Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต”

หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การป้องกันการทุจริต”

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2022-07-10 02:34:29

Description: หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม
“การป้องกันการทุจริต”

Search

Read the Text Version

หลักสูตรรายวชิ าเพ่ิมเตมิ “การปอ งกนั การทุจรติ ” สาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ รว มกบั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑

หลักสตู รรายวชิ าเพิ่มเตมิ “การป้องกันการทจุ รติ ” ส�ำ นกั งานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ร่วมกับ สำ�นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑

หลักสตู รรายวิชาเพม่ิ เตมิ “การปอ้ งกนั การทจุ ริต” พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ จ�ำนวนพิมพ์ ๓๗,๘๗๗ เล่ม ผู้จัดพิมพ์ ส�ำ นักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ รว่ มกบั ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พมิ พ์ท่ี ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั สาขา ๔ ๑๔๕ , ๑๔๗ ถ.เลยี่ งเมืองนนทบุรี ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙ , ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕ E-mail : [email protected] www.co-opthai.com

ค�ำ นำ� ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ได้ก�ำหนดประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ สร้างสงั คมท่ีไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ประกอบด้วย กลยุทธ์ท่ี ๑ ปรบั ฐาน ความคิดทกุ ชว่ งวยั ตงั้ แตป่ ฐมวยั เปน็ ตน้ ไปให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม กลยุทธท์ ี่ ๒ สง่ เสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อตา้ นทุจริต กลยุทธ ์ ท่ี ๓ ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต และกลยุทธ์ที่ ๔ เสริมพลัง การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน และบรู ณาการทกุ ภาคสว่ นเพอ่ื ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ จากกลยทุ ธท์ ่ี ๑ คณะกรรมการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) จงึ ไดม้ คี �ำสงั่ แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการ จัดท�ำหลกั สูตรหรอื ชุดการเรยี นรูแ้ ละสอ่ื ประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริต ซึ่งประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการให้การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ขึ้น เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และ รวบรวมขอ้ มลู ก�ำหนดแนวทางและขอบเขตในการจดั ท�ำหลกั สตู ร ยกรา่ งและจดั ท�ำเนอื้ หาหลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรแู้ ละสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ รวมทง้ั พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ เพมิ่ เตมิ ก�ำหนดแผนหรอื แนวทาง การน�ำหลกั สตู รไปใชใ้ นหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง และด�ำเนนิ การอน่ื ๆ ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย คณะอนุกรรมการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ด้านการป้องกัน การทุจริตได้ร่วมกันสรา้ งชุดหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษา : Anti-Corruption Education ประกอบด้วย ๕ หลกั สตู ร ดงั นี้ ๑. หลกั สตู รการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ) ๒. หลกั สูตร อุดมศกึ ษา (วัยใส ใจสะอาด “Youngster with Good Heart”) ๓. หลักสูตรตามแนวทางรบั ราชการ กลุม่ ทหารและต�ำรวจ ๔. หลกั สตู รสรา้ งวิทยากรผ้นู �ำการเปลีย่ นแปลงสูส่ งั คมท่ไี ม่ทนตอ่ การทจุ รติ และ ๕. หลักสูตรโค้ชเพ่ือการรู้คิดต้านทุจริต ชุดหลักสูตรดังกล่าวได้ผ่านกระบวนการน�ำไปทดลองใช้ เพ่ือ ปรบั ปรงุ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล ส�ำหรบั การใชใ้ นกลมุ่ เปา้ หมายตอ่ ไป นอกจากนี้ คณะอนกุ รรมการ จัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบการเรียนรู้ ด้านการป้องกันการทุจริตยังได้คัดเลือก ส่ือการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ รวม ๕๐ ชิ้น เพื่อใช้ในการเรียนรู้ ซึ่ง คณะรฐั มนตรมี ีมติเห็นชอบตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ เมื่อวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๖๑ โดยให ้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�ำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ และให้กระทรวงศึกษาธิการเร่งด�ำเนินการ เตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ เพื่อน�ำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน ของสถานศกึ ษา รายวิชาเพิ่มเติมการป้องกันการทุจริต ส�ำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดท�ำข้ึน โดยอนุกรรมการด้านการศึกษา ในคณะอนุกรรมการจัดท�ำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรู้และส่ือประกอบ การเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ และกลุ่มผูท้ รงคณุ วุฒิดา้ นการศกึ ษา สาระการเรยี นรู้ประกอบด้วย (๑) การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม (๒) ความอายและ

ความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ (๓) STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทจุ รติ (๔) พลเมอื งและความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ต่อเน่ืองกันตั้งแต่ระดับปฐมวัย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย คณะกรรมการ ป.ป.ช.หวงั เปน็ อย่างยงิ่ วา่ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ส�ำหรบั หลกั สตู ร การศกึ ษา ข้นั พื้นฐาน ในชุดหลักสตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษา (Anti-Corruption Education) จะน�ำเข้าสรู่ ะบบ การศึกษาเพื่อเป็นกลไกระยะยาวในการปลูกฝังวิธีคิดป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียนอยา่ งเป็นอัตโนมัติ เพ่อื ร่วมกนั สรา้ งประเทศไทยใสสะอาด ไทยทัง้ ชาตติ ้านทจุ ริต พลต�ำ รวจเอก (วัชรพล ประสารราชกิจ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑

สารบัญ หน้า ค�ำน�ำ ๑ สารบัญ ๒ หลกั การและเหตผุ ล................................................................................................................... ๓ สภาพการทจุ รติ คอรร์ ัปชนั ในประเทศไทย................................................................................. ๓ จดุ มุ่งหมายของรายวิชา............................................................................................................. ๔ ค�ำอธิบายรายวชิ า....................................................................................................................... ๔ ผลการเรยี นร.ู้ ............................................................................................................................. ๔ โครงสรา้ งรายวชิ า...................................................................................................................... ๖ ระดับปฐมวยั .............................................................................................................................. ๖ ระดับประถมศึกษา…………………………………………………………………………………………………....... ๗ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ...................................................................................................... ๘ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ...................................................................................................... ๙ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ...................................................................................................... ๑๐ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ...................................................................................................... ๑๑ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ...................................................................................................... ๑๓ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ...................................................................................................... ๑๓ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ .......................................................................................................... ๑๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ........................................................................................................ ๑๕ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ........................................................................................................ ๑๖ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ........................................................................................................ ๑๖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย...................................................................................................... ๑๗ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ........................................................................................................ ๑๘ มธั ยมศึกษาปีที่ ๕ ........................................................................................................ ๑๙ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ........................................................................................................ ๑๙ กิจกรรมการเรียนรู้..................................................................................................................... ๑๙ สอื่ การเรียนรูแ้ ละแหล่งการเรยี นรู้.............................................................................................. ๒๐ การประเมินการเรียนรแู้ ละการประเมนิ ผล................................................................................ ตารางชว่ั โมงการจดั กิจกรรการเรยี น..........................................................................................

สารบัญ (ต่อ) หนา้ ภาคผนวก ชดุ วชิ าท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม…........... ๒๒ ชดุ วชิ าที่ ๒ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ......................................................... ๕๒ ชดุ วชิ าท่ี ๓ STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้านการทุจรติ .......................................................... ๗๔ ชุดวิชาท่ี ๔ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม................................................................. ๘๘ ส่ือการเรยี นร้.ู ........................................................................................................................ ๑๐๘ ส่อื ทใ่ี ชป้ ระกอบชดุ วชิ าท่ี ๑ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน........................... ๑๐๙ กับผลประโยชนส์ ว่ นรวม สือ่ ท่ใี ชป้ ระกอบชุดวิชาที่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต……….…................... ๑๑๓ ค�ำ สง่ั คณะกรรมการ ป.ป.ช ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ เรอื่ ง แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการ ... ๑๒๙ จัดท�ำ หลักสตู รหรอื ชุดการเรียนรู้ และส่อื ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ รายช่ือคณะท�ำ งานจดั ทำ�หลกั สูตรหรอื ชุดการเรยี นรู้และสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ๑๓๒ ดา้ นการป้องกันการทจุ ริต กลุม่ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน รายชอ่ื คณะบรรณาธกิ ารกิจหลักสตู รหรอื ชุดการเรียนรู.้ ................................... ๑๓๖ และส่ือประกอบการเรียนร้.ูดา้ นการป้องกันการทจุ ริต กล่มุ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน รายชื่อคณะผู้ประสานงานการจดั ท�ำ หลกั สตู รหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสือ่ ประกอบ ๑๓๘ การเรยี นรู้ ด้านการปอ้ งกนั การทุจรติ กลุ่มการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สำ�นักงาน ป.ป.ช.

รายวชิ าเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต ๑. หลักการและเหตผุ ล ยุทธศาสตรช์ าติว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ “สร้างสงั คมทไ่ี ม่ทนต่อการทจุ รติ ” ไดม้ งุ่ เน้นให้ความส�ำคญั ในกระบวนการปรับสภาพ สงั คมใหเ้ กดิ ภาวะที่ “ไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ” โดยเรม่ิ ตง้ั แตก่ ระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คมในทกุ ระดบั ชว่ ง วยั ตง้ั แตป่ ฐมวยั เพอ่ื สรา้ งวฒั นธรรมตอ่ ต้านการทจุ รติ และปลกู ฝงั ความพอเพยี ง มวี นิ ยั ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน เปน็ การด�ำเนนิ การผา่ นสถาบนั หรอื กลมุ่ ตวั แทนทท่ี �ำหนา้ ท่ี ในการกล่อมเกลาสังคมให้มคี วามเป็นพลเมืองที่ดี มจี ติ สาธารณะ เสียสละเพ่ือส่วนรวมและเสริมสร้างให้ ทกุ ภาคสว่ นมพี ฤตกิ รรมทไ่ี มย่ อมรบั และตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ในทกุ รปู แบบและไดก้ �ำหนดกลยทุ ธ์ ๔ กลยทุ ธ์ กลา่ วคอื กลยทุ ธท์ ี่ ๑ ปรบั ฐานความคดิ ทกุ ชว่ งวยั ตงั้ แตป่ ฐมวยั ใหส้ ามารถแยกระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ น ตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม กลยทุ ธ์ท่ี ๒ สง่ เสริมให้มีระบบและกระบวนการกลอ่ มเกลาทางสังคมเพ่อื ตา้ นทจุ รติ กลยทุ ธท์ ี่ ๓ ประยกุ ต์หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นเคร่อื งมอื ต้านทุจรติ และกลยทุ ธ์ที่ ๔ เสริมพลงั การมสี ว่ นรว่ มของชุมชน(Community)และบูรณาการทกุ ภาคสว่ นเพือ่ ต่อตา้ นการทุจรติ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จงึ ได้มีค�ำสงั่ ที่ ๖๔๖/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๖๐ แตง่ ต้งั คณะ อนุกรรมการจดั ท�ำหลักสตู ร หรือชดุ การเรียนรู้และสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจรติ ซึ่ง ประกอบดว้ ยผทู้ รงคณุ วฒุ หิ รอื ผเู้ ชย่ี วชาญจากหนว่ ยงานดา้ นการศกึ ษา และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการ จดั ท�ำหลักสตู รการเรยี นการสอน จากทง้ั ภายในและภายนอกหนว่ ยงาน รวมทง้ั ผ้ทู รงคุณวุฒจิ ากองคก์ ร ภาคเอกชนเพ่ือด�ำเนินการจัดท�ำหลักสตู รหรือชุดการเรียนร้แู ละสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต น�ำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้นเรียนทั้งในส่วนของการ ศกึ ษาตัง้ แตร่ ะดับปฐมวัยอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ท้ังภาครฐั และเอกชน รวม ทั้งอาชีวศึกษาและการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นอกจากน้ี ยังรวมถึงสถาบันการ ศึกษาอ่ืนที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันการศึกษาในสังกัดส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ สถาบันการศึกษาทาง ทหาร เป็นตน้ เพือ่ ใหค้ รอบคลมุ กล่มุ เป้าหมายท่ีเก่ียวข้องกบั การศกึ ษาทั้งระบบ รวมทัง้ บคุ ลากรภาครฐั และรฐั วสิ าหกจิ รวมทงั้ ภาคประชาชน เพอื่ เปน็ การปลกู ฝงั จติ ส�ำนกึ ในการแยกแยะประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวมจิตพอเพียงต้านทจุ ริต และสรา้ งพฤติกรรมที่ไมย่ อมรบั และไม่ทนตอ่ การทุจรติ เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริต โดยเริ่มปลูกฝังนักเรียนตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน จงึ จดั ท�ำรายวชิ าเพม่ิ เตมิ “การปอ้ งกนั การทจุ รติ ” ใหส้ ถาน ศกึ ษาทกุ แหง่ น�ำไปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ปลกู ฝงั และสร้างวฒั นธรรมตอ่ ต้านการทจุ รติ ใหแ้ ก่ นกั เรยี นสรา้ งความตระหนกั ใหน้ กั เรยี น ยดึ ถอื ประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน มจี ติ พอเพยี ง ตา้ นทจุ ริต ละอายและเกรงกลวั ทจี่ ะไม่ทุจรติ และไมท่ นตอ่ การทจุ ริตทกุ รูปแบบ หลักสูตรรายวิชาเพ่มิ เติม “การปอ้ งกันการทจุ ริต” 1

สภาพการทุจริตคอรร์ ปั ชันในประเทศไทย ปัจจุบัน ปัญหาคอร์รัปชันถือได้ว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดข้ึนในประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้ง ประเทศไทย ซึ่งปัญหาน้ียังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป อีกทั้งยังทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากข้ึนเรื่อยๆ แมว้ า่ ประเทศไทยจะกา้ วเขา้ สคู่ วามทนั สมยั มรี ะบบการบรหิ ารราชการสมยั ใหม่ มกี ารรณรงคจ์ ากองคก์ ร ของรัฐ หรือองค์กรอิสระต่างๆ ที่เห็นพ้องกันว่า การคอร์รัปชันเป็นปัญหาท่ีน�ำไปสู่ความยากจน และ เป็นอุปสรรคท่ีขัดขวางการพัฒนาประเทศอย่างแท้จริง ส�ำหรับประเทศไทยนั้นเป็นท่ีทราบกันท่ัวไปว่า ปัญหาเรื่องการทุจริตคอร์รัปชันเป็นปัญหาส�ำคัญล�ำดับต้นๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ เป็นอย่างมาก ปัญหาดังกล่าวเกิดข้ึนมาช้านานจนฝังรากลึก และพบเกือบทุกกลุ่มอาชีพในสังคมไทย เกย่ี วพนั กับวถิ ีชวี ิตของคนไทยมาอย่างยาวนานหรอื กล่าวได้ว่าเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวัฒนธรรมไทยไปแล้ว สาเหตขุ องปัญหาที่พบ คอื การทุจรติ คอร์รปั ชันเป็นประเพณีนิยมปฏิบตั ทิ มี่ ีมาตัง้ แต่สมัยดง้ั เดมิ ยงั คงมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความคดิ ของคนในปจั จบุ นั อยคู่ อ่ นข้างมาก ฉะนน้ั พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ขิ องข้าราชการ จึงไม่สอดคล้องกับแนวความคิดของการเป็นข้าราชการสมัยใหม่ การฉ้อราษฎร์บังหลวงของขา้ ราชการ ด้วยความไม่รู้หรือด้วยความบริสุทธ์ิใจ จึงยังคงปรากฎอยู่ค่อนขา้ งมาก นอกจากน้ี การคอร์รัปชันของ ขา้ ราชการอยทู่ ต่ี วั ขา้ ราชการ ปญั หาทเ่ี กดิ จากความคดิ ความไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพของตวั ระบบ และปญั หา ของตวั ขา้ ราชการ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งของรายได้ สวสั ดกิ าร จรยิ ธรรมในการท�ำงานความคาดหวงั และโอกาส ในชีวิตของตัวข้าราชการ การบริหารราชการแผ่นดินเป็นสาเหตุที่ส�ำคัญที่สุดประการหน่ึงของการเกิด คอร์รปั ชนั ในวงราชการ อนั น�ำไปสกู่ ารสญู เสียเงินรายไดข้ องรฐั บาล ความไมเ่ สมอภาคในการใหบ้ รกิ าร ของขา้ ราชการแกผ่ ้ตู ิดตอ่ ประชาชนผเู้ สยี ภาษีไม่ไดร้ บั บริการท่มี คี ุณภาพ จากการวัดภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) ปี ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยได้คะแนนการประเมิน ๓๘ คะแนน ในปี ๒๕๕๙ ประเทศไทยได้คะแนนการ ประเมนิ ๓๕ คะแนน และในปี ๒๕๖๐ ประเทศไทยได้คะแนนการประเมนิ ๓๗ คะแนน ซึ่งแสดงใหเ้ ห็น วา่ ประเทศไทยยงั มีการทจุ ริตคอร์รัปชนั อยใู่ นระดบั สูงซ่ึงสมควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แหง่ ชาติ (ส�ำนกั งาน ป.ป.ช.) จงึ ไดก้ �ำหนดยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) โดยก�ำหนดวิสัยทัศน์ว่า“ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) และก�ำหนดพนั ธกจิ “สรา้ งวฒั นธรรมตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ยกระดบั ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการและปฏิรูปกระบวนการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล” พร้อมท้ังก�ำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ว่า “ระดับคะแนนของดชั นีการรบั รูก้ ารทจุ รติ (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกวา่ ร้อยละ ๕๐” โดยก�ำหนดวตั ถุประสงค์ท่เี กีย่ วข้องกับการจัดการศึกษา ไดแ้ ก่ วตั ถุประสงค์ขอ้ ท่ี ๓ “การทจุ รติ ถูกยับย้ัง อย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรมกลไกป้องกันการทุจริต และระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล” และเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกลา่ ว จึงได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ที่ ๔ : พัฒนาระบบป้องกันการทุจริต 2 ชดุ หลักสตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

เชิงรกุ พรอ้ มท้ังก�ำหนดมาตรการ ดังนี้ : สรา้ งกลไกการปอ้ งกนั เพอ่ื ยับยง้ั การทจุ รติ และพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือลดปัญหาการทุจริต ดังนั้นเพ่ือเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าวให้สอดคล้อง กับยทุ ธศาสตร์ชาติ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ในฐานะองค์กรรับผดิ ชอบการจัดการศึกษาใหแ้ ก่ นักเรียนตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จึงได้จัดท�ำรายวิชาเพ่ิมเติม “การป้องกันการ ทจุ ริต”ประกอบด้วยเน้ือหา ๔ หน่วยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ๑) การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒) ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ ๓) STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ น การทุจริต และ ๔) พลเมืองและความรับผิดชอบต่อสงั คม ซงึ่ ทัง้ ๔ หนว่ ยนี้ จะจัดท�ำเปน็ แผนการจดั การ เรยี นรู้ ตงั้ แตช่ นั้ ปฐมวยั จนถงึ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แหง่ น�ำไปใชใ้ นการจดั การเรยี น การสอน เพ่ือปลูกฝังและปอ้ งกนั การทุจริตใหแ้ ก่นักเรียนทกุ ระดับ ท้ังนี้ เป็นการสร้างพลเมืองท่ซี ือ่ สตั ย์ สุจริตให้แก่ประเทศชาติ ปัญหาคอร์รัปชันลดลง และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันของประเทศไทย มีค่า คะแนนสูงข้ึน บรรลุตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ๒. จุดมงุ่ หมายของรายวชิ า เพอ่ื ให้นกั เรยี น ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒.๒ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๒.๓ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทจุ รติ ๒.๔ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับพลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๒.๕ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๒.๖ ปฏิบตั ติ นเป็นผูล้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรปู แบบ ๒.๗ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ๒.๘ ปฏิบัติตนตามหน้าที่พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๒.๙ ตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและป้องกนั การทุจริต ๓. คำ�อธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเกี่ยวกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอาย และความไมท่ นตอ่ การทุจรติ STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ ริต ร้หู นา้ ท่ขี องพลเมืองและรับผิด ชอบต่อสงั คมในการต่อต้านการทจุ รติ โดยใชก้ ระบวนการคดิ วเิ คราะห์ จ�ำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ การท�ำโครงงานกระบวนการ เรียนรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสบื สอบ การแก้ปญั หา ทกั ษะการอา่ นและการเขียน เพ่อื ให้มีความตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทุจรติ หลักสูตรรายวชิ าเพ่มิ เตมิ “การป้องกนั การทจุ ริต” 3

ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน ์ สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ๓. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทจุ ริต ๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับพลเมอื งและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผลู้ ะอายและไม่ทนต่อการทุจรติ ทกุ รูปแบบ ๗. ปฏบิ ัติตนเป็นผ้ทู ี่ STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ๘. ปฏิบตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความส�ำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้ ๔. โครงสรา้ งรายวชิ า ๔.๑ ระดับปฐมวยั ล�ำดับ หน่วยการเรยี นรู้ เรอื่ ง จ�ำนวน ชัว่ โมง ๑. การคิดแยกแยะระหว่างผล การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน ๑๔ ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ และผลประโยชน์สว่ นรวม ส่วนรวม - การคิดแยกแยะ - ระบบคดิ ฐาน ๒ - ของเลน่ - การรบั ประทานอาหาร - การเขา้ แถว - การเก็บของใชส้ ่วนตวั - ท�ำงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย - การแบง่ ปัน - การแตง่ กาย - การท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน (การใชน้ ำ้� ไฟฟา้ กระดาษ การทิ้งขยะ) 4 ชุดหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

ล�ำดบั หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่อื ง จ�ำนวน ชัว่ โมง ๒. ความละอายและความไม่ทนต่อ ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ๑๒ การทุจริต - ของเล่น - การรับประทานอาหาร ๙ - การเขา้ แถว - การเก็บของใช้สว่ นตวั ๕ - ท�ำงานท่ีได้รบั มอบหมาย - การแบง่ ปนั - การแตง่ กาย - การท�ำกิจวัตรประจ�ำวนั ๓. STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ น STRONG / จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต การทจุ ริต - ความพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ความตนื่ รู้ / ความรู้ - ต้านทุจริต - มุ่งไปข้างหน้า - ความเอื้ออาทร - การรับประทานอาหาร - การช่วยเหลอื เพอื่ น - การใชก้ ระดาษ ๔. พลเมอื งกบั ความรบั ผดิ ชอบ พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ต่อสงั คม - ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง - ความรับผิดชอบตอ่ ผอู้ นื่ - การตรงตอ่ เวลา - การท�ำความสะอาดหอ้ งเรยี น - การช่วยเหลือตนเอง รวม ๔๐ * หมายเหตุ การจดั ประสบการณ์แตล่ ะกจิ กรรมจะใช้เวลาประมาณ ๒๐ นาที หลักสตู รรายวิชาเพิม่ เตมิ “การป้องกนั การทจุ ริต” 5

๔.๒ ระดบั ประถมศึกษา ๑) ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ล�ำดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เร่ือง จ�ำนวน ช่วั โมง ๑. การคิดแยกแยะระหวา่ งผล การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน ๑๖ ประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ และผลประโยชน์ส่วนรวม ๑๐ สว่ นรวม - การคดิ แยกแยะ - ระบบคดิ ฐาน ๒ ๔ - ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ๑๐ ๒. ความละอายและความไม่ทนต่อ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๔๐ การทจุ รติ - การท�ำการบ้าน - การท�ำเวร - การสอบ - กิจกรรมนักเรียน ๓. STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ น STRONG/จติ พอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจรติ การทจุ ริต - ความพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ต้านทุจริต - ความเออ้ื อาทร ๔. พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบ พลเมอื งกับความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ต่อสงั คม - ความหมายบทบาทและสทิ ธิ - การเคารพสิทธิหน้าท่ีตอ่ ตนเองและผู้อ่นื - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย - ความรบั ผิดชอบ (ต่อตนเองกบั ตอ่ ผอู้ ืน่ ) - ความเปน็ พลเมือง รวม 6 ชุดหลักสตู รต้านทจุ รติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๒) ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ล�ำดับ หนว่ ยการเรียนรู้ เรอื่ ง จ�ำนวน ชัว่ โมง ๑. การคดิ แยกแยะระหวา่ งผล การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน ๑๖ ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ และผลประโยชน์ส่วนรวม สว่ นรวม - การคดิ แยกแยะ ๑๐ - ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม ๔ - ระบบคดิ ฐาน ๒ ๑๐ - ระบบคิดฐาน ๑๐ ๔๐ ๒. ความละอายและความไม่ทนต่อ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ การทจุ รติ - การท�ำการบา้ น - การท�ำเวร - การสอบ - กจิ กรรมนกั เรียน ๓. STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้าน STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ การทุจรติ - ความพอเพียง - ความโปร่งใส - ตา้ นทุจริต - ความเอื้ออาทร ๔. พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบ พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ตอ่ สังคม - เรอ่ื งการเคารพสิทธหิ นา้ ทต่ี ่อตนเอง และผู้อืน่ - การเคารพสทิ ธหิ น้าท่ีต่อชุมชนและสงั คม - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผิดชอบ (ตอ่ ห้องเรยี น) - คณุ ลกั ษณะของพลเมอื งทด่ี ี - หนา้ ท่ีของพลเมืองที่ดี รวม หลกั สตู รรายวชิ าเพิม่ เตมิ “การปอ้ งกนั การทจุ รติ ” 7

๓) ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ล�ำดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เรื่อง จ�ำนวน ชว่ั โมง ๑. การคิดแยกแยะระหวา่ งผล การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน ๑๖ ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ และผลประโยชน์สว่ นรวม สว่ นรวม - การคดิ แยกแยะ ๑๐ - ระบบคิดฐาน ๒ - ระบบคดิ ฐาน ๑๐ - ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ สว่ นรวม - การขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ๒. ความละอายและความไมท่ นต่อ ความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต การทุจรติ - การท�ำการบ้าน - การท�ำเวร - การสอบ - การแตง่ กาย - กิจกรรมส่งเสรมิ ความถนดั และความสนใจ ๓. STRONG / จิตพอเพยี งต่อต้าน STRONG / จิตพอเพียงต่อตา้ นการทุจริต ๔ การทจุ รติ - ความพอเพยี ง ๑๐ - ความโปรง่ ใส - ตา้ นทจุ ริต ๔๐ - ความเอื้ออาทร ๔. พลเมืองกับความรบั ผดิ ชอบ พลเมอื งกับความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ตอ่ สังคม - เรอื่ งการเคารพสิทธิหนา้ ทตี่ อ่ ตนเอง และผ้อู น่ื ทม่ี ตี ่อชุมชน - เรื่องการเคารพสิทธิหน้าที่ตอ่ ตนเอง และผอู้ น่ื ที่มีตอ่ ประเทศชาติ - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผิดชอบ (ตอ่ โรงเรียน) - ความเปน็ พลเมอื ง รวม 8 ชดุ หลักสตู รต้านทจุ ริตศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๔) ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ล�ำดับ หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง จ�ำนวน ช่วั โมง ๑. การคดิ แยกแยะระหวา่ งผล การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน ์ ๑๔ ประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม สว่ นรวม - การคิดแยกแยะ ๑๐ - ระบบคิดฐาน ๒ ๖ - ระบบคิดฐาน ๑๐ - ความแตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรม ๑๐ และการทุจรติ ๔๐ - ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม ๒. ความละอายและความไมท่ นต่อ ความละอายและความไมท่ นต่อการทุจรติ การทจุ ริต - การท�ำการบ้าน - การท�ำเวร - การสอบ - การแตง่ กาย - กจิ กรรมนักเรียน (ภายใน รร.) - การเขา้ แถว ๓. STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ น STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทจุ ริต การทจุ ริต - การด�ำรงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง - ความโปร่งใส - ความต่ืนรู้ / ความรู้ - ตา้ นทุจรติ - ม่งุ ไปข้างหน้า - ความเออ้ื อาทร ๔. พลเมืองกับความรบั ผิดชอบ พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบต่อสังคม ต่อสังคม - เรือ่ งการเคารพสทิ ธหิ น้าที่ตอ่ ตนเอง และผอู้ น่ื ทีม่ ีต่อครอบครัว - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย - ความรับผดิ ชอบ (ตอ่ ชุมชน) - ความเปน็ พลเมือง รวม หลักสตู รรายวิชาเพ่มิ เตมิ “การป้องกนั การทุจริต” 9

๕) ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ล�ำดบั หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง จ�ำนวน ชั่วโมง ๑. การคิดแยกแยะระหวา่ งผล การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน ๑๔ ประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ และผลประโยชนส์ ่วนรวม สว่ นรวม - การคดิ แยกแยะ ๑๐ - ระบบคดิ ฐาน ๒ - ระบบคิดฐาน ๑๐ ๖ - ความแตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทุจริต ๑๐ - ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม ๔๐ - การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชนส์ ่วนรวม - ผลประโยชน์ทับซ้อน ๒. ความละอายและความไม่ทนต่อ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ การทุจรติ - การท�ำการบ้าน - การท�ำเวร - การสอบ - การแตง่ กาย - กจิ กรรมนกั เรียน (ในห้องเรยี น โรงเรยี น ชุมชน) - การเขา้ แถว ๓. STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ น STRONG / จิตพอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ รติ การทจุ ริต - ความพอเพียง - ความโปร่งใส - ความตืน่ รู้ / ความรู้ - ตอ่ ตา้ นทจุ ริต - มุง่ ไปข้างหน้า - ความเอ้อื อาทร ๔. พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม ตอ่ สังคม - เรอ่ื งการเคารพสทิ ธหิ น้าทตี่ ่อตนเองและผอู้ ่นื - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรบั ผิดชอบ (ตอ่ สังคม) - ความเปน็ พลเมือง รวม 10 ชุดหลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๖) ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ล�ำดบั หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง จ�ำนวน ช่วั โมง ๑. การคดิ แยกแยะระหว่างผล การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตน ๑๔ ประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ และผลประโยชนส์ ่วนรวม สว่ นรวม - การคิดแยกแยะ ๑๐ - ระบบคดิ ฐาน ๒ - ระบบคิดฐาน ๑๐ ๖ - ความแตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ - ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม - การขัดกันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม - ผลประโยชนท์ บั ซ้อน - รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ น ๒. ความละอายและความไมท่ นต่อ ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต การทจุ ริต - การท�ำการบา้ น - การท�ำเวร - การสอบ - การแต่งกาย - กจิ กรรมนักเรยี น (ในห้องเรยี น โรงเรยี น ชุมชน สังคม) - การเข้าแถว ๓. STRONG/จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ น STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ รติ การทุจรติ - การสรา้ งจิตส�ำนกึ ควมพอเพยี งต่อต้าน การทจุ ริต - ความโปรง่ ใส - ความต่ืนรู้ / ความรู้ - ตา้ นทจุ ริต - มงุ่ ไปขา้ งหน้า - ความเอื้ออาทร หลักสตู รรายวชิ าเพม่ิ เติม “การป้องกันการทจุ รติ ” 11

ล�ำดบั หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง จ�ำนวน ๔. พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบ ชว่ั โมง พลเมืองกบั ความรับผิดชอบต่อสงั คม ๑๐ ตอ่ สังคม - เร่ืองการเคารพสิทธิหน้าทตี่ ่อตนเอง และผอู้ น่ื ทม่ี ตี อ่ ประเทศชาติ ๔๐ - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย - ความรบั ผิดชอบ (ตอ่ ประเทศชาต)ิ - ความเป็นพลเมอื ง รวม 12 ชดุ หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา (Anti - Corruption Education)

๔.๓ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ๑) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ล�ำดบั หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง จ�ำนวนช่วั โมง ๑. การคิดแยกแยะ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ ๑๒ ระหว่างผลประโยชน์ ส่วนรวม สว่ นตนและผล - การคดิ แยกแยะ ประโยชนส์ ่วนรวม - ระบบคดิ ฐาน ๒ - ระบบคิดฐาน ๑๐ - ความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรมและการทุจรติ (ชุมชน สงั คม) - ประโยชนส์ ่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม) - การขัดกนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ สว่ นรวม (ชมุ ชน สงั คม) - ผลประโยชนท์ ับซ้อน (ชุมชน สงั คม) - รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อน (ชุมชน สังคม) ๒. ความละอายและ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๘ ความไม่ทนตอ่ - การท�ำการบ้าน/ชิ้นงาน การทจุ ริต - การท�ำเวร/การท�ำความสะอาด - การสอบ - การแต่งกาย / การเข้าแถว - การเลือกตงั้ - กจิ กรรมนักเรยี น (ห้องเรยี น) ๓. STRONG/จติ พอเพยี ง STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต ๑๐ ตอ่ ต้านการทุจรติ - ความพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ความต่ืนรู้ / ความรู้ - ต่อตา้ นทจุ ริต - มุ่งไปข้างหน้า - ความเอื้ออาทร ๔. พลเมืองกบั ความรับ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๑๐ ผิดชอบต่อสังคม - การเคารพสทิ ธหิ น้าท่ีตอ่ ตนเองและผู้อน่ื - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผู้อ่ืน/สังคม - ความเปน็ พลเมือง - ความเปน็ พลโลก * จัดนิทรรศการ รวม ๔๐ หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเตมิ “การป้องกันการทจุ รติ ” 13

๒) มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ล�ำดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เร่ือง จ�ำนวนช่ัวโมง ๑. การคดิ แยกแยะ การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผล ๑๒ ระหวา่ งผล ประโยชนส์ ว่ นรวม ประโยชน์ส่วนตน - การคดิ แยกแยะ และผลประโยชน์ - ระบบคดิ ฐาน ๒ ส่วนรวม - ระบบคดิ ฐาน ๑๐ - ความแตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ (ชมุ ชน สงั คม) - ประโยชน์ส่วนบคุ คลและประโยชน์ส่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม) - การขัดแย้งระหว่างประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและผลประโยชน์ สว่ นรวม (ชุมชน สังคม) - ผลประโยชน์ทับซ้อน (ชุมชน สังคม) - รูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (ชุมชน สงั คม) ๒. ความละอายและ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๘ ความไม่ทนตอ่ - การท�ำการบ้าน/ชนิ้ งาน การทจุ รติ - ร้หู น้าท่ีการท�ำเวร/การท�ำความสะอาด - การสอบ - การแต่งกาย - การเข้าแถวมารยาทคนดี - การเลอื กต้ัง - เรามารวมกลมุ่ เพ่ือสร้างสรรค์ต้านทุจรติ ๓. STRONG/จิตพอเพยี ง STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ ๑๐ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ - ความพอเพยี ง - ความโปรง่ ใส - ความตนื่ รู้ / ความรู้ - ตา้ นทจุ รติ - มงุ่ ไปขา้ งหน้า - ความเออื้ อาทร ๔. พลเมอื งกับความรับ พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบต่อสังคม ๑๐ ผิดชอบต่อสงั คม - การเคารพสทิ ธิหนา้ ท่ตี ่อตนเองและผูอ้ ่นื - ระเบยี บ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน - ความเป็นพลเมือง - ความเปน็ พลโลก * เสวนา รวม ๔๐ 14 ชดุ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)

๓) มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ล�ำดบั หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง จ�ำนวนชว่ั โมง ๑. การคดิ แยกแยะ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผล ๑๒ ระหว่างผล ประโยชน์ส่วนรวม ประโยชนส์ ่วนตน - การคิดแยกแยะ และผลประโยชน์ - ระบบคิดฐาน ๒ ส่วนรวม - ระบบคิดฐาน ๑๐ - ความแตกตา่ งระหวา่ งจรยิ ธรรมและการทจุ รติ (ชมุ ชน สงั คม) - ประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชน์สว่ นรวม (ชุมชน สงั คม) และการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ว่ นบุคคลและผลประโยชน์ ส่วนรวม (ชุมชน สังคม) - ผลประโยชนท์ บั ซ้อน (ชุมชน สังคม) และรูปแบบของผล ประโยชนท์ บั ซอ้ น (ชุมชน สงั คม) ๒. ความละอายและ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๘ ความไม่ทนต่อ - การท�ำการบ้าน/ชิ้นงาน การทุจรติ - การท�ำเวร/การท�ำความสะอาด - การสอบ - การแต่งกาย - การเลือกตง้ั - การรวมกลุ่มเพ่อื สร้างสรรคต์ า้ นทุจริต ๓. STRONG/จติ พอเพียง STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ตา้ นการทุจริต ๑๐ ตอ่ ตา้ นการทุจรติ - ความพอเพียง - ความโปรง่ ใส - ความต่ืนรู้ - ความรู้ - จิตพอเพียงต่อต้านทุจริต - มุ่งไปขา้ งหนา้ - ความเอ้ืออาทร ๔. พลเมืองกบั ความรบั พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๑๐ ผิดชอบตอ่ สังคม - การเคารพสิทธิหน้าที่ตอ่ ตนเองและผูอ้ ื่น - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย กบั การเป็นพลเมอื งที่ดีมีส่วน ร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ - ความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื - ความเป็นพลเมอื ง - ความเปน็ พลโลก * เสวนา รวม ๔๐ หลักสตู รรายวชิ าเพม่ิ เตมิ “การปอ้ งกันการทุจรติ ” 15

๔.๔ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๔) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ล�ำดับ หนว่ ยการเรียนรู้ เร่อื ง จ�ำนวนช่วั โมง ๑๐ ๑. การคิดแยกแยะ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผล ๗ ระหวา่ งผล ประโยชน์ส่วนรวม ๘ ประโยชน์ส่วนตน - การคิดแยกแยะ และผลประโยชน์ - ระบบคิดฐาน ๒ ๑๕ ส่วนรวม - ระบบคิดฐาน ๑๐ - ความแตกตา่ งระหว่างจริยธรรมและการทุจริต (สังคม) ๔๐ ๒. ความละอายและ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ ริต ความไม่ทนต่อ - การท�ำการบา้ น/ช้นิ งาน การทุจริต - การท�ำเวร/การท�ำความสะอาด - การสอบ - กิจกรรมนกั เรียน (โรงเรยี น) ๓. STRONG/จติ พอเพยี ง STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ต่อต้านการทจุ ริต - ความพอเพียง - ความโปร่งใส - ความต่ืนรแู้ ละความรู้ - การตอ่ ตา้ นทุจรติ - มุ่งไปขา้ งหน้า - ความเอ้ืออาทร ๔. พลเมอื งกบั ความรบั พลเมอื งกับความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ผิดชอบต่อสงั คม - การเคารพสทิ ธหิ นา้ ทต่ี ่อตนเองและผอู้ ื่น - ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย - ความรับผิดชอบต่อตนเองและผอู้ ื่น - ความเป็นพลเมือง - ความเปน็ พลโลก * สมั มนา สนุ ทรพจน์ รวม 16 ชดุ หลักสตู รต้านทุจรติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๕) มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ล�ำดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เรอ่ื ง จ�ำนวนชัว่ โมง ๑. การคดิ แยกแยะ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผล ๑๐ ระหวา่ งผล ประโยชนส์ ่วนรวม ประโยชนส์ ่วนตน - การคิดแยกแยะ และผลประโยชน์ - ระบบคดิ ฐาน ๑๐ กับ ฐาน ๒ สว่ นรวม - การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนบุคคลและผลประโยชน์ ส่วนรวม (สังคม ประเทศชาติ โลก) - ผลประโยชน์ทับซอ้ น (สังคม ประเทศชาติ โลก) - รูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซ้อน (สังคม ประเทศชาติ โลก) ๒. ความละอายและ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ ๗ ความไมท่ นต่อ - การท�ำการบา้ น/การท�ำเวร/การท�ำความสะอาด การทจุ ริต - การสอบและการเลอื กต้ัง - การแตง่ กาย - การเข้าแถว - กิจกรรมนกั เรยี น (ชุมชน) ๓. STRONG/จติ พอเพียง STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ต้านการทจุ รติ ๘ ต่อตา้ นการทุจรติ - ความพอเพยี ง - ความโปร่งใส - ความต่ืนรู้และความรู้ - ต่อตา้ นทจุ ริต - มุ่งไปขา้ งหน้า - ความเอ้อื อาทร ๔. พลเมืองกับความรับ พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม ๑๕ ผิดชอบตอ่ สังคม - การเคารพสทิ ธหิ นา้ ที่ตอ่ ตนเองและผู้อื่น - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย - พลเมืองกับความรับผิดชอบตอ่ สังคม - แนวทางการปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองท่ีดี - ความเป็นพลเมืองของประเทศ - ความเปน็ พลเมอื งของโลก * สมั มนา เสวนา รวม ๔๐ หลกั สูตรรายวิชาเพมิ่ เตมิ “การป้องกนั การทจุ ริต” 17

๖) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ ล�ำดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เรอ่ื ง จ�ำนวนชั่วโมง ๑๐ ๑. การคิดแยกแยะ การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผล ระหว่างผล ประโยชน์ส่วนรวม ๗ ประโยชน์ส่วนตน - ความแตกต่างระหวา่ งจริยธรรมและการทจุ รติ (โลก) ๘ และผลประโยชน์ - ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวม (โลก) ๑๕ สว่ นรวม - การขดั กันระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ น รวม (โลก) ๔๐ - ผลประโยชนท์ ับซ้อน (โลก) - รปู แบบของผลประโยชน์ทบั ซ้อน (โลก) ๒. ความละอายและ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ความไมท่ นตอ่ - การสอบ การทุจรติ - การเลือกตง้ั - กจิ กรรมนกั เรียน ๓. STRONG/จิตพอเพียง STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจรติ ตอ่ ต้านการทุจรติ - ความพอเพียงประสานเสยี งตา้ นทุจรติ - ความโปรง่ ใสใจสะอาดตา้ นทจุ ริต - ตนื่ รู้ตา้ นทุจริต - เรียนรู้เทา่ ทันปอ้ งกนั การทจุ รติ ๔. พลเมอื งกบั ความรับ พลเมอื งกับความรับผิดชอบต่อสังคม ผดิ ชอบตอ่ สังคม - การเคารพสทิ ธหิ นา้ ทต่ี อ่ ตนเองและผ้อู ืน่ - ระเบียบ กฎ กตกิ า กฎหมาย - ความรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน - พลเมอื งทม่ี ีความรบั ผิดชอบต่อการป้องกันการทจุ รติ - พลโลกท่ีมคี วามรับผิดชอบตอ่ การปอ้ งกันการทุจริต * สัมมนา แลกเปลย่ี นเรียนรู้ เผยแพรค่ วามรู้ รวม 18 ชุดหลักสตู รตา้ นทุจริตศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๕. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ และแนวการสอน กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน เนน้ การใชท้ ฤษฎกี ารเรยี นรู้ การสรา้ งความร ู้ ได้แก่ ๑) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ๒) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Social Constructivism Theory) ๓) ทฤษฎคี อนสตรคั ตวิ สิ ตเ์ ชงิ ปญั ญา (Cognitive Constructivism Theory) ๔) ทฤษฎีประมวลผลข้อมูล (Information Processing Theory) ๕) ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) ๖) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning Theory) ในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมจะใช้กลยุทธ์การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ คือจัดตาม ความแตกต่างของเด็กแต่ละคน ด้วยการสอนโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ การฝึก ปฏิบัติจริงการท�ำโครงงานสืบสวนสอบสวน กระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้ันตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การแกป้ ญั หาตลอดจนใชเ้ ทคนคิ การสอนที่หลากหลายเหมาะกับผเู้ รยี นแต่ละวัย ๖. สอื่ การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ จัดกิจกรรมด้วยสื่อการเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เช่น วีดิโอ ข่าว VTR นทิ าน การ์ตูน ภาพยนตร์สน้ั เอกสารแกท้ จุ รติ คดิ ฐานสอง สอ่ื สิงพมิ พต์ า่ งๆ ใบความรู้ ใบงาน วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนแหลง่ เรียนรูท้ ่ใี ช้คอมพวิ เตอร์ในการสืบค้น ๗. การประเมนิ การเรียนรู้และการประเมนิ ผล ๗.๑ การประเมนิ การเรยี นรู้ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ประเมินการเรียนรู้ในดา้ น ๑) ความรคู้ วามเข้าใจ ๒) การปฏบิ ตั ิ ๓) คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ประเมนิ ๑) แบบสอบ ๒) แบบประเมนิ การปฏิบัติงาน ๓) แบบสังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงาน ๗.๒ การประเมนิ ผล นกั เรยี นผา่ นการประเมนิ ทกุ กจิ กรรม รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จงึ จะถอื วา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ หลักสูตรรายวชิ าเพม่ิ เตมิ “การปอ้ งกนั การทจุ รติ ” 19

20 ชดุ หลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education) ตารางช่ัวโมงการจดั กิจกรรมการเรยี น ระดับ ที่ หน่วย ปฐมวัย ประถมศึกษาตอนตน้ ประถมศกึ ษาตอนปลาย มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๑ - ป.๓) (ป.๔ - ป.๖) (ม.๑ - ม.๓) (ม.๔ - ม.๖) ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผล ๑๔ ชัว่ โมง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ๑๖ ช่ัวโมง ๑๔ ชวั่ โมง ๑๒ ชวั่ โมง ๑๐ ชว่ั โมง ส่วนรวม ๑๒ ชัว่ โมง ๙ ชั่วโมง ๑๐ ชัว่ โมง ๑๐ ชั่วโมง ๘ ชว่ั โมง ๗ ชวั่ โมง ๒ ความไม่ทนและความละอายตอ่ ๕ ชว่ั โมง ๔ ช่ัวโมง ๖ ช่วั โมง การทุจรติ ๑๐ ชว่ั โมง ๑๐ ช่ัวโมง ๑๐ ช่ัวโมง ๘ ชว่ั โมง ๔๐ ๓ STRONG : จติ พอเพียงตอ่ ตา้ น ๔๐ ๔๐ ๑๐ ชวั่ โมง ๑๕ ชั่วโมง การทจุ ริต ๔๐ ๔๐ ๔ พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม รวม

ภาคผนวก

ชุดวชิ าที่ ๑ การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ๑. สาเหตขุ องการทุจริตและทิศทางการป้องกันการทจุ รติ ในประเทศไทย การทจุ รติ เปน็ หนงึ่ ในประเดน็ ทท่ี ว่ั โลกแสดงความกงั วล อนั เนอ่ื งมาจากเปน็ ปญั หาทมี่ คี วามซบั ซอ้ น ยากต่อการจัดการและเกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วน เป็นท่ียอมรับกันว่าการทุจริตน้ันมีความเป็นสากล เพราะมีการทุจริตเกิดขึ้นในทุกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศท่ีก�ำลังพัฒนา การทุจริตเกิดขึ้นท้ังในภาครัฐและภาคเอกชน หรือแม้กระท่ังในองค์กรท่ีไม่แสวงหาผลก�ำไรหรือองค์กร เพ่ือการกุศล ในปัจจุบันการกล่าวหาและการฟ้องร้องคดี การทุจริตยังมีบทบาทส�ำคัญในด้านการเมือง มากกวา่ ชว่ งทผี่ า่ นมา รฐั บาลในหลาย ประเทศมผี ลการปฏบิ ตั งิ านทไ่ี มโ่ ปรง่ ใสเท่าทค่ี วร องคก์ รระดบั โลก หลายองค์กรเส่อื มเสยี ชอื่ เสยี ง เน่อื งมาจากเหตผุ ลดา้ นความโปรง่ ใส สือ่ มวลชนท่วั ทง้ั โลกตา่ งเฝ้ารอท่จี ะ ได้น�ำเสนอข่าวอ้ือฉาวและการประพฤติผิดจริยธรรมด้านการทุจริต โดยเฉพาะบุคคลซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง ระดบั สงู ตา่ งถูกเฝ้าจบั จ้องว่าจะถกู สอบสวนเมอื่ ใด อาจกล่าวได้ว่าการทจุ รติ เป็นหนงึ่ ในปญั หาใหญ่ที่จะ ขดั ขวางการพฒั นาประเทศใหเ้ ปน็ รฐั สมยั ใหม่ ซง่ึ ตา่ งเปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ การทจุ รติ ควรเปน็ ประเดน็ แรกๆ ท่คี วรให้ความส�ำคัญในวาระของการพฒั นาประเทศของทุกประเทศ เหน็ ไดช้ ดั วา่ การทจุ รติ สง่ ผลกระทบอยา่ งมากกบั การพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในประเทศ ทก่ี �ำลงั พฒั นา เชน่ เดยี วกนั กบั กลมุ่ ประเทศในภมู ภิ าคเอเชยี แปซฟิ กิ กม็ คี วามกงั วลในปญั หาการทจุ รติ ดว้ ย เชน่ เดยี วกนั โดยเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ การทจุ รติ เปน็ ปญั หาใหญท่ กี่ �ำลงั ขดั ขวางการพฒั นาเศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คม ใหก้ า้ วไปสรู่ ัฐสมยั ใหม่ และควรเปน็ ปญั หาทค่ี วรจะต้องรีบแก้ไขโดยเร็วทส่ี ุด การทุจริตน้ันอาจเกดิ ขน้ึ ได้ในประเทศทมี่ สี ถานการณ์ ดงั ต่อไปนี้ ๑) มีกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ข้อก�ำหนดจ�ำนวนมากท่ีเก่ียวข้องกับการด�ำเนินการทางธุรกิจ ซ่ึงจะเป็นโอกาสที่จะท�ำให้เกิดมูลคา่ เพ่ิม หรือก�ำไรส่วนเกินทางเศรษฐกิจ และโดยเฉพาะอย่างย่ิงหากมาตรการหรือข้อก�ำหนดดังกล่าวมีความ ซับซ้อน คลุมเครือ เลือกปฏิบัติ เป็นความลับหรือไม่โปร่งใส ๒) เจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจมีสิทธ์ิขาดในการ ใช้ดุลยพินิจ ซึ่งให้อิสระในการเลือกปฏิบัติเป็นอย่างมากว่าจะเลือกใช้อ�ำนาจใด กับใครก็ได้ ๓) ไม่มี กลไกทม่ี ีประสิทธภิ าพหรอื องคก์ รที่มีหนา้ ทคี่ วบคมุ ดูแลและจัดการตอ่ การกระท�ำใดๆ ของเจ้าหน้าท่ที มี่ ี อ�ำนาจโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ประเทศที่ก�ำลงั พัฒนา การทุจริตมีแนวโน้มท่ีจะเกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งมาก โดยไมใ่ ช่ เพยี งเพราะวา่ ลกั ษณะประชากรนน้ั แตกต่างจากภมู ภิ าคอน่ื ทพ่ี ฒั นาแลว้ หากแตเ่ ปน็ เพราะกลมุ่ ประเทศ ทกี่ �ำลงั พัฒนาน้ันมีปัจจัยภายในต่างๆ ท่ีเอ้ือหรอื สนบั สนุนตอ่ การเกดิ การทุจรติ อาทิ ๑) แรงขบั เคล่ือนที่ อยากมีรายได้ เป็นจ�ำนวนมากอันเป็นผลเน่ืองมาจากความจน ค่าแรงในอัตราท่ีต่�ำ หรือมีสภาวะ ความเส่ยี งสูงในด้านต่างๆ เช่น ความเจ็บป่วย อบุ ัตเิ หตุ หรอื การวา่ งงาน ๒) มสี ถานการณห์ รอื โอกาส ท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริตได้เป็นจ�ำนวนมาก และมีกฎระเบียบต่างๆ ที่อาจน�ำไปสู่การทุจริต ๓) การออกกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรมที่ไม่เขม้ แขง็ ๔) กฎหมายและประมวลจริยธรรมไม่ได้รับ 22 ชดุ หลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษา (Anti - Corruption Education)

การพัฒนาใหท้ นั สมยั ๕) ประชากรในประเทศยงั คงจ�ำเปน็ ตอ้ งพึง่ พาทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยเู่ ปน็ จ�ำนวน มาก ๖) ความไมม่ ีเสถียรภาพทางการเมือง และเจตจ�ำนงทางการเมอื งท่ีไมเ่ ข้มแขง็ ปัจจัยต่างๆ ดังกลา่ ว จะน�ำไปสู่การทุจริต ไม่วา่ จะเป็นทจุ รติ ระดับบนหรือระดับลา่ งก็ตาม ซึง่ ผลทต่ี ามมาอย่างเห็นได้ชัดเจน มีด้วยกันหลายประการ เช่น การทุจริตท�ำให้ภาพลักษณ์ของประเทศด้านความโปร่งใสน้ันเลวร้ายลง การลงทุนในประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงจากนักลงทุนต่างชาติลดน้อยลง ส่งผลกระทบท�ำให้การเติบโต ทางเศรษฐกิจลดน้อยลงไปด้วยเช่นกัน หรือการทุจริตท�ำให้เกิดช่องว่างของความไม่เท่าเทียมท่ีกว้างขึ้น ของประชากรในประเทศหรอื อีกนยั หนง่ึ คือระดบั ความจนนัน้ เพมิ่ สูงขึน้ ในขณะท่ีกลุ่มคนรวยกระจกุ ตัว อยู่เพียงกลุ่มเล็กๆ กลุ่มเดียว นอกจากน้ี การทุจริตยังท�ำให้การสร้างและปรับปรุงสาธารณูปโภคต่างๆ ของประเทศนัน้ ลดลงท้งั ในด้านปริมาณและคณุ ภาพ รวมท้ังยังอาจน�ำพาประเทศไปส่วู กิ ฤติทางการเงนิ ทรี่ า้ ยแรงไดอ้ กี ดว้ ย การเปลี่ยนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) จึงเป็นเร่ืองส�ำคัญอย่างมาก ต่อการด�ำเนินงาน ด้านการต่อต้านการทุจริต ตามค�ำปราศรัยของเลขาธิการสหประชาชาติที่ได้กล่าวต่อที่ประชุม องค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ว่า“การทุจริตเป็นหนึ่ง ในความทา้ ทายที่มคี วามส�ำคัญมากในศตวรรษท่ี ๒๑ ผ้นู �ำโลกควรจะเพมิ่ ความพยายามขน้ึ เปน็ สองเท่า ที่จะสร้างเคร่ืองมือที่มีความเข้มแข็งเพื่อรื้อระบบการทุจริตท่ีซ่อนอยู่ออกให้หมดและน�ำทรัพย์สิน กลับคนื ให้กับประเทศ ตน้ ทางทถ่ี กู ขโมยไป…” ท้งั น้ี ไมเ่ พียงแตผ่ นู้ �ำโลกเท่านน้ั ทตี่ ้องจริงจังมากข้นึ กับ การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เราทกุ คนในฐานะประชากรโลกกม็ คี วามจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเอาจรงิ เอาจงั กบั การตอ่ ตา้ น การทจุ รติ เชน่ เดยี วกนั โดยทว่ั ไปอาจมองวา่ เปน็ เรอ่ื งไกลตวั แตแ่ ทท้ จ่ี รงิ แลว้ การทจุ รติ นน้ั เปน็ เรอื่ งใกลต้ วั ทุกคนในสังคมมาก การเปล่ียนแปลงระบบวธิ กี ารคดิ เป็นเร่ืองส�ำคญั หรือความสามารถในการแยกแยะ ระหว่างประโยชน์ส่วนตนออกจากประโยชน์ส่วนรวม เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องเกิดขึ้นกับทุกคนในสังคม ต้องมีความตระหนักได้วา่ การกระท�ำใดเป็นการล่วงลำ�้ สาธารณประโยชน์ การกระท�ำใดเป็นการกระท�ำ ท่ีอาจเกิดการทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และประโยชน์ส่วนรวม ต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ ของประเทศชาติเปน็ อนั ดบั แรกกอ่ นท่จี ะค�ำนงึ ถงึ ผลประโยชน์สว่ นตนหรอื พวกพอ้ ง การทจุ รติ ในสงั คมไทยระหวา่ งชว่ งกวา่ ทศวรรษทผี่ า่ นมาสง่ ผลเสยี ตอ่ ประเทศอยา่ งมหาศาลและ เปน็ อปุ สรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทกุ มิติ รูปแบบการทุจรติ จากเดมิ ที่เปน็ การทุจริตทางตรงไม่ ซับซอ้ น อาทิ การรบั สนิ บน การจัดซือ้ จัดจ้าง ในปัจจบุ นั ไดป้ รับเปล่ยี นเปน็ การทจุ รติ ทซ่ี บั ซอ้ นมากข้นึ ตวั อยา่ งเช่น การทจุ รติ โดยการท�ำลายระบบการตรวจสอบการใชอ้ �ำนาจรัฐ การกระท�ำทเ่ี ป็น การขัดกัน แหง่ ผลประโยชนห์ รือผลประโยชน์ทบั ซอ้ น และการทจุ รติ เชิงนโยบาย ประเทศไทยมคี วามพยายามแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ โดยหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งเครอื่ ง มอื กลไก และก�ำหนดเปา้ หมายส�ำหรบั การปฏบิ ตั งิ านดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ เรม่ิ ตง้ั แต่ ช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบนั การด�ำเนนิ งานได้สรา้ งความตนื่ ตัวและเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องปรับฐาน ความคิดและสรา้ งความตระหนักรใู้ ห้ทกุ ภาคสว่ นของสังคม หลกั สตู รรายวิชาเพิ่มเตมิ “การปอ้ งกันการทจุ ริต” 23

ส�ำหรบั ประเทศไทยไดก้ �ำหนดทศิ ทางการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ซง่ึ มคี วามสอดคลอ้ ง กบั สถานการณท์ างการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และความรนุ แรง รวมถงึ การสรา้ งความตระหนกั ในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นดว้ ยความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ ของคนในสงั คม ทงั้ น้ี ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ในฐานะองคก์ ร หลักดา้ นการด�ำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต รวมท้ังบูรณาการการท�ำงานด้านการต่อต้าน การทจุ รติ เขา้ กบั ทกุ ภาคสว่ น ดงั นนั้ สาระส�ำคญั ทมี่ คี วามเชอ่ื มโยงกบั ทศิ ทางการปอ้ งกนั และปราบปราม การทุจริต ท่สี �ำนกั งาน ป.ป.ช. มดี ังน้ี ๑. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๒. วาระการปฏริ ปู ท่ี ๑ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ ๓. ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๔. แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ๕. โมเดลประเทศไทยสคู่ วามมั่นคง มงั่ ค่ัง และยง่ั ยืน (Thailand ๔.๐) ๖. ยุทธศาสตร์ชาตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดในหมวดที่ ๔ หน้าที่ของ ประชาชนชาวไทยว่า“...บุคคลมีหน้าท่ี ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริต และประพฤติมิชอบทุก รูปแบบ” ถือได้ว่าเป็นคร้ังแรกท่ีรัฐธรรมนูญได้ก�ำหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็น หน้าทีข่ องประชาชนชาวไทยทกุ คน นอกจากนี้ ยงั ก�ำหนดชดั เจนในหมวดที่ ๕ หน้าท่ขี องรฐั วา่ “รัฐตอ้ ง สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชนถงึ อนั ตรายทเ่ี กดิ จากการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบทง้ั ภาค รัฐและภาคเอกชนและจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันและขจัดการทุจริต และ ประพฤตมิ ชิ อบดงั กลา่ วอย่างเข้มงวด รวมทงั้ กลไกในการส่งเสริมใหป้ ระชาชนรวมตัวกัน เพ่ือมสี ่วนร่วม ในการรณรงค์ใหค้ วามรูต้ ่อตา้ นการทจุ ริต หรอื ช้เี บาะแส โดยได้รบั ความคุ้มครองจากรฐั ตามทก่ี ฎหมาย บญั ญตั ”ิ การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ รฐั ตอ้ งเสรมิ สรา้ งใหป้ ระชาชนไดร้ บั บรกิ ารทส่ี ะดวก มปี ระสทิ ธภิ าพ ทสี่ �ำคญั คอื ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ติ ามหลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมอื งทด่ี ี ซงึ่ การบรหิ ารงานบคุ คลของหนว่ ยงาน ของรฐั ตอ้ งเปน็ ไปตามระบบคณุ ธรรมตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ โดยอยา่ งนอ้ ยตอ้ งมมี าตรการปอ้ งกนั มใิ หผ้ ใู้ ด ใชอ้ �ำนาจหรอื กระท�ำการโดยมชิ อบแทรกแซงการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี หรอื กระบวนการแตง่ ตง้ั หรอื การพจิ ารณา ความดีความชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และรัฐต้องจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงาน ใช้เป็นหลักในการก�ำหนดประมวลจริยธรรมส�ำหรับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ซ่ึงต้องไม่ต�่ำกว่ามาตรฐาน ทางจริยธรรมดังกล่าว การที่รัฐธรรมนูญได้ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารราชการที่มีประสิทธิภาพและ การบริหารบุคคลที่มีคุณธรรมน้ันสืบเน่ืองมาจากช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาได้เกิดปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับ การบรหิ ารบคุ คล มกี ารโยกยา้ ยแตง่ ตงั้ ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม บงั คบั หรอื ชน้ี �ำใหข้ า้ ราชการหรอื เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ปฏบิ ตั งิ าน โดยไม่ยึดม่ันในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐ รวมถึงการมุ่งเน้นการแสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเองรวม ถึงพวกพ้อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงได้มีความพยายามท่ีจะแสดง 24 ชดุ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)

ให้เห็นอยา่ งชัดเจนว่าต้องการสร้างประสิทธิภาพในระบบการบริหารงานราชการแผ่นดินและเจา้ หน้าท ่ี ของรัฐ ต้องยึดม่นั ในหลักธรรมาภบิ าล และมคี ุณธรรมจริยธรรมตามท่ีก�ำหนดเอาไว้ วาระการปฏริ ปู ที่ ๑ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของสภาปฏริ ปู แหง่ ชาติ สภาปฏริ ปู แหง่ ชาตใิ นฐานะองคก์ รทม่ี บี ทบาทและอ�ำนาจหนา้ ทใี่ นการปฏริ ปู กลไก และปฏบิ ตั ิ งานด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ได้มีข้อเสนอเพ่ือปฏิรูปด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ เพ่ือแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ ยั่งยืน เป็นรูปธรรมปฏิบัติ ได้ สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและบริบทของสังคมไทย โดยเสนอให้มียุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา ๓ ยุทธศาสตร์ ประกอบดว้ ย (๑) ยทุ ธศาสตร์การปลูกฝงั “คนไทย ไมโ่ กง”เพือ่ ปฏริ ูปคนใหม้ จี ติ ส�ำนกึ สรา้ งจติ ส�ำนกึ ทตี่ วั บคุ คลรบั ผดิ ชอบชวั่ ดอี ะไรควรท�ำ อะไรไมค่ วรท�ำ มองวา่ การทจุ รติ เปน็ เรอื่ งน่ารงั เกยี จ เป็นการเอาเปรียบสังคมและสังคมไม่ยอมรับ (๒) ยุทธศาสตร์การป้องกันด้วยการเสริมสร้างสังคม ธรรมาภบิ าล เพอื่ เปน็ ระบบปอ้ งกนั การทจุ รติ เสมอื นการสรา้ งระบบภมู ติ า้ นทานแกท่ กุ ภาคสว่ นในสงั คม (๓) ยุทธศาสตร์การปราบปราม เพ่ือปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการต่อกรณีการทุจริตให้มี ประสิทธิภาพ ให้สามารถเอาตัวผู้กระท�ำความผิดมาลงโทษได้ ซ่ึงจะท�ำให้เกิดความเกรงกลัวไม่กล้า ทจ่ี ะกระท�ำการทุจริตขนึ้ อกี ในอนาคต ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) สภาขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศไดก้ �ำหนด ใหก้ ฎหมายว่าดว้ ยยุทธศาสตรช์ าติมผี ลบงั คบั ภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ หรือภายในรัฐบาลน้ี และก�ำหนดให้ หนว่ ยงานของรฐั ทกุ หนว่ ยงานน�ำยทุ ธศาสตรช์ าติ ยทุ ธศาสตรด์ า้ นตา่ งๆ แผนพฒั นาดา้ นตา่ งๆ มาเปน็ แผน แม่บทหลักในการก�ำหนดแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ ยุทธศาสตร์ชาติดังกลา่ วเป็นยุทธศาสตร ์ ที่ยึดวัตถุประสงค์หลักแห่งชาติเป็นแม่บทหลัก ทิศทางด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การสรา้ งความโปรง่ ใสและธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของหนว่ ยงานภาครฐั ทกุ หนว่ ยงาน จะถูกก�ำหนดจากยุทธศาสตรช์ าติ สภาขับเคลอ่ื นการปฏิรูปแห่งชาติ วางกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะ ๒๐ ปี โดยมีกรอบวิสัย ทัศน์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคงั่ ยง่ั ยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง” คติพจนป์ ระจ�ำชาติว่า “มัน่ คง มง่ั คั่ง ย่ังยนื ” ประกอบดว้ ย ๖ ยทุ ธศาสตร์ คอื ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ความม่ันคง ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ การ พัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๔ การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทาง สงั คม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๕ การสรา้ งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม และยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ การปรบั สมดลุ และพฒั นา การบรหิ ารจดั การภาครฐั ในยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ ไดก้ �ำหนดกรอบแนวทางทสี่ �ำคญั ๖ แนวทาง ประกอบดว้ ย (๑) การปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การรายไดแ้ ละรายจา่ ยของภาครฐั (๒) การพฒั นา ระบบ การให้บรกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ (๓) การปรับปรงุ บทบาท ภารกิจ และโครงสร้าง ของหน่วยงานภาครัฐให้มีขนาดท่ีเหมาะสม (๔) การวางระบบบริหารงานราชการแบบบูรณาการ (๕) การพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การก�ำลงั คนและพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั ในการปฏบิ ตั ริ าชการ (๖) การตอ่ ตา้ น หลกั สูตรรายวชิ าเพม่ิ เติม “การปอ้ งกันการทจุ รติ ” 25

การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ (๗) การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั ให้มีความชดั เจน ทนั สมยั เปน็ ธรรม และสอดคลอ้ งกบั ขอ้ บงั คบั สากลหรอื ขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ ตลอดจนพฒั นาหนว่ ย งานภาครัฐและบุคลากรท่มี ีหนา้ ท่เี สนอความเห็นทางกฎหมายใหม้ ีศักยภาพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ก�ำหนดใน ยุทธศาสตร์ท่ี ๖ การบริหารจัดการภาครัฐ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย ในยุทธศาสตร์น้ี ได้ก�ำหนดกรอบแนวทางการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ คอร์รัปชัน มุ่งเน้นการส่งเสริม และพัฒนาปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม วิธีคิดและกระบวนทัศน์ให้คน มคี วามตระหนกั มคี วามรู้เท่าทันและมีภมู ติ า้ นทาน ตอ่ โอกาสและการชกั จูงให้เกดิ การทจุ รติ คอร์รัปชัน และมีพฤติกรรมไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมทั้งสนับสนุนทุกภาคส่วน ในสังคมได้เข้ามา มสี ว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั และปราบรามการทจุ รติ และมงุ่ เนน้ ใหเ้ กดิ การสง่ เสรมิ ธรรมาภบิ าลในภาคเอกชน เพอ่ื เปน็ การตดั วงจรการทจุ รติ ระหวา่ งนกั การเมอื ง ขา้ ราชการ และนกั ธรุ กจิ ออกจากกนั ทงั้ นี้ การบรหิ าร งานของส่วนราชการต้องมีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ โมเดลประเทศไทยสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน (Thailand ๔.๐) เป็นโมเดลท่ีน้อมน�ำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น ๒ ยุทธศาสตร์ส�ำคัญ คือ (๑) การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Strength from Within) และ (๒) การเช่ือมโยงกับประชาคมโลก ในยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน Thailand ๔.๐ เนน้ การปรบั เปลยี่ น ๔ ทศิ ทางและเนน้ การพฒั นาทส่ี มดลุ ใน ๔ มติ ิ มติ ทิ ห่ี ยบิ ยก คอื การยกระดบั ศกั ยภาพ และคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom) ดว้ ยการพัฒนาคนไทยให้เปน็ “มนษุ ยท์ ส่ี มบูรณ”์ ผ่านการ ปรับเปลี่ยนระบบนิเวศน์ การเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝัง จิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นท่ีต้ัง มีความซ่ือสัตย์ สุจริต มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เน้นการสร้างคุณค่าร่วม และค่านิยมที่ดี คือ สังคมท่ีมีความหวัง (Hope) สังคมท่ี เปีย่ มสุข (Happiness) และสังคมทม่ี คี วามสมานฉนั ท์ (Harmony) ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ทก่ี �ำหนดวสิ ยั ทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ า้ นทจุ รติ ”(ZeroTolerance& Clean Thailand) ก�ำหนดยุทธศาสตรห์ ลักออกเป็น ๖ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ีส�ำคญั คอื ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสังคม ท่ีไม่ทนต่อการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทน ตอ่ การทจุ รติ ” โดยเรมิ่ ตง้ั แตก่ ระบวนการกลอ่ มเกลาทางสงั คม สรา้ งวฒั นธรรมตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ปลกู ฝงั ความพอเพยี ง มวี นิ ยั ซอื่ สัตย์ สจุ ริต มีจติ สาธารณะ จติ อาสา และความเสยี สละเพ่ือส่วนรวม ปลูกฝัง ความคิดแบบดิจทิ ัล (Digital Thinking) ใหส้ ามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ สว่ นรวม และประยุกตห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นเคร่อื งมอื ตา้ นทุจริต สาระส�ำคัญทั้ง ๖ ด้านดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือชี้น�ำทิศทางการปฏิบัติงานและการบูรณาการ ด้านต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการงานของ ภาคสว่ นตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั และเพ่ือให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 26 ชดุ หลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษา (Anti - Corruption Education)

๒. ทฤษฎี ความหมาย และรปู แบบของการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชน์ ส่วนรวม (Conflict of Interests) ค�ำวา่ Conflict of Interests มผี ใู้ หค้ �ำแปลเปน็ ภาษาไทยไวห้ ลากหลาย เชน่ “การขดั กนั แหง่ ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม” หรอื “การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ สว่ นรวม” หรอื “การขัดกันระหว่างผลประโยชน์สาธารณะและผลประโยชนส์ ว่ นตน” หรอื “ประโยชน์ ทบั ซอ้ น” หรือ “ผลประโยชน์ทับซ้อน” หรอื “ผลประโยชน์ขดั กัน” หรือบางทา่ นแปลวา่ “ผลประโยชน์ ขัดแยง้ ” หรอื “ความขัดแย้งทางผลประโยชน์” การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม หรอื ทเ่ี รยี กวา่ Conflict of Interests นั้นก็มีลักษณะท�ำนองเดียวกันกับกฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หลักคุณธรรม จริยธรรม กล่าวคอื การกระท�ำใดๆ ทเ่ี ปน็ การขดั กนั ระหว่างประโยชน์สว่ นตนกับประโยชนส์ ่วนรวม เปน็ สง่ิ ท่ีควร หลกี เลี่ยงไมค่ วรจะกระท�ำ แตบ่ คุ คลแตล่ ะคน แตล่ ะกลมุ่ แต่ละสังคม อาจเห็นวา่ เรื่องใดเป็นการขดั กัน ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวมแตกต่างกนั ไป หรอื เมอ่ื เหน็ วา่ เปน็ การขดั กนั แลว้ ยงั อาจมี ระดบั ของความหนกั เบาแตกตา่ งกนั อาจเหน็ แตกตา่ งกนั วา่ เรอ่ื งใดกระท�ำไดก้ ระท�ำไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งกนั ออก ไปอกี และในกรณที ่มี กี ารฝา่ ฝนื บางเร่ืองบางคนอาจเห็นวา่ ไม่เป็นไร เปน็ เรอื่ งเลก็ นอ้ ย หรอื อาจเหน็ เปน็ เร่อื งใหญ่ ต้องถูกประณาม ต�ำหนิ ตฉิ ิน นินทา วา่ กลา่ ว ฯลฯ แตกต่างกันตามสภาพของสังคม โดยพน้ื ฐานแลว้ เรอื่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ กฎศลี ธรรม ประเภทหน่งึ ที่บคุ คลไมพ่ งึ ละเมดิ หรอื ฝ่าฝนื แต่เนอ่ื งจากมกี ารฝ่าฝนื กนั มากข้ึน และบคุ คลผูฝ้ า่ ฝนื กไ็ ม่มี ความเกรงกลวั หรอื ละอายตอ่ การฝา่ ฝนื นน้ั สงั คมกไ็ มล่ งโทษหรอื ลงโทษไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะมผี ลเปน็ การหา้ ม การกระท�ำดงั กลา่ ว และในทสี่ ดุ เพอื่ หยดุ ยง้ั เรอ่ื งดงั กลา่ วน้ี จงึ มกี ารตรากฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การขดั กนั แหง่ ผลประโยชน์มากขนึ้ ๆ และเปน็ เร่อื งทีส่ ังคมใหค้ วามสนใจมากข้ึนตามล�ำดบั คู่มอื การปฏบิ ตั สิ �ำหรบั เจ้าหน้าทข่ี องรัฐเพื่อมิให้ด�ำเนินกจิ การท่ีเปน็ การขัดกันประโยชนสว่ นตน และประโยชนส์ ว่ นรวม ตามมาตรา ๑๒๖ แหง่ กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบ ปรามการทจุ รติ ไดใ้ หค้ วามหมายไวด้ ังนี้ “ประโยชนส์ ่วนตน (Private Interests) คือ การทีบ่ คุ คลท่ัวไปในสถานะเอกชนหรอื เจ้าหน้าที่ ของรัฐในสถานะเอกชนได้ท�ำกิจกรรมหรือได้กระท�ำการต่างๆ เพื่อประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว เครือ ญาติ พวกพอ้ ง หรอื ของกล่มุ ในสงั คมที่มีความสมั พนั ธก์ นั ในรูปแบบตา่ งๆ เช่น การประกอบอาชพี การ ท�ำธุรกิจ การคา้ การลงทุน เพ่อื หาประโยชน์ในทางการเงินหรอื ในทางธุรกจิ เปน็ ต้น” “ประโยชนส์ ว่ นรวมหรอื ประโยชนส์ าธารณะ (Public Interests) คอื การทบ่ี คุ คลใดๆ ในสถานะ ทเ่ี ปน็ เจ้าหน้าทขี่ องรฐั (ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื ง ขา้ ราชการ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ หรอื เจ้าหน้าทข่ี อง รฐั ในหนว่ ยงานของรฐั ) ไดก้ ระท�ำการใดๆ ตามหนา้ ทหี่ รอื ไดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี นั เปน็ การด�ำเนนิ การในอกี สว่ น หนงึ่ ทแ่ี ยกออกมาจากการด�ำเนนิ การตามหนา้ ทใี่ นสถานะของเอกชน การกระท�ำการใดๆ ตามหนา้ ทข่ี อง เจ้าหน้าที่ของรัฐจึงมีวัตถุประสงค์หรือมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม หรือการรักษาประโยชน์ หลักสตู รรายวิชาเพิม่ เติม “การป้องกันการทุจริต” 27

สว่ นรวมทเ่ี ปน็ ประโยชนข์ องรฐั การท�ำหนา้ ทขี่ องเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จงึ มคี วามเกย่ี วเนอื่ งเชอื่ มโยงกบั อ�ำนาจ หนา้ ทต่ี ามกฎหมายและจะมรี ปู แบบของความสมั พนั ธห์ รอื มกี ารกระท�ำในลกั ษณะตา่ งๆ กนั ทเี่ หมอื นหรอื คลา้ ยกบั การกระท�ำของบุคคลในสถานะเอกชน เพียงแตก่ ารกระท�ำในสถานะทเ่ี ป็นเจ้าหน้าท่ีของรฐั กบั การกระท�ำในสถานะเอกชน จะมคี วามแตกต่างกนั ทว่ี ตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายหรอื ประโยชนส์ ดุ ท้ายทแี่ ตก ต่างกัน” “การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมหรอื ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (Conflict of interests) คอื การทเี่ จา้ หน้าทข่ี องรฐั กระท�ำการใดๆ หรอื ด�ำเนนิ การในกจิ การสาธารณะทเ่ี ปน็ การด�ำเนนิ การ ตามอ�ำนาจหน้าท่ีหรอื ความรับผดิ ชอบในกิจการของรัฐหรือองคก์ รของรัฐ เพอ่ื ประโยชนข์ องรัฐหรือเพือ่ ประโยชน์ของสว่ นรวม แต่เจา้ หน้าที่ของรฐั ได้มีผลประโยชนส์ ว่ นตนเข้าไปแอบแฝง หรอื เป็นผู้ทมี่ ีสว่ นได้ เสยี ในรปู แบบตา่ งๆ หรือน�ำประโยชน์สว่ นตนหรอื ความสมั พันธส์ ว่ นตนเขา้ มามอี ิทธพิ ลหรือเก่ียวขอ้ งใน การใชอ้ �ำนาจหน้าที่หรอื ดลุ พนิ จิ ในการพิจารณาตดั สินใจในการกระท�ำการใดๆ หรอื ด�ำเนนิ การดงั กลา่ ว นั้น เพ่อื แสวงหาประโยชนใ์ นการทางเงนิ หรือประโยชนอ์ น่ื ๆ ส�ำหรบั ตนเองหรือบุคคลใดบคุ คลหนึ่ง” ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง “การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม” “จรยิ ธรรม” และ “การทจุ ริต “จริยธรรม” เป็นกรอบใหญ่ทางสังคมที่เป็นพื้นฐานของแนวคิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์ส่วนรวมและการทุจริต การกระท�ำใดทผ่ี ดิ ต่อกฎหมายว่าดว้ ยการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวมและการทจุ รติ ยอ่ มเปน็ ความผิดจริยธรรมด้วย แต่ตรงกันข้าม การกระท�ำใดที่ฝ่าฝืนจริยธรรม อาจไม่เป็นความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหว่าง ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมและการทจุ รติ เชน่ มพี ฤตกิ รรมสว่ นตวั ไมเ่ หมาะสม มพี ฤตกิ รรม ช้สู าว เปน็ ตน้ ทุจรติ Corruption ผลประโยชน์ทับซ้อน Conflict of Interrests จรยิ ธรรม Ethics 28 ชุดหลักสตู รต้านทุจรติ ศึกษา (Anti - Corruption Education)

“จริยธรรม” เปน็ หลกั ส�ำคัญในการควบคุมพฤตกิ รรมของเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ เปรียบเสมอื นโครงสร้างพืน้ ฐาน ท่เี จา้ หน้าทขี่ องรฐั ต้องยดึ ถือปฏิบตั ิ “การขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม” เป็นพฤติกรรมที่อยู่ระหว่างจริยธรรมกับการทุจรติ ที่จะก่อให้เกิดผลประโยชนส์ ว่ นตนกระทบตอ่ ผลประโยชน์สว่ นรวม ซ่ึงพฤตกิ รรมบางประเภทมกี ารบญั ญัติเป็น ความผิดทางกฎหมายมบี ทลงโทษชดั เจน แต่พฤติกรรมบางประเภทยงั ไม่มกี ารบญั ญัตขิ อ้ ห้ามไว้ในกฎหมาย “การทุจริต” เปน็ พฤตกิ รรมท่ีฝา่ ฝนื กฎหมายโดยตรง ถอื เปน็ ความผดิ อยา่ งชัดเจน สังคมส่วนใหญจ่ ะมีการ บัญญัตกิ ฎหมายออกมารองรบั มีบทลงโทษชัดเจน ถือเป็นความผดิ ขัน้ รุนแรงที่สุดที่เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐต้องไม่ ปฏิบตั ิ “เจา้ หน้าที่ของรัฐทีข่ าดจริยธรรมในการปฏบิ ัติหน้าท่ี โดยเขา้ ไปกระท�ำการใดๆ ท่ีเปน็ การขดั กันระหว่าง ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ถอื ว่าเจ้าหน้าท่ีของรฐั ผู้นน้ั ขาดความชอบธรรมในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี และจะเปน็ ตน้ เหตขุ องการทุจรติ ตอ่ ไป” รูปแบบของการขดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม การขัดกนั ระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมมไี ดห้ ลายรปู แบบไม่จ�ำกดั อยเู่ ฉพาะ ในรูปแบบของตัวเงนิ หรือทรพั ยส์ ินเท่านนั้ แต่รวมถงึ ผลประโยชน์อ่นื ๆ ที่ไม่ไดอ้ ยูใ่ นรูปแบบของตวั เงิน หรือทรัพย์สินด้วย ทง้ั นี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจ้ �ำแนกรปู แบบของการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและประโยชนส์ ว่ นรวม ออกเป็น ๗ รปู แบบ คือ ๑) การรับผลประโยชน์ต่างๆ (Accepting benefits) ซ่ึงผลประโยชน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ทรัพยส์ ิน ของขวญั การลดราคา การรับความบันเทิง การรับบรกิ าร การรับการฝกึ อบรม หรือสง่ิ อื่นใด ในลักษณะเดียวกนั นี้ และผลจากการรับผลประโยชนต์ ่างๆ นน้ั ได้ส่งผลใหต้ อ่ การตดั สินใจของเจา้ หน้าท่ี ของรฐั ในการด�ำเนนิ การตามอ�ำนาจหน้าที่ ๒) การท�ำธุรกิจกับตนเอง (Self - dealing) หรือเป็นคู่สัญญา (Contracts) เป็นการท ี่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั โดยเฉพาะผมู้ อี �ำนาจในการตดั สนิ ใจ เขา้ ไปมสี ว่ นไดเ้ สยี ในสญั ญาทที่ �ำกบั หนว่ ยงานทต่ี น สงั กดั โดยอาจจะเปน็ เจ้าของบรษิ ทั ทที่ �ำสญั ญาเอง หรอื เปน็ ของเครอื ญาติ สถานการณเ์ ชน่ นเ้ี กดิ บทบาท ทข่ี ดั แยง้ หรอื เรยี กได้ว่าเป็นทง้ั ผซู้ อื้ และผู้ขายในเวลาเดยี วกัน ๓) การท�ำงานหลงั จากออกจากต�ำแหนง่ หนา้ ทสี่ าธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ (Post-employ- ment) เปน็ การทเี่ จ้าหนา้ ท่ีของรัฐลาออกจากหน่วยงานของรฐั และไปท�ำงานในบรษิ ัทเอกชนทีด่ �ำเนิน ธุรกิจประเภทเดียวกันหรือบริษัทท่ีมีความเก่ียวข้องกับหน่วยงานเดิม โดยใช้อิทธิพลหรือความสัมพันธ์ จากท่เี คยด�ำรงต�ำแหน่งในหน่วยงานเดิมน้ัน หาประโยชน์จากหน่วยงานให้กับบริษทั และตนเอง หลักสูตรรายวชิ าเพ่ิมเตมิ “การป้องกนั การทุจริต” 29

๔) การท�ำงานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบน้ีมีได ้ หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นการท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐต้ังบริษัทด�ำเนินธุรกิจ ท่ีเป็นการแข่งขันกับหน่วยงาน หรือองค์การสาธารณะท่ีตนสังกัด หรือการรับจ้างพิเศษเป็นท่ีปรึกษาโครงการ โดยอาศัยต�ำแหน่งใน ราชการสร้างความน่าเชื่อถือว่าโครงการของผู้ว่าจ้างจะไม่มีปัญหาติดขัดในการพิจารณาจากหน่วยงาน ทท่ี ี่ปรกึ ษาสงั กัดอยู่ ๕) การรขู้ อ้ มลู ภายใน (Inside information) เปน็ สถานการณท์ เี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ใชป้ ระโยชน์ จากการท่ีตนเองรับรู้ข้อมูลภายในหน่วยงาน และน�ำข้อมูลนั้นไปหาผลประโยชน์ให้กับตนเองหรือพวก พอ้ ง อาจจะไปหาประโยชนโ์ ดยการขายข้อมูลหรอื เข้าเอาประโยชนเ์ สยี เอง ๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพ่ือประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s property for private advantage) เป็นการท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐน�ำเอาทรัพย์สินของราชการซ่ึงจะ ต้องใช้เพ่ือประโยชน์ของทางราชการเทา่ นัน้ ไปใชเ้ พ่ือประโยชนข์ องตนเองหรอื พวกพ้อง หรอื การใช้ใหผ้ ู้ ใตบ้ งั คับบัญชาไปท�ำงานส่วนตัว ๗) การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตง้ั เพอ่ื ประโยชนท์ างการเมอื ง (Pork - barreling) เป็นการที่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองหรือผู้บริหารระดับสูงอนุมัติโครงการไปลงพ้ืนท่ีหรือบ้านเกิดของ ตนเอง หรอื การใชง้ บประมาณสาธารณะเพอื่ หาเสยี งทงั้ นี้ เมอ่ื พจิ ารณา “รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยความ ผดิ เกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนกบั ประโยชน์ส่วนรวม พ.ศ. ....” ท�ำใหม้ รี ูปแบบเพมิ่ เตมิ จาก ทีก่ ลา่ วมาแล้วขา้ งต้นอกี ๒ กรณี คือ ๘) การใช้ต�ำแหน่งหน้าที่แสวงหาประโยชน์แก่เครือญาติหรือพวกพ้อง (Nepotism) หรือ อาจจะเรยี กวา่ ระบบอปุ ถมั ภพ์ เิ ศษ เปน็ การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ใชอ้ ทิ ธพิ ลหรอื ใชอ้ �ำนาจหนา้ ทท่ี �ำใหห้ นว่ ย งานของตนเข้าท�ำสญั ญากับบริษัทของพน่ี ้องของตน ๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าท่ีรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น (influence) เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง โดยเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ต�ำแหน่งหน้าท่ีข่มขู่ ผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชาใหห้ ยุดท�ำการตรวจสอบบริษัทของเครือญาตขิ องตน ตวั อยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมในรูปแบบต่างๆ ๑. การรบั ผลประโยชนต์ ่าง ๆ ๑.๑ นายสจุ รติ ขา้ ราชการชนั้ ผใู้ หญ่ ไดเ้ ดนิ ทางไปปฏบิ ตั ริ าชการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ราชบรุ ี ซงึ่ ในวนั ดงั กล่าว นายรวย นายก อบต. แหง่ หนง่ึ ไดม้ อบงาช้างจ�ำนวนหนง่ึ คใู่ หแ้ ก่ นายสจุ รติ เพอ่ื เปน็ ของทรี่ ะลกึ ๑.๒ การทเ่ี จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั รบั ของขวญั จากผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เอกชน เพอ่ื ชว่ ยใหบ้ รษิ ทั เอกชน รายนัน้ ชนะการประมลู รับงานโครงการขนาดใหญ่ของรฐั 30 ชุดหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๑.๓ การทบี่ รษิ ัทแหง่ หนึ่งใหข้ องขวญั เปน็ ทองค�ำมูลค่ามากกว่า ๑๐ บาท แกเ่ จ้าหน้าทีใ่ นปีท่ี ผา่ นมา และปนี เี้ จา้ หนา้ ทเ่ี รง่ รดั คนื ภาษใี หก้ บั บรษิ ทั นนั้ เปน็ กรณพี เิ ศษ โดยลดั ควิ ใหก้ อ่ นบรษิ ทั อน่ื ๆ เพราะ คาดว่าจะได้รับของขวญั อกี ๑.๔ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจและได้รับ ความบันเทิงในรูปแบบต่างๆ จากบริษัทเหล่านั้น ซึ่งมีผลต่อการให้ค�ำวินิจฉัยหรือข้อเสนอแนะท่ีเป็น ธรรมหรอื เป็นไปในลกั ษณะท่เี อ้อื ประโยชน์ ตอ่ บรษิ ัทผู้ให้น้นั ๆ ๑.๕ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไดร้ บั ชดุ ไมก้ อลฟ์ จากผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เอกชน เมอื่ ตอ้ งท�ำงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง กบั บรษิ ทั เอกชนแหง่ นน้ั กช็ ว่ ยเหลอื ใหบ้ รษิ ทั นน้ั ไดร้ บั สมั ปทาน เนอื่ งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเี่ คยไดร้ บั ของขวญั มา ๒. การทำ�ธุรกิจกับตนเองหรอื เปน็ ค่สู ญั ญา ๒.๑ การทเี่ จา้ หนา้ ทใ่ี นกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จา้ งท�ำสญั ญาใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั ซอ้ื คอมพวิ เตอร์ ส�ำนักงานจากบรษิ ัทของครอบครัวตนเอง หรือบรษิ ทั ท่ีตนเองมีห้นุ สว่ นอยู่ ๒.๒ ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงานท�ำสญั ญาเชา่ รถไปสมั มนาและดงู านกบั บรษิ ทั ซง่ึ เปน็ ของเจา้ หนา้ ทหี่ รอื บรษิ ทั ท่ผี ู้บริหารมหี ุ้นส่วนอยู่ ๒.๓ ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงาน ท�ำสญั ญาจา้ งบรษิ ทั ทภี่ รรยาของตนเองเปน็ เจา้ ของมาเปน็ ทปี่ รกึ ษา ของหนว่ ยงาน ๒.๔ ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงาน ท�ำสญั ญาใหห้ นว่ ยงานจดั ซอ้ื ทดี่ นิ ของตนเองในการสรา้ งส�ำนกั งาน แหง่ ใหม่ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซ้ือที่ดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรม แหง่ ประเทศไทย จากกองทนุ เพอื่ การฟน้ื ฟแู ละพฒั นาระบบสถาบนั การเงนิ ในการก�ำกบั ดแู ลของธนาคาร แหง่ ประเทศไทย กระทรวงการคลงั โดยอดตี นายกรฐั มนตรี ซงึ่ ในขณะนน้ั ด�ำรงต�ำแหนง่ นายกรฐั มนตรใี น ฐานะเจา้ พนกั งานมหี นา้ ทดี่ แู ลกจิ การของกองทนุ ฯ ไดล้ งนามยนิ ยอมในฐานะคสู่ มรสใหภ้ รรยาประมลู ซอื้ ท่ดี ินและท�ำสัญญาซ้ือขายทด่ี นิ สง่ ผลให้เปน็ คสู่ ัญญาหรอื มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียในสัญญาซื้อที่ดนิ โฉนดแปลง ดังกล่าว อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืนต่อกฎหมาย มีความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐ (๑) หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การปอ้ งกันการทจุ ริต” 31

๓. การท�ำ งานหลังจากออกจากต�ำ แหนง่ หน้าที่สาธารณะหรือหลงั เกษยี ณ ๓.๑ อดีตผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลแห่งหน่ึงเพ่ิงเกษียณอายุราชการไปท�ำงานเป็นที่ปรึกษา ในบรษิ ัทผลิตหรือขายยา โดยใชอ้ ทิ ธิพลจากทีเ่ คยด�ำรงต�ำแหนง่ ในโรงพยาบาลดงั กล่าว ใหโ้ รงพยาบาล ซอ้ื ยาจากบรษิ ทั ทตี่ นเองเปน็ ทป่ี รกึ ษาอยู่ พฤตกิ ารณเ์ ชน่ นม้ี มี ลู ความผดิ ทงั้ ทางวนิ ยั และทางอาญาฐานเปน็ เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ท่ีอาจท�ำให้ผู้อื่นเชื่อว่าตนมีต�ำแหน่ง หรือหนา้ ท่ี ทัง้ ท่ตี นมไิ ด้มตี �ำแหนง่ หรือหนา้ ที่น้ัน เพือ่ แสวงหาประโยชนท์ มี่ ิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ส�ำหรับตนเองหรือผู้อื่น ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๓ ๓.๒ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการ ไปท�ำงานในบรษิ ัทผลิตหรอื ขายยา ๓.๓ การท่ีผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานท่ีเกษียณแล้วใช้อิทธิพลท่ีเคยด�ำรงต�ำแหน่ง ในหน่วยงานรัฐ รับเป็นที่ปรึกษาให้บริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอา้ งวา่ จะได้ติดต่อกับ หนว่ ยงานรัฐไดอ้ ย่างราบรน่ื ๓.๔ การว่าจ้างเจ้าหน้าที่ผู้เกษียณมาท�ำงานในต�ำแหน่งเดิมที่หน่วยงานเดิมโดยไม่คุ้มค่ากับ ภารกิจท่ไี ด้รบั มอบหมาย ๔. การท�ำ งานพิเศษ ๔.๑ เจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบภาษี ๖ ส�ำนกั งานสรรพากรจงั หวดั ในสว่ นภมู ภิ าค ไดจ้ ดั ตง้ั บรษิ ทั รบั จา้ ง ท�ำบญั ชแี ละให้ค�ำปรกึ ษาเก่ียวกบั ภาษีและมีผลประโยชน์เกยี่ วขอ้ งกับบรษิ ัท โดยรบั จา้ งท�ำบัญชแี ละยื่น แบบแสดงรายการใหผ้ เู้ สียภาษีในเขตจังหวดั ทีร่ ับราชการอยแู่ ละจังหวดั ใกลเ้ คียง กลบั มีพฤตกิ ารณ์ชว่ ย เหลอื ผเู้ สยี ภาษใี หเ้ สยี ภาษนี อ้ ยกวา่ ความเปน็ จรงิ และรบั เงนิ คา่ ภาษอี ากรจากผเู้ สยี ภาษบี างรายแลว้ มไิ ด้ น�ำไปยนื่ แบบแสดงรายการช�ำระภาษใี ห้ พฤตกิ ารณข์ องเจา้ หนา้ ทดี่ งั กลา่ ว เปน็ การไมป่ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั กรมสรรพากรว่าด้วยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๙ (๗) (๘) และอาศยั ต�ำแหน่ง หนา้ ทร่ี าชการของตน หาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเอง เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรงตามมาตรา ๘๓ (๓) แหง่ พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ อกี ท้งั เป็นการปฏิบตั ิหนา้ ทีร่ าชการโดยมชิ อบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเสยี หายแกท่ างราชการโดยร้ายแรง และปฏบิ ตั หิ น้าทร่ี าชการโดยทจุ รติ และยงั กระท�ำ การอันไดช้ ่อื วา่ เป็นผ้ปู ระพฤติชวั่ อย่างร้ายแรงเปน็ ความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑) และ (๔) แหง่ พระราชบญั ญัตริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔.๒ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค หารายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน ได้อาศัยโอกาสท่ีตนปฏิบัติหน้าท่ี 32 ชุดหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา (Anti - Corruption Education)

เร่งรัดภาษีอากรค้างผู้ประกอบการรายหนึ่งหาประโยชน์ให้แก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่หุ้น ส่วนผู้จัดการของผู้ประกอบการดังกล่าว รวมท้ังพนักงานของผู้ประกอบการนั้นอีกหลายคน ในขณะท่ี ตนก�ำลังด�ำเนินการเร่งรัดภาษีอากรค้าง พฤติการณ์ของเจา้ หนา้ ท่ีดังกลา่ วเป็นการอาศัยต�ำแหน่งหนา้ ที่ ราชการของตนหาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเอง เปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ตามมาตรา ๘๓ (๓) ประกอบ มาตรา ๘๔ แห่งพระราชบัญญตั ิระเบยี บข้าราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔.๓ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยต�ำแหน่งหน้าท่ีทางราชการรับจ้างเป็นท่ีปรึกษาโครงการ เพอื่ ใหบ้ ริษทั เอกชนที่วา่ จา้ งนน้ั มคี วามนา่ เชื่อถือมากกวา่ บรษิ ัทคูแ่ ข่ง ๔.๔ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ท�ำงานท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่ แต่เอาเวลา ไปรับงานพเิ ศษอ่นื ๆ ที่อยนู่ อกเหนอื อ�ำนาจหนา้ ที่ท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากหนว่ ยงาน ๔.๕ การที่ผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นท่ีปรึกษา หรือเป็นผู้ท�ำบัญชีให้กับบริษัท ทตี่ อ้ งถูกตรวจสอบ ๕. การรขู้ อ้ มูลภายใน ๕.๑ นายช่าง ๕ แผนกชุมสายโทรศัพท์เคล่ือนท่ี องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ได้น�ำ ขอ้ มลู เลขหมายโทรศัพทเ์ คล่ือนที่ระบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดล็อคไปขายใหแ้ ก่ผู้อน่ื จ�ำนวน ๔๐ หมายเลข เพ่ือน�ำไปปรับจูนเข้ากับโทรศัพท์เคล่ือนท่ีท่ีน�ำไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลทั่วไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ติช้มี ูลความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗ และ มาตรา ๑๖๔ และมีความผิดวินัย ข้อบงั คบั องค์การโทรศพั ท์แห่งประเทศไทยวา่ ด้วยการพนักงาน พ.ศ. ๒๕๓๖ ขอ้ ๔๔ และ ๔๖ ๕.๒ การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทราบขอ้ มลู โครงการตดั ถนนเขา้ หมบู่ า้ น จงึ บอกใหญ้ าตพิ น่ี อ้ งไปซอื้ ท่ดี ินบรเิ วณโครงการดังกล่าว เพ่อื ขายใหก้ บั ราชการในราคาท่สี งู ขึ้น ๕.๓ การทเ่ี จ้าหน้าท่หี นว่ ยงานผ้รู บั ผิดชอบโครงขา่ ยโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ อุปกรณ์ท่ีจะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนที่ตนรู้จัก เพ่ือให้ได้ เปรียบในการประมูล ๕.๔ เจา้ หนา้ ทพี่ สั ดขุ องหนว่ ยงานเปดิ เผยหรอื ขายขอ้ มลู ทส่ี �ำคญั ของฝา่ ยทมี่ ายน่ื ประมลู ไวก้ อ่ น หน้าใหแ้ ก่ผู้ประมลู รายอน่ื ทใี่ หผ้ ลประโยชน์ ท�ำให้ฝา่ ยทมี่ ายื่นประมูลไวก้ ่อนหน้าเสียเปรยี บ ๖. การใชท้ รพั ย์สินของราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม ๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อ�ำนาจหน้าท่ีโดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าท่ีน�ำเก้าอี้ พรอ้ มผา้ ปลอกคมุ เกา้ อี้ เครอื่ งถา่ ยวดิ โี อ เครอ่ื งเลน่ วดิ โี อ กลอ้ งถา่ ยรปู และผา้ เตน็ ท์ น�ำไปใชใ้ นงานมงคล สมรสของบุตรสาว รวมทงั้ รถยนต์ รถต้สู ว่ นกลาง เพ่อื ใช้รับสง่ เจา้ หน้าที่เข้ารว่ มพิธี และขนยา้ ยอุปกรณ์ หลกั สตู รรายวิชาเพม่ิ เตมิ “การปอ้ งกนั การทุจรติ ” 33

ทั้งที่บ้านพักและงานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซึ่งล้วนเป็นทรัพย์สินของทางราชการ การกระท�ำของ จ�ำเลยนับเป็นการใช้อ�ำนาจโดยทุจริต เพ่ือประโยชน์ส่วนตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ช้ีมูลความผิดวินัยและอาญา ต่อมาเรื่องเข้าสู่กระบวนการในชั้นศาล ศาลพิเคราะห์พยาน หลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระท�ำของจ�ำเลย เป็นการทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้าที่ฐานเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าทซี่ ือ้ ท�ำ จดั การหรอื รกั ษาทรพั ย์ใดๆ ใช้อ�ำนาจในต�ำแหนง่ โดยทจุ รติ อนั เปน็ การเสียหายแกร่ ฐั และ เปน็ เจา้ พนกั งานปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยมชิ อบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พพิ ากษา ใหจ้ �ำคกุ ๕ ปี และปรบั ๒๐,๐๐๐ บาท ค�ำใหก้ ารรับสารภาพ เปน็ ประโยชน์แกก่ ารพจิ ารณาคดี ลดโทษ ให้ก่ึงหนง่ึ คงจ�ำคกุ จ�ำเลยไว้ ๒ ปี ๖ เดือนและปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท ๖.๒ การทเ่ี จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผมู้ หี นา้ ทข่ี บั รถยนตข์ องสว่ นราชการ น�ำนำ�้ มนั ในรถยนตไ์ ปขาย และ น�ำเงนิ มาไว้ใชจ้ า่ ยส่วนตัว ท�ำใหส้ ่วนราชการต้องเสยี งบประมาณ เพือ่ ซือ้ น้ำ� มันรถมากกว่าทค่ี วรจะเปน็ พฤตกิ รรมดงั กล่าวถอื เปน็ การทจุ รติ เปน็ การเบยี ดบงั ผลประโยชนข์ องสว่ นรวมเพอื่ ประโยชนข์ องตนเอง และมคี วามผดิ ฐานลกั ทรพั ย์ตามประมวลกฎหมายอาญา ๖.๓ การที่เจ้าหน้าท่ีรัฐ ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่ายค่าน้�ำมันเชื้อเพลิง น�ำรถยนต์ของสว่ นราชการไปใชใ้ นกิจธรุ ะส่วนตวั ๖.๔ การทเ่ี จา้ หนา้ ทร่ี ฐั น�ำวสั ดคุ รภุ ณั ฑข์ องหนว่ ยงานมาใชท้ บ่ี า้ น หรอื ใชโ้ ทรศพั ทข์ องหนว่ ยงาน ตดิ ตอ่ ธุระสว่ นตน หรอื น�ำรถส่วนตนมาล้างทห่ี น่วยงาน ๗. การน�ำ โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้งั เพ่ือประโยชนใ์ นทางการเมอื ง ๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งหน่ึงร่วมกับพวก แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ในต�ำบลที่ตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจาก สภาฯ และตรวจรับงานทั้งที่ไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการท่ีก�ำหนด รวมท้ังเม่ือด�ำเนินการแล้วเสร็จได้ ตดิ ปา้ ยชอื่ ของตนและพวก การกระท�ำดงั กลา่ วมมี ลู เปน็ การกระท�ำการฝา่ ฝนื ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื สวสั ดภิ าพของประชาชน หรอื ละเลยไม่ปฏบิ ตั ิตาม หรือปฏบิ ตั ิการไมช่ อบดว้ ยอ�ำนาจหน้าท่ี มีมลู ความ ผดิ ทง้ั ทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงและทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นงั สอื แจง้ ผลการพจิ ารณาของคณะ กรรมการ ป.ป.ช. ใหผ้ ู้มอี �ำนาจแตง่ ต้ังถอดถอน และส�ำนักงานคณะกรรมการการเลือกต้ังทราบ ๗.๒ การทนี่ ักการเมืองในจังหวดั ขอเพ่มิ งบประมาณเพื่อน�ำโครงการตดั ถนน สรา้ งสะพานลง ในจังหวัด โดยใช้ชอ่ื หรอื นามสกลุ ของตนเองเปน็ ช่อื สะพาน ๗.๓ การท่รี ัฐมนตรีอนมุ ัตโิ ครงการไปลงในพ้ืนท่หี รอื บ้านเกดิ ของตนเอง 34 ชดุ หลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

๘. การใช้ตำ�แหน่งหนา้ ท่แี สวงหาประโยชนแ์ กเ่ ครือญาติ พนักงานสอบสวนละเวน้ ไมน่ �ำบนั ทกึ การจบั กมุ ที่เจ้าหนา้ ที่ต�ำรวจชดุ จบั กุม ท�ำข้นึ ในวนั เกิดเหตุ รวมเขา้ ส�ำนวน แตก่ ลบั เปล่ยี นบันทึกและแกไ้ ขขอ้ หาในบันทึกการจับกมุ เพือ่ ชว่ ยเหลือผ้ตู อ้ งหาซง่ึ เปน็ ญาตขิ องตนใหร้ ับโทษนอ้ ยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมมี ลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ัย อยา่ งรา้ ยแรง ๙. การใชอ้ ิทธิพลเขา้ ไปมีผลต่อการตดั สินใจของเจา้ หนา้ ทรี่ ัฐหรือหนว่ ยงานของรัฐอ่ืน ๙.๑ เจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ต�ำแหน่งหน้าท่ีในฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าท่ี ใหป้ ฏิบัตหิ น้าทโ่ี ดยมิชอบด้วยระเบียบ และกฎหมายหรือฝา่ ฝนื จริยธรรม ๙.๒ นายเอ เป็นหวั หนา้ สว่ นราชการแห่งหนงึ่ ในจังหวดั รู้จักสนทิ สนมกับ นายบี หวั หนา้ สว่ น ราชการอีกแห่งหนงึ่ ในจงั หวดั เดยี วกนั นายเอ จึงใช้ความสัมพนั ธ์ส่วนตวั ฝากลกู ชาย คือ นายซี เขา้ รบั ราชการภายใต้สงั กัดของนายบี ๑๐. การขดั กันแห่งผลประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมประเภทอ่ืนๆ ๑๐.๑ การเดินทางไปราชการต่างจังหวัดโดยไม่ค�ำนงึ ถึงจ�ำนวนคน จ�ำนวนงาน และจ�ำนวนวัน อยา่ งเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจ�ำนวน ๑๐ วนั แต่ใชเ้ วลาในการท�ำงานจริงเพียง ๖ วนั โดยอกี ๔ วนั เป็นการเดินทางท่องเท่ียวในสถานทตี่ า่ งๆ ๑๐.๒ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติไม่ใช้เวลาในราชการปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ เน่ืองจากต้องการปฏิบัติ งานนอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบกิ เงนิ งบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการได้ ๑๐.๓ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ลงเวลาปฏบิ ัตงิ านนอกเวลาราชการ โดยมไิ ด้อย่ปู ฏบิ ัตงิ านในชว่ งเวลา น้นั อย่างแท้จรงิ แต่กลบั ใชเ้ วลาดงั กล่าวปฏบิ ัติกจิ ธรุ ะส่วนตวั ๓. กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการขัดกันระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชนส์ ่วนรวม พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๒๖ นอกจากเจ้าพนักงานของรัฐท่ีรฐั ธรรมนญู ก�ำหนดไว้เป็นการเฉพาะแล้ว หา้ มมใิ ห้ กรรมการ ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ในองคก์ รอสิ ระ และเจา้ พนกั งานของรฐั ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศก�ำหนด ด�ำเนินกิจการดังตอ่ ไปนี้ หลกั สตู รรายวิชาเพ่ิมเตมิ “การปอ้ งกนั การทุจรติ ” 35

(๑) เปน็ คสู่ ญั ญาหรอื มสี ว่ นไดเ้ สยี ในสญั ญาทที่ �ำกบั หนว่ ยงานของรฐั ทเี่ จ้าพนกั งานของรฐั ผนู้ นั้ ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะที่เป็นเจ้าพนักงานของรัฐซ่ึงมีอ�ำนาจไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมในการก�ำกับ ดูแล ควบคมุ ตรวจสอบหรือด�ำเนนิ คดี (๒) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เข้าเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ ท่ีเจ้าพนักงานของรัฐผู้นั้นปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะท่ีเป็นเจ้าพนักงานของรัฐซึ่งมีอ�ำนาจไม่ว่าโดยตรงหรือ โดยออ้ มในการก�ำกบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ด�ำเนนิ คดี เว้นแต่จะเป็นผ้ถู อื หุ้นในบริษัทจ�ำกัดหรอื บรษิ ัทมหาชนจ�ำกดั ไมเ่ กนิ จ�ำนวนทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด (๓) รบั สัมปทานหรือคงถอื ไว้ซ่งึ สัมปทานจากรัฐ หน่วยราชการ หนว่ ยงานของรัฐ รฐั วิสาหกจิ หรอื ราชการสว่ นทอ้ งถิ่น หรือเข้าเป็นคสู่ ญั ญากบั รฐั หนว่ ยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรอื ราชการส่วนท้องถิ่น อันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือเป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในหา้ งหุ้นส่วน หรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ในฐานะท่ีเป็นเจ้าพนักงานของรัฐ ซึ่งมีอ�ำนาจไม่วา่ โดยตรงหรือโดยออ้ มในการก�ำกับ ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบหรือด�ำเนนิ คดี เว้นแต่จะเปน็ ผู้ถือหนุ้ ในบรษิ ทั จ�ำกัดหรอื บริษัทมหาชนจ�ำกัดไมเ่ กินจ�ำนวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด (๔) เข้าไปมีสว่ นไดเ้ สียในฐานะเป็นกรรมการ ที่ปรกึ ษา ตัวแทน พนกั งานหรอื ลูกจา้ งในธรุ กิจ ของเอกชนซงึ่ อยู่ภายใต้การก�ำกบั ดแู ล ควบคมุ หรือตรวจสอบของหนว่ ยงานของรฐั ท่เี จา้ พนักงานของ รฐั ผนู้ น้ั สงั กดั อยหู่ รอื ปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นฐานะเปน็ เจา้ พนกั งานของรฐั ซงึ่ โดยสภาพของผลประโยชนข์ องธรุ กจิ ของเอกชนนั้นอาจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ทางราชการ หรือกระทบต่อความ มีอิสระในการปฏิบตั หิ น้าท่ขี องเจ้าพนักงานของรัฐผู้นน้ั ให้น�ำความในวรรคหน่ึง มาใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้าพนักงานของรัฐตามวรรคหนึ่งด้วย โดยใหถ้ อื ว่าการด�ำเนนิ กจิ การของคสู่ มรสเปน็ การด�ำเนนิ กจิ การของเจ้าพนกั งานของรฐั เวน้ แตเ่ ปน็ กรณ ี ท่คี ู่สมรสนั้นด�ำเนนิ การอยู่กอ่ นทเี่ จ้าพนักงานของรัฐจะเขา้ ด�ำรงต�ำแหน่ง คู่สมรสตามวรรคสองให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งอยู่กินกันฉันสามีภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส ด้วย ทั้งนีต้ ามหลกั เกณฑ์ท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนดเจ้าพนักงานของรัฐทมี่ ลี กั ษณะตาม (๒) หรือ (๓) ต้องด�ำเนนิ การไมใ่ ห้มลี ักษณะดังกล่าวภายในสามสิบวนั นบั แต่วนั ทเี่ ข้าด�ำรงต�ำแหน่ง มาตรา ๑๒๘ ห้ามมิให้เจ้าพนักงานของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดอันอาจค�ำนวณ เปน็ เงนิ ไดจ้ ากผใู้ ด นอกเหนอื จากทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นั ควรไดต้ ามกฎหมาย กฎ หรอื ขอ้ บงั คบั ทอ่ี อก โดยอาศยั อ�ำนาจตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย เวน้ แตก่ ารรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดโดยธรรมจรรยา ตามหลกั เกณฑ์และจ�ำนวนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ก�ำหนด ความในวรรคหนงึ่ มใิ หใ้ ช้บังคบั กบั การรับทรัพยส์ นิ หรือประโยชน์อนื่ ใดจากบุพการี ผสู้ บื สันดาน หรอื ญาติท่ีให้ตามประเพณี หรอื ตามธรรมจรรยา ตามฐานานุรูป บทบญั ญัติในวรรคหน่งึ ให้ใช้บงั คบั กับ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดของผู้ซ่ึงพ้นจากการเป็นเจ้าพนักงานของรัฐมาแล้วยังไม่ถึงสองปี ดว้ ยโดยอนุโลม 36 ชุดหลักสตู รตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

มาตรา ๑๒๙ การกระท�ำอนั เปน็ การฝ่าฝนื บทบญั ญตั ใิ นหมวดนใ้ี หถ้ อื ว่าเปน็ การกระท�ำความผดิ ตอ่ ต�ำแหนง่ หนา้ ท่รี าชการหรือความผิดตอ่ ต�ำแหน่งหนา้ ทใี่ นการยุตธิ รรม ประกาศคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ เรื่อง หลกั เกณฑ์การรับ ทรพั ย์สินหรือประโยชน์อนื่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าทข่ี องรฐั พ.ศ. ๒๕๔๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แหง่ ชาตจิ งึ ก�ำหนดหลกั เกณฑแ์ ละจ�ำนวนทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะรบั จากบคุ คล ไดโ้ ดยธรรมจรรยาไว้ ดงั นี้ ขอ้ ๓ ในประกาศนี้ “การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดโดยธรรมจรรยา” หมายความวา่ การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน์อื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลที่ให้กันในโอกาสต่างๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวฒั นธรรม หรือให้กนั ตามมารยาทท่ปี ฏิบัติกันในสังคม “ญาต”ิ หมายความวา่ ผบู้ พุ การี ผสู้ บื สนั ดาน พน่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดาหรอื รว่ มบดิ าหรอื มารดา เดยี วกนั ลงุ ปา้ นา้ อา คสู่ มรส ผบู้ พุ การหี รอื ผสู้ บื สนั ดานของคสู่ มรส บตุ รบญุ ธรรมหรอื ผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม “ประโยชน์อ่ืนใด” หมายความว่า ส่ิงท่ีมูลค่า ได้แก่ การลดราคา การรับความบันเทิง การรบั บริการ การรบั การฝกึ อบรม หรือสิ่งอื่นใดในลกั ษณะเดียวกนั ข้อ ๔ หา้ มมใิ หเ้ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผใู้ ด รบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใด จากบคุ คลนอกเหนอื จาก ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นั ควรไดต้ ามกฎหมาย หรอื กฎ ขอ้ บงั คบั ทอ่ี อกโดยอาศยั อ�ำนาจตามบทบญั ญตั ิ แหง่ กฎหมาย เว้นแต่การรบั ทรัพยส์ ินหรือประโยชน์อนื่ ใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีก�ำหนดไวใ้ นประกาศนี้ ข้อ ๕ เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐจะรบั ทรพั ยส์ นิ หรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาได้ ดงั ต่อไปนี้ (๑) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจากญาติซึ่งให้โดยเสน่หาตามจ�ำนวนที่เหมาะสม ตามฐานานรุ ปู (๒) รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดจากบุคคลอ่ืนซ่ึงมิใช่ญาติมีราคาหรือมูลค่าในการ รบั จากแตล่ ะบุคคล แต่ละโอกาสไมเ่ กนิ สามพันบาท (๓) รบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดทกี่ ารใหน้ นั้ เปน็ การใหใ้ นลกั ษณะใหก้ บั บคุ คลทวั่ ไป ข้อ ๖ การรับทรพั ย์สนิ หรือประโยชนอ์ น่ื ใดจากต่างประเทศ ซึ่งผู้ให้มิได้ระบใุ ห้เปน็ ของสว่ นตัว หรอื มรี าคาหรือมลู ค่าเกินกว่าสามพนั บาท ไมว่ ่าจะระบุเป็นของส่วนตวั หรือไม่ แตม่ ีเหตผุ ลความจ�ำเป็น ที่จะต้องรับไว้เพ่ือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้น้ัน รายงานรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์ดังกล่าวให้ผู้บังคับบัญชาทราบ โดยเร็ว หากผู้บังคับบัญชาเห็นว่าไม่มีเหตุท่ีจะอนุญาตให้เจ้าหน้าท่ีผู้นั้นยึดถือทรัพย์สินหรือประโยชน์ หลกั สูตรรายวชิ าเพิ่มเตมิ “การปอ้ งกันการทจุ ริต” 37

ดังกล่าวน้ันไว้เป็นประโยชน์ส่วนตน ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้น้ันส่งมอบทรัพย์สินให้หน่วยงานของรัฐที่ เจ้าหน้าทข่ี องรฐั ผูน้ ้นั สังกดั ทนั ที ข้อ ๗ การรบั ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีไมเ่ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ หรือ มรี าคาหรอื มีมลู คา่ มากกว่าที่ก�ำหนดไว้ในข้อ ๕ ซึ่งเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้รับมาแล้วโดยมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องรับไว ้ เพอื่ รกั ษาไมตรี มติ รภาพ หรอื ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ น้ั ตอ้ งแจง้ รายละเอยี ด ข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์น้ันต่อผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นหัวหน้าส่วนราชการ ผูบ้ รหิ ารสูงสดุ ของรฐั วิสาหกิจ หรอื ผบู้ ริหารสูงสุดของหนว่ ยงาน สถาบนั หรือองคก์ รทเี่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผู้นั้นสังกัด โดยทันทีท่ีสามารถกระท�ำได้ เพื่อให้วินิจฉัยว่ามีเหตุผลความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และ สมควรทจ่ี ะให้เจ้าหน้าทีข่ องรฐั ผ้นู น้ั รับทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชนน์ น้ั ไวเ้ ปน็ สิทธขิ องตนหรือไม่ ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาหรือผู้บริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานหรือสถาบันหรือองค์กร ทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ นั้ สงั กดั มคี �ำสง่ั วา่ ไมส่ มควรรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนด์ งั กล่าว กใ็ หค้ นื ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนน์ น้ั แกผ่ ใู้ หโ้ ดยทนั ที ในกรณที ไี่ มส่ ามารถคนื ใหไ้ ด้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ น้ั สง่ มอบทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนด์ งั กลา่ วใหเ้ ป็นสิทธขิ องหน่วยงานที่เจ้าหนา้ ที่ของรัฐผนู้ น้ั สงั กัดโดยเร็ว เมอื่ ไดด้ �ำเนนิ การตามความในวรรคสองแลว้ ใหถ้ อื วา่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ น้ั ไมเ่ คยไดร้ บั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน์ดังกล่าวเลย ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินไว้ตามวรรคหนึ่งเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรือเทียบเท่า หรือเป็นกรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดของ รัฐวิสาหกิจ หรือเป็นกรรมการหรือผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของรัฐ ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริง เกยี่ วกบั การรับทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชนน์ ัน้ ต่อผู้มอี �ำนาจแต่งตงั้ ถอดถอน ส่วนผทู้ ่ดี �ำรงต�ำแหน่งประธาน กรรมการและกรรมการในองคก์ รอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู หรอื ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทไี่ มม่ ผี บู้ งั คบั บญั ชาทม่ี อี �ำนาจ ถอดถอนใหแ้ จง้ ตอ่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทงั้ นี้ เพอ่ื ด�ำเนินการตามความในวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ในกรณีที่เจา้ หนา้ ทีข่ องรัฐผ้ไู ด้รับทรัพยส์ ินตามวรรคหน่งึ เป็นผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ สมาชกิ สภาผูแ้ ทน ราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับ ทรัพย์สินหรือประโยชน์น้ันต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานสภาท้องถิ่น ท่เี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผ้นู ้ัน เปน็ สมาชิก แลว้ แตก่ รณี เพื่อด�ำเนนิ การตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ขอ้ ๘ หลักเกณฑ์การรับทรพั ยส์ ินหรือประโยชน์อืน่ ใดของเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ตามประกาศฉบบั น้ี ใหใ้ ช้บงั คบั แกผ่ ซู้ ึ่งพ้นจากการเปน็ เจ้าหน้าท่ีของรัฐมาแลว้ ไม่ถึงสองปดี ว้ ย ระเบยี บสำ�นกั นายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการใหห้ รือรับของขวัญของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยที่ผ่านมาคณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการให้ของขวัญ และรับของขวัญของเจ้าหน้าท่ีของรัฐไว้หลายครั้งเพ่ือเป็นการเสริมสร้างค่านิยมให้เกิดการประหยัด 38 ชดุ หลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา (Anti - Corruption Education)

มิให้มีการเบียดเบียนข้าราชการโดยไม่จ�ำเป็นและสร้างทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเน่ืองจากมีการแข่งขันกัน ใหข้ องขวญั ในราคาแพงทงั้ ยงั เปน็ ชอ่ งทางใหเ้ กดิ การประพฤตมิ ชิ อบอน่ื ๆ ในวงราชการอกี ดว้ ยและในการ ก�ำหนดจรรยาบรรณของเจ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ประเภทตา่ งๆ กม็ กี ารก�ำหนดในเร่ืองท�ำนองเดยี วกนั ประกอบ กับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ประกาศก�ำหนดหลักเกณฑ์และจ�ำนวน ท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาได้ ฉะนั้นจึงสมควรรวบรวม มาตรการเหล่าน้ันและก�ำหนดเป็นหลักเกณฑ์การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการให้ของขวัญและ รับของขวัญไว้เป็นการถาวรมีมาตรฐานอย่างเดียวกัน และมีความชัดเจนเพ่ือเสริมมาตรการของ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้เป็นผลอย่างจริงจัง ท้ังน้ี เฉพาะในส่วนท่ี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาตไิ ม่ไดก้ �ำหนดไว้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรโี ดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จงึ วางระเบยี บไวด้ ังต่อไปน้ี ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ของขวญั ”หมายความวา่ เงนิ ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นื่ ใดทใ่ี หแ้ กก่ นั เพอื่ อธั ยาศยั ไมตรี และ ให้หมายความรวมถึงเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดที่ให้เป็นรางวัล ให้โดยเสน่หาหรือเพื่อการ สงเคราะห์ หรือให้เป็นสินน�้ำใจ การให้สิทธิพิเศษซ่ึงมิใช่เป็นสิทธิท่ีจัดไว้ส�ำหรับบุคคลทั่วไปในการได้ รับการลดราคาทรัพย์สินหรือการให้สิทธิพิเศษในการได้รับบริการหรือความบันเทิงตลอดจนการออก คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางหรอื ทอ่ งเทย่ี วค่าทพ่ี กั คา่ อาหาร หรอื สงิ่ อน่ื ใดในลกั ษณะเดยี วกนั และไมว่ ่าจะให้ เปน็ บตั ร ตวั๋ หรอื หลกั ฐานอ่ืนใด การช�ำระเงินใหล้ ว่ งหน้า หรอื การคนื เงินใหใ้ นภายหลงั “ปกติประเพณีนิยม” หมายความว่า เทศกาลหรือวันส�ำคัญซึ่งอาจมีการให้ของขวัญกัน และ ให้หมายความรวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดงความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดง ความเสยี ใจ หรือการให้ความช่วยเหลือตามมารยาท ทถ่ี ือปฏบิ ัตกิ นั ในสังคมด้วย “ผบู้ งั คบั บญั ชา”ใหห้ มายความรวมถงึ ผซู้ งึ่ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทห่ี วั หนา้ หนว่ ยงาน ทแี่ บง่ เปน็ การภายใน ของหนว่ ยงานของรฐั และผซู้ ง่ึ ด�ำรงต�ำแหนง่ ในระดบั ทส่ี งู กวา่ และไดร้ บั มอบหมายใหม้ อี �ำนาจบงั คบั บญั ชา หรอื ก�ำกบั ดูแลดว้ ย “บุคคลในครอบครัว”หมายความว่า คู่สมรส บุตร บิดา มารดา พี่น้องร่วมบิดามารดาหรือ ร่วมบิดาหรอื มารดาเดียวกนั ข้อ ๔ ระเบียบนี้ไม่ใช้บังคับกับกรณีการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซง่ึ อยภู่ ายใต้บังคับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู ว่าดว้ ยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ข้อ ๕ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จะใหข้ องขวญั แกผ่ บู้ งั คบั บญั ชาหรอื บคุ คลในครอบครวั ของผบู้ งั คบั บญั ชา นอกเหนอื จากกรณปี กติประเพณนี ยิ มท่ีมีการใหข้ องขวญั แก่กันมไิ ด้ การให้ของขวัญตามปกติประเพณีนิยมตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะให้ของขวัญท่ีมีราคา หรือมูลค่าเกินจ�ำนวนท่ีคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนดไว้ ส�ำหรับ หลักสูตรรายวิชาเพมิ่ เตมิ “การป้องกนั การทุจริต” 39

การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐตามกฎหมายประกอบ รฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ มไิ ด้ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะท�ำการเรยี่ ไรเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ อนื่ ใดหรอื ใชเ้ งนิ สวสั ดกิ ารใดๆ เพอื่ มอบใหห้ รอื จดั หาของขวัญให้ผูบ้ ังคบั บัญชาหรือบคุ คลในครอบครัวของผบู้ ังคับบัญชาไม่วา่ กรณีใดๆ มไิ ด้ ข้อ ๖ ผู้บังคับบัญชาจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจาก เจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ซง่ึ เปน็ ผู้อยู่ในบงั คับบญั ชามิได้ เว้นแตเ่ ปน็ การรับของขวัญตามขอ้ ๕ ขอ้ ๗ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะยนิ ยอมหรอื รเู้ หน็ เปน็ ใจใหบ้ คุ คลในครอบครวั ของตนรบั ของขวญั จาก ผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ งในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั มไิ ด้ ถา้ มใิ ชเ่ ปน็ การรบั ของขวญั ตามกรณที กี่ �ำหนดไว้ ใน ข้อ ๘ ผู้ที่เก่ียวข้องในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ ผู้มาติดต่องานหรือ ผูซ้ ่งึ ไดร้ ับประโยชนจ์ ากการปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐ ในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (๑) ผู้ซ่ึงมีค�ำขอให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนินการอย่างหน่ึงอย่างใด เช่นการขอใบรับรอง การขอให้ออกค�ำส่งั ทางปกครอง หรือการรอ้ งเรยี นเปน็ ตน้ (๒) ผซู้ ง่ึ ประกอบธรุ กจิ หรอื มสี ว่ นไดเ้ สยี ในธรุ กจิ ทที่ �ำกบั หนว่ ยงานของรฐั เชน่ การจดั ซอื้ จัดจา้ ง หรือการไดร้ ับสมั ปทาน เป็นตน้ (๓) ผซู้ งึ่ ก�ำลงั ด�ำเนนิ กจิ กรรมใดๆ ทม่ี หี นว่ ยงานของรฐั เปน็ ผคู้ วบคมุ หรอื ก�ำกบั ดแู ล เชน่ การประกอบกจิ การโรงงานหรือธรุ กิจหลกั ทรัพย์ เป็นต้น (๔) ผู้ซ่ึงอาจได้รับประโยชน์หรือผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าที่หรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าทข่ี องเจ้าหน้าทข่ี องรัฐ ข้อ ๘ เจ้าหน้าท่ีของรัฐจะยินยอมหรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญ จากผู้ท่ีเก่ียวข้องในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้ เฉพาะกรณีการรับของขวัญท่ีให้ตามปกติ ประเพณีนิยม และของขวัญน้ันมีราคาหรือมูลค่าไม่เกินจ�ำนวนที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทจุ รติ แหง่ ชาตกิ �ำหนดไวส้ �ำหรบั การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ขอ้ ๙ ในกรณที บ่ี คุ คลในครอบครวั ของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั รบั ของขวญั แลว้ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทราบ ในภายหลังว่าเป็นการรับของขวัญโดยฝ่าฝืนระเบียบนี้ ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ ี คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตกิ �ำหนดไวส้ �ำหรบั การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน ์ อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐท่ีมีราคาหรือมูลค่าเกินกว่าท่ีก�ำหนดไว้ ตามกฎหมาย ประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดจงใจปฏิบัติเก่ียวกับการให้ของขวัญหรือรับของขวัญ โดยฝา่ ฝนื ระเบียบน้ี ใหด้ �ำเนนิ การดังต่อไปน้ี 40 ชุดหลกั สตู รตา้ นทจุ รติ ศึกษา (Anti - Corruption Education)

(๑) ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็นข้าราชการการเมือง ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ัน ประพฤติปฏิบัติไม่เป็นไปตามคุณธรรมและจริยธรรม และให้ด�ำเนินการตามระเบียบท่ีนายกรัฐมนตรี ก�ำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีว่าด้วยมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรมของขา้ ราชการ การเมือง (๒) ในกรณที เ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั เปน็ ขา้ ราชการประเภทอนื่ นอกจาก (๑) หรอื พนกั งานของ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื พนกั งานของรฐั วสิ าหกจิ ใหถ้ อื วา่ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ นั้ เปน็ ผกู้ ระท�ำความ ผดิ ทางวินยั และให้ผบู้ งั คบั บญั ชามีหน้าทด่ี �ำเนินการใหม้ ีการลงโทษทางวินัยเจา้ หน้าที่ของรฐั ผนู้ ้ัน ขอ้ ๑๑ ให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีมหี น้าทส่ี อดส่อง และให้ค�ำแนะน�ำในการปฏิบัติ ตามระเบียบนี้แก่หน่วยงานของรัฐ ในกรณีท่ีมีผู้ร้องเรียน ต่อส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายรัฐมนตรีว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดปฏิบัติในการให้ของขวัญหรือรับของขวัญฝ่าฝืนระเบียบน้ี ให้ส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรีแจ้งไปยงั ผูบ้ งั คบั บัญชาของเจา้ หน้าที่ของรฐั ผู้นนั้ เพือ่ ด�ำเนนิ การตามระเบียบน้ี ข้อ ๑๒ เพ่ือประโยชน์ในการเสริมสร้างให้เกิดทัศนคติในการประหยัดแก่ประชาชนทั่วไป ในการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอ้ นรับ หรอื การแสดงความเสียใจใน โอกาสต่างๆ ตามปกติประเพณีนิยม ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐพยายามใช้วิธีการแสดงออกโดยใช้บัตรอวยพร การลงนามในสมดุ อวยพรหรือใชบ้ ตั รแสดงความเสยี ใจ แทนการให้ของขวญั ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีเสริมสร้างค่านิยมการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอ้ นรบั หรือการแสดงความเสยี ใจ ด้วยการปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ ง แนะน�ำหรือก�ำหนด มาตรการจูงใจที่จะพฒั นาทศั นคติ จิตส�ำนกึ และพฤตกิ รรมของผู้อยูใ่ นบังคับบัญชาให้เป็นไปในแนวทาง ประหยดั ระเบียบสำ�นกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการเรี่ยไรของหน่วยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๔ ในระเบยี บน้ี “การเรี่ยไร” หมายความวา่ การเก็บเงินหรือทรัพย์สิน โดยขอรอ้ งให้ช่วยออกเงนิ หรือทรัพย์สิน ตามใจสมคั ร และใหห้ มายความรวมถึงการซ้ือขาย แลกเปล่ียน ชดใช้หรือบรกิ ารซงึ่ มีการแสดงโดยตรง หรือโดยปริยายว่า มิใช่เป็นการซ้ือขาย แลกเปล่ียน ชดใช้หรือบริการธรรมดา แต่เพ่ือรวบรวมเงินหรือ ทรัพย์สนิ ที่ไดม้ าทงั้ หมด หรือบางสว่ นไปใช้ในกจิ การอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงนน้ั ด้วย “เขา้ ไปมีส่วนเกย่ี วข้องกับการเรีย่ ไร” หมายความวา่ เข้าไปชว่ ยเหลือโดยมสี ่วนรว่ มในการจดั ให้ มี การเรี่ยไรในฐานะเป็นผูร้ ว่ มจดั ใหม้ ีการเร่ียไร หรอื เป็นประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะท�ำงาน ท่ี ปรึกษา หรอื ในฐานะอ่ืนใดในการเรีย่ ไรนนั้ ขอ้ ๖ หน่วยงานของรฐั จะจดั ให้มกี ารเรี่ยไรหรือเข้าไปมีสว่ นเกย่ี วข้องกับการเร่ียไรมไิ ด้ เว้นแต่ เป็นการเร่ียไร ตามข้อ ๑๙ หรือได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ (กคร.) หรอื กคร. จงั หวัด แล้วแต่กรณี ทง้ั น้ี ตามหลกั เกณฑท์ ี่ก�ำหนดไวใ้ นระเบยี บน้ี หลกั สูตรรายวิชาเพ่มิ เติม “การปอ้ งกันการทจุ รติ ” 41

หน่วยงานของรัฐซ่ึงจะต้องได้รับอนุญาตในการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วย การควบคุมการเร่ีย ไร นอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ท่ีก�ำหนดไว้ในระเบียบนี้ด้วย ในกรณีนี้ กคร. อาจก�ำหนดแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานรัฐดังกล่าวให้ สอดคล้องกับกฎหมายว่าดว้ ยการควบคุมการเรี่ยไรก็ได้ ขอ้ ๘ ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ เรียกโดยย่อว่า “กคร.” ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีท่นี ายกรฐั มนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ ผแู้ ทนส�ำนกั นายก รฐั มนตรี ผแู้ ทนกระทรวงกลาโหม ผู้แทนกระทรวงการคลงั ผแู้ ทนกระทรวงมหาดไทย ผูแ้ ทนกระทรวง ศึกษาธิการ ผแู้ ทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนส�ำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ผแู้ ทนส�ำนักงานคณะ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้แทนส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ทรง คณุ วฒุ ซิ งึ่ นายกรฐั มนตรแี ตง่ ตง้ั อกี ไมเ่ กนิ สค่ี นเปน็ กรรมการ และผแู้ ทนส�ำนกั งานปลดั ส�ำนกั นายกรฐั มนตรี เปน็ กรรมการและเลขานุการ กคร. จะแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการในส�ำนกั งานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีจ�ำนวนไมเ่ กินสองคนเปน็ ผ้ชู ว่ ย เลขานกุ ารกไ็ ด้ ข้อ ๑๘ การเรย่ี ไรหรอื เขา้ ไปมสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั การเรยี่ ไรที่ กคร. หรอื กคร. จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี จะพิจารณาอนุมัตใิ ห้ตามขอ้ ๖ ได้น้ัน จะตอ้ งมีลกั ษณะและวตั ถุประสงค์อย่างหน่งึ อย่างใด ดงั ต่อไปนี้ (๑) เป็นการเรยี่ ไรทห่ี น่วยงานของรฐั เปน็ ผดู้ �ำเนนิ การเพอ่ื ประโยชน์แกห่ น่วยงานของ รัฐน้นั เอง (๒) เป็นการเร่ียไรท่ีหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ด�ำเนินการเพื่อประโยชน์แก่การป้องกัน หรอื พัฒนาประเทศ (๓) เป็นการเร่ยี ไรท่ีหนว่ ยงานของรฐั เปน็ ผดู้ �ำเนนิ การเพ่ือสาธารณประโยชน์ (๔) เป็นกรณีท่ีหน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรของบุคคลหรือ นิติบุคคลที่ได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร แล้ว ข้อ ๑๙ การเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรดังต่อไปน้ีให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องขอ อนุมตั ิจาก กคร. หรอื กคร. จังหวดั แลว้ แตก่ รณี (๑) เป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล และมมี ตคิ ณะรัฐมนตรใี ห้เรยี่ ไรได้ (๒) เป็นการเร่ียไรที่รัฐบาลหรือหน่วยงานของรัฐจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการ เพ่ือช่วยเหลือ ผ้เู สียหายหรือบรรเทาความเสียหายที่เกดิ จากสาธารณภัยหรือเหตุการณ์ใดที่ส�ำคัญ (๓) เป็นการเรีย่ ไรเพอ่ื รว่ มกนั ท�ำบญุ เนือ่ งในโอกาสการทอดผา้ พระกฐินพระราชทาน (๔) เป็นการเรี่ยไรตามขอ้ ๑๘ (๑) หรอื (๓) เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ งินหรอื ทรพั ย์สินไม่เกินจ�ำนวน เงินหรือมูลค่าตามที่ กคร. ก�ำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา (๕) เปน็ การเข้าไปมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งกับการเรย่ี ไรตามขอ้ ๑๘ (๔) ซึ่ง กคร. ได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษายกเว้นให้หนว่ ยงานของรัฐด�ำเนนิ การได้โดยไม่ต้องขออนุมตั ิ 42 ชุดหลกั สูตรต้านทุจรติ ศกึ ษา (Anti - Corruption Education)

(๖) เป็นการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐอ่ืนท่ีได้รับอนุมัติหรือได้รับยกเว้นใน การขออนุมัติ ตามระเบียบน้ีแล้ว ข้อ ๒๐ ในกรณที หี่ นว่ ยงานของรฐั ไดร้ บั อนมุ ตั หิ รอื ไดร้ บั ยกเวน้ ตามขอ้ ๑๙ ใหจ้ ดั ใหม้ กี ารเรยี่ ไร หรือเขา้ ไปมีสว่ นเกี่ยวขอ้ งกับการเรยี่ ไร ใหห้ น่วยงานของรฐั ด�ำเนินการดังต่อไปน้ี (๑) ให้กระท�ำการเรยี่ ไรเปน็ การทวั่ ไป โดยประกาศหรอื เผยแพร่ตอ่ สาธารณชน (๒) ก�ำหนดสถานที่หรอื วิธกี ารทีจ่ ะรบั เงินหรือทรพั ยส์ ินจากการเรยี่ ไร (๓) ออกใบเสรจ็ หรอื หลกั ฐานการรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ใหแ้ กผ่ บู้ รจิ าคทกุ ครงั้ เวน้ แตโ่ ดย ลกั ษณะแหง่ การเรย่ี ไรไมส่ ามารถออกใบเสรจ็ หรอื หลกั ฐานดงั กลา่ วได้ กใ็ หจ้ ดั ท�ำเปน็ บญั ชกี ารรบั เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ นัน้ ไวเ้ พ่ือใหส้ ามารถตรวจสอบได้ (๔) จัดท�ำบัญชีการรับจ่ายหรือทรัพย์สินท่ีได้จากการเร่ียไรตามระบบบัญชีของทาง ราชการภายในเกา้ สบิ วันนบั แต่วนั ทสี่ ้ินสดุ การเรย่ี ไร หรือทุกสามเดอื น ในกรณที ีเ่ ป็นการเรี่ยไรที่กระท�ำ อย่างต่อเน่ืองและปิดประกาศเปิดเผย ณ ท่ีท�ำการของหน่วยงานของรัฐท่ีได้ท�ำการเรี่ยไรไม่น้อยกว่า สามสบิ วนั เพอ่ื ใหบ้ คุ คลทวั่ ไปไดท้ ราบและจดั ใหม้ เี อกสารเกยี่ วกบั การด�ำเนนิ การเรย่ี ไรดงั กลา่ วไว้ ณ สถาน ท่สี �ำหรับประชาชนสามารถใช้ในการค้นหาและศกึ ษาขอ้ มูลข่าวสารของราชการด้วย (๕) รายงานการเงินของการเร่ยี ไรพรอ้ มทั้งส่งบญั ชีตาม (๔) ใหส้ �ำนักงานการตรวจเงิน แผ่นดินภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้จัดท�ำบัญชีตาม (๔) แล้วเสร็จ หรือในกรณีที่เป็นการเรี่ยไรที่ได้ กระท�ำอยา่ งต่อเนื่อง ใหร้ ายงานการเงินพรอ้ มท้งั ส่งบัญชีดงั กล่าวทุกสามเดือน ขอ้ ๒๑ ในการเร่ียไรหรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ห้ามมิให้หน่วยงานของรัฐด�ำเนิน การดังต่อไปนี้ (๑) ก�ำหนดประโยชนท์ ผ่ี บู้ รจิ าคหรอื บคุ คลอนื่ จะไดร้ บั ซงึ่ มใิ ชป่ ระโยชนท์ ห่ี นว่ ยงานของ รัฐไดป้ ระกาศไว้ (๒) ก�ำหนดใหผ้ บู้ รจิ าคตอ้ งบรจิ าคเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ เปน็ จ�ำนวนหรอื มลู คา่ ทแ่ี นน่ อน เวน้ แต่ โดยสภาพ มคี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งก�ำหนดเปน็ จ�ำนวนเงนิ ทแ่ี นน่ อน เชน่ การจ�ำหนา่ ยบตั รเข้าชมการแสดง หรอื บัตรเข้าร่วมการแขง่ ขัน เป็นตน้ (๓) กระท�ำการใดๆ ทเ่ี ปน็ การบงั คบั ใหบ้ คุ คลใดท�ำการเรย่ี ไรหรอื บรจิ าค หรอื กระท�ำการ ในลกั ษณะทที่ �ำใหบ้ คุ คลนนั้ ตอ้ งตกอยใู่ นภาวะจ�ำยอมไมส่ ามารถปฏเิ สธหรอื หลกี เลยี่ งทจี่ ะไมช่ ว่ ยท�ำการ เรยี่ ไรหรอื บริจาคไม่วา่ โดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม (๔) ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐออกท�ำการเรี่ยไร หรือใช้ สั่ง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับ บัญชาหรือบคุ คลอน่ื ออกท�ำการเร่ยี ไร ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าท่ีของรัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคลหรือนิติบุคคลที่ได้รับ อนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรซ่ึงมิใช่หน่วยงาน ของรัฐจะต้องไม่กระท�ำการดังตอ่ ไปน้ี หลกั สูตรรายวิชาเพิ่มเติม “การปอ้ งกนั การทุจริต” 43