือรน้ อยากรู้อยาก เห็น และมีความคิด สร้างสรรค์ มีความรูทางด้านภาษาต่างประเทศ เพ่ือการสืบค้น ข้อมูลและองค์ ความรู้ใหม่ มีความรู้ทางสหวิทยาการ (Interdisciplinary) เช่น ความรูทาด้านคอมพิวเตอร์ สถิติ คณติ ศาสตร์ และ ความรูความเขา้ ใจในงานธุรกิจ 2.2.1.3 รายได้อาชพี น้สี ามารถทางานตอ่ ยอดให้กับธรุ กิจตา่ งๆ ไดทัง้ ดา้ นการผลติ และบริการ หรือธุรกิจทางด้านสื่อออนไลน์ ที่รับจ้างวิเคราะห์ข้อมูลโดยตรง ฉะนั้นรายไดจึงแปรผัน ไปตามขนาดและประเภทของกจกิ าร หรือสถานประกอบการ ซ่ึงบางแห่งจ่ายค่าตอบแทนเปน็ รายวัน จากผลการสารวจ ได้รับเงนิ เดอื นเร่ิมต้นท่ี 22,000–30,000 บาท แต่โดยเฉล่ียจะอยู่ในอตั รา 40,000 ถงึ 60,000 บาท 2.2.1.4 ความก้าวหนา้ ทางอาชีพคณุ ภาพในการจัดการขอ้ มูล และการนาเสนอรวม กบั การตรงต่อเวลาในการสงมอบงาน จะทาให้ผลงานเป็นที่ ยอมรับจนเกิดความเชอื่ ม่ันระหวา่ งลกู ค้า ผวู้ ่าจ้างและนักวิทยาศาสตรข์ ้อมลู 2.2.1.5 เส้นทางสู่อาชีพ นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล ผู้ท่ีสนใจประกอบอาชีพน้ีต้องมี พ้ืนฐานการศึกษา ในระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ จบทางด้านวิศวกร คอมพิวเตอร์ วิศวกรด้าน IT หรือสาขา ที่เก่ียวของ โดยเม่ือจบช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 แลว ควรศึกษา ตอ่ ในระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 4–6 สายวิทยาศาสตร์ เพ่อื เรียนต่อในระดบั มหาวิทยาลัยในกา้ นท่ีเกยี่ วกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ซ่ึงมี ท้ังภาครัฐและเอกชนที่เปิดสอน การที่จะ ประสบความสาเร็จในอาชีพน้ี ต้องมีความขยัน และศึกษาอบรมเพ่ิมเติมในศาสตร์อื่นๆ ที่จะช่วยให้ การวิเคราะห์และจัดรูปแบบการนาเสนอเปน็ ท่ีนา่ สนใจ และมีประสิทธิภาพ โดยสามารถ Apply ดา้ น ความรู ดา้ นสถิตศิ าสตร์ และด้านธุรกิจเข้าด้วยกัน

25 2.2.2 อาชีพวิศวกรคอมพิวเตอร์ (Computer Engineering) ทางานด้านการวิจัย ออกแบบ พัฒนาระบบงานด้านคอมพิวเตอร์ วงจรดิจิทัล และเครือข่าย ศึกษาและกาหนด คุณลักษณะการ ติดต้งั และบารุงรักษาระบบคอมพวิ เตอร์ 2.2.2.1 ลักษณะงานท่ีทา คือ การวิจัย ออกแบบ พัฒนา รวมถึงการศึกษาและ กาหนดคุณลักษณะการติดต้ังคอมพิวเตอร์ในสถานประกอบการทั้งระบบ การบารุงรักษาระบบ คอมพิวเตอร์วงจรดิจิทัล ระบบจัดการฐานข้อมลู โปรแกรมระบบ ระบบซอฟต์แวร์ประยุกต์เครอื ข่าย ขอ้ มลู รวมถึงอุปกรณส์ ่ือสาร เพ่ือให้ระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2.2.2.2 ความสาคัญของอาชพี วศิ วกรคอมพวิ เตอร์เปน็ อาชพี ท่ีคนไทยนิยมเรยี นและ ทางาน เป็นอาชีพติดอันดับ 1 ใน 10 ของอาชีพท่ีใฝ่ฝัน อย่างท่ีทราบกันดีว่า อาชีพวิศวกรมี หลากหลายสาขา เช่น วิศวกรไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรก่อสร้าง เคร่ืองกล เทคโนโลยี และอื่นๆ อีกมากมาย แต่ในยุคที่ IT กาลังเฟ่ืองฟู และจะขยาย วงกว้างออกไป หน่ึงในสาขาที่สาคัญสาหรับ อาชีพวิศวกรนี้คือ อาชีพวิศวกรคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็นรากฐานหลักของวงการ IT ในด้านต่างๆ ฉะน้ัน อาชพี นจ้ี งึ เปน็ ทต่ี อ้ งการของตลาดแรงงานในอตั ราสูง 2.2.2.3 คณุ สมบัติ ของผู้ที่ต้องการประกอบอาชพี ก) เปน็ คนชอบคณิตศาสตร์ ชอบพิสจู น์ มตี รรกะ ข) สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวศิ วกรรมศาสตร์ โดยตรง หรือ ที่เกี่ยวข้องและศกึ ษาอบรมเพิ่มเตมิ ค) มที ักษะดา้ นภาษาอังกฤษ ง) มีความคิดสร้างสรรค์และมีความอดทน จ) สนใจในนวัตกรรมรปู แบบใหมๆ่ 2.2.3 อาชีพนักการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) เน้นการบริหารจัดการด้านการตลาด ออนไลน์ โดยเขียนบทความและเนื้อหาให้กับลูกค้า พัฒนาและปรับปรุงการทาการตลาด บนโลก ออนไลน์ผ่านช่องทางอินเทอร์เนต็ ทาการวิจัยกลมุ่ เป้าหมายเพ่ือการวางแผนและ ดาเนนิ การโฆษณา (ทาการตลาด) บนสื่อออนไลน์ ตรวจสอบและติดตามผลตอบรับ สนับสนุนการขายและทีมการตลาด จัดทารายงานผลและประสทิ ธภิ าพเพอ่ื ปรบั ปรงุ และ เพิม่ คุณภาพ 2.2.3.1 ความสาคัญของอาชีพ นักการตลาดดิจิทัลการทาการตลาดผา่ นส่อื ดิจิทลั มี บทบาทมากข้ึนและกาลังเตบิ โตอยา่ งกา้ วกระโดด เพราะการโฆษณาออนไลน์ กลายเป็นปัจจยั สาคัญ ในการทาธุรกิจยุคใหม่เพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์ของคนยุค Gen Y นักการตลาดในยุคนี้ จึงต้อง ปรับเปลี่ยนมาทาการตลาดบนเว็บไซต์ หรือโซเซียลเน็ตเวิร์ก ดังน้ัน อาชีพนักการตลาดดิจิทัลจึงมา แรง และมแี นวโนมทจ่ี ะอยู่ในวงการอีกนาน 2.2.3.2 คุณสมบัติ ของผู้ท่ตี อ้ งการประกอบอาชพี ก) ชอบส่งิ ใหม่ๆ ไมตกเทรนด ข) เรยี นรูเรว็ ดว้ ยตนเองและจากผ้อู ่นื ค) เข้าใจเรอื่ งกระแสและช่วงฤดกู าล หรือเทศกาล ที่จะทาการตลาด ง) เขา้ ใจพฤติกรรมผบู้ ริโภคเชิงลกึ และสามารถนามาประยกุ ต์ใชไ้ ด้

26 จ) มีความรูทางด้านภาษาอังกฤษ 2.2.3.3 รายได้ แปรผนั ตามความรคู วามสามารถแต่สิ่งทีจ่ ะทาใหร้ ายได้มีความมัน่ คง และคงต่อเน่ือง คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง นักการตลาดกับลูกค้าที่มุ่งหวงั ให้สิ่งท่ีดีท่ีสุด รายไดขั้นต่า เร่ิมจาก 19,000 บาท และเพ่ิมมากขึ้นจากความสามารถ ในการขายพื้นท่ีโฆษณาบนส่ือออนไลน์ โดยเฉลี่ยจะไดรายไดประมาณ 48,000 บาทขน้ึ ไป 2.2.3.4 ความกา้ วหน้าทางอาชีพ ความตอ้ งการของอาชีพปจั จบุ นั และอนาคตยงั มี อีกเป็นจานวนมาก ฉะน้ันผู้ท่ีเข้าสู่ตลาดแรงงานประเภทนี้ หากมีความชานาญและประสบการณ์ จะมีโอกาสในการเพ่ิมรายได และเลื่อนระดับเป็นผู้บริหารในตาแหน่งต่างๆ อาจเป็นนักการตลาด อิสระที่รับงานจากบริษัทโดยตรง หรือตวั แทนได้โดยความสาเร็จของอาชีพนี้ข้ึนอยู่กับความสามารถ ทีมงาน คือ ต้องมีการสร้างงานคุณภาพและพัฒนาฝีมืออย่างต่อเนื่องการขยายพ้ืนที่โฆษณาท่ีไม่ เหมือนใคร (มีความแตกต่าง) ติดต่อสื่อสารกับลูกค้าได้ อย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังยังต้องมี ความสามารถในการอา่ นความต้องการของลูกคา้ และสามารถวิเคราะหแ์ ลว้ จัดทาไอเดียสนองตอบได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากนี้ จะต้องมที กั ษะในการทางานด้านต่างประกอบด้วย จงึ จะทาให้ชน้ิ งาน ออกมามคี ุณภาพ เช่น ทักษะการตกแตง่ รูปภาพประกอบเนอ้ื หา เปน็ ตน้ 2.2.4 ผู้จัดการโครงการด้านทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Project Manager) เป็นผู้นาทีมบุคลากรในโครงการท่ีไดรับอบหมายด้าน IT ในการห้าข้อสรุป หรือ วางแผนการดาเนินการการแกไข ปัญหาให้กับลูกค้า โดยใช้เครื่องมือทางธุรกิจท่ีเหมาะสม เพ่ือให้ เป็นไปตามขอ้ ตกลงและเงื่อนไข หรอื ตามสัญญา 2.2.4.1 วิเคราะห์ วางแผน พรอมใหค้ าปรึกษาแกทีมงาน ตาข้อมลู ที่ไดรับจากลกู ค้า เพ่ือให้การดาเนินงาน ตามโครงการเป็นไปตามแบบแผน เวลา และค่าใช้จา่ ยท่กี าหนดไว ทารายงาน ความคืบหน้าและมาตรฐานก่อนส่งมอบงาน อาจทาการควบคุมและบริหารความเสี่ยง ฝกอบรม บุคลากรในทีม 2.2.4.2 ความสาคญั ของอาชีพ ผจู้ ดั การโครงการด้าน IT เป็นท่ที ราบกนั ดอี ยู่แล้วว่า โลกธรุ กิจในขณะน้ีและในอนาคตนั้น การดาเนินการจะมีเร่ืองของเทคโนโลยีดา้ น IT เขา้ ไปมีส่วนรว่ ม อยู่เป็นอย่างมาก ท้ังด้านการวางแผน การบริหารจัดการ การตลาด การผลิตและดาเนินการ ซึ่ง ผปู้ ระกอบการบางรายอาจเป็นหน่วยงานงานวางแผนและดาเนินการ แต่ปัจจุบันการใช้มืออาชีพใน การจัดทาโครงการ และวางระบบงานด้าน IT มักใช้ Outsource ซึ่งจะมีผชู้ านาญการเฉพาะด้าน แล้ว ยังประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย บริษัทที่รับวางแผนจัดวางระบบเก่ียวกับ IT หรือให้คาแนะนา จะมี ทีมงานดาเนินการ และแต่ละทีมต้องมีผู้จัดการ โครงการเป็นคนบริหาร ซ่ึงปริมาณความต้องการมี เพ่มิ ข้นึ ตามแนวโน้มการใช้ IT 2.2.4.3 คุณสมบตั ิ ของผู้ท่ีต้องการประกอบอาชพี จบการศกึ ษาสาขาเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือสาขา วิศวกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ วิศวกรด้านคอมพวิ เตอร์ และสาขาอนื่ ๆ ที่เก่ยี วข้อง ก) มคี วามกระตือรอื รน ข) ชอบการสือ่ สาร ค) มีทกั ษะทางดา้ นภาษา ทัง้ พูด อา่ น และเขียน ในระดบั ใชง้ านไดดี

27 ง) สามารถทางานท่ีไม่เป็นเวลาได้ เพราะอาจต้องติดต่อกับลูกค้า ต่างประเทศ ซึ่งมีช่วงเวลาในการทางานต่างกนั จึงต้องมีความสามารถในการปรบั เวลาในการทางาน ได้ดี จ) มกี ารจัดระบบความคิด เพ่อื การบริหารงานโครงการ ให้มปี ระสิทธิภาพ ฉ) มที ักษะในการนาเสนอ 2.2.4.4 เสน้ ทางส่อู าชีพ ผูจ้ ัดการโครงการด้าน IT ต้องจบการศึกษาข้นั ต่าระดับ ปริญญาตรีในสาขาท่ีเก่ียวข้องกับ IT ท้ังระดับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี สารสนเทศ ซ่ึงมีมหาวทิ ยาลัยท้ังภาครัฐและเอกชนท่ีเปดิ สอนอยู่ ทั้งในสวนกลางและภูมภิ าค ฉะนน้ั ผู้ ที่สนใจ อาจเรียนในระดับอาชีวศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หรือจบมัธยมศึกษา ปที่ 6 สายวทิ ย แล้วไปศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยอีก 4–5 ป ตามสาขาและคณะทก่ี ล่าวข้างตน้ มา แลวน้ัน 2.2.4.5 รายได้ ขึน้ อยู่กับประสบการณ์การทางาน โดยผูท้ ่จี ะทางานในตาแหน่งน้ีมัก มีประสบการณ์การทางานด้าน IT ในสาขาต่างๆ มาแล้วอย่างนอ้ ย 2–3 ป โดยจะมคี ่าจ้างสาหรับตา แหนง เริ่มต้นที่ 40,000–60,000 บาท เฉลี่ยรายไดของ ผู้ท่ีทางานด้านน้ี 5 ปขึ้นไป จะอยู่ในระดับ 70,000–80,000 บาทต่อเดือน 2.2.4.6 ความกา้ วหน้าทางอาชพี โดยจะเป็นไปตามสายงาน โดยผทู้ ท่ี างานด้านน้ี เมอื่ มปี ระสบการณและความชานาญ จะไดรบั ผดิ ชอบโครงการในเวลาเดียวกนั น่ันหมายถงึ การไดรับ ความไววางใจจากลูกค้าและเจาของบริษัท ส่งผลถึง รายไดที่เพ่ิมมากข้ึน อาจไดเล่ือนเป็นผู้จัดการ โครงการอาวุโสและสามารถเป็น Start Up ไดในโครงการ แต่การทีจ่ ะประสบความสาเรจ็ ไดน้ น้ั ตอ้ งมี เป้าหมายและการวางแผนที่ดี มีการตรวจสอบ ติดตามให้คาแนะนา และแก้ไขปัญหา ที่เกิดข้ึนกับ ทีมงานไดอย่างรวดเรว็ และส่งมอบงานไดตามกาหนดอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.2.5 ผ้เู ชี่ยวชาญ Big Data (Big Data Specialist) มีหน้าทีใ่ นการบรหิ ารจดั การข้อมลู ขนาด ใหญท่ ี่มาจากหลายแหลง หลายรูปแบบ ให้กับธุรกจิ ต่างๆ เพ่ือนาไปใช้ ประโยชนในการทาการตลาด ผลิตภัณฑ์ สินคา หรือการบริการเพื่อก่อให้เกดิ ผล และความยั่งยืนกับบรษิ ัท ทาความเข้าใจกับลูกค้า ถงึ ความต้องการของประเภท ขอ้ มูล และการนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การทาการตลาด โฆษณา หรือ ทาผลติ ภัณฑ์เพื่อตอบโจทยค์ วามต้องการ ของผู้บริโภค คน้ หารวบรวมขอ้ มูลท่ีต้องการจากแหลต่างๆ และฐานข้อมูล ประสานงาน ส่งต่อข้อมูล หรือทาการวิเคราะห์ ข้อมูล จัดระบบข้อมูลร่วมกับ นักวิทยาศาสตรข์ ้อมลู (Data Scientist) และนักวิเคราะห์ข้อมลู เชิงสถิติ คานึงถงึ ความปลอดภัยและ มนั่ คงของข้อมูลทีม่ ี การแบ่งปัน ส่งมอบขอ้ มลู ท่ผี ่านการจดั การในเบ้อื งตน้ ใหก้ บั ลูกค้า 2.2.5.1 ความสาคญั ของอาชพี ผู้เช่ียวชาญ Big Data เปน็ หนึง่ ในเครอื่ งมืออันทรง พลังมากที่สุดของการทาการตลาดในยุคดจิ ิทัล เนื่องจากข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) จะถูกคัดเลือก มาใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการวิเคราะห์วางแผน หรือทาการตลาด เพ่ือให้ไดเปรียบในการแขง่ ขัน จึงจาเป็นต้องมีผู้มีความรูในการบริหารจัดการขอ้ มูลขนาดใหญ่ ดังน้ัน

28 อาชีพนี้จะเป็น ท่ีต้องการอย่างยิ่งของบริษัทในอนาคต ระบบออนไลน์มีความสาคัญมากขึ้นเพียงใด ขอ้ มลู ก็จะย่ิงมคี วามสาคัญตามมา ระบบธรุ กจิ จงึ ตอ้ งหนั มาทาเรอ่ื ง Big Data เพ่มิ มากขนึ้ 2.2.5.2 คุณสมบตั ิ ของผทู้ ี่ตอ้ งการประกอบอาชีพ มที กั ษะในการสืบคน้ ข้อมลู มคี วามรูทางด้านภาษา มีความชานาญในการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ มีความสามารถในการทางาน ร่วมกบั ผสู้ นับสนนุ อืน่ ๆ เชน่ Data Scientist, Data Engineer 2.2.5.3 เสน้ ทางสอู่ าชีพ ผูเ้ ชีย่ วชาญ Big Data ผ้ทู ี่ประกอบอาชพี ในตาแหนง่ น้ี ควร มีประสบการณในการทางานด้าน IT และด้านการสืบค้นข้อมูล หรือ การตรวจสอบงาน เพื่อให้เกิด ความรูทักษะและความชานาญในการจัดการข้อมูลรูปแบบต่างๆ จนถึงข้อมูลขนาดใหญ่ พ้ืนฐาน การศึกษา ควรจบปริญญาตรีทาด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร Computer Science สาขาที่เก่ียวเนื่อง กับ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทเ่ี ปดิ สอนในมหาวิทยาลยั รฐั และเอกชน เช่น มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระ จอมเกล้าธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันราชภัฏท่ีมีสาขา เทคโนโลยแี ละการสอ่ื สารการบริหารจัดการข้อมูล 2.2.5.4 รายได้ ผู้ประกอบอาชพี น้ี ณ ปัจจุบันจะตอ้ งเปน็ ผูม้ ปี ระสบการณและผ่าน งานด้าน IT มาไมนอ้ ยกว่า 3–5 ป ส่ังสมประสบการณและเทคนคิ ในการจดั การกบั ข้อมูลขนาดใหญ่ได ซ่ึงสามารถทางานเปน็ อิสระ หรือทางานกับ บรษิ ัททีเ่ กย่ี วกับธรุ กิจด้านการวิเคราะห์และจัดการข้อมูล บริษัทโฆษณาขนาดใหญ่ที่มีส่วนของการวิจัยตลาด e-Commerce บริษัทรับทาการวิจัยผลิตภัณฑ์ หรือบริการ เป็นต้น สามารถทางานได้ท้ังในและต่างประเทศ รายไดตามทม่ี ีการสารวจมานน้ั ผู้ทเี่ ป็น ผู้เชยี่ วชาญจะมรี ายไดข้นั ต่า 60,000–80,000 บาท ตอ่ เดอื น 2.2.5.5 ความก้าวหน้าทางอาชีพ ก่อนจะมาถงึ ระดับผู้เชี่ยวชาญ ตองมกี ารผา่ นงาน จากเจ้าหน้าท่ีสืบค้นข้อมูล เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์ตรวจสอบ มาสักระยะหนึ่ง ส่ังสมประสบการณและ เรียนรูเพ่ิมเติมในเทคโนโลยีและวิธีการวิเคราะห์สรปุ ผลการจัดทาโครงสร้าง หรอื รูปแบบข้อมูล และ การนาเสนอจากสว่ นประกอบเหล่าน้ี หากมีความชานาญและผลงานมคี ุณภาพ จะทาใหล้ กู คา้ มคี วาม เชื่อม่ันและใช้บริการตลอดไป ผลที่ไดคือ คาตอบแทน ช่ือเสียง และการก้าวข้ึนเป็นเจ้าของกิจการ หรือรับเชญิ เปน็ วิทยากรให้ความรูแกทีมงาน นักศึกษา โดยความสาเรจ็ ขึ้นอยูก่ ับการจัดการข้อมูลได อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตรงเวลา คุม้ คา่ และให้ความรูสกึ ถงึ ความปลอดภัยและมน่ั คงของข้อมูลลกู คา้ 2.2.6 นักเขียนบทความสื่อออนไลน์ (Web Content Writer) เป็นอาชีพท่ีมีหน้าท่ีเขียน บทความ หรือเร่ืองราวที่คาดว่าจะเป็นท่ีน่าสนใจของคนในสังคมออนไลน์โดยเป็นการเล่าเรื่องท่ีช่ืน ชอบ เปิดโอกาสให้มีการถาม - ตอบ แสดงความคิดเห็นในเร่ืองที่เขียนขึ้น และอาจต้อยอดไปยังลิงก์ อน่ื ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งเพอื่ ประโยชนของผตู้ ิดตาม เขยี นเลา่ เรื่องทชี่ ่ืนชอบ โดยอาศัยองค์ความรูและประสบ การณ หรือข่าวปัจจุบันลงใน Blog และพื้นที่ออนไลน์ ติดตามข่าวสารทเี่ ป็นที่นิยม เพ่ือทาการเขียน บทความสนับสนุน หรือแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติม รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะปรับปรุง เนอื้ หาเพิ่มขึ้นใหท้ ันสมยั หรือคน้ หาลงิ กเพื่อวางใน Blog เขียนเล่าเรอื่ งอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับเร่ืองเดิม หรือเรือ่ งใหมๆ่ อาจรบั จา้ งเขยี นบทความเพอื่ ทาการประชาสัมพนั ธใ์ ห้กบั บริษัท

29 2.2.6.1 ความสาคัญของอาชพี นักเขยี นบทความสือ่ ออนไลน์ในยุคของไอทีที่มีความ เจริญก้าวหน้าของอินเทอร์เน็ต และสื่อออนไลน์เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งหนึ่งในชีวิตประจาวันของคนรุ่น ใหม่ ไมว่ ่าจะเรยี น ทางานการใช้ชีวิต ฯลฯ “Blog = บล็อก = การบันทึกบนเวิลด์ไวด์เว็บ” ถกู ใช้เป็น เครื่องมือส่ือสารท่ีคนนิยมเข้าอ่านและติดตาม ในเร่ืองการประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ซ่ึงผทู้ ่เี ขยี นบทความถูกเรยี กวา่ “Blogger” ซ่ึงปจั จุบนั ไดกลายเป็นอาชีพหนงึ่ ทไี่ ด รบั ความนิยม โดยดูจากจานวนข้อเขียนทปี่ รากฏในโลกออนไลน์ที่เพม่ิ มากขึ้น รวมถึงจานวน Blogger รนุ่ ใหม่ทีเ่ กิดเกือบทุกวัน เปน็ อาชพี ท่ีคนสนใจ อยากรู้และอยากเป็นในยุคไอที 2.2.6.2 คณุ สมบัติ ของผ้ทู ี่ต้องการประกอบอาชีพ ก) มีความคิดสร้างสรรค์ในการเขียนบทความ ติดตาม สถานการณและ เหตุการณท่ีกาลังฮิตเพื่อนามาเปน็ ข้อมลู ในการเขียนบทความ ข) มีความชน่ื ชอบในการเขยี นและโตตอบขอ้ ซกั ถาม ค) มีความรูดา้ น IT และอนิ เทอร์เนต็ ง) ตองศึกษาข้อมลู อ่ืนๆ เพือ่ ความทันสมัย 2.2.6.3 เส้นทางสู่อาชีพ นักเขียนบทความส่ือออนไลน์ ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ท่ีชอบ เขียนทั้งบทความและการเล่าเรื่องท่ีตนมีความรู ฉะน้ันความรู้ทั่วไปคือพื้นฐานการศึกษา ท่ีจบมาจาก สาขาใดๆ ก็ได แล้วนามาเขียนใหค้ วามรู (หากเขียน Blog เกี่ยวกับความรูทางวิชาการ) ควรมีความรู้ ด้าน IT คอมพิวเตอร์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จะทาให้เพ่ิมความรวดเร็ว แม่นยา ในการค้นหาข้อมูล เพ่มิ เติม และการเชื่อมตอ่ กบั ลงิ กอ์ น่ื ๆ 2.2.6.4 รายไดผนั แปรไปตามความช่นื ชอบและผู้ที่ติดตาม อาจเป็นเงนิ ประจาหรือ จากการโฆษณาใน Blog ของ Blogger ผู้ที่ประสบความสาเรจ็ จะมีผตู้ ิดตามอ่านมาก รายได้จะมาจาก โฆษณา หรือลิงก์ทนี่ ามาฝากไว้ที่ Blog เฉล่ียอย่างตา่ ไมน้อยกว่าเดอื นละ 20,000 บาท (บางงานอาจ จา่ ยเปน็ หนึง่ คร้ังต่อชิ้นงาน) 2.2.6.5 ความก้าวหน้าทางอาชพี การจะประสบความสาเร็จจนทาเป็นอาชีพนั้นข้นึ อยู่กับความต้องการของ Blogger เอง และความสามารถ ในการเขียน ทาให้มีผู้ติดตามอ่านอย่าง สม่าเสมอ และเพิ่มจานวนขึ้นอาจมีผู้สนใจมาเสนอเรื่องให้เขียนบทความ เป็นรายช้ิน เรื่องในบาง บรษิ ทั ทที่ างานด้าน IT และการทา สอื่ โฆษณาประชาสัมพนั ธ์ หรือทางานวิจยั อาจมีการจ้าง Blogger ให้ทางานประจาเพ่ือเขียนบทความ และติดตาม ความคิดเห็นจากผู้อ่าน ดังนั้น Blogger ท่ีดีต้อง เขียนบทความอย่างตอ่ เน่ืองมเี ร่ืองนาเสนออย่างสมา่ เสมอ และมีสไตลก์ ารเขียนทแี่ ตกต่าง จะทาให้มี ผู้ตดิ ตามเป็นประจา 2.2.7 นักออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Designer) วางระบบเกมและออกแบบตัวเกม ตามเน้ือเรื่องท่ีจินตนาการข้ึนมา กาหนดวิธีการเล่น ค่าพารามิเตอร์และวางความสมดุล ของเกม เพื่อใหเ้ กดิ ความนา่ ตดิ ตามและผู้เล่นมคี วามสนุกสนาน - วางแนวคิดเบอื้ งตน้ หาเน้อื หาตวั ละคร ฉาก ฯลฯ - ออกแบบวธิ ีการเล่น - จดั วา่ รปู แบบ กาหนดแผนผังและขนาดเพอ่ื จัดวางเน้ือหา

30 - วางภาพประกอบและสีให้เหมาะสมในแต่ละฉาก - เรยี งลาดับเรื่องราว - ตรวจแกชนิ้ งาน ตกแต่งเพิม่ เตมิ 2.2.7.1 ความสาคญั ของอาชพี นักออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ อาชพี น้ใี นตลาดแรงงาน มีความต้องการสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ด้วยเพราะปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดทาให้เกิดธุรกิจใหม่ ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะเกมออนไลน์ ท่ีไมว่าววัยไหนก็มักนิยมเล่น โดยผู้เล่นสามารถเล่นได้ ในทุกท่ี ทุกเวลาที่ต้องการ จึงทาให้ความต้องการเกม มีเพม่ิ ขนึ้ คนอาชีพน้จี งึ เป็นท่ตี อ้ งการ 2.2.7.2 คุณสมบัติ ของผู้ที่ต้องการประกอบอาชีพ มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ชอบการทางานด้านศิลปะและการออกแบบ มีความสนใจการสร้างสรรค์ผลงานด้วยสื่อ และเทคโนโลยสี มัยใหม่ มีความสนใจในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชอบเล่นเกมส์ สามารถแก้ปัญหาและ ขจัดอุปสรรค 2.2.7.3 เส้นทางสู่อาชีพ นักออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ เรียนทางด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หรอื มพี ืน้ ฐานทางวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์และ โปรแกรมเมอร ผู้ท่ีสนใจ อาจเริ่มจากการเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) สาขาเทคโนโลยีการสือ่ สาร หรอื เรียนระดับมธั ยมศึกษาปที ่ี 4–6 สายวิทย์-คณิต และศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ หรือสาขาวิชาการ ออกแบบและการทา 2D 3D แอนิเมชัน และศึกษาอบรมเพ่ิมเติมในวิชาที่สนับสนุนการทางาน ซ่ึงสามารถใชเ้ ปน็ ความรพู้ ืน้ ฐานในการพัฒนาหรอื ประยกุ ต์ใชต้ ่อไปได 2.2.7.4 รายได้สามารถทางานไดทัง้ ในบรษิ ัทเอกชนท่ีทาการผลิตและพฒั นาเพื่อการ หรือทาฟรีแลนซ์ ผลิตเกมเสนอขายกับบริษัทและในอินเทอร์เน็ต โดยได้ค่าจ้างเป็นรายชิ้นงาน หรือ ตามจานวนผู้ท่ีเขมาเล่นเกม รายไดไมต่ากว่าเดอื นละ 30,000–40,000 บาท และ ผันแปรผันไปตาม จานวนผู้เข้าเล่น 2.2.7.5 ความก้าวหน้าทางอาชพี ผู้ทจ่ี ะประกอบอาชีพนอ้ี าจเริ่มตน้ จากอาชีพอื่นท่ี เกี่ยวข้องและพัฒนาปรับเปล่ียนมาเป็นนักออกแบบได้ส่วนใหญ่ ทางานในบริษัทที่ทาเกี่ยวกับเกม คอมพิวเตอร์ ทั้งในรูปแบบออนไลน์และแอปพลเิ คชันในแพลตฟอมร์มตา่ งๆ เช่น Facebook iPhone iPad ฯลฯ 2.2.7.6 การออกแบบเกมที่มีผู้สนใจเล่นและติดตาม สิ่งที่ตามมา คือ ชื่อเสียงและ รายได หรือแม้แต่โอกาสที่จะไดร่วมงานกับ บริษัทต่างประเทศ รวมถึงเป็นผู้ประกอบการ บริษัท รบั จา้ งผลติ เกม ทัง้ น้ี ความสาเร็จของอาชพี นีข้ ้นึ อยู่กับปจั จัย ดังน้ี ก) แนวคิดสร้างสรรค์ที่แปลกแตกต่างจากเกมอ่ืนๆ สามารถตอบโจทย์ ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายทม่ี ีหลากหลาย และผเู้ ลน่ ได้รับประสบการณเสมอื นจรงิ ข) มคี วามตรงต่อเวลาและมกี ารนาเสนออยา่ งต่อเนือ่ ง 2.2.8 นักพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Developer) ทางานเกี่ยวกับการวิเคราะห์ และ ประเมินข้อมูลความต้องการซอฟตแ์ วร์ของลูกค้า หรือผู้ใช้งาน ประยุกต์ หรือพัฒนาระบบปฏิบัติการ

31 ของซอฟต์แวร์ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เพื่อตอบโจทย์และความต้องการของ กลุ่มเป้าหมาย โดยขั้นตอนการทางานของนกั พัฒนาซอฟตแ์ วร์ มดี งั น้ี - รับความตอ้ งการ (Requirement) จากลกู คา้ - หารือกบั ทีมวศิ วกรและทีมงานเพื่อประเมินผล ปัญหา อุปสรรค หรอื ความต้องการ ประสิทธภิ าพ ทเี่ พ่มิ ข้ึน ความเป็นไปได้ หรอื ประโยชนคมุ้ ค่า - แบง่ ส่วนการทางานให้ทีมงานอย่างชัดเจน (เช่น การหา ลูกค้า การคานวณจานวน วนั การทางาน จานวนคนรว่ มพัฒนาโปรแกรม และทดลองระบบก่อนสง่ ให้ลูกค้า) - ทดลองทาโปรแกรมเพ่อื ทดลองใช้งาน - ดาเนินการจัดทา ควบคุม ดแู ล แก้ไขปญั หา และให้คาแนะนากบั ทีมงาน - ตรวจสอบผลการดาเนินการของโปรแกรมและ ซอฟตแ์ วร์ - สงมอบให้ลูกคา้ 2.2.8.1 ความสาคัญของอาชีพ นกั พัฒนาซอฟตแ์ วร์ คอมพิวเตอร์ทีใ่ ชก้ ันอยปู่ ัจจบุ นั มีการทางานอยู่สามสว่ นที่สมั พันธ์กัน คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ (โปรแกรมการใช้งานตา่ งๆในเคร่ือง) และเน็ตเวริ ์ก (การสง่ ขอ้ มูลถึงกัน) จะเหน็ ว่าส่วนสาคัญของเครื่อง คือ ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่ในเครื่อง แต่ ละเครอ่ื ง ความสามารถในการทางานในลักษณะต่างๆ เกิดมาจากชุดคาสั่งทมี่ ีอยู่ในคอมพิวเตอร์หรือ ในฮารด์ แวร์ชนิดต่างๆ ซึ่งซอฟต์แวร์ทาให้คนสามารถทางานไดโดยไมตองเรียนรู หากขาดซอฟต์แวร์ เครื่องจะทางานไมได ดังนั้น จงึ ต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้มีความทันสมัยหลากหลาย เหมาะกับ ความตอ้ งการใช้งานของลูกค้าและความสะดวกรวดเร็วเพ่ือการแข่งขันในด้านธุรกิจ ซ่ึงผู้ท่ีทางานใน ลกั ษณะน้ี คอื นักพฒั นาซอฟต์แวร์ ซ่ึงเปน็ ท่ีต้องการ ของบริษัทผู้ผลติ ฉะน้ันอาชีพน้ีจงึ เปน็ ท่ตี อ้ งการ และไปไดอีกไกลในยคุ ดิจิทัล 2.2.8.2 คุณสมบตั ขิ องผูท้ ตี่ อ้ งการประกอบอาชีพ มคี วามสนใจในการปฏบิ ตั ิงาน คอมพิวเตอร์และเขียน โปรแกรมตา่ งๆ สามารถเรยี นรูเทคโนโลยีไดอย่างรวดเร็ว สามารถทางานเป็น ทีมไดอ้ ย่างดี พูดคยุ ไดกับผูใ้ หญ่ เพ่อื น และผทู้ ีเ่ ดก็ วา่ เพราะในการทางาน ตองติดต่อ สื่อสารกบั ลูกค้า ที่มีความหลากหลายทางอายุ มีความรับผิดชอบและตรงเวลา มีการทา Work Smart (ทางานอย่าง ฉลาด) สรา้ งแรงบนั ดาลใจให้ตนเองตลอดเวลา 2.2.8.3 เสน้ ทางส่อู าชีพ นักพฒั นาซอฟตแ์ วร์ ผู้ท่สี นใจอาชพี นตี้ อ้ งเร่ิมตน้ จากการ เรยี นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4–6 สายวิทย์-คณิต เอกคอมพิวเตอร์เพ่ือจะได้เพิม่ โอกาส เขาศึกษาตอ่ ในระดับ ปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เปิดสอนสาขานี้เพื่อท่ีจะรู้ถึงพ้ืนฐานของการทางานเกี่ยวกับ คอมพวิ เตอรและการเขยี น 2.2.8.4 รายได้ ผ้ทู ที่ างานในอาชพี นักพัฒนาซอฟตแ์ วรจ์ ะเร่ิมตน้ ทางานในตาแหน่ง โปรแกรมเมอรและเขียนซอฟต์แวร์ มาไมน้อยกว่า 5 ปี รายได้จะคอ่ นข้างสูง เน่ืองจากทางานอยู่ใน บริษัทที่เป็นธรุ กิจทางเทคโนโลยี ด้านรายได้น้ันจะสูงตามความชานาญงาน และความรับผิดชอบต่อ ผลงานที่สามารถพฒั นาและตอบโจทยลลูกค้าท่ีว่าจ้าง และสามารถ และสามารถแกไ้ ขปญั หาอุปสรรค์ ได้อย่างรวดเร็ว และทาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถแข่งขันไดในตลาด รายไดจึงไมน้อยกว่า เดือนละ 60,000–100,000 บาท

32 2.2.8.5 ความกา้ วหนา้ ของผูท้ ี่ทาอาชีพน้เี ปน็ ไปตามตามผลงานและการตอบรบั จาก ลกู ค้าหรือผู้ใช้งานที่มีฟิดแบ็กกลับมาดีทาให้มีความภมู ิใจ ชื่อเสียง และรายไดตามมา สามารถผันตัว มาเปน็ ฟรแี ลนซ์หรือเจาของบรษิ ทั และนกั วิชาการในด้านน้ี - ปัจจัยสู่ความสาเร็จ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ดีต้องมีความคิดสร้างสรรค์ที่ เป็นประโยชนต่อสังคมและมนุษยชาติในการทีจ่ ะทาใหเ้ กิดความก้าวหน้าและผู้ใช้มีความสขุ ส่งผลให้ ผลงานมคี วามก้าวหน้าไมส่ นิ้ สุด - ปัจจัยที่จะทาให้ล้มเหลว การไมพัฒนาตนเอง ไมศึกษาหาความรูหรือ ตดิ ตามเทคโนโลยแี ละงานด้านซอฟต์แวร์อืน่ ๆ ความล้าหลัง ส่ิงเหล่านี้จะทาให้ไมสามารถแข่งขันกับ นักพัฒนาซอฟตแ์ วร์อื่นได 2.2.9 นกั ออกแบบและสร้างภาพเคล่ือนไหว (Animator) ทาหนา้ ท่ีออกแบบและสร้างสรรค์ จินตนาการเร่ืองราว และทาออกมาเป็นภาพเคลื่อนไหว ที่สวยงาม ผ่านตัวละคร ท่ีอาจเป็นคน สัตว์ หรือส่ิงของ โดยใช้เทคนิคต่างๆ ทาการวาดภาพ คอมพิวเตอร์ แสง สี เสียง เพื่อให้ตาแหน่งต่างๆ สัมพันธ์กนั ตามเป้าหมาย โดยข้ันตอนการทางานของนักออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว มีดังน้ี - สร้างสรรค์แนวความคิด (Idea) ของเรื่องท่ีจะทาตามโจทย์ หรอื ธีม (Theme) ท่ไี ด มาเพอ่ื จดั ทาตวั ละคร สคริปต์ (Script) และการเดินเรือ่ ง - จดั ทา Story Board ตน้ แบบโดยสอดแทรกบคุ ลิกลักษณะทางกายและภาษาให้กับ ตัวละคร รวมไปถึงการสรา้ ง Model ทาฉาก - วาดการ์ตูน หรือตัวละครที่มีตาแหน่งแตกต่างกันให้ตรงกับการเคลื่อนไหว ใน ทศิ ทางต่างๆ - ใช้เทคนคิ ต่างๆ ทางคอมพิวเตอร์ในการรวมฉากและตัวละคร ให้มีการเคล่ือนไหว ของปากให้ตรงกบั คาพูด - จัดแสง สี และเสยี งประกอบ โดยยึดหลักความถูกต้องแม่นยา - ตรวจสอบ ทาการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตามข้อเสนอแนะของผู้กากับและเพ่ือน ร่วมงานในฝา่ ยตา่ งๆ กอ่ นส่งผลงาน 2.2.9.1 ความสาคญั ของอาชีพ นกั ออกแบบและสร้างภาพเคลอ่ื นไหว ภาพเคลื่อนไหว หรือการ์ตูน เป็นทีร่ จู้ ักกนั มาเปน็ เวลา 100 กวา่ ปีแล้ว โดยคนไทยรจู้ กั Walt Disney ผ่านทางการ์ตูนดังๆ หลายตัวที่เป็นทั้งภาพยนตร์และโลโก้โฆษณา และได้มีการพัฒนา โดยนา เทคโนโลยที างคอมพวิ เตอรม์ าช่วยสร้างสรรค์งานใหด้ ูนา่ สนใจสมจริงทาให้ไดรบั ความสขุ ใจจากคนทั่ว โลก ประเทศไทยไดมีการนาเทคนคิ นม้ี าสอนและทา ทงั้ ในรูปแบบภาพยนตร์ สือ่ โฆษณา การประชาสัมพันธ์ต่างๆ มากมาย ทาให้อาชีพน้ีเป็นที่รู้จักและเป็นที่ต้องการ ของตลาดท้ังในและ ตา่ งประเทศ 2.2.9.2 คุณสมบัติ ของผูท้ ี่ตอ้ งการประกอบอาชพี ผทู้ ่สี นใจจะประกอบอาชพี นี้ ควรตอ้ งรูวาตวั เองมคี ุณสมบตั เิ บื้องต้นที่เหมาะสมหรอื ไม เพื่อท่จี ะไดทางานได้อยา่ งมคี วามสขุ เชน่ ก) สามารถทางานเป็นทีมได้ สื่อสารได้ดี ยอมรับในความคิดเห็นและ ขอ้ ผดิ พลาด

33 ข) อดทนและขยนั ค) เปิดโอกาสใหก้ ับส่ิงใหม่ๆ ตลอดเวลา ง) ชอบวาดภาพ จ) ชอบอา่ นและดกู ารต์ นู เพอื่ ศกึ ษาถงึ เทคนิค ฉ) เรียนรูธรรมชาติและเขา้ ใจมนษุ ย์ เพ่ือจะไดเลือก สงิ่ ที่จะนามาเสนอได 2.2.9.3 เสน้ ทางสอู่ าชีพ นกั ออกแบบและสรา้ งภาพเคลือ่ นไหว ผูท้ ีส่ นใจและ ต้องการเรียนให้ตรงกับสาขาวิชาชีพ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการทางาน เม่ือจบระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สายวิทย์-คณิต แล้วศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่มีคณะหรือสาขาวิชาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน คอมพวิ เตอร์อารต์ หรอื คณะดจิ ิทลั มีเดีย เปนตน และท่ีจาเป็นคือ การฝกึ วาดภาพ และหากมีผลงานที่ ทาไวก้ ็ควรเกบ็ เป็นพอร์ตไว้นาเสนอเวลาสอบสัมภาษณ 2.2.9.4 รายได้ ผ้ปู ระกอบอาชีพนี้ ในระยะเรมิ่ ตน้ รายไดอาจไมมาก ตามท่คี าดหวงั เพราะเป็นช่วงของการเรียนรูและทาสิ่งที่ท้าทายแต่เม่ือมีประสบการณความชานาญ และผลงานได ออกสูตลาดแลว รายไดจะเพิ่มมากข้ึน ทั้งยังสามารถ สงงานเขาประกวด หากมีความรู้ด้านภาษาดี สามารถทางานส่งต่างประเทศ ซึง่ วจะไดค้ า่ ตอบแทนเป็นท่นี า่ พอใจ 2.2.9.5 ความกา้ วหน้าทางอาชีพ อาชพี นต้ี ้องใช้ความรกั และมีความชอบในการ ทางาน ต้องใช้เวลาสร้างประสบการณความก้าวหน้า ซง่ึ ความภูมใิ จ ที่ได ก็คอื ผลงานที่ออกสูสายตา ของกลุ่มเป้าหมายการเป็นท่ียอมรับ และมีช่ือเสียง ไดมีโอกาสรับผิดชอบและร่วมงาน กับบริษัท ข้ามชาติ จนไปถงึ การขึ้นสูผู้บริหารในระดับตา่ งๆ ก) ปัจจัยทจ่ี ะทาใหล้ ้มเหลว การบริหารจัดการเวลาทางานและเวลาส่วนตัว ไมส่ มดุล ข) ปัจจัยสู่ความสาเร็จ ต องใส ใจรักและสนุกกับการทางานเท่ากับ ความสาเรจ็ 2.2.10 นักวิทยาศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ (Robotics Scientist) ศึกษา คนคว้า วิจัยความรูทา ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่อื ประยุกต์ใชใ้ นการประดษิ ฐห์ ุ่นยนต์สาหรับ การใช้งานในกจิ กรรม ตา่ งๆ ทัง้ ดา้ นอตุ สาหกรรมการผลิต การเกษตร การบรกิ าร การวจิ ัย และทางการแพทย์ ฯลฯ - ศึกษาและค้นคว้าเพื่อออกแบบโครงสร้างหุ้นยนตร์ตามการนาไปใช้งาน เช่น หุ่น ยนตรช์ นิดทตี่ ิดตัง้ อยู่กบั ที่ (Fixed Robot) หรอื ห่นุ ยนตร์ชนิดท่ีเคลือ่ นทีไ่ ด (Mobile Robot) ซง่ึ มีการ พฒั นารปู แบบใหเ้ หมาะสมกบั พ้ืนที่การใช้งาน และคอนเซป็ ต์ของผู้ประกอบการหรอื ผ้วู า่ จ้าง - วาดรูปแบบ ชน้ิ สว่ นตา่ งๆ เลือกวสั ดุ เพอื่ สง่ ต่อไปข้ึนรูปชิน้ งาน - ปรึกษา ประสานงานกับหน่วยงานคอมพิวเตอร์ หรือหน่วยเขียนโปรแกรมการ สั่งงาน - ตรวจสอบและควบคมุ การประกอบให้ทุกสว่ นสมั พันธก์ ัน - ให้คาแนะนาการใช้งานและการควบคุมกบั ช่างเทคนคิ ควบคุมหุน่ ยนตร์ - อาจทาการปรับปรุง ปรับแต่งหุ่นยนตร์ให้สะดวกกับการใช้งาน และหุ่นยนตร์ ทางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึน

34 2.2.10.1 ความสาคัญของอาชีพ นกั วทิ ยาศาสตรด์ ้านหุน่ ยนต์ รัฐบาลไดท้ า ประกาศนโยบายจะนาประเทศไทยให้ก้าวผ่านพ้นรายได้ระดับปานกลาง และการก้าวส่ปู ูระเทศไทย 4.0 ซึ่งจะมีการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพ โดยได้กาหนดไว้ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีจะทา การส่งเสริม สนับสนุนโดยแบ่งเป็น First S-Curve ในอุตสาหกรรมเดิมท่ีมีการดาเนินการแล้ว อัน ประกอบด้วย อุตสาหกรรมยานยนตร์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว กลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การเกษตรและ เทคโนโลยีชีวีภาพและอุตสาหกรรมการ แปรรูปอาหาร และ New S-curve คือ กลุ่มอุตสาหกรรมท่ีจะพัฒนาและ ส่งเสริมในระยะต่อไป ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนตร์ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเช้ือเพลิง ชีวภาพและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัล และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ในแต่ละกลุ่ม อุตสาหกรรมอาชีพต่างๆ ที่จะต้องเพิ่มจานวนข้ึนตามศักยภาพของอุตสาหกรรม และเพ่ิมองค์ความรู ใหแ้ กบุคคล เพ่ือใหส้ อดคลองกบั ความตองการของกลุ่มอุตสาหกรรม ในอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย ทั้งอตุ สาหกรรมยานยนตร์ อุตสาหกรรมหนุ่ ยนตร์ การบิน และการแพทย์ รวมถึง การแปรรูปอาหาร ลวนมีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับหุ่นยนตร์ นักวิทยาศาสตร์ด้าน หนุ่ ยนตรจ์ งึ เป็นอาชีพท่ีสาคญั ในการทาใหเ้ กิดหนุ่ ยนตรด์ า้ นตา่ งๆ 2.2.10.2 คุณสมบัติ ของผทู้ ่ีตอ้ งการประกอบอาชพี ก) ชอบงานประดิษฐ์ และออกแบบหุ่นยนตร์ ข) มีความรู ความสามารถในการประยุกต์วิชาความรู เพื่อการ ประดษิ ฐ์ หรอื พฒั นา ค) มีจนิ ตนาการ สรา้ งสรรคร์ ปู แบบ ง) มที ักษะดา้ นภาษาทั้งอ่านและเขียน จ) ศกึ ษาค้นควา้ นวตั กรรมใหมๆ่ ฉ) เปดิ ใจกว้างรับข้อเสนอแนะและข้อบกพรอ่ ง 2.2.10.3 รายได้ผทู้ ท่ี างานดา้ นนส้ี ามารถทางานในสายงานการคน้ ควา้ และ ประดิษฐ์หุ่นยนตร์ ตามการใช้งานด้านการแพทย์ วิจัย อุตสาหกรรม ด้านบันเทิงใช้งานในครัวเรือน (เช่น เครื่องโรบอทดูดฝุ่นอัจฉริยะ) รายได้และค่าตอบแทนจะแตกต่างไปตาม ธุรกิจท่ีเข้าร่วมงาน หากเป็นหุ่นยนตร์ขนาดใหญ่มีรายละเอียดมากจะใช้เวลาในการคิดประดิษฐ์นานแต่ถ้าเป็นขนาดเล็ก ในการใชง้ านอตุ สาหกรรมการผลิต หรอื ในครัวเรือน จะเนน้ ไปทางการพฒั นารูปแบบให้สะดวกในการ ใช้งาน ซ่ึงรายได้อย่างต่าของอาชีพนี้อยู่ประมาณ ทั้งน้ีจะได รับสวัสดิการและผลตอบแทนเป็น เปอรเ์ ซ็นของการคดิ คน้ 2.2.10.4 เส้นทางสูอ่ าชีพ นกั วิทยาศาสตรด์ ้านหนุ่ ยนต์ผู้ท่สี นใจทางานใน อาชีพน้ี อาจเร่ิมต้นจากการมีความรักความสนใจในหุ่นยนตร์ และคิกประดิษฐ์หุ่นยนตร์ส่งเข้า ประกวดในโครงการ หรืองานแข่งขันต่างๆ เพื่อเก็บเป็นพอรตสาหรับใช้ในการสมัครเรียนต่อและ ทางาน เมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 สายวิทย -คณิต และสมัครเข้าเรียนต่อคณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาใด สาขาหนึ่งด้านหนุ่ ยนตร์ อิเล็กทรอนิกส์ ไฟฟา้ เครอื่ งกล คอมพิวเตอร์ หรือ

35 คณะวทิ ยาศาสตร์ อุตสาหกรรม และสาขา ทส่ี ามารถประยุกต์เข้ากับงานด้านการประดษิ ฐห์ ุ่นยนต์ใน สถาบันการศกึ ษาระดบั มหาวิทยาลัยภาครฐั และเอกชน ที่เปิดกาสอนสาขาตามที่กล่าวมาแลว 2.2.10.5 ความกา้ วหนา้ ทางอาชีพ นักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสาเร็จใน ช้นิ งานที่ออกแบบจะไดร้ ับคา่ ตอบแทนสูงและมีชื่อเสียงในวงการ การพฒั นาตนเองข้ึนเป็นผู้เช่ียวชาญ และผู้บริหาร รวมถึงการเป็นอาจารย์พิเศษในการสอนวิชาเฉพาะที่ถนัด อาจถูกทาบทามไปทางาน ต่างประเทศ เพ่ือคิดค้นประดิษฐ์สิ่งใหม่สนองตอบการใช้งานในแขนงต่างๆ ที่ต้องนาหุ่นยนตร์มาใช้ งานท้ังงานด้านความปลอดภัยในการทาการสารวจวิจัยที่มนุษย์ไม่สามารถทา หรือเป็นงานเสี่ยง อนั ตราย 2.2.11 นักพัฒนาแอปพลเิ คชันบนแพลตฟอรม์ เคล่อื นท่ี (Mobile App Developer) - ออกแบบและพัฒนาแอปพลเิ คชันบนแพลตฟอร์ม iOS หรือ Android เพื่อใช้งาน อปุ กรณเ์ คล่ือนทต่ี า่ งๆ เช่น โทรศัพทม์ ือถือ iPad Tablet - สรา้ งต้นแบบแอปพลิเคชนั บนแพลตฟอร์มตามความตอ้ งการของลกู คา้ ตามแนวคิด สรา้ งสรรค์ - พัฒนาจากแอปพลิเคชันเดิมที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น เพ่ือตอบสนอง การใช้งานของกลุ่มเป้าหมาย - รวมแอปพลเิ คชันเข้ากบั ระบบ Back Up ตา่ งๆ และเทคโนโลยบี ริการเว็บ เพอ่ื เพิ่ม ประสิทธิภาพการใชง้ าน - ตรวจสอบการใช้งานก่อนสง่ อบ 2.2.11.1 ความสาคัญของอาชพี นกั พัฒนาแอปพลิเคชนั บนแพลตฟอรม์ เคลือ่ นที่ การพัฒนาแอปพลเิ คชนั ต่างๆ เพื่อตอบสนองกลมุ่ เปา้ หมาย ทั้งบคุ คลและองคก์ ร เป็นตวั จักรสาคัญใน ธรุ กิจที่เกย่ี วขอ้ งหรือจาเปน็ ต้องใช้ IT ในการดาเนินงาน หรือในชวี ิตประจาวัน โดยเฉพาะในธุรกจิ ของ สินค้าท่ีต้องการความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ iPad Tablet ฯลฯ นักพฒั นาแอปพลิเคชันเหลา่ นี้จึงเปน็ อาชีพท่นี า่ สนใจและเปน็ ที่ต้องการของธุรกจิ ดังกล่าว 2.2.11.2 คณุ สมบัติ ของผู้ทต่ี อ้ งการประกอบอาชพี ก) ทกั ษะดา้ นการคานวณ ข) มีความรูเรอ่ื งการเขียนโปรแกรม ค) มีความรู้เร่ืองการทางานของคอมพวิ เตอรใ์ นระบบต่างๆ ง) มคี วามคดิ สร้างสรรค์ จ) สนใจศึกษาความตอ้ งการของผู้ใชง้ านแอปพลิเคชนั ฉ) มที ักษะภาษาท่ีดีพอกับการอ่านเพื่อการคน้ ควา้ 2.2.11.3 เส้นทางสูอ่ าชพี เส้นทางพัฒนา แอปพลเิ คชนั บนแพลตฟอร์มเคลื่อนที่ ผู้ท่ีสนใจประกอบอาชีพนี้ อย่างน้อยควรต้องจบ การศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิทยาศาสตร์ คอมพวิ เตอร์เทคโนโลยสี ารสนเทศ วิศวกรรมศาสตรค์ อมพิวเตอรห์ รอื สาขาทีเ่ ก่ียวข้องในมหาวทิ ยาลัย ทง้ั ภาครฐั และเอกชนทีเ่ ปิดสอน ซ่ึงรับผู้ทจ่ี บมธั ยมศกึ ษา ปท่ี 6 สายวทิ ย์-คณิต 2.2.11.4 รายได้นักพฒั นาแอปพลเิ คชนั บนแพลตฟอรมเคลอ่ื นท่ี ในปัจจุบันจากการ

36 สารวจพบว่า มีรายได้อยู่ระหว่าง 20,000-80,000 บาท ซึ่งข้ึนกับบริษัทท่ีว่าจ้าง อาจใหค้ ่าตอบแทน เปน็ รายเดอื น รายชนิ้ หรอื แบงเปอรเ์ ซ็นตร์ ายได 2.2.11.5 ความก้าวหน้าทางอาชีพ อาชพี นสี้ ามารถทางานท้งั ในระบบและนอก ระบบ โดยรับจ้างพัฒนาแอปพลิเคชันเปน็ รายช้ิน ดา้ นความก้าวหนา้ นน้ั มาพรอมรายไดและชื่อเสียง จากความสามารถในการตอบโจทย์ หรือความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาตนเอง ข้นึ เป็นผู้ประกอบการในธรุ กิจทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั IT 2.3 แนวคิดและทฤษฎีการเลือกอาชพี (Concept and Theory Career Choice) กระทรวงแรงงาน (2561) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การตัดสินใจเลือกอาชีพ นับว่าเป็นเร่ือง สาคัญอย่างย่ิงในชีวติ มนุษย์ อาจกล่าวได้ว่า \"งานคือชีวิต\" ดังนั้น ในการเลอื กอาชีพจาเป็นต้องมีการ เร่ิมต้นด้วยการวางแผนชีวิตด้านอาชพี ตั้งแตว่ ัยเรียน ซ่ึงเปน็ การวางแผนระยะยาวท่ีตอ้ งใชเ้ วลานาน มาก และใช้ความพยายามอย่างมาก ผลตอบแทนที่ได้รบั กค็ ุ้มคา่ ภาพที่ 2-2 แนวทางในการตดั สนิ ใจดา้ นอาชพี (กระทรวงแรงงาน, 2561)

37 2.3.1 สงิ่ สาคัญในการตัดสินใจเลือกอาชีพ ข้นึ อยู่กับองคป์ ระกอบที่สาคัญ 2 ประการ คอื 2.3.1.1 ปัจจัยภายนอก ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู ด้านอาชพี เป็นขอ้ มูลท่มี ขี อบข่ายกว้างขวางมาก ซ่ึงขอบข่ายของขอ้ มูลดา้ นอาชีพพอสรุปได้ดงั นี้ ก) แนวโน้มของตลาดแรงงาน เป็นข้อมูลเกย่ี วกับความต้องการผู้ทางานใน ด้านต่างๆ ในปัจจบุ นั และการทานายที่จะมีความ ต้องการเพ่มิ ข้นึ หรอื ลดลงในอนาคต ข) ลักษณะ งาน งานท่ีจะต้องทาเป็นประจามีลักษณะ อย่างไ ร ผู้ทางานจะต้องทาอะไรบ้าง เป็นงานที่ทาให้เกิด ความเพลิดเพลินหรือก่อให้เกิดความเบื่อหน่าย งานใหญ่หรืองานเล็ก มคี วามรับผิดชอบท่ีสาคัญหรอื ไม่ ต้อง เก่ียวข้องกบั ตวั เลข ส่ิงของ หรือคนต้อง ใชเ้ คร่ืองมอื อุปกรณม์ ากหรือไม่ ต้องนงั่ ทางาน ยนื ทางาน ตอ้ งเดิน ทางหรอื ไม่ ค) สภาพแวดลอ้ มของงาน ซึ่งประกอบ สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศของ งาน เช่น ร้อน เย็น ชื้น แห้ง เปียก ฝุ่นละออง สกปรก เสียงดัง ในอาคาร กลางแจ้ง ในโรงงาน มี สารพิษ มีสาร กมั มนั ตภาพรังสี มคี วามขัดแยง้ เปน็ ต้น ง) คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ อายุ ได้มีการกาหนดช่วงอายุ ในการทางานและเกษียณไว้อย่างไร เพศ อาชีพน้ัน ๆ โดยทั่วไปเป็นอาชีพสาหรับเพศหญิงหรือเพศ ชาย หรือให้ โอกาสแก่ท้งั หญิงทัง้ ชาย หรอื ใหโ้ อกาสแกเ่ พศใดเพศหนึ่งมากกวา่ จ) การเขา้ ประกอบอาชีพ การเข้าประกอบอาชพี ต้องมีวิธกี ารอย่างไร โดย การสมัครงานกับนายจ้างด้วยตนเองต้องมีการสอบสัมภาษณ์หรือต้องสอบข้อเขียนด้วย ถ้าเป็นการ ประกอบอาชพี อสิ ระตอ้ งใช้ทนุ ทรพั ยเ์ พอ่ื ดาเนนิ กิจการมากน้อยเพยี งใด ฉ) รายได้ ในการประกอบอาชีพนน้ั ๆ จะมีรายได้เป็นวัน สัปดาห์ เดือน ปี โดยเฉลี่ยแล้วเป็นเงนิ เทา่ ใด ช) ความก้าวหน้า อาชีพน้ัน ๆ จะมีความก้าวหน้าเพียงใด จะต้องมี การศึกษาอบรมเพม่ิ เติม มีความสามารถหรือประสบการณ์อย่างไรจึงจะไดเ้ ลื่อนข้ันมากนอ้ ยเพียง ใด การประกอบอาชพี เดิมนาไปสอู่ าชีพใหม่หรือไม่ ซ) การกระจายของผู้ประกอบอาชีพ มีผู้ประกอบอาชีพมากน้อยเพียงใด และกระจายอยู่ท่ัวประเทศหรือมีอยู่เพียงบางจังหวัด ทาไมจึงเป็นเช่นนั้น ผู้ประกอบอาชีพท่ีใดก็ได้ หรอื จะตอ้ ง อยทู่ ่ีใดทีห่ นึ่งโดยเฉพาะ ฌ) ข้อดีและข้อเสีย อาชีพแต่ละอย่างย่อมมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซ่งึ ขึ้นอยู่กับความพอใจและความต้องการของผู้ประกอบอาชีพของแต่ละคน งานบางอยา่ งอาจมีการ ทางาน ล่วงเวลา ทางานในวันเสาร์อาทิตย์ หรือ วันหยุด และการเดินทางไปปฏิบัติในท้องที่อื่นๆ งานบางอาชพี มคี วามม่ันคงกว่างานอาชีพอน่ื ฯลฯ 2.3.1.2 ประการที่ 2 : ปัจจัยภายใน ได้แก่ ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยเกี่ยวกับ โครงสรา้ งของคา่ นยิ ม ดังตารางท่ี 2-4

38 ตารางที่ 2-4 ปจั จยั ภายในของการเลือกอาชีพ ความหมาย ปัจจัย ความสนใจ บุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัด - ปัจจัยส่วนบุคคล ทกั ษะ ความสัมฤทธ์ิผล ประสบการณ์ แรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธ์ิผล ความรับผิดชอบ ความอุตสาหะ - ปัจจยั เกี่ยวกับโครงสรา้ งของค่านยิ ม ความตรงต่อเวลา ความอบอุ่น ระดับความกล้า เสี่ยง ความเป็นคนเปิดเผย ความไม่ยืดหยุ่น ความแกร่งของจติ ใจ ความรู้สกึ เก่ียวกบั คุณค่า แห่งตน ความสามารถในการตัดสนิ ใจ วฒุ ิภาวะ ทางอาชีพ เพศ เชื้อชาติ อายุ ความแข็งแกร่ง สขุ ภาพ ฯลฯ ค่านิยมทางการงาน ค่านิยมทั่วไป จุดมุ่งหมาย ของชีวิต จุดมุ่งหมายทางอาชีพ การรับรู้เกียรติ และช่ือเสียงของอาชีพ ทัศนคติต่ออาชีพต่าง ๆ ความเข้าใจอาชีพท่ีเกี่ยวกับคน / ข้อมูล จริยธรรมในการทางาน การใช้เวลาว่าง ความ ต้องการเปล่ียนแปลง ความต้องการกฎเกณฑ์ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ส นั บ ส นุ น / ช่ ว ย เ ห ลื อ ค ว า ม ต้องการอานาจ ความม่ันคง ความปลอดภัย ก า ร ท า ง า น ใ ห้ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ กั บ ผ้อู นื่ ฯลฯ 2.3.2 ปญั หากอ่ นตัดสนิ ใจเลอื กอาชีพของนักศกึ ษาหรอื ผู้สมคั รงาน 2.3.2.1 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการประกอบอาชีพต่างๆ ขาดทักษะและ รายละเอียดข้อมูล เกี่ยวกับโลก อาชีพ เช่น ลักษณะของงานอาชีพ กระบวนการทางานในงานอาชีพ นน้ั ๆ ความก้าวหนา้ ในอาชีพการ ทางาน และความต้องการของตลาดแรงงานในงานสาขาอาชีพนัน้ 2.3.2.2 นกั เรียนและผู้สมัครงาน ต้องการความช่วยเหลือเก่ียวกับการให้คาปรึกษา แนะนา แนะแนวอาชพี แนะแนวการศกึ ษาต่อ และการเตรียมตวั ก่อนเขา้ สู่ ตลาดแรงงาน 2.3.2.3 นักเรียนและผู้สมัครงาน จะต้องรู้ขีดความสามารถ สติปัญญา ความถนัด ความสนใจ และความ พร้อมในการเลอื กประกอบอาชพี ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง 2.3.2.4 ปญั หาทางด้านเศรษฐกิจ นักเรียนและผู้สมัครงาน จะต้องมีความรู้ในเร่ือง ปัญหาเศรษฐกิจ ซ่ึงมีผลต้ังแต่การเลือกเรียนต่อหรือศึกษาเพ่ิมเติมในสาขา วิชาที่ใช้เงินทุนจานวน น้อย และเมื่อสาเร็จการศึกษาแล้ว เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ตลอดจน การฝึกพัฒนา ฝีมือ ตนเองเพิ่มเตมิ เพ่ือใหค้ ุณลกั ษณะเดน่ ในการสมคั รงาน สรปุ ขอ้

39 2.3.3 แนะนาก่อนตดั สินใจเลือกอาชีพ 2.3.3.1 ผ้ตู ัดสินใจเลอื กอาชีพควรรู้จักตนเองใหด้ ีเสียกอ่ น โดยเฉพาะในด้านอุปนิสัย ความรู้ ความถนดั ความสามารถ ความสนใจ บุคลกิ ลกั ษณะ สขุ ภาพ นิสัย ทัศนคตเิ ก่ียวกับอาชีพน้ัน และฐานะทางเศรษฐกจิ ของครอบครวั ฯลฯ 2.3.3.2 ควรมคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับอาชีพต่าง ๆ ลักษณะของงานอาชีพ ค่าจ้าง สวสั ดกิ าร ความกา้ วหน้า และความมนั่ คงของงาน ตลอดจนความต้องการ ของตลาดแรงงาน ฯลฯ สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (2562) ได้กล่าวไว้ว่า ตลาดดิจิทัลในประเทศไทยในปีนี้ คาดว่าจะมีมูลค่า 527 พันล้านบาทสูงกว่าปีท่ีแล้ว 13.7% จากท้ังหมดน้ันฮาร์ดแวร์เป็นส่วนท่ีใหญ่ ท่สี ุดที่ 234 ลา้ นบาทตามดว้ ยอปุ กรณ์อัจฉริยะ (122 พันล้าน) ซอฟต์แวร์ (106 พันล้าน) และบริการ ดิจทิ ลั (65.2 พันล้าน) เปน็ ปีแรกของอปุ กรณ์สมาร์ทและบริการดิจิตอลไดร้ บั การสารวจวา่ เป็นเทรนด์ ใหม่ของภาครัฐภาคธุรกิจและภาคประชาชนทั่วไป ผลการสารวจพบว่าตลาดฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์ สมาร์ทมมี ลู ค่า 295 พันลา้ นบาทในปี 2560 โดยมกี ารเตบิ โตของฮารด์ แวร์ 3% ในปีท่ีผา่ นมา อุตสาหกรรมบริการซอฟต์แวร์และซอฟต์แวร์โดยรวมเพ่ิมขึ้นจากปีพ. ศ. 2560 เนื่องจาก ผู้ประกอบการซอฟต์แวร์ด้านไอทีได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจได้รับโอกาสจาก เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่นคลาวด์ข้อมูลขนาดใหญ่ปัญญาประดิษฐ์ blockchain และ IoT รวมถึงการ เริ่มต้นเทคโนโลยี ในปี 2560 ผู้ให้บริการดิจิตอลมีรายได้ 36.3 พันล้านบาท รายได้รวมของบริการ ชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกสอ์ ยู่ที่ 11.4 พนั ล้านบาทโดยมีบรกิ ารด้านเนือ้ หาและบรกิ ารสือ่ ความบนั เทิง ที่มีผ้ใู ช้สูงสุดโดยวัดจากผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ นายธนชาติ อานวยนนท์ ผู้อานวยการสถาบัน IMC กล่าวว่าการสารวจและการคาดการณ์ เน้นว่าอุตสาหกรรมทุกประเภทถูกท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่เกิดจากการ เปลย่ี นแปลงแบบดิจิทัล กญุ แจสาคัญในการเตบิ โตของอุตสาหกรรมคือแนวโนม้ ของการใชง้ านดจิ ิทัล ในทุกภาคส่วนผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลการชาระเงินแบบไม่มีเงินสดบล็อกเชนแชทบอทการเขียน โปรแกรมและวิดโี อคลิปที่ใช้ 3D ความเป็นจรงิ ยง่ิ และความเปน็ จริงเสมอื นทัง้ หมดคาดว่าจะมบี ทบาท สาคัญมากขึ้น การสาธิตการโฆษณาและผลติ ภณั ฑ์ จากรายงานดงั ภาพที่ 2-3 ภาพที่ 2-3 การสารวจเทคโนโลยสี ารสนเทศและการตลาดดจิ ิทัลในประเทศไทย

40 ACS Foundation (2018) หรือมูลนิธิ ACS ได้กล่าวไว้ว่า การจัดทา ICT Careers Wheel สาหรับนักเรียนเป็นแหล่งขอ้ มูลเพ่ือช่วยเหลอื นกั เรียนมัธยมปลายชาวออสเตรเลยี ในการระบุเสน้ ทาง สาหรับการศึกษาและการจ้างงานในภาคเทคโนโลยี ด้วยการจดั กลมุ่ บทบาทงานทม่ี ีคณุ สมบัตขิ องการ อบรม TAFE และมหาวิทยาลัยล้อและแผนที่จะส่ือสารการเชื่อมโยงจากการศึกษาไปยังท่ีทางาน นอกจากนีม้ ูลนิธิ ACS ยังให้ความชว่ ยเหลือแก่นักศกึ ษาในการจัดหาประสบการณก์ ารทางานและการ ฝึกงานในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี เส้นทางสู่งานการออกแบบใช้ทักษะศิลปะของคุณในการออกแบบเน้ือหาและแอปดิจิทัลท่ี เป็นมิตรกบั ผูใ้ ช้ โดยภาพที่ 2-4 วงลอ้ อาชพี ดิจิทัลแบบโต้ตอบ (Interactive Digital Career Wheel) และภาพท่ี 2.4 เส้นทางอาชีพทางด้านดิจิทัล (Digital Career Path Model) ต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง เส้นทางอาชีพสาหรับมืออาชีพระดับเริ่มต้นที่มีการศึกษาระดับอุดมศึกษาในพ้ืนที่น้ี วิธีที่มี ประสิทธิภาพท่ีสุดในการย้ายจากการศึกษาไปทางานคือการฝึกงานในสาขาวิชาที่คุณเลือก การเพิ่ม มหาวิทยาลัยและนายจ้างจานวนมากจาเป็นต้องมีการฝึกงานก่อนสาเร็จการศึกษาและการจ้างงาน มูลนิธิ ACS ให้การฝกึ งานดา้ นเทคโนโลยแี กน่ กั ศึกษามหาวิทยาลยั ออสเตรเลียปลี ะ 400 คน ภาพที่ 2-4 วงล้ออาชีพดจิ ิทัลแบบโต้ตอบ (Interactive Digital Career Wheel)

ภาพท่ี 2-5 เสน้ ทางอาชพี ทางด้านดจิ ิทลั

(Digital Career Path Model)

42 2.4 การพฒั นากาลังคนดิจทิ ัล (Digital Manpower Development) จากการทบทวนวรรณกรรม ไม่พบว่ามีการบัญญัตินิยามกาลังคนด้านดิจิทัลในท่ีใด มีเพียงการ กล่าวถึง อุตสาหกรรมดิจิทัล โดยโครงการ Futureintec ซึ่งจัดตั้งโดยสมาคมวิชาชีพ วิศวกรของประเทศนิวซีแลนด์ (Engineering New Zealand) ได้ระบุว่า “อุตสาหกรรมดิจิทัล หมายถึง ธุรกิจท่ีเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ การทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนกิ ส์ไฮเทค ระบบข้อมูล และการพัฒนาเว็บ เกม และมัลติมเี ดีย” และหน่วยงานหลักท่ีจ้าง บุคลากรท่ีมีทักษะด้านดิจิทัล ได้แก่ บริษัทพัฒนาซอฟต์แวร์ เว็บ และมัลติมีเดีย บริษัทท่ีให้บริการ คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล และเครือข่าย ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตและโทรคมนาคม องค์กรด้าน การศึกษาและวจิ ัย ผู้ค้าปลีกรายใหญ่ ธนาคาร และองค์กรสือ่ (เช่น หนงั สอื พมิ พ์ และ โทรทศั น์) และ องค์กรอื่นๆ ที่ใช้คอมพิวเตอร์ โดยผู้ทางานในอุตสาหกรรมดิจิทัลส่วนใหญ่จบการศึกษาด้านการ คานวณ (Computing) เทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ วิทยาศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ วิศวกรรมระบบซอฟตแ์ วร์และคอมพิวเตอร์ ในภาพรวมของประเทศไทย ในปี 2560 มีการจ้างงานผู้ทางานด้าน ICT ท่ัวประเทศรวม 268,065 คน (อัตราการเติบโตประมาณร้อยละ 6) โดยส่วนใหญ่เป็นช่างเทคนิคด้าน ICT (35%) นกั วิชาชีพ ICT (31%) และผจู้ ดั การ ขาย ฝึกอบรม ใหบ้ ริการและติดตง้ั (25%) ดังภาพท่ี 2-6 ภาพที่ 2-7 การจา้ งงานด้าน ICT จาแนกตามอาชีพ (สานกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ, 2560) แม้วา่ ไมม่ ีการบัญญัตนิ ิยามกาลงั คนดา้ นดจิ ทิ ลั นิยามทใี่ กล้เคยี งท่สี ุดนา่ จะเป็น กาลังคนดา้ น เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) อยา่ งไรก็ตามในปจั จุบัน ยงั ไมม่ ีขอ้ ตกลงทีช่ ดั เจนเกย่ี วกับ นิยาม ของกาลังคนด้าน ICT โดยท่ัวไป นิยามของกาลังคนด้าน ICT อาจวัดได้ใน 3 รูปแบบ คือ 1) กาลังคนในอุตสาหกรรม ICT 2) อาชีพด้าน ICT และ 3) การศึกษาด้าน ICT ดังแสดงรายละเอียด ในตารางที่ 2-2

43 ตารางที่ 2-2 นยิ ามกาลังคนด้าน ICT กาลงั คนด้าน ICT นยิ ามและการใช้ กาลงั คนใน นยิ ามโดยการจดั ประเภทของอุตสาหกรรม ICT อุตสาหกรรม ICT มักใชใ้ นการเปรยี บเทยี บขนาดของอตุ สาหกรรม ICT ระหวา่ งประเทศ ข้อจากดั : นิยามของบางสาขาอุตสาหกรรม ICT ไมช่ ัดเจน และการนบั รวมเฉพาะ กาลงั คนใน ภาคอุตสาหกรรม อาชพี ด้าน ICT นิยามโดยการจดั ประเภทของอาชพี ด้าน ICT ขอ้ จากดั : นิยามอาชพี ICT ท่ใี ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ไม่ปรบั ทนั ตามสถานการณท์ ่ี เปลย่ี นแปลงไป การศึกษาดา้ น ICT มักใช้ในการประมาณการขนาดของอปุ สงคก์ าลงั คนดิา น ICT ต้องกาหนดสาขาวชิ า คุณสมบตั ิ และทักษะดา้ น ICT ขอ้ จากดั : มกั นบั รวมเฉพาะผ้ทู ี่ศกึ ษาดา้ น ICT ในสถานศกึ ษา (ควรนบั รวม ผ้ทู ่ีศกึ ษา แบบไมเ่ ป็น ทางการ และผทู้ มี่ ีใบรับรองคุณวุฒดิ า้ น ICT) ที่มา: Ko and Kang (2014) ภาพท่ี 2-8 การจาแนกตามทักษะทางด้าน ICT (Organization for Economic Co-operation and Development :OECD, 2005) OECD (2005) ได้กล่าวไว้ว่า กาลังคนด้านดิจิทัล จาแนกตามทักษะด้าน ICT แบ่งเป็น 3 ประเภทได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้าน ICT (ICT specialist) ผู้ใช้ระดับสูง (advanced users) และผู้ใช้ ระดับพ้ืนฐาน (basic users)

44 นโยบายที่สาคัญของประเทศไทยเก่ียวกับการพัฒนากาลังคนด้านดิจิทัล เพื่อรองรับ อุตสาหกร รมเป้าหมายและก ารพัฒนาระเบียง เศร ษฐกิจพิเศษภาคตะ วันอ อก (EEC) แสดงดงั ภาพท่ี 2-6 ภาพท่ี 2-6 ความสัมพันธ์ระหวา่ งบริบทด้านนโยบายที่เก่ียวขอ้ งและการพัฒนากาลงั คนดจิ ิทัล - นโยบายสง่ เสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเปา้ หมายในพ้ืนทร่ี ะเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาค ตะวนั ออกเพื่อกระตุ้นการเตบิ โตของอุตสาหกรรมเปา้ หมาย ซ่ึงจะสง่ ผลต่ออุปสงคห์ รือความต้องการ กาลงั คนดา้ นดจิ ิทลั - นโยบายการพัฒนาและสง่ เสริมกาลงั แรงงานทักษะสูง ซงึ่ เพ่มิ อุปทานของกาลงั คนดา้ น ดจิ ิทลั ทม่ี ีทักษะสูง เพอ่ื ตอบสนองต่อการเตบิ โตของอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย - นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในพ้นื ท่ี EEC เพ่อื ดงึ ดดู การลงทนุ ของอุตสาหกรรม เปา้ หมาย ตลอดจน กาลังคนดา้ นดจิ ทิ ัลท่จี ะเขา้ มาทางานหรอื อย่อู าศัยในพน้ื ที่ 3. การวิเคราะหผ์ ลลัพธท์ สี่ าคญั ตามประเภททักษะ (Summary of key results by Skill Category)

45 (ปทั มาวรรณ, 2558) ได้กลา่ วไวว้ า่ สมรรถนะหลักของสถาบนั อดุ มศึกษาเป็นคุณลักษณะหรือ ความสามารถทบ่ี ุคลากรทกุ ตาแหนง่ ท่ีจาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานภายในสถาบนั การศึกษาซ่ึงจะช่วย สนับสนุนวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และความสามารถหลักของแต่ละสถาบัน หรือเป็นเรือ่ งที่สถาบันมีความ ชานาญท่ีสุด สมรรถนะหลักขององค์การเป็นขีดความสามารถเชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ และสร้างความ ได้เปรียบในการจัดการศึกษาของสถาบัน สมรรถนะหลักขององค์การน้ีจะสร้างความได้เปรยี บในการ แข่งขันท่ีย่ังยืน และจากการศึกษาการนาระบบสมรรถนะมาใช้ในสถาบันอุดมศึกษา จากสถาบันอุดมศึกษาไทยที่ติดอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลก 600 อันดับ ของ (THE-QS ค.ศ. 2004 - 2009, QS ค.ศ. 2010-2015, THE ค.ศ. 2010-2015) จานวน 8 สถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่ามีการกาหนดชื่อสมรรถนะที่คล้ายคลึงกันและมีความสอดคล้อง กันเชิงเนื้อหา ได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Achievement motivation) ความซ่ือสัตย์คุณธรรมและ จริยธรรม (Integrity) การทางานเป็นทีม (Teamwork) การมุ่งเน้นการบริการ (Service mind) การพฒั นาตนเอง (Self-Development) ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ (Initiative) ความเชี่ยวชาญในงาน อาชีพ (Expertise) ความเปน็ ผู้นา (Leadership) ความรับผิดชอบในงาน (Responsibility) ความเป็น มหาวิทยาลัยของตน (University consciousness) การวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบ (Systematic job planning) และทักษะการสือ่ สาร (Communicative skill) ภาพที่ 2-7 Core Competency Model

46 ตารางที่ 2 การสังเคราะห์ผลลัพธ์ท่ีสาคญั ตามประเภททักษะ (Foerster, 2017) ทักษะการจา้ ง ความหมายของทักษะ งาน ทักษะดา้ นวิชาชพี ทกั ษะส่งเสริมการทางาน คุณลักษณะส่วน บคุ คล ประเภทของ (Hard Skills) (Soft Skills) (Personal ทักษะ Attribute) ความสัมพนั ธ์ ลกู ค้า พนกั งาน + มกี ารเรียนรู้ + มีเจตคติทีด่ ี ทักษะเฉพาะ + ทักษะด้าน + การวเิ คราะห์ - ความเอาใจ + มีความยดื หยนุ่ และ ความกระตือรือรน้ เทคโนโลยี และการแก้ปัญหา ใส่ ความยดื หยุ่น สารสนเทศ + การส่อื สาร - การทางาน มุ่งเน้นผลงาน - ความคดิ สรา้ งสรรค์ + ทักษะดา้ นภาษา + การทางานเปน็ อย่างอสิ ระ - การเอาใจใส่ ทกั ษะการ ทีม - การควบคมุ วเิ คราะหโ์ ครงการ + การกาหนดทศิ เวลาและ และกระบวนการ ทางการบริการ ความสามารถ + การจัดการข้อมูล ลกู ค้า ในการ ภายนอก - การรบั รทู้ าง จัดลาดบั วัฒนธรรม ความสาคัญ - ทกั ษะการ ทางานหลาย องคก์ ร + มีความสาคัญมาก มีความสาคัญปานกลาง - มคี วามสาคญั นอ้ ย ท่ีมา : (Foerster - Pastor and Golowko, 2017) จากการอภิปรายในปัจจุบันเก่ยี วกับความต้องการของทักษะดิจิทัลที่จาเป็นในอุตสาหกรรม เอาท์ซอร์ซ (outsourcing industry) รวมถึงความสาคัญท่ีจะได้รบั ทักษะเหล่านภ้ี ายในอุตสาหกรรม นน้ั จาเป็นอยา่ งยิ่งทจี่ ะตอ้ งเขา้ ใจวา่ ตอ้ งการรบั ความรแู้ บบดิจทิ ัลชนิดใด โดยอุตสาหกรรมเป็นทกั ษะท่ี ยากเฉพาะในขณะท่ีการใช้วิธีการท่ีละเอียดมากข้ึน ในประเทศ เช่น ฟิลิปปินส์และอินเดีย อุตสาหกรรม BPO ได้ดาเนินมาตรการเพื่อสนับสนุนการเติบโตของทักษะดิจิทัลและการพัฒนาแอป พลิเคชันและการบารุงรักษาความรู้เก่ียวกับระบบ ERP ขององค์กรสาหรับ SAP และ Oracle เทคโนโลยีจาวา (Java) ที่เกิดขึ้นใหม่เช่น ระบบคลาวด์คอมพิวต้ิง (Cloud Computing) และทักษะ ทางภาษาเฉพาะเชน่ Java, Python เปน็ ต้น นอกจากนี้จากการวิเคราะห์ของ (Computer world Forecast, 2016) ทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศดงั ต่อไปนไ้ี ดร้ ับการระบุว่าจาเปน็ สาหรบั อุตสาหกรรมบริการด้านเทคโนโลยแี ละ สรุปไว้ในตารางที่ 3 การกล่าวถึงทักษะที่ระบุจะถูกจากัด โดยการสารวจเฉพาะผู้ที่เก่ียวข้องเท่านั้น ทักษะทางด้านเทคนิคเช่นเดียวกับสถาปัตยกรรมด้านไอทีสาหรับระบบคลาวด์คอมพิวต้ิง และ

47 สถาปัตยกรรมขององค์กร บริษัท ค้นหาการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เน่ืองจากการเพิ่มข้ึนอย่าง ต่อเนื่องของแอปพลิเคชันและความต่อเน่ืองของอินเทอร์เน็ตในส่ิงต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมการพัฒนาเว็บยังคงมีความสาคัญเป็นอย่างมากเนื่องจากเป็นช่องทางหลักในการ เชอ่ื มต่อกบั ลกู คา้ และพนักงานตลอดชว่ งสองทศวรรษทีผ่ ่านมา สมรรถนะการทางานดิจิทัล จึงมี 3 องคประกอบของสมรรถนะวาคือกลุมของ 1. ความรู (Knowledge) 2. ทักษะ (Skills) และ 3. คุณลักษณะ (Attributes) ที่เกี่ยวของกัน ซึ่งมีผลกระทบ ตองานหลักของตาแหนงงานหน่ึง ๆ โดยกลุมความรู ทักษะ และ คุณลักษณะดังกลาว สัมพันธกับ ผลงานของ ตาแหนงงานน้ัน ๆ และสามารถวัดผลเทียบกับ มาตรฐานท่ีเปนท่ียอมรับ และเปนส่ิงที่ สามารถ เสริมสรางข้ึนได โดยผานการฝกอบรมและการพัฒนา โดยความรู (Knowledge) หมายถึง ความรู ท่ีจาเปนในการปฏบิ ัติหนาท่ี หากไมมีความรูนัก วิชาชพี สารสนเทศ ก็ไมสามารถปฏิบัติหนาท่ี ที่ รบั ผิดชอบไดอยางถูกตอง ความรูน้ีมกั จะไดจาก การศึกษาอบรมสัมมนารวมไปถึงการแลกเปล่ียน ความรูกับผูมีความรูในดานน้ันๆ ทักษะ (Skills) หมายถึงความสามารถเฉพาะท่ีจาเปนในการปฏิบัติ หนาท่ีถาไมมีทักษะแลวก็ยากที่ทาให นักวิชาชีพ สารสนเทศ มีผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ และตามเปาหมายทีก่ าหนดไวไดทักษะน้ี ตองไดมา จากการฝกฝนหรือกระทาซ้า ๆ อยางตอเน่ืองจน ทา ใหเกิดความชานาญในสิง่ นั้น คุณลักษณะสวนบคุ คล (Personal Attribute) หมายถงึ คุณลักษณะ ความคิด ทัศนคติ คานิยม แรงจูงใจ และความ ตองการสวนตัว คุณลักษณะเปนส่ิงที่ติดตัวและ เปล่ียนแปลงไดไมงายนัก คุณลักษณะที่ไม เหมาะสมกับหนาที่มักจะกอใหเกิดปญหาในการปฏิบัติ หนาทแี่ ละทาใหผลการปฏิบตั งิ านไมประสบ ผลสาเร็จตามเปาหมาย (Alam, 2015) ตารางท่ี 3 การวเิ คราะหค์ วามสามารถทางดา้ นไอที ประเภทของทกั ษะ ความหมาย Application Suites ชุดโปรแกรมธุรกิจพ้ืนฐานท่ีได้รับการออกแบบโดยมี อินเทอร์เฟซผู้ใช้ที่เหมือนกันและมีฟังก์ชันท่ัวไป เช่นการ ตรวจสอบตัวสะกด โปรแกรมหลักคือการประมวลผลคา สเปรดชีตและกราฟิกงาน เช่น Microsoft Office, iWork, Office WordPerfect, Lotus SmartSuite, Star Office, Apache Open Office, G Suite, Zoho and Graphic Suite (Yourdictionary, 2017) Development Environments ส่ิงแวดล้อมท่ีเรียกว่าการรวบรวมเครื่องมือฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการพัฒนาซอฟต์แวร์ และอินเทอร์เฟซการรวบรวมเคร่ืองมือฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยในการพัฒนาซอฟต์แวร์ และอินเทอร์เฟซ (Collins English Dictionary, 2014) Social Media การกาหนดสอ่ื สังคมออนไลน์เป็น \"กลุ่มของแอป็ พลิเคชันท่ี ใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งสร้างบนรากฐานทางเทคโนโลยีและ อุดมการณ์ของ Web 2.0 และอนุญาตให้มีการสร้างและ

Service Desk Management 48 Operating Systems Programming Language แลกเปล่ียนเนื้อหาที่ผู้ใช้สร้างขึ้น\" Kaplan and Haenlein (2010, p. 61) Enterprise Resource Planning Systems ระบบที่ออกแบบมาเพื่อรองรับการจัดเตรียมผลิตภัณฑ์และ บริการด้านไอที เม่ือผู้เชี่ยวชาญอ้างถึงบริการสนับสนุนที่มี Network protocols ความสามารถเฉพาะด้านทีเ่ กี่ยวข้องกับการแกไ้ ขปัญหาหรือ ปรบั เทียบผลิตภณั ฑ์หรอื บริการ (Technopedia, 2017a) โปรแกรมท่ีจดั การทรพั ยากรของคอมพวิ เตอรโ์ ดยเฉพาะการ จัดสรรทรพั ยากรเหลา่ นั้นระหว่างโปรแกรมอน่ื ๆ ทรพั ยากร ท่ัวไปประก อบด้ว ยหน่ว ยประ มวลผลกลาง ( CPU) หน่วยความจาคอมพิวเตอร์การจัดเก็บไฟล์อปุ กรณ์อินพุต / เอาต์พุต (I / O) และการเช่ือมต่อเครือข่าย ตัวอย่างเช่น : Windows, Linux (Britannica, 2017) ภาษาเขียนโปรแกรม คือ \"ภาษาคอมพิวเตอรท์ ่อี อกแบบมา เพ่ือสร้างรปู แบบคาสัง่ มาตรฐาน คาสั่งเหล่านี้สามารถแปล เป็นรหัสทีเ่ ข้าใจได้โดยเคร่ือง โปรแกรมจะถูกสรา้ งข้ึนผา่ น ภาษาโปรแกรมเพ่ือควบคุมพฤติกรรมและผลลพั ธ์ของเคร่ือง ผา่ นข้นั ตอนวิธที ี่ถกู ต้องเชน่ กระบวนการสือ่ สารของมนุษย์ \" ตวั อย่างเชน่ : Java, C++, Cobol, Fortran (Technopedia, 2017b) การวางแผนทรพั ยากรขององค์กร (ERP) คอื \"กระบวนการท่ี บริษัท (มักเป็นผู้ผลิต) จัดการและรวมส่วนสาคัญของธุรกิจ ระบบข้อมูลการจัดการระบบ ERP ประกอบดว้ ยพ้ืนท่ีต่างๆ เช่นการวางแผนการจัดซื้อพื้นท่ีโฆษณาการขายการตลาด การเงินและทรัพยากรบุคคล ERP ถูกใช้บ่อยท่ีสุดในบริบท ของซอฟตแ์ วร์ ตัวอย่างเช่น : NetSuite ERP, Oracle E-Business Suite, SAP ERP, Sage 100c, PeopleSoft, Epicor ERP, SAP S/4HANA, and Oracle ERP Cloud (Investopedia, 2017b) โปรโตคอลเครือข่ายคือ \"มาตรฐานและนโยบายท่ีเป็น ทางการซ่ึงประกอบด้วยกฎระเบียบขั้นตอนและรูปแบบที่ กาหนดการส่ือสารระหว่างสองเคร่ืองข้ึนไปผ่านเครือข่าย\" โปรโตคอลเครือข่ายควบคุมกระบวนการข้อมูลแบบ end- to-end ของข้อมูลท่ีมีอยู่อย่างปลอดภัยและมีการจัดการ หรอื การสอ่ื สารเครอื ข่าย

49 ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น : communication protocols, such as TCP/IP and HTTP Network security protocols: Implement security over network communications and include HTTPS, SSL and SFTP (Technopedia, 2017c) 2.5 การวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยนื ยัน (Confirmatory Factory Analysis) 2.5.1 ความหมายของการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเชิงยนื ยัน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจะใช้กรณีที่ผู้ศึกษาทราบโครงสร้าง ความสัมพันธ์ของตัวแปร หรือคาดว่าโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรควรจะเป็นรูปแบบใด หรือ คาดว่าตัวแปรใดบา้ งท่มี คี วามสมั พนั ธ์กันมากและควรอยู่ในองค์ประกอบเดียวกัน หรอื คาดว่ามตี วั แปร ใดที่ไม่มีความสัมพันธ์กัน ควรจะอยู่ต่างองค์ประกอบกัน หรือกล่าวได้ว่า ผู้ศึกษาทราบโครงสร้าง ความสัมพันธ์ของตัวแปร หรือคาดไว้ว่าโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรเป็นอย่างไรและจะใช้ เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันมาตรวจสอบหรือยนื ยันความสัมพันธ์วา่ เป็นอย่างท่ีคาดไว้ หรือไม่ โดยการวิเคราะหห์ าความตรงเชิงโครงสรา้ งน่นั เอง เพชรนอ้ ย สิงห์ช่างชัย (2549) ได้กล่าวไว้ว่า การวิเคราะห์องค์ประกอบเป็นเทคนิค ทางสถิติ สาหรับวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัว (Multivariate analysis techniques) ที่ออกแบบมาเพ่ือ ช่วยให้นักวิจัยได้ใช้แสวงหาความรู้ความจริงดังกล่าว เช่น นักวิจัยสามารถใช้การวิเคราะห์ องคป์ ระกอบเชงิ สารวจ (Exploratory Factor Analysis หรือ EFA) ในการพฒั นาทฤษฎี หรือนกั วจิ ัย สามารถใชก้ ารวเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis หรอื CFA) ในการ ทดสอบหรอื ยนื ยนั ทฤษฎี กัลยา วานิชบญั ชา (2551) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า เป็นการวเิ คราะห์หลายตวั แปรเทคนิคหนึง่ เพ่ือการสรุปรายละเอียดของตัวแปรหลายตัว หรือเรียกว่าเป็นเทคนิคที่ใช้ในการลดจานวนตัวแปร เทคนิคหนึ่งโดยการศึกษาถึงโครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปร และสร้างตัวแปรใหม่เรียกว่า องค์ประกอบ โดยองค์ประกอบท่ีสร้างข้ึนจะเป็นการนาตัวแปรท่ีมคี วามสัมพันธ์กนั หรอื มคี วามรว่ มกัน สูงมารวมกันเป็นองค์ประกอบเดียวกัน ส่วนตัวแปรที่อยู่คนละองค์ประกอบมีความร่วมกันน้อย หรือไม่มีความสมั พันธก์ ัน Steven, J.P. (2009) ได้กล่าวไว้วา่ ในปัจจุบันการวิเคราะห์องค์ประกอบเชงิ ยืนยัน ได้รับความนิยมมากข้ึนและเข้ามาแทนที่การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ ท้ังนี้เป็นเพราะการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจมีข้อจากัดหลายประการ เช่ น มีรูปแบบการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ส่งผลให้ผลการวิเคราะห์ที่ได้ไม่สอดคล้องกันบ่อยพบว่า องค์ประกอบท่ีได้แปลความหมายค่อน ข้างยากเพราะองค์ประกอบ จะมีองค์ประกอบของตัวแปรสังเกตได้ ที่มีเนื้อหาไม่ค่อยสอดคล้องกัน เน่ืองจากการพิจารณาว่าองค์ประกอบ (Factor) ใดควรประกอบด้วยตัวแปรสังเกต (observed variable) และตัวใดด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ นั้นเป็นการจัดกลุ่มตามค่าทางสถิติ มากกว่า เน้ือหาทฤษฎี นอกจากน้ีข้อตกลงเบ้ืองต้นบางประการของการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง สารวจ ยังค่อนข้างเข้มงวดและไม่สอดคลอ้ งกบั ความเป็นจริง เช่น ตวั แปรทส่ี ังเกตได้ทุกตัวเป็นผลมา

50 จากองค์ประกอบร่วมทุกตัวหรอื ความคลาดเคล่ือน ของตัวแปรสังเกตได้ไมม่ ีความสัมพันธ์กัน ซ่ึงการ วเิ คราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันสามารถแก้ปัญหาของการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจได้เกือบ หมด (เสรี ชดั แชม้ , 2547) โดยสรุปการวิเคราะห์องค์ประกอบ หมายถึง เทคนิควิธีทางสถิติที่จะจับกลุ่มหรือ รวมกลุ่ม หรอื รวมตัวแปรที่มีความสัมพนั ธก์ ันไวใ้ นกลุ่มเดียวกัน ซึ่งความสัมพนั ธ์เปน็ ไปไดท้ ้ังทางบวก และทางลบตัวแปรภายในองค์ประกอบเดียวกัน จะมีความสัมพันธ์กันสูง ส่วนตัวแปรที่ต่าง องค์ประกอบจะสัมพันธ์กันน้อยหรอื ไมม่ ี สามารถใช้ได้ทั้งการพัฒนาทฤษฎีใหม่ หรือการทดสอบหรือ ยนื ยันทฤษฎีเดิม 2.5.2 ความสัมพันธ์ของตัวแปรแฝงต่อตัวแปรประจักษ์ (Observed Variable) โดย แบบจาลองสมการโครงสร้างได้รับการพัฒนาต่อเนื่องมาจากการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) (สมชาย, 2551; Garson, 2005) ซงึ่ เน้นการค้นหาความสัมพันธแ์ ละทิศทางของความสัมพันธ์ระหวา่ ง ตัวแปรต่างๆ (Wright, 1934) แต่เน่ืองจากวิธีการวิเคราะห์เส้นทางใช้หลักการวิเคราะห์การถดถอย เป็นฐาน ทาให้มีข้อจากัดในด้านความเป็นเส้นตรงของความสัมพันธ์ (Linearity of Relationship) ระหวา่ งตัวแปรและปัญหาความสัมพนั ธม์ ากระหวา่ งตวั แปรอิสระ (Multicollinearity) ท่อี ยู่ในสมการ เดียวกัน ดังนั้น (Joreskog, 2006) จึงได้พฒั นาวิธีการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์โดยวิธีการวิเคราะห์ ปัจจัยเชงิ ยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) ซึ่งจะนาตัวแปรจากวิธีการวิเคราะหป์ ัจจัย เชิงสารวจ (Exploratory Factor Analysis : EFA) มาช่วยในการรวบรวมตัวแปรท่ีเป็นกลุ่มเดียวกัน ไว้เป็นปัจจัย (Component หรือ Factor) ก่อนนามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ต่อไป การวิเคราะห์ใช้ วธิ ีการประมาณค่าความเสมือนสูงสุด (Maximum Likelihood Estimation : MLE) ของแบบจาลอง ปัจจัย (Priori Factor Models) จากน้ันทดสอบสมมติฐานไค-สแควร์ เปรียบเทียบรูปแบบ ความสัมพันธ์เชิงประจักษ์ (Observed Pattern of Relationship) ระหว่างตัวแปรประจักษ์กับ แบบจาลองปัจจยั ทีไ่ ด้กาหนดขึ้นมาขา้ งต้น เพอ่ื ยืนยนั ว่าตวั แปรมคี วามสัมพันธ์กันจรงิ ตามแบบจาลอง ท่ไี ดก้ าหนดขน้ึ มา โดยสามารถตรวจสอบความเหมาะสมของแบบจาลองได้จากคา่ ดัชนตี ่าง ๆ ได้แก่ 2.5.2.1 ค่าไค-สแควร์ (Chi-Square : 2 ) คอื วิธีขนั้ พ้นื ฐานในการตรวจสอบความ เหมาะสมกับค่าไค-สแควร์ (Chi-Square : 2 ) คือ วิธีข้ันพื้นฐานในการตรวจสอบความเหมาะสมกับ ตัวแบบต่อข้อมูลตัวอย่าง นั่นคือ ค่าไค-สแควร์ ต้องไม่มีนัยสาคัญ (Non Significance) หรือต้องมี คา่ มากกวา่ 0.05 (P-Value > 0.05) จงึ จะเป็นค่าทีย่ อมรับได้ 2.5.2.2 ค่ารากที่สองของความผิดพลาดของการประมาณการ หรือ RMSEA (Root Mean Square Error of Approximation) คือ ค่าที่บอกถึงความไม่สอดคล้องกันของแบบจาลองท่ี สร้างขึน้ กับเมตริกความแปรปรวนร่วมของประชากร สาหรับ RMSEA ที่มีคา่ น้อยกว่า 0.05 แสดงว่า แบบจาลองมีความสอดคล้องกันแนบสนิท (Close Fit) ถ้ามีค่าอยู่ระหว่าง 0.05 ถึง 0.08 แสดงว่า แบบจาลองมีความสอดคล้องกันในระดับดีพอสมควร ถ้ามีค่าอยู่ระหว่าง 0.08 ถึง 0.10 แสดงว่า แบบจาลองมีความสอดคล้องกันในระดับปานกลาง แต่ค่าที่ใช้ได้และถือว่าแบบจาลองที่สร้างขึ้นมี ความสอดคลอ้ งกันควรมีคา่ ไม่เกิน 0.05 (RMSEA < 0.05) ดังสมการท่ี (2-1)

51 RMSEA  ˆ (2-1) (n 1) df โดย RMSEA คือ ค่ารากท่สี องของความผดิ พลาด ˆ คอื ค่าตา่ สุดของฟงั กช์ ันความกลมกลนื df คือ ช้นั แหง่ ความอิสระ n คอื จานวนกลมุ่ ตวั อย่าง 2.5.2.3 ค่าดชั นีความกลมกลืนหรอื ความเหมาะสมของตัวแบบหรือ GFI (Goodness of Fit Index) คอื การพิจารณาจากความผันแปรและความผันแปรรว่ มที่แบบจาลองสามารถอธิบาย ว่าแบบจาลองจะสามารถผลิตเมทริกซ์ความผันแปรร่วมที่ได้จากการสังเกตดีเพียงใด หากนาค่า GFI มาปรับค่าด้วยค่าความเป็นอิสระจะได้ค่า AGFI (Adjusted Goodness of Fit Index) เพื่อใช้ เปรียบเทยี บแบบจาลองการวิจัยว่ามีความกลมกลนื สูงกว่าตัวแบบอิสระหรอื ไม่ (ตวั แปรสังเกตทั้งหมด เป็นอิสระจากกัน) โดยจะแสดงเพียงค่ามากน้อยขอ งความกลมกลืนแบบจาลองการวิจัย สงู กว่าตัวแบบอิสระ ค่าทย่ี อมรับได้ คือ ตอ้ งมากกวา่ 0.9 (GFI, AGFI > 0.90) ดังสมการท่ี (2-2) GFI  1 F[ S , ( )] (2-2) F[S,  (0)] โดย GFI คอื ค่าดชั นีความกลมกลนื หรือความเหมาะสมของตัวแบบ F[S, ( )] คือ ค่าต่าสดุ ของฟังก์ชันความกลมกลนื ของโมเดลจาก พารามิเตอร์  [S,(0)] คือ คา่ F ของโมเดลที่ไม่มีพารามเิ ตอร์ในโมเดล 2.5.2.4 มาตรวัดขนาด (Critical N : CN) คือ การพิจารณาว่า ขนาดของตัวอย่าง เพียงพอหรือไม่ ซึ่งโดยทั่วไปขนาดของตัวอย่างควรมีขนาดตั้งแต่ 200 ตัวอย่างข้ึนไป ในกรณีท่ีไม่ ทราบค่า Critical เกณฑ์ของค่า HI คือ 75 หากค่า HI ต่ากว่า 75 จะเป็น Poor Model Fit โดยมาก จะคานวณหาค่าของ n ในกรณีท่ี 2 อยู่ในตาแหน่ง Significant พอดี เพื่อให้ทราบจานวนของ n น้อยที่สุดทแ่ี บบจาลองจาเป็นตอ้ งใช้ในการสร้างแบบจาลอง โดยพจิ ารณาจากคา่ Hoelter’s N Index : HI ดังสมการท่ี (2-3)

52 HI  (1.645  (2df  1) )2 1 (2-3) 2 2 (n 1) โดย HI คอื ค่าของขนาดข้อมูล (Hoelter’s N Index) df คือ ช้ันแห่งความอิสระ n คือ จานวนกล่มุ ตวั อย่าง 2 คอื ค่าไค-สแควร์ (Chi-Square) 2.5.2 ขั้นตอนในการวิเคราะห์ประกอบเชิงยืนยัน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน ได้แก่ 1. การกาหนดข้อมูลจาเพาะของข้อมูล 2. การระบุความเป็นไปได้ เพียงค่าเดียวของโมเดล 3. การประมาณค่าพารามิเตอร์ 4. การประเมินความสอดคล้องของโมเดล (Schuumacker & Lomax, 2010) 2.5.2.1 การกาหนดข้อมูลจาเพาะของโมเดล (model specification) เ ป็นการ กาหนด ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปรต่างๆ ซ่ึงเป็นการกาหนดโมเดลการวัดตามทฤษฎีที่ผู้วิจัย คาดการณ์ ไว้ว่าตัวแปรแฝงแต่ละตัวประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้หรือตัวชี้ วัดตัวใดบ้างซ่ึงในการ วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ตัวแปรสังเกตได้ แต่ละตัวต้องถูกอธิบายด้วยตัวแปรแฝงเพียงตัว เดียว (Unidimensional Measures) หรือค่า Crossloading มีค่าเท่ากับ 0 ต่างจากการวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงสารวจที่ตัวแปร สังเกตได้ถูกอธิบายด้วยตัวแปรแฝงทุกตัว การท่ีตวั แปรสังเกต 1 ตัว มคี วามสมั พันธ์กบั ตวั แปรแฝง มากกว่า 1 ตัว แสดงใหเ้ หน็ ว่าเครอ่ื งมอื ทีผ่ ู้วิจัย สร้างอาจขาดความตรง ตามภาวะสันนิษฐาน (construct validity) 2.5.2.2 การระบุความเป็นไปไดเ้ พียงค่าเดียวของตัวโมเดล (Model identification) การประมาณค่าพารามิเตอร์จะทาได้ก็ต่อเมื่อโมเดลท่ีสร้างสามารถระบุความเป็นไปได้ ของ พารามิเตอร์เพียงค่าเดียว การระบุความ เป็นไปได้ค่าเดียวของโมเดลอาศัยกฎของ t ก็คือ โมเดลท่ี ระบุได้พอดีต้องมีจานวนพารามิเตอร์ที่ต้องประมาณค่าน้อยกว่าจานวนสมาชิกในเมทริกซ์ความ แปรปรวนร่วม (Variance-Covariance Matrix) ของตัวแปรสังเกตได้หรือสามารถคานวณได้จากสตู ร t ≤ (p)(p+1)/2 โดยค่า t คือ จานวนพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่า p เป็นจานวนตัวแปรที่สังเกตได้ของ โมเดล หากพารามิเตอร์ที่ไม่ทราบค่ามีจานวนมากกว่าจานวนสมาชิกในเมทริกซค์ วามแปรปรวนร่วม ของตัวแปรสังเกตได้ โมเดลท่ีสร้างจะไม่สามารถประมาณค่าพารามิเตอร์ได้ ซึ่งโมเดลชนิดน้ีเรียกว่า โมเดล ระบุไม่พอดี (underidentified model) หากจานวนสมาชิกในเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วม ของตัวแปรสงั เกตได้ มีจานวนเท่ากับจานวนพารามิเตอร์ท่ีไม่ทราบคา่ จะเรียกโมเดลน้วี ่าโมเดลท่รี ะบุ พอดี (just identified model) โมเดลชนิดนี้จะมี degree of freedom เท่ากับศูนย์ส่งผลให้ค่า goodness of fit

53 2.5.2.3 การประมาณค่าพารามเิ ตอร์ (Parameter estimation) เปน็ การนาข้อมูล จากตัวแปรสังเกตมาประมาณค่าพารามิเตอร์ เช่น ค่าน้าหนักองค์ประกอบค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบ ค่าเศษเหลือในการประมาณ ค่าพารามิเตอร์จะมีลักษณะเป็นการทวนซ้า (iteration) โดยการประมาณค่าPopulation Covariance Matrix (∑) ให้มีความคลาดเคล่ือนนอ้ ยทส่ี ุดเมื่อนามา เทียบกับ Sample Covariance Matrix (S) ซึ่งได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์จากกลุ่ม ตัวอย่าง วิธีการ ประมาณค่าพารามิเตอร์นั้น มีการประมาณค่าหลายแบบท่ีนามาใช้ในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิง ยืนยนั เช่น Maximum likelihood (ML), Generalized least square (GLS), Weight least square (WLS) ซึง่ มีลกั ษณะเหมาะสมกับข้อมลู ที่แตกตา่ งกันออกไป เช่น Maximum likelihood และ GLS มี ลักษณะคล้ายกันคือ เหมาะกับข้อมูลท่ีมีการแจกแจง multi normal distribution และมีกลุ่ม ตวั อย่างขนาดใหญ่ ส่วน วิธีการ Weight least square (WLS) ต้องการกลุ่ม ตัวอย่างขนาดใหญ่ แต่ เหมาะกับข้อมูลท่ีไม่ได้ แจกแจงเป็น multi normal distribution (Schuumacker & Lomax, 2010) ในการประมาณค่าพารามิเตอร์นั้น จานวนกลุ่มตัวอย่างมีผลต่อการประมาณค่าจานวนกลุ่ม ตัวอยา่ งท่ีน้อยเกินไปจะส่งผลให้ค่าพารามิเตอร์ที่ประมาณได้ไม่มีความคงเส้น ไดม้ ีผู้เสนอจานวนกลุ่ม ตัวอย่างในการวิเคราะห์ที่เหมาะสมไวห้ ลากหลาย เชน่ (Hair และคณะ, 2010) ได้กลา่ วไว้ว่า ควรจะมี กลมุ่ ตวั อย่าง อยา่ งนอ้ ย 200 คน (Tabachnick & Fidell, 2007) ได้กลา่ วไว้วา่ ให้พิจารณาขนาดของ กลุ่มตัวอย่างให้เหมาะสมกับขนาดของโมเดล ตัวอย่างเช่น กลุ่ม ตัวอย่างตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป เหมาะสมกับโมเดลขนาดกลาง (Costello และ Osborne, 2005 อ้างใน Schumacker & Lomax, 2010) วา่ กลุ่มตัวอยา่ งควรมีจานวน 20 เทา่ ของตัวแปรสังเกตได้ หากพบปัญหาการระบุความเป็นไป ไดค้ า่ เดียวหรอื ปัญหาจากตัวบ่งช้ีบางตัว 2.5.2.4 การประเมินค่าความสอดคล้องของโมเดล (Assessing measurement Model Validity) ในการประเมนิ ความสอดคล้องกนั ของโมเดลผู้วิจัยต้องเริ่มต้นตรวจสอบวา่ ค่าพารามิเตอร์ท่ี ได้มคี วามสมเหตสุ มผลหรือไม่ ดงั ทก่ี ล่าวไปแลว้ เพราะโมเดลที่มีสอดคล้องดี อาจมคี ่าพารามิเตอรท์ ่ไี ม่ เหมาะสม เม่ือตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ที่ได้แล้วผู้วิจัยจึงมาตรวจสอบค่าความสอดคล้องของโมเดล ในการตรวจสอบความสอดคล้องกนั ของโมเดลจะทาใน 2 สว่ นคอื การประเมนิ ความสอดคล้องของท้ัง โมเดล (Over all goodness of fit) และความสอดคล้องในรายตัวแปร (path estimation) ความ สอดคล้องของทั้งโมเดล (Over all goodness of fit) เป็นการตรวจสอบเพ่ือยืนยันว่าโมเดล ทฤษฎีการวดั ที่สร้างข้นึ มีความสอดคล้องกับข้อมลู เชงิ ประจักษ์ ในอดีตพจิ ารณาจากค่า X2 ท่ไี ดต้ ้องไม่ มีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งหมายถึงโมเดลพัฒนาขึ้นมาไม่มีความแตกต่างกับข้อมูลเชิงประจักษ์อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ อย่างไรกต็ ามค่า X2 ท่ี คานวณได้รับผลกระทบจากขนาดกลุ่มตัวอย่างท่ใี หญ่ หรือ ขอ้ มูลท่ี คลาดเคลอ่ื นไปจากสมมุตฐิ านเบือ้ งต้น จึงควรพิจารณาจากค่าสถิตติ ัวอ่ืนๆ ด้วยดัชนีวดั ความ กลมกลืนตัวอ่ืนๆ มีมากมาย ดัชนีความสอดคล้องท่ีเป็นทน่ี ิยมได้แก่ Goodness of Fit Index (GFI), Comparative Fit Index (CFI), Adjusted goodness of fit index (AGFI), Standardized root mean square residual (SRMR), และ Root mean square error of approximation (RMSEA) โดย (Schumacker และ Lomax, 2010) ได้เสนอว่า GFI, AGFI และ CFI ท่ีมากกวา่ 0.90 - 0.95 คือ โมเดลทฤษฎีการวัดท่ีสรา้ งมคี วามสอดคล้องกับขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ส่วน Standardized RMR ถ้ามีค่า ตา่ กวา่ 0.05 แสดงว่า โมเดลที่ได้มีความสอดคล้องกบั ขอ้ มูลดี ส่วน RMSEA ทถี่ ้ามคี ่าต่ากวา่ 0.05 ถึง

54 0.08 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี เนื่องจากเกณฑ์การพิจารณาความ สอดคล้องของโมเดลมีจานวนหลากหลายตัว (เสรี แช่มชัด, 2547) ได้เสนอแนะว่าให้เลือกพิจารณา ดัชนีความสอดคล้องจากดัชนี GFI, AGFI, CFI, SRMR, และ RMSEA ส่วน (Schumacker และ Lomax, 2010) ได้เสนอให้พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของ การวิจัย เช่น หากต้องการยืนยันโมเดลที่ สรา้ งทมี่ เี พยี งโมเดลเดยี ว ให้ใช้ดชั นีในกลุม่ Absolute Measure เชน่ GFI, AGFI ,SRMR, RMSEA แต่ ถ้าต้องการเปรียบเทียบความเหมาะสมระหว่าง โมเดลต่างกันควรใช้กลุ่ม Incremental Measure เช่น CFI, NFI อย่างไรก็ตามแม้ผู้วิจัยจะพบว่าโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์มีความสอดคล้องกันแล้ว แต่สงิ่ ท่พี ึงตระหนักก็คอื อาจมโี มเดลทางเลอื กอ่ืนๆ ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งกนั อกี ด้วย 2.6 การทานายโดยใชจ้ ักรกลการเรยี นรู้ (Prediction Using Machine Learning) บริษทั การ์ดเนอรน์ าเสนอพัฒนาเทคโนโลยีในปี ค.ศ. 2018 ผ่านกราฟเรยี กว่า Hype Cycle ดังภาพที่ 2-7 โดยจักรกลการเรียนรู้ (Machine Learning: ML) อยู่ในระยะท่ี 2 (Peak of inflated Expections) เป็นระยะที่เทคโนโลยีดังกล่าวเป็นที่รับรู้มากขึ้น โดยเป็นพ้ืนฐานให้กับ 10 แนวโน้ม เทคโนโลยีสาหรับปี ค.ศ. 2019 ซึ่งถูกจัดอยู่ในอันดับ 5 ซ่ึงจักรกลการเรียนรู้ (ML) คือ ผู้ช่วยและ สิ่งของท่ีสามารถเรียนรู้และโต้ตอบได้อย่างอัตโนมัติ (Autonomous Agents and Things) ซึ่ง เทคโนโลยเี หล่านี้จะเป็นเทคโนโลยีทถี่ กู พัฒนาตอ่ เนื่องยาวนานไปอกี 20 ปี ภาพท่ี 2-7 Hype Cycle for Midsize Enterprises, 2018 จักรกลการเรียนรู้ (ML) เปน็ สาขาหน่ึงของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) โดยใช้ แบบจาลองทางคณิตศาสตร์เพื่อดึงความรู้และรูปแบบจากข้อมูล ความพยายามที่จะทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้ได้เหมือนมนุษย์ วิธีจักรกลการเรียนรู้มีประสิทธิผลในการบ่งบอก

55 คณุ สมบัตแิ ละแพทเทิร์นทีเ่ ปน็ ประโยชน์จากชุดข้อมูล (Data set) หากนาจักรกลการเรียนรู้เข้ามาทา หน้าทที่ ดแทนมนุษย์ในการอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลของการทานายอาชีพดจิ ิทลั ของบัณฑติ ไดอ้ ัตโนมัติ ก็จะทาให้บัณฑิตได้งานตรงตามคุณลักษณะของสถานประกอบการ และยังลดค่าใช้จ่ายในการสอบ สัมภาษณง์ านอีกด้วย IBM Developer (2017) ได้กล่าวไว้ว่า แบบจาลองสาหรับจักรกลการเรียนรู้ (Models for machine learning) อัลกอริทมึ ทใ่ี ช้ในจกั รกลการเรียนรนู้ ้นั แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การเรียนรู้แบบมีผู้สอน (Supervised learning) เป็นแบบจาลองการเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย การเรียนรู้ในรูปแบบที่อยู่ภายใต้การดูแลสร้างการทางานท่ีสามารถฝึกอบรมได้โดยใช้ชุดข้อมูลการ ฝึกอบรมจากน้ันนาไปใช้กับข้อมูลท่ีมองไม่เห็นเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพการทานาย เป้าหมาย คือ การเรียนรู้ของเคร่ืองที่พูดได้ว่าเป็นการเรียนแบบจับมือสอน เพราะเราต้องเอาความรู้ท่ีมีท้ังคาถาม และคาตอบ ให้เคร่ืองหาความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและคาตอบ ยกตัวอย่างเชน่ เราจะสอนเครือ่ งให้ รจู้ กั หมากับแมว เราก็จะทาการสอนด้วยชุดข้อมลู สอน (Training Data) 2. การเรียนรู้โดยไม่มีผู้สอน (Unsupervised learning) เป็นการเรียนรู้ท่ีเคร่ืองสามารถ เรยี นรู้ได้โดยไม่มีการสอน (ไม่มีคาตอบให้) เรามเี พียงชุดขอ้ มลู ทป่ี ระกอบไปด้วยคณุ ลกั ษณะเท่านั้น 3. การเรียนรู้แบบเสริมกาลัง (Reinforcement learning) การเรียนรู้ท่ีใช้วิธีการให้รางวัล (reward) หรือลงโทษ (punishment) เพ่ือที่จะขับเคล่ือนให้ agent นั้นๆ ไปในทิศทางเป้าหมายที่ ระบุไวไ้ ด้ ภาพที่ 2-8 อลั กอริทึมแบบจาลองสาหรับจักรกลการเรียนรู้ 2.6.1 การทานาย (Prediction) หมายถงึ การประมาณ หรือการคาดคะเนว่าอะไรจะเกิดข้ึน ในอนาคต เช่น การทานายยอดขายของ 3 ปีข้างหน้า การทานายมีบทบาทสาคัญกับทุกด้าน ทั้งหน่วยงานของรัฐบาล และเอกชน รัฐบาลต้องประมาณ หรือ ทานายรายได้ รายจ่ายในปีหน้า เพ่ือนามาวางแผน เอกชนต้องทานายยอดขาย เพื่อนามาวางแผนการผลิต สินค้าคงคลัง แรงงาน การทานายแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

56 2.6.1.1 การทานายเชิงปริมาณ (Quantitative methods) เป็นการทานายที่ใช้ ข้อมูลเชิงปริมาณ (ตัวเลข) ในอดีตเพื่อนามาทานายค่าในอนาคต โดยสร้างตัวแบบทางคณิตศาสตร์ การทานายประเภทนีแ้ บง่ ออกเปน็ 2 เทคนิคย่อย คอื ก) การทานายความสัมพันธ์ (Casual Forecasting) เป็นการทานายโดย พิจารณาความสมั พันธ์ของตัวแปร จากท่ีตัวแปรตัวหนง่ึ (dependent variable) แปรตามตัวแปรอีก ตัวหนึ่ง (independent variable) วิธีท่ีนิยมใช้มากคือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (linear regression analysis) ซึ่งจะมีการพิจารณาถงึ ตัวแปรท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ สงิ่ ทจี่ ะทาการทานาย สว่ นตวั แบบ แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร (casual model) เป็นการทานายโดยพิจารณาความสัมพันธ์ของตัว แปร จากที่ตัวแปรตัวหน่ึง (dependent variable) แปรตามตัวแปรอีกตัวหน่ึง (independent variable) วธิ ีท่ีนยิ มใช้มากคอื การวิเคราะหก์ ารถดถอยเชิงเส้น (linear regression analysis) ซ่ึงจะ มีการพิจารณาถึงตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อส่ิงที่จะทาการทานาย เช่น การทานายยอดขาย เครื่องปรับอากาศจะมีตัวแปรของจานวนบ้านพัก ราคาสินค้าของคู่แข่งขัน และงบประมาณการ สง่ เสริมการขายทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ยอดขายของกจิ การ ข) การทานายอนุกรมเวลา (Time series Forecasting) เป็นการทานาย โดยใชข้ ้อสมมตฐิ านวา่ อนาคตเป็นฟังก์ชันของอดีต หรอื กลา่ วอีกนัยหนงึ่ ว่าเปน็ การทานายอนาคตโดย ใชข้ ้อมูลในอดีตจานวนหนง่ึ เชน่ ถ้าตอ้ งการทานายยอดขายสปั ดาห์หน้าของเครือ่ งปรบั อากาศก็จะใช้ ยอดขายรายสัปดาห์ในอดีตที่ผา่ นมาของเครอื่ งปรับอากาศมาทาการทานาย การทานายโดยใชต้ วั แบบ อนุกรมเวลาจึงสมมติว่ารูปแบบของข้อมูลท่ีดาเนินมาในอดีตจะเป็นการบอกอนาคตและผู้ท่ีทาการ ทานายมน่ั ใจว่าอนาคตไมม่ อี ะไรเปลยี่ นแปลงเป็นอีกแบบ การทานายโดยใช้ตวั แทนของอนุกรมเวลา จะเป็นการทานายอนาคตจากข้อมูลในอดตี เท่านั้นโดยไม่สนใจตัวแปรอื่นๆ และเวลาจะแบ่งเป็นช่วง ห่างเท่าๆ กัน เรียงตามลาดับไป เช่น รายสัปดาห์ รายเดือน รายไตรมาส และรายปี เป็นต้น 2.6.2 องค์ประกอบของอนุกรมเวลา การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเป็นการแตกข้อมูลในอดีต ออกเป็นส่วนประกอบต่างๆ และทาการคาดคะเนอนาคต โดยอนกุ รมเวลา มี 4 องค์ประกอบดว้ ยกัน คือ แนวโน้ม ฤดกู าล วัฎจักร และการผันแปรที่ไม่แน่นอน 2.6.2.1 การทานายเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Methods) เป็นการทานายท่ีใช้ผู้ท่ี มีประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ เป็นผู้ทานาย โดยไม่ใช้ตัวแบบทางคณิตศาสตร์ จึงตรวจสอบ ความแมน่ ยาของการทานายไดย้ ากกว่าการทานายเชิงปริมาณ การทานายเชงิ คุณภาพประกอบดว้ ย ก) การคาดคะเน หรอื ประมาณการ (Judgment) วิธีน้ีมกั ใชก้ บั ธุรกจิ ขนาด เล็กท่ีมเี จา้ ของคนเดยี วหรือหน่วยงานขนาดเล็กท่ีหัวหน้ามอี านาจเต็ม ข) การระดมความคดิ (Jury of Executive Operation) วธิ นี ี้เปน็ การระดม ความคิด หรือประชุมกลมุ่ ผ้บู รหิ ารของบริษทั ค) การทานายยอดขาย (Sale Force Composite Forecasts) เป็นการ ทานายโดยใหแ้ ตล่ ะฝ่าย ง ) ท า น า ย โ ด ย ก า ร ส า ร ว จ ต ล า ด ( Survey of Expectations and Anticipations) เป็นการทานายยอดขายโดยทาการสารวจลูกค้าหรือผู้ที่คาดว่าจะเป็นลูกค้าเพ่ือ

57 ตรวจสอบว่าในอนาคตลูกค้าต้องการสินค้าอะไรบ้าง จานวนเท่าใด ด้วยการทาวิจัยตลาด ซ่ึงอาจใช้ การสัมภาษณ์ตวั ต่อตัว โทรศพั ท์ หรอื จดหมาย เปน็ ตน้ จ) การทานายด้วยเทคนิคเดลฟาย (Delphi) เทคนิคเดลไฟเป็นเทคนิคท่ี แกข้ ้อเสียของวิธีระดมความคดิ ซงึ่ อาจก่อใหเ้ กิดความเอนเอียง หรือคลอ้ ยตามผู้อ่ืน เทคนิคเดลไฟ จึง แกป้ ญั หาโดยการไมใ่ ห้ผู้บรหิ ารพบปะกัน หรือมาประชมุ กนั หรอื ระดมความคิดเหน็ กนั ซงึ่ ๆหนา้ แต่จะ ส่งคาถามเกีย่ วกับสิง่ ท่ีต้องการทานายให้ผ้บู ริหารทกุ คนเขยี นตอบมา พรอ้ มท้ังระบเุ หตผุ ล 2.6.3 กฎพื้นฐานที่ควบคุมกระบวนการเรียนรู้ ของจักรกลการเรียนรู้ (ML) เพื่อเป็นการต้ัง คาถามเพ่อื หาวิธีที่สามารถสร้างระบบคอมพวิ เตอร์ท่ีปรับปรุงโดยอัตโนมัติด้วยประสบการณ์และกฎ พ้ืนฐาน ในปจั จบุ นั วธิ กี ารจาแนกแบบสมั พันธ์ (Associative Classification) สาหรับการจาแนกความ คิดเห็นทางการเมือง (พนิดา ทรงรัมย์, 2559) การจาแนกด้วยอัลกอริทึมต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) อลั กอริทึมนาอฟี เบย์ (Naïve Bayes) อัลกอริทมึ ซพั พอร์ตเวกเตอร์แมชชนี (Support Vector Machine) สาหรับจาแนกข่าวภาษาอังกฤษด้านอาชญากรรม (ทิชากร เนตรสุวรรณ์ และไกรศักดิ์ เกษร, 2558) หรือวิเคราะห์ ข้อเสนอแนะจากบทวิจารณ์รายการโทรทัศน์ (กานดา แผ่วัฒนากุล, 2555) และอลั กอริทึมเพ่ือนบา้ นใกลท้ ี่สดุ (K-Nearest Neighbor) ในการจาแนกกลมุ่ คาถามอัตโนมัติ บนกระดาน สนทนา (ราชวิทย์ ทิพย์เสนา และคณะ, 2557) มีหลายอัลกอริทึมที่ใช้ในการจาแนก ขอ้ มูล ซ่ึงแต่ละอัลกอริทึมมลี ักษณะพืน้ ฐาน การทางานท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นงานวจิ ัยนีจ้ ึงมแี นวคิดใน การหาอัลกอริทึมที่เหมาะสมท่ีสุดสาหรับการจาแนกข้อความที่ แตกต่างกัน โดยการเลือกใช้ อัลกอริทึมท่ีมีลักษณะพ้ืนฐานท่ีต่างกัน เช่น ฐานกฎ (Rule based Classifier) ฐานต้นไม้ตัดสินใจ (Tree based Classifier) ฐานความน่าจะเป็น (Probability based Classifier) และฐานการเรียนรู้ (Learning based Classifier) 2.6.4 อลั กอริทึมเก่ียวกับการจาแนกขอ้ มูล โดยทาการศึกษาอลั กอริทึมท่ีมลี ักษณะพืน้ ฐานที่ แตกต่างกัน ในท่ีน้ีศึกษา 4 พื้นฐาน ได้แก่ ฐานกฎ ฐานตน้ ไม้ตัดสินใจ ฐานความน่าจะเปน็ และฐาน การเรยี นรู้ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี 2.6.4.1 อัลกอริทึมฐานกฎ คือ กฎความสัมพันธ์ (Association Rules) เป็นการหา ความสัมพันธ์ของขอ้ มูลสองชดุ หรือมากกว่าสองชดุ ขึ้นไปภายใน กลมุ่ ข้อมูลท่ีมขี นาดใหญ่ โดยทาการ หารูปแบบท่ีเกิดขึ้นบ่อย (Frequent Pattern) และใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์หรือทานาย ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ก) การหากฎความสัมพนั ธ์น้ันจะมีข้ันตอนวิธีการหา หลายวิธี ตัวอย่างหน่ึง ของ Association Rules คือ Market Basket Analysis ใช้ในการหาความสัมพันธ์ของสินค้าที่ลูกค้า มักจะซื้อพร้อมกัน เพ่ือใช้ในการจัดรายการส่งเสริมการขาย (Trupti A. Kumbhare, et al, 2014) ข) กฎความสัมพันธ์ (Association Rule) สามารถเขียน ได้ในรูปเซ็ตของ Item ทีเ่ ปน็ เหตุ ไปสเู่ ซ็ตของ Item ทเ่ี ป็นผล โดยกาหนดให้ I = { i1, i2, …, im} เป็น set ของ Items D = {t1, t2, …, tm} เป็น set ของ Transaction ซ่ึง แต่ละ Transaction ใน D จะมีหมายเลข Transaction ID ท่ี ไม่ซ้ากันและกาหนดให้ t เป็น Subset ของ I กฎการเชื่อมต่อกัน หรือ Conjunctive Rule น้นั เปน็ อัลกอรทิ ึมประเภทหน่ึงของกฎความสัมพันธ์ ซ่ึงกฎทีใ่ ชน้ ้ันเปน็ ลักษณะ ของการใหเ้ หตผุ ลแบบอุปนัย ซึ่งเป็นการสรุปผลจาก การค้นหาความเป็นจริงทีไ่ ด้จากการสงั เกต หรือ

58 การทดลองซา้ หลาย ๆ ครงั้ จากการแบ่งเป็นกรณยี ่อยๆ หลังจากนั้นนามาสรุปให้ได้ผลลพั ธ์ (Mohd Fauzi bin Othman & Thomas Moh Shan Yau, 2007) 2.6.4.2 อัลกอริทึมต้นไม้ตัดสินใจ (Decision Tree) เป็นการนาข้อมูลมาสร้าง แบบจาลองการพยากรณ์ทีม่ ีลักษณะคลา้ ยกบั ต้นไม้ จะมีการสร้างกฎต่างๆ ข้ึนเพ่ือใชใ้ นการตัดสินใจ ซงึ่ ต้นไม้ตัดสินใจน้ันมีการทางานแบบ Supervised Learning คือ สามารถสร้างแบบจาลองการจัด หมวดหมู่ จากกลุ่มตัวอย่าง ของข้อมูลท่ีกาหนดไว้ก่อนล่วงหน้าเรียกว่า Training Set ได้ อัตโนมัติ และสามารถพยากรณ์กลุ่มของรายการท่ียังไม่เคย นามาจัดหมวดหมู่ได้ (Qiang, Qin, et al., 2002; Quadri & Kalyankar, 2010) ก) รูปแบบของลักษณะโครงสร้างต้นไม้ประกอบไปด้วย โหนด (Node) และก่ิง (Branch) ซึ่งแต่ละโหนดจะถูกแทน ด้วยคุณลักษณะ (Feature) ของชุดข้อมูลที่นามาเรียนรู้ และ ทดสอบ แต่ละก่ิงของตน้ ไม้แสดงผลในการทดสอบ และโหนดใบ (Leaf Node) แสดงคลาสทผี่ ู้ใช้ กาหนด ส่วนเกณฑ์การเลอื ก คุณลักษณะเพ่อื นามาเป็นโหนดของต้นไม้น้ันมาจากการคานวณ คา่ เกน สารสนเทศ (Information Gain) โดยพิจารณาคุณลักษณะ ท่ีมีค่าเกนสารสนเทศหรือมีค่าเอ็นโทรพี (Entropy) ที่ต่า หมายความว่า คุณลักษณะน้ันมีความสามารถในการจาแนกหมวดหมู่สูง (Changki Lee & Gary Geunbae Lee, 2006) ข) อัลกอรทิ ึม Random Forest เป็นอัลกอรทิ ึมประเภทหนง่ึ ของอลั กอริทมึ ต้นไม้ตัดสินใจที่มีลักษณะแบบไม่ตัดแต่ง ก่ิง (Unpruned) หรือต้นไม้ถดถอย (Regression Trees) ซงึ่ ถูกสร้างจากการนาข้อมูลฝึกสอนไปสุ่มเลือกตวั อย่างข้อมูล และคณุ ลักษณะข้อมูลแล้วนามาสร้าง เป็นต้นไม้ตัดสินใจซึ่ง มีตัวอย่างส่วนหนึ่งท่ีไม่ถูกเลือกจะถูกนามาใช้ในการทดสอบต้นไม้ตัดสินใจ เรียกข้อมูลส่วนน้ีว่า Out-of-Bag (OOB) ซึ่ง วิธีการน้ีเรียกว่า Bagging ผลลัพธ์ท่ีได้อย่างอิสระจาก ต้นไม้ ตัดสินใจแต่ละต้นถูกนามาคิดเป็นผลการโหวตที่มากที่สุด อัลกอริทึมRandom Forest ไม่ จาเป็นต้องมีข้อมูลทดสอบ เพื่อประมาณความผิดพลาดเพราะข้อมูล OOB น้ันถูกนามาใช้ทดสอบ ตน้ ไมต้ ดั สินใจแลว้ (Leo Breiman, 2001) 2.6.4.3 อัลกอริทมึ ฐานความน่าจะเป็น Naive Bayes ใช้หลักความน่าจะเปน็ ซ่ึงอยู่ บนพืน้ ฐาน ของทฤษฎีเบย์ (Bayes’ Theorem) โดยจะทาการวเิ คราะห์ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งตวั แปร อิสระแต่ละตวั กับตวั แปรตาม เพื่อ ใชใ้ นการสร้างเงอื่ นไขความนา่ จะเป็นของแตล่ ะความสัมพนั ธ์ ใน ทางทฤษฎแี ล้วการทานายผลของ Naive Bayes ถา้ ตัวแปรอิสระ ท้ังหมดเป็นอิสระต่อกนั ไมข่ ึน้ กบั ตัว แปรอิสระตัวใดตัวหนึ่ง ทฤษฎีเบย์ กาหนดให้ P(H) คือ ความน่าจะเป็นที่จะเกิด เหตุการณ์ H และ P(H|E) คอื ความน่าจะเปน็ ท่ีจะเกดิ เหตุการณ์ H เม่ือเกิดเหตุการณ์ E จากตัวแปรท่ีกาหนด และแนว ความ คิดของ Bayes’ Theorem นั้น สามารถทานายเหตุการณ์ท่ี พิจารณาได้จากการเกิดของ เหตุการณต์ า่ งๆ ดังสมการท่ี (2-4) P(H|E) = P(E|H)×P(H) (2-4) P(E) Bayesian Logistic Regression เป็นการนาเอาการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์ (Logistic Regression Analysis) เข้ามาช่วยเพ่อื ศึกษาความสัมพันธร์ ะหว่างตัวแปร ตามและตัวแปร

59 อิสระ เพ่ือทานายว่า จะเกิดเหตุการณ์หนึ่งข้ึน หรือไม่ หรือมีโอกาสเกิดขึ้นเพียงใด โดยมีการ กาหนดค่าตัวแปร ตัวหนึ่ง หรือหลายตัวที่คาดว่าจะส่งผลต่อการเกิดเหตุการณ์ นั้นๆ ในการการ วิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์นั้น ต้องมีการ ประมาณค่าพารามิเตอร์ ซ่ึงใช้วิธี Maximum likelihood (Brian Kulis, 2012) 2.6.4 อัลกอริทึมฐานการเรียนรู้ คือ ซัพพอร์ตเวกเตอรแ์ มชชนี (Support Vector Machine) เป็นอัลกอริทึมหนึ่งที่ใช้พ้ืนฐานการเรยี นรู้ ซ่ึงใช้ วิธีการจาแนกกลุ่มข้อมูลท่ีอาศัยระนาบการตดั สินใจ มาใช้ใน แบ่งกลุ่มข้อมูลออกเป็นสองส่วน โดยใช้หลักการสร้างเส้นแบ่ง ก่ึงกลางระหว่างกลุ่มให้มี ระยะหา่ งระหว่างขอบเขตของทง้ั สอง กลุ่มมากท่สี ุด โดยท่ซี พั พอรต์ เวกเตอรแ์ มชชนี จะใช้แม็ปฟังกช์ ่ัน (Mapping Function) สาหรับแปลงข้อมูลจากโดเมนเดิม Input Space ไปยังโดเมนท่ีเรียกว่า Feature Space และสร้าง 22 ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคอเนลฟังก์ชั่น (Kernel Function) บน Feature Space เพื่อ ใช้ในการวัดความคล้ายกันของข้อมูล สาหรับเคอเนล ฟั ง ก์ ช่ั น ไ ด้ แ ก่ Linear, Polynomail Kernel, Radial Basic Function แ ล ะ Sigmoid (Ali, Shamsuddin & Ismail, 2011) 2.7 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ 2.7.1 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ 2.7.1.1 การคานวณหาค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญและความพึงพอใจ ของผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม (ลว้ น และอังคณา, 2553) ดงั นี้ X  X (2-5) N เมื่อ X คอื คะแนนเฉลี่ย  X คอื N คือ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด จานวนคนในกล่มุ ตวั อย่าง การแปลความหมายของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ชูศรี, 2550) มรี ายละเอียดดงั น้ี ค่าเฉลี่ยคะแนนต้ังแต่ 4.51-5.00 หมายถึง เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ดุ คา่ เฉลี่ยคะแนนตง้ั แต่ 3.51-4.50 หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก ค่าเฉลยี่ คะแนนตง้ั แต่ 2.51-3.50 หมายถึง เหน็ ดว้ ยปานกลาง ค่าเฉลีย่ คะแนนตัง้ แต่ 1.51-2.50 หมายถึง เหน็ ด้วยน้อย คา่ เฉลี่ยคะแนนต้ังแต่ 1.00-1.50 หมายถงึ เห็นด้วยน้อยที่สดุ ในงานวิจัยนี้มีเกณฑ์ในการพิจารณาระดบั ความคดิ เห็นของผู้เช่ียวชาญและความพงึ พอใจของผู้ เขา้ รับการฝกึ อบรม แบบมาตราสว่ นประเมนิ คา่ 5 ระดบั (Rating Scale) ดงั นี้

60 ระดับความเหมาะสม ความหมาย 5 มคี วามเหมาะสมมากทสี่ ุด 4 มคี วามเหมาะสมมาก 3 มคี วามเหมาะสมปานกลาง 2 มีความเหมาะสมน้อย 1 มคี วามเหมาะสมนอ้ ยท่ีสดุ 2.7.1.2 การคานวณหาค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน (ลว้ นและองั คณา, 2553) S.D.    X  X 2 (2-6) N 1 เม่ือ S.D คอื คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน X คือ คะแนนแตล่ ะตัวในกลุม่ ตวั อย่าง X คอื คะแนนเฉลยี่ ของกล่มุ ตวั อย่าง N คือ จานวนคนในกลุ่มตวั อย่าง 2.7.1.3 การวเิ คราะห์ความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (ล้วน และ อังคณา, 2553) IOC   R (2-7) N เมื่อ IOC คือ คา่ ดัชนีความสอดคล้อง R คือ ผลรวมคะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ชย่ี วชาญ N คอื จานวนผเู้ ช่ียวชาญ เกณฑ์การแปลความหมายดชั นคี วามสอดคลอ้ ง มีดงั นี้ ระดับดชั นคี วามสอดคลอ้ ง ความหมาย 0.50 ถงึ 1.00 สอดคล้อง -0.50 ถงึ 0.49 ไมแ่ น่ใจ -1.00 ถงึ -0.49 ไมส่ อดคลอ้ ง ในงานวิจัยน้ีมีเกณฑ์ในการพิจารณาความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญแบบมาตราส่วนประเมินค่า 3 ระดับ (Rating Scale) ดังน้ี ระดับ +1 หมายถึง ทา่ นมีความคิดเหน็ วา่ ขอ้ คาถามสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์

61 ระดบั 0 หมายถงึ ทา่ นไมม่ ีความคดิ เหน็ หรือไมแ่ น่ใจในคาถามขอ้ น้นั ระดับ -1 หมายถึง ทา่ นมีความคิดเหน็ ว่าขอ้ คาถามไม่สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ 2.8 คลาวด์คอมพวิ ต้ิง (Cloud Computing) ภาพที่ 2-8 แบบจาลองการทางานในระบบคลาวด์คอมพิวต้ิง (Cloud Computing) ความหมายของคลาวด์คอมพิวต้ิงในแง่ของผู้ใช้บริการท่ัวไป (Consumer Users) หมายถึง การท่ีผู้ใช้งานโปรแกรมต่าง ๆ เช่น Google Facebook YouTube และ Gmail ได้จากทุกท่ี (Any Where) ทุกเวลา (Any Time) และได้จากทุกอุปกรณ์ (Any Device) ส่วนความหมายในเป็นบริษัท หรือรา้ นคา้ ที่ทามาคา้ ขาย (Corporate Users) หมายถึง การทีล่ ูกค้าของบรษิ ัท พนกั งานและผบู้ รหิ าร สามารถเรยี กใชง้ านข้อมูลหรือโปรแกรมต่าง ๆ ได้จากทกุ ท่ที ุกเวลาและทกุ อุปกรณ์ จากเดิมทีอ่ าจจะ จะกัดอยู่แต่เพียงในร้านค้าหรือในสานักงานเท่าน้ัน คลาวด์คอมพิวต้ิง จึงเป็นเทคโนโลยีท่ีช่วยให้ผู้ใช้ ไมว่ า่ จะเปน็ ผ้ใู ชท้ ัว่ ไปหรือกลมุ่ ธรุ กิจสามารถใชป้ ระโยชน์จากโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ละขอ้ มลู ได้อย่าง สะดวกขึ้น ง่ายขึ้น เร็วขนึ้ ทุกท่ี ทุกเวลาจากทุกอุปกรณ์ (Venkateswara Rao, and MeeraSaheb, 2013) องค์ประกอบสาคัญของเทคโนโลยีคลาวด์ ได้แก่ เครือข่ายส่ือสารอินเทอร์เน็ต ระบบ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Computer) คลาวด์ให้บริการระยะไกล สามารถสร้างคอมพิวเตอร์เสมือนท่ีมีทรัพยากรการประมวลผลตามท่ีผู้ใช้ต้องการและการคานวณ ค่าใช้จ่ายคลาวด์แพลตฟอร์มเป็นแบบไดนามิก จ่ายเท่าท่ีใช้จริง การกาหนดค่า Reconfigures เซิรฟ์ เวอร์ได้ตามท่ตี ้องการ มีบริการเซิร์ฟเวอร์ทีเ่ ป็นเคร่ืองทางกายภาพหรอื เสมือนเครื่องก็ได้ ซึ่งถ้า เป็นบริการระดับสูงมักจะรวมทรัพยากรคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ เช่น เครือข่ายพ้ืนท่ีจัดเก็บ (SANs) อุปกรณ์เครือข่ายไฟร์วอลล์และอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยอ่ืน ๆ ด้วย อัตราการเติบโตในปี 2016 ของผู้ใช้บริการ Cloud Data Center จะเพ่ิมสูงขึ้นเป็น 62% ของจานวนผู้ใช้ทั้งหมด ในขณะท่ีการ เกดิ ขอ้ มูลแบบเกา่ เพยี ง 38% เทคโนโลยคี ลาวด์คอมพวิ ติ้งในปจั จุบันและอนาคตปี 2015 บริการของ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook