Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนการผันวรรณยุกต์

การสอนการผันวรรณยุกต์

Published by บางปลาม้า บางยี่หน, 2022-06-30 00:33:11

Description: การสอนการผันวรรณยุกต์

Search

Read the Text Version

การสอนการผันวรรณยกุ ตสำหรบั คคมูรกูือลกมุารสเารรยี ะนกราดู รวเรยยีตนนรเูภองาษาไทย ระดับช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๑–๓ หนวยศกึ ษานิเทศก สำนักการศกึ ษา กรุงเทพมหานคร

คำ� น�ำ คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเองส�ำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเล่มนี้ จัดท�ำขึ้น ตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย กิจกรรมที่ ๑.๒ คมู่ อื การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองสำ� หรบั ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เรอื่ ง การสอนการผนั วรรณยกุ ต์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ซึ่งเร่ืองการผันวรรณยุกต์เป็นเรื่องหน่ึงท่ีจ�ำเป็นและส�ำคัญ อยา่ งยง่ิ ในการเรยี นภาษาไทย ทค่ี รผู สู้ อนตอ้ งยำ�้ ทวน ใหแ้ กน่ กั เรยี นไดเ้ รยี นรเู้ พอ่ื เกดิ ความเขา้ ใจ แมน่ ย�ำ และน�ำไปใชใ้ หถ้ กู ตอ้ ง คมู่ อื การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองสำ� หรบั ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยเลม่ น้ี ประกอบไปดว้ ย เนื้อหา กิจกรรม ทคี่ รผู ้สู อนสามารถน�ำไปศกึ ษาได้ดว้ ยตนเองหรือปรบั ใช้ให้สอดคลอ้ งกบั บริบท ของนกั เรยี นได้ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น และสรา้ งนสิ ยั รกั การอา่ น โดยคณะผจู้ ดั ทำ� ได้วิเคราะห์เนื้อหาและพัฒนาแบบฝึกให้สอดคล้องกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ และ สอดคล้องกบั มาตรฐานตวั ช้ีวดั ของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ขอขอบคณุ ผบู้ รหิ ารกรงุ เทพมหานคร คณะผจู้ ดั ทำ� และผเู้ กยี่ วขอ้ งทเี่ หน็ ความสำ� คญั ของ การอ่านภาษาไทยของนักเรียน เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์และคุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย ของนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร คู่มือครูเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและ นกั เรยี นโรงเรียนสงั กดั กรุงเทพมหานครได้เป็นอยา่ งดี คณะผูจ้ ดั ท�ำ

สารบัญ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๗ อกั ษรกลาง ๑๕ อกั ษรสูง ๕๓ อักษรต�ำ่ ๘๔ แบบทดสอบหลงั เรียน ๑๓๒ บรรณานกุ รม ๑๕๑

ค�ำช้ีแจงคมู่ ือการเรียนรู้ สำ�นักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ได้ดำ�เนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิและ คุณภาพการอ่าน เขียนภาษาไทย กิจกรรมท่ี ๑.๒ คู่มือการเรียนรู้ด้วยตัวเองสำ�หรับครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพ่อื เป็นการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการอ่าน เขียนภาษาไทย เรอ่ื งการสอนการผนั วรรณยกุ ต์ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓ เน้ือหาของคู่มือครูเล่มน้ีตรงตามมาตรฐานตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ครผู ูส้ อนควรศกึ ษาค่มู ือครเู ลม่ น้ีใหเ้ ข้าใจ โดยมีขอบเขตเนอ้ื หาดงั ตอ่ ไปนี้ รปู และ เสยี งวรรณยุกต์ อกั ษรสามหมู่ การผันอกั ษร หลักสังเกตการผันวรรณยุกต์ มาตรากง มาตรากม มาตรากน มาตราเกย มาตราเกอว มาตรากก มาตรากด และมาตรากบ คณะผ้จู ัดทำ�

มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รกั การอ่าน ตัวชว้ี ัด ป. ๑/๑ อา่ นออกเสียงค�ำคลอ้ งจองและข้อความสั้นๆ ตวั ชี้วัด ป. ๑/๒ บอกความหมายของคำ� และขอ้ ความทีอ่ า่ น สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญา ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ ตวั ช้วี ัด ป. ๑/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย ตัวชว้ี ัด ป. ๑/๒ เขียนสะกดคำ� และบอกความหมายของคำ� ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒ สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รกั การอา่ น ตวั ช้ีวดั ป. ๒/๑ อ ่านออกเสียงค�ำคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรอง งา่ ยๆ ได้ ตวั ชีว้ ดั ป. ๒/๒ อธบิ ายความหมายของค�ำ และขอ้ ความที่อา่ น

สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญา ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวช้ีวัด ป. ๒/๑ บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย ตวั ชว้ี ัด ป. ๒/๒ เขียนสะกดคำ� และบอกความหมายของคำ� ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือน�ำ ไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการด�ำเนินชีวิต และมีนิสัย รกั การอา่ น ตวั ชวี้ ดั ป. ๓/๑ อ า่ นออกเสยี งคำ� ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรอง งา่ ยๆ ได้ ตัวชี้วดั ป. ๓/๒ อธบิ ายความหมายของคำ� และขอ้ ความทีอ่ ่าน สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญา ทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวช้ีวดั ป. ๓/๑ เขียนสะกดค�ำและบอกความหมายของค�ำ 6

แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง การผนั วรรณยุกต์ คำ� ชแ้ี จง กากบาท(x)ทบั ตวั อกั ษรหนา้ คำ� ตอบทถ่ี กู ตอ้ งลงในกระดาษคำ� ตอบ ๑. อกั ษรกลางผันวรรณยุกต์ได้ก่ีเสยี ง ก. ๒ เสยี ง ข. ๓ เสียง ค. ๔ เสยี ง ง. ๕ เสียง ๒. ค�ำวา่ “อา่ น” มเี สยี งวรรณยกุ ต์ใด ก. เสียงสามัญ ข. เสียงเอก ค. เสยี งโท ง. เสยี งตรี ๓. ค�ำใดเติมวรรณยุกต์ –้ แลว้ มีความหมาย ก. บัว ข. งวง ค. เสอื ง. นาง ๔. ค�ำในขอ้ ใดมคี ำ� ท่ผี ันเสียงวรรณยุกตไ์ ดค้ รบ ๕ เสยี งทุกค�ำ ก. เฉา ตั๋ว แลว้ ข. เต่า อา่ ง ปาน ค. เสือ กาง คำ� ง. องึ ถิน่ นาน 7

๕. คำ� ในขอ้ ใดไมม่ รี ูปวรรณยุกต์ แตอ่ อกเสยี งวรรณยกุ ตต์ รี ก. มด ข. ทำ� ค. น้�ำ ง. โท ๖. ค�ำในขอ้ ใดมเี สยี งวรรณยุกตเ์ อก – โท ตามล�ำดบั ก. แม่ ผา้ ข. โอ่ง รา้ ง ค. ค่าย ซ้าย ง. ส่าย หนา้ ๗. ข้อใดเป็นค�ำอักษรกลางและมีเสียงวรรณยกุ ต์ตรี ก. แก ้ ข. บอ่ ค. ด้อื ง. โต๊ะ ๘. ขอ้ ใดเปน็ ค�ำอกั ษรกลางและมีเสียงวรรณยุกต์โททงั้ หมด ก. ไก ่ กา ข. ปา้ ปู่ ค. จ ู้ จี ้ ง. เตะ โตะ๊ 8

๙. คำ� วา่ “จะ๊ เอ”๋ มเี สยี งวรรณยกุ ต์ใดตามล�ำดบั ก. เสียงโท เสยี งตร ี ข. เสียงเอก เสยี งตรี ค. เสยี งตร ี เสยี งโท ง. เสยี งตรี เสยี งจัตวา ๑๐. “ คุณแมซ้ือถุงเท้ามาให้นอง” วรรณยุกต์ที่เติมลงในช่องว่าง มีเสยี งวรรณยกุ ต์ใด ตามลำ� ดับ ก. เสยี งสามญั เสียงเอก ข. เสียงเอก เสยี งโท ค. เสยี งโท เสียงตรี ง. เสยี งตรี เสยี งสามัญ ๑๑. ข้อใดมีเสียงวรรณยกุ ต์เสียงเดียวกนั ทกุ คำ� ก. ไข ้ คา่ ข. สี่ สม้ ค. ปา้ ซือ้ ง. แก่ ยุ่ง ๑๒. คำ� ในขอ้ ใดมีรปู วรรณยกุ ตต์ รีทง้ั สองพยางค์ ก. กะต๊าก ข. กงเต๊ก ค. ก๊อกแก๊ก ง. ตกุ๊ แก 9

๑๓. นอ้ งชอบกนิ บะหม.ี่ ........ ก. เกยี ว ข. เกี่ยว ค. เกย๊ี ว ง. เก๋ียว ๑๔. ค�ำในขอ้ ใดมรี ปู และเสียงวรรณยกุ ต์ตรงกันท้ังหมด ก. พ่ีคะ ข. ใช่แล้ว ค. ทอ้ งฟ้า ง. โป๊ะเรือ ๑๕. คำ� ในข้อใดมเี สียงวรรณยุกตโ์ ทท้งั หมด ก. ไม่ใช ่ ข. นำ้� ตาล ค. ไร่นา ง. ผ้าพน้ื ๑๖. คำ� ในขอ้ ใดมรี ปู และเสยี งวรรณยุกตไ์ มต่ รงกนั ก. ผ้าผอ่ น ข. ท่อนไม้ ค. ไกแ่ จ ้ ง. ด่ืมด่�ำ 10

๑๗. คำ� ใดมเี สยี งวรรณยกุ ตต์ ่างจากคำ� อ่ืน ก. โบเ๊ บ ๊ ข. ฟา้ รอ้ ง ค. เจีย๊ วจ๊าว ง. น่มุ นม่ิ ๑๘. คำ� ใดใชว้ รรณยุกตถ์ ูกต้อง ก. เก่าอ ้ี ข. ไข่ตุ๋น ค. เล่าไก่ ง. กลอ๊ งข้าว ๑๙. คำ� ว่า “ขอ้ ” มเี สียงวรรณยกุ ต์ตรงกบั ขอ้ ใด ก. มั่ว ข. ฝ่า ค. ท้อ ง. มา้ ๒๐. “ นอ้ งทใ่ี ส.่ ....ลาย.....มาซอ้ื ....ไปใหค้ ณุ ยาย” ควรเตมิ คำ� ใดลงใน ช่องว่างให้มีความหมายถกู ต้อง ก. เสอื เสื่อ เสอ้ื ข. เสอ่ื เสอื เส้ือ ค. เส้อื เสอื เส่อื ง. เส่ือ เส้อื เสอื 11

พยญั ชนะไทย ๔๔ ตัว ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ อักษรสามหมู่ หรอื ไตรยางศ์ พยัญชนะไทยแบง่ ออกเป็นสามหมู่ เรียกว่า ไตรยางศ์ อกั ษรสูง อกั ษรกลาง อักษรต�่ำ 12

พยัญชนะอกั ษรกลางมี ๙ ตวั อกั ษรกลาง กจ ดต บป อ ฎฏ พยญั ชนะอักษรสูงมี ๑๑ ตวั อกั ษรสูง ข ฃ ฉ ฐ ถ ผฝศ ษ สห พยญั ชนะอกั ษรต่ำ� มี ๒๔ ตัว อักษรต่ำ� ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬท คฅ ฆ ธพ ฮ น 13

พยัญชนะอักษรต�ำ่ มี ๒ ประเภท อักษรต่ำ� คู่ อกั ษรต่�ำเดยี่ ว อกั ษรต�ำ่ คู่ คอื อกั ษรต�ำ่ ทีม่ ีเสยี งคู่กับอักษรสงู มี ๑๔ ตวั ๗ คูเ่ สยี ง อักษรต�ำ่ คู่ อกั ษรสูง คฅฆ ขฃ ชฌ ฉ ซ ศษส ฑฒทธ ถฐ พภ ผ ฟ ฝ ฮ ห อกั ษรตำ่� เดย่ี ว คอื อกั ษรตำ่� ทไี่ มม่ เี สยี งคกู่ บั อกั ษรสงู มี ๑๐ ตวั (ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ) 14

กอลักษารง การผันอักษรกลาง ไมม่ ตี วั สะกด ผันได้ ๕ เสยี ง คือ สามญั เอก โท ตรี จตั วา มีรูปและเสียงตรงกนั พ้นื เสยี งเปน็ เสียงสามัญ รปู – –่ –้ – – เสยี ง สามญั เอก โท ตรี จตั วา กา ก่า กา้ กา๊ ก๋า จา จา่ จา้ จา๊ จา๋ ดา ด่า ด้า ดา๊ ดา๋ ตา ตา่ ต้า ตา๊ ต๋า บา บา่ บ้า บา๊ บ๋า ปา ปา่ ปา้ ปา๊ ปา๋ อา อา่ อา้ อา๊ อ๋า 15

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี ๑ คำ� ชแี้ จง ให้นักเรียนเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบและฝกึ อา่ นค�ำให้ถูกต้อง รปู – –่ –้ – – เสียง สามญั เอก โท ตรี จัตวา ตวั อย่าง ดี ด่ี ดี้ ดี๊ ด๋ี ตือ ตือ ตือ ตอื ตือ ดู ดู ดู ดู ดู เอ เอ เอ เอ เอ แบ แบ แบ แบ แบ โอ โอ โอ โอ โอ ปอ ปอ ปอ ปอ ปอ เจอ เจอ เจอ เจอ เจอ เปีย เปยี เปยี เปยี เปยี เจือ เจือ เจือ เจือ เจือ ตัว ตวั ตวั ตัว ตวั 16

กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี ๒ ค�ำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม ค�ำทีม่ คี วามหมาย รปู – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จตั วา ตัวอย่าง จี จี่ จ้ี จี๊ จ๋ี ปี ปี ปี ปี ปี ดอื ดือ ดอื ดือ ดอื ปู ปู ปู ปู ปู เก เก เก เก เก แจ แจ แจ แจ แจ โต โต โต โต โต จอ จอ จอ จอ จอ เกอ เกอ เกอ เกอ เกอ เบยี เบีย เบยี เบยี เบีย เอือ เออื เอือ เอือ เอือ 17

ฝึกอ่านคำ� จ่า จ้า จา๋ บา่ บา้ ป่า ป้า ปา๊ ปา๋ อ้า จี้ ต๋ี บี ้ ปี ่ ด้ือ อือ้ ก่ ู จู่ ตู้ ปู่ อู้ เก๋ เจ ๊ เป๋ เอ๋ แก ่ แก ้ แจ๋ แต่ แอ้ โก้ โก๋ โต ้ โบ ๋ โป๊ โอ๋ กอ่ กอ้ จ่อ จ๋อ ต่อ บอ่ ป้อ ป๋อ อ๋อ เด๋อ เออ๋ เตี่ย เบ้ีย เบือ่ เออื้ จั่ว ตวั๋ อ๊วั 18

กิจกรรมการเรียนรูท้ ่ี ๓ ค�ำช้แี จง ใหน้ ักเรียนเติมวรรณยุกตจ์ ากภาพทีก่ �ำหนดให้และฝกึ อ่านคำ� บา ปา ตว ตู ปี จอ คนแก บอ 19

กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๔ คำ� ช้แี จง ให้นักเรียนเตมิ วรรณยุกต์ และฝึกอ่านค�ำ จา ปา อา จี ตี ปี แต ดือ อือ ปู เก เป จัว โอ จอ ตอ เตีย เบอื กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ ๕ คำ� ชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขียนค�ำจากวรรณยกุ ตท์ ี่ก�ำหนด และฝึกอ่านคำ� -่ -้ -๊ -๋ 20

มกาตงรา การผนั อกั ษรกลาง ทม่ี ตี วั สะกดมาตรากง (มี ง เปน็ ตวั สะกด) ผนั ได้ ๕ เสยี ง คอื สามัญ เอก โท ตร ี จตั วา มรี ปู และเสยี งตรงกัน พ้ืนเสยี งเป็นเสียงสามัญ รปู – –่ –้ – – เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กอง ก่อง ก้อง กอ๊ ง ก๋อง จอง จอ่ ง จ้อง จ๊อง จ๋อง ดอง ดอ่ ง ดอ้ ง ด๊อง ด๋อง ตอง ต่อง ต้อง ต๊อง ต๋อง บอง บ่อง บ้อง บ๊อง บ๋อง ปอง ปอ่ ง ปอ้ ง ปอ๊ ง ปอ๋ ง ออง ออ่ ง ออ้ ง ออ๊ ง ออ๋ ง 21

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี ๑ คำ� ชี้แจง ให้นกั เรียนเติมวรรณยุกต์ให้ครบและฝกึ อา่ นคำ� ให้ถกู ตอ้ ง รูป – –่ –้ – – เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอยา่ ง กาง ก่าง ก้าง กา๊ ง กา๋ ง บาง บาง บาง บาง บาง ติง ตงิ ตงิ ติง ตงิ ปิง ปงิ ปงิ ปิง ปงิ ดุง ดงุ ดุง ดงุ ดุง แจง แจง แจง แจง แจง โตง โตง โตง โตง โตง บอง บอง บอง บอง บอง เดยี ง เดยี ง เดียง เดียง เดยี ง เออื ง เอือง เออื ง เอือง เอือง 22

กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๒ คำ� ช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม คำ� ท่มี คี วามหมาย รปู – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตวั อย่าง จาง จา่ ง จา้ ง จ๊าง จ๋าง ตาง ตาง ตาง ตาง ตาง ดิง ดิง ดิง ดิง ดิง บุง บงุ บงุ บงุ บุง แปง แปง แปง แปง แปง โกง โกง โกง โกง โกง โอง โอง โอง โอง โอง ตอง ตอง ตอง ตอง ตอง เอียง เอียง เอยี ง เอียง เอยี ง เบือง เบอื ง เบอื ง เบอื ง เบือง 23

ฝึกอ่านคำ� ก้าง จ้าง ด่าง ตา่ ง บ้าง อา้ ง ดิ่ง ต่งิ ปง้ิ กุ้ง บุ้ง เก้ง เดง้ แจ้ง แบง่ โกง่ โดง่ โต้ง โป้ง โอ่ง กอ้ ง จ้อง ต้อง บ้อง ปอ้ ง เบ่ียง เกีย่ ง เอยี้ ง เบ้อื ง เออื้ ง กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๓ ค�ำชแ้ี จง ให้นกั เรียนเติมวรรณยุกต์จากคำ� ที่ก�ำหนดให้และฝกึ อา่ นค�ำ กา ง เ บื อ ง ตอ ง โอ ง แบ ง 24

กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๔ คำ� ชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นคำ� ทม่ี วี รรณยกุ ตล์ งในกรอบสเ่ี หลย่ี มและฝกึ อา่ นคำ� พยัญชนะอกั ษรกลาง มาตรากง กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ ๕ ค�ำช้แี จง ใหน้ กั เรียนเขยี นค�ำจากวรรณยกุ ต์ทก่ี ำ� หนดและฝกึ อ่านคำ� -่ -้ -๊ -๋ 25

มกาตนรา การผนั อกั ษรกลาง ทม่ี ตี วั สะกดมาตรากน (มี น เปน็ ตวั สะกด) ผนั ได้ ๕ เสียง คือ สามัญ เอก โท ตร ี จตั วา มรี ูปและเสียงตรงกัน พน้ื เสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามญั เอก โท ตรี จตั วา กนิ กิน่ กนิ้ กิ๊น กิน๋ จิน จิน่ จิ้น จิ๊น จนิ๋ ดิน ดน่ิ ดิ้น ด๊นิ ดิ๋น ตนิ ต่ิน ต้นิ ตนิ๊ ติ๋น บิน บ่นิ บ้นิ บิน๊ บิ๋น ปนิ ปน่ิ ปน้ิ ป๊ิน ป๋นิ อิน อิน่ อ้นิ อ๊ิน อ๋ิน 26

กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี ๑ ค�ำช้แี จง ให้นักเรียนเตมิ วรรณยุกตใ์ ห้ครบและฝกึ อ่านค�ำให้ถูกต้อง รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ตัวอยา่ ง กาน ก่าน กา้ น ก๊าน ก๋าน ตาน ตาน ตาน ตาน ตาน ปืน ปนื ปืน ปืน ปนื เดน เดน เดน เดน เดน เอน เอน เอน เอน เอน แจน แจน แจน แจน แจน โกน โกน โกน โกน โกน โดน โดน โดน โดน โดน ตอน ตอน ตอน ตอน ตอน ปอน ปอน ปอน ปอน ปอน 27

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี ๒ คำ� ชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม ค�ำทม่ี คี วามหมาย รูป – –่ –้ – – เสยี ง สามญั เอก โท ตรี จัตวา ตัวอยา่ ง ดาน ดา่ น ดา้ น ด๊าน ด๋าน บาน บาน บาน บาน บาน อาน อาน อาน อาน อาน ตนื ตืน ตนื ตนื ตนื อืน อืน อนื อืน อนื เตน เตน เตน เตน เตน แกน แกน แกน แกน แกน แปน แปน แปน แปน แปน กอน กอน กอน กอน กอน ออน ออน ออน ออน ออน 28

ฝกึ อ่านค�ำ ก้าน ดา่ น ดา้ น ตา้ น บา้ น ปา่ น ป้าน อา่ น ดิน้ ตื่น ต้นื ปน้ื อื่น เด่น เต้น แก่น แปน้ ก่อน ก้อน ตอ้ น ปอ้ น ออ่ น ออ้ น เปยี้ น เออ้ื น กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๓ คำ� ช้ีแจง ให้นักเรยี นเติมวรรณยุกต์จากคำ� ทก่ี �ำหนดใหแ้ ละฝึกอา่ นคำ� ๑. ตาน ออน เดน ๒. ตนื แปน ตอน ๓. กอน บาน ปอน ๔. ดนิ เตน ตาน ๕. แกน อนื ปืน 29

กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ ๔ คำ� ชแ้ี จง ให้นกั เรยี นหาคำ� ทมี่ พี ยญั ชนะต้น เป็นอักษรกลางตวั สะกดมาตรากน เขียนค�ำและฝึกอา่ น ด่ อ อ ป้ ตื่ อ น เ จ๊ ร แนนอนปอกบอ ป ก้ า น อ บ่ ด้ิ จ ต้ ก อ อ น จั่ ด่ า น ด อ ป นแบปก อ า ตนจ จ ต้ ม จ จ เ ป่ บ ด บ ก้ ม น ด ด ต้ บ ป ต ด อ บ ด แ ป้ น ก อ อ ต ด เ กตบปอกจบ แ ป อ โ จ๋ บ ด อ า ด แปน้ จะรีบไปไหน...พกั เดยี๋ วกอ่ น 30

กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๕ ค�ำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนคำ� จากวรรณยกุ ต์ทก่ี ำ� หนดและฝึกอา่ นคำ� -่ -้ -๊ -๋ 31

มกาตมรา การผนั อกั ษรกลาง ทม่ี ตี วั สะกดมาตรากม (มี ม เปน็ ตวั สะกด) ผันได้ ๕ เสียง คอื สามญั เอก โท ตรี จตั วา มรี ูปและเสียงตรงกัน พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ รูป – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา กาม กา่ ม ก้าม กา๊ ม ก๋าม จอม จอ่ ม จ้อม จอ๊ ม จอ๋ ม เอยี ม เอีย่ ม เอีย้ ม เอ๊ียม เอ๋ยี ม แปม แปม่ แป้ม แปม๊ แปม๋ บวม บว่ ม บว้ ม บ๊วม บ๋วม เปม เปม่ เป้ม เปม๊ เป๋ม เอม เอม่ เอม้ เอ๊ม เอ๋ม 32

กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ค�ำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเติมวรรณยุกต์ใหค้ รบและฝึกอา่ นคำ� ใหถ้ ูกต้อง รปู – –่ –้ – – เสียง สามญั เอก โท ตรี จตั วา ตัวอยา่ ง จาม จา่ ม จา้ ม จา๊ ม จา๋ ม อาม อาม อาม อาม อาม ตมิ ติม ตมิ ตมิ ตมิ บิม บิม บมิ บมิ บมิ แจม แจม แจม แจม แจม ดอม ดอม ดอม ดอม ดอม เกียม เกียม เกียม เกยี ม เกยี ม เจยี ม เจียม เจยี ม เจียม เจยี ม 33

กจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ ๒ คำ� ช้แี จง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม ค�ำท่มี คี วามหมาย รปู – –่ –้ – – เสียง สามัญ เอก โท ตรี จตั วา ตัวอย่าง กาม ก่าม กา้ ม กา๊ ม ก๋าม ตาม ตาม ตาม ตาม ตาม อิม อิม อมิ อมิ อิม ดืม ดืม ดมื ดมื ดมื แกม แกม แกม แกม แกม แตม แตม แตม แตม แตม ออม ออม ออม ออม ออม ปอม ปอม ปอม ปอม ปอม เอยี ม เอียม เอียม เอยี ม เอยี ม เอือม เออื ม เออื ม เอือม เอือม 34

ฝึกอา่ นคำ� กา้ ม ดา้ ม ต้มุ อุ้ม อิม่ ดื่ม แก้ม แจม่ แตม้ ตม้ ปอ้ ม ต่อม ออม อ้อม เอี่ยม เปี่ยม เจี้ยม เออ้ื ม กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ ๓ คำ� ชี้แจง ใหน้ ักเรียนเลอื กคำ� มาเตมิ ในช่องวา่ ง และฝกึ อ่านค�ำ ๑. ใส ตมุ้ ๒. หุง อมิ่ ๓. อด แจ่ม ๔. ยาม ตอม ๕. ลูก ต้ม ๖. น้�ำ แตม้ ออม ๗. ปู ก้าม ด่มื ๘. แตง่ ๙. ไต่ ป้อม ๑๐. กนิ 35

กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ ๔ คำ� ช้แี จง ให้นกั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตจ์ ากภาพที่กำ� หนดให้และฝกึ อ่านคำ� เขยี นคำ� และฝกึ อ่าน หงุ ตม มะขามปอม กินอิม กามปู อมุ ลกู แกม เจ้าแตม เอือมมือ 36

มเกาตยรา การผนั อกั ษรกลาง ทมี่ ตี วั สะกดมาตราเกย (มี ย เปน็ ตวั สะกด) ผนั ได้ ๕ เสียง คอื สามัญ เอก โท ตร ี จัตวา มีรูปและเสยี งตรงกัน พื้นเสยี งเปน็ เสียงสามัญ รปู – –่ –้ – – เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จตั วา กาย ก่าย กา้ ย กา๊ ย กา๋ ย จาย จา่ ย จ้าย จา๊ ย จ๋าย ดาย ด่าย ด้าย ด๊าย ด๋าย ตาย ต่าย ตา้ ย ตา๊ ย ต๋าย บาย บา่ ย บ้าย บ๊าย บา๋ ย ปาย ปา่ ย ปา้ ย ป๊าย ปา๋ ย อาย อา่ ย อ้าย อ๊าย อา๋ ย 37

กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ ๑ ค�ำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม คำ� ท่มี ีความหมาย รปู – –่ –้ – – เสียง สามญั เอก โท ตรี จัตวา ตวั อย่าง กุย ก่ยุ กุย้ กยุ๊ กยุ๋ อุย อุย อุย อุย อยุ เอย เอย เอย เอย เอย โอย โอย โอย โอย โอย กอย กอย กอย กอย กอย จอย จอย จอย จอย จอย ดอย ดอย ดอย ดอย ดอย ตอย ตอย ตอย ตอย ตอย ออย ออย ออย ออย ออย เจือย เจอื ย เจือย เจือย เจือย เปอื ย เปือย เปือย เปือย เปือย 38

ฝึกอา่ นคำ� จ่าย ดา้ ย ต่าย บ่าย ป้าย อ้าย กุย๋ ปยุ๋ อยุ๊ เอ๋ย เตย้ โอ๊ย โป๊ย ก้อย จอ๋ ย ด้อย ตอ่ ย บ่อย อ้อย อ๋อย เจอ้ื ย เปือ่ ย เอื่อย เออ้ื ย 39

กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี ๒ คำ� ชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นค�ำจากภาพที่กำ� หนดและฝกึ อา่ นคำ� จ= ด= ต= ป= ย= อ= -่ = -้ = -๋ = -า = -ุ = ๑= ๒= ๓= ๔= ๕= 40

กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ ๓ คำ� ชี้แจง ใหน้ ักเรยี นเติมวรรณยุกต์และฝึกอา่ นค�ำ จาย ปาย อาย ดาย บาย บอย กอย ดอย ออย ตอย จอย ปยุ กุย โอย เอย 41

เมกาอตรวา การผนั อกั ษรกลาง ทม่ี ตี วั สะกดมาตราเกอว (มี ว เปน็ ตวั สะกด) ผันได้ ๕ เสียง คอื สามัญ เอก โท ตรี จตั วา มีรปู และเสียงตรงกนั พน้ื เสียงเป็นเสยี งสามญั รูป – –่ –้ – – เสยี ง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา จาว จา่ ว จา้ ว จ๊าว จา๋ ว ดาว ด่าว ด้าว ดา๊ ว ด๋าว อาว อา่ ว อ้าว อ๊าว อา๋ ว จิว จ่วิ จว้ิ จิว๊ จิว๋ ปิว ปิ่ว ปว้ิ ปวิ๊ ป๋ิว แกว แก่ว แกว้ แกว๊ แก๋ว แตว แตว่ แตว้ แต๊ว แต๋ว 42

กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๑ ค�ำชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเตมิ วรรณยกุ ตใ์ หค้ รบ ฝกึ อา่ นคำ� ใหถ้ กู ตอ้ งและวงกลม คำ� ทม่ี ีความหมาย รปู – –่ –้ – – เสยี ง สามญั เอก โท ตรี จตั วา ตัวอย่าง กาว กา่ ว กา้ ว ก๊าว ก๋าว บาว บาว บาว บาว บาว กวิ กวิ กิว กิว กวิ ติว ตวิ ติว ติว ติว อิว อิว อิว อิว อวิ แจว แจว แจว แจว แจว แอว แอว แอว แอว แอว เดียว เดียว เดียว เดยี ว เดยี ว 43

ฝกึ อา่ นค�ำ ก้าว ด้าว บ่าว อา่ ว อา้ ว กว่ิ จ๋วิ ปิ๋ว แกว้ แจ่ว แจว้ แจ๋ แอ่ว เก่ียว เกีย้ ว เกีย๊ ว เด่ยี ว เดีย๋ ว เตย๋ี ว เบย้ี ว เอ่ยี ว เอี้ยว เปยี้ ว แต้ว กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๒ ค�ำช้แี จง ให้นกั เรยี นเตมิ วรรณยุกตจ์ ากคำ� ทีก่ ำ� หนด ใหม้ คี วามหมายและ ฝึกอ่านคำ� บาว แจว จิ ว เ ดี ย ว ปิ ว กิ ว ดาว อาว 44

กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี ๓ คำ� ช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกน�ำค�ำอักษรกลางท่ีมีตัวสะกดมาตราเกอว เตมิ ในประโยคใหไ้ ดใ้ จความที่สมบรู ณ์และฝกึ อา่ นประโยค ๑. นอ้ งอยากกนิ ...........................จึงบอกคุณแม่ ๒. คณุ ปา้ ...........................ตวั อย่างเร็ว เอวเลยเคลด็ ๓. พืน้ น�ำ้ ท่ลี ำ้� เขา้ ไปในพ้ืนดิน มลี ักษณะเวา้ โคง้ เรยี กวา่ ........................ ๔. น้องถือ...........................น�ำ้ สชี มพู เอย้ี ว ๕. พี่ของฉนั แข่งขนั วิง่ .......................... เปีย้ ว แกว้ อา่ ว เกีย๊ ว 45

แบบฝึกหัดทบทวน กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี ๑ รูปกบั เสยี งเป็นเพ่อื นกนั คำ� ชี้แจง ๑. นักเรยี นอา่ นค�ำท่กี �ำหนดให้ ๒. นกั เรยี นเขียนรปู และเสยี งวรรณยกุ ต์ คำ� รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยกุ ต์ ต๋าย – จัตวา ๑. ด้วง ๒. แก้ ๓. เอ๋ย ๔. บ้าน ๕. เกอ้ ๖. ป่าน ๗. ต่าง ๘. ด้ิน ๙. ปอ๋ ง ๑๐. เบยี้ ว 46

แบบฝกึ หัดทบทวน กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๒ ตามหาวรรณยุกต์ คำ� ชแ้ี จง ๑. นักเรียนอา่ นค�ำทกี่ �ำหนดให้ ๒. นักเรยี นน�ำค�ำไปใส่ให้ตรงกบั เสยี งวรรณยุกต์ ปลา บ้าน เตา๋ จ๋อย ตาม เอยี ง แจง ตมุ่ เอีย๊ ม ปุ๋ย บา่ ว ป๊า ดา้ ย เบ้ยี เตีย่ กอ้ ง เอี้ยว ปุ่ม เก๊ียว โอ่ง ปอน เบ้อื ง เดี๋ยว กมุ อิม่ จ๋วิ เก ๊ จอ๋ อัว๊ โป๊ เสยี งสามัญ เสยี งเอก เสยี งโท เสียงตรี เสยี งจัตวา 47

แบบฝึกหดั ทบทวน จตั วา กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ ๓ ตามหาวรรณยุกต์ ค�ำชี้แจง ๑. นักเรยี นผนั ค�ำทกี่ �ำหนดให้ ๒. นกั เรียนฝกึ อ่านค�ำ คำ� สามญั เอก โท ตรี เกา จอง ดาย ตนื บาว เปือย โอย 48

แบบฝกึ หดั ทบทวน กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๔ ตามหาวรรณยุกต์ คำ� ช้ีแจง ๑. นักเรยี นผันคำ� ทก่ี �ำหนดให้ ๒. นกั เรยี นฝกึ อา่ นค�ำ เตา ปอง ดาย บิน แปง เกา ฝกึ อา่ นคำ� เตาถ่าน เต่าทอง เตา้ ห้ ู ลูกเตา๋ แมงปอ่ ง ปกปอ้ ง กระปอ๋ ง เดยี วดาย หลอดด้าย นกบิน มดี บนิ่ รบิ บ้ิน แป้งฝ่นุ ของเกา่ เลขเก้า ปลาเกา๋ 49

แบบฝกึ หดั ทบทวน กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๕ ค�ำนมี้ คี วามหมาย ค�ำช้ีแจง ๑. นักเรยี นเลอื กคำ� ทางขวามือมาเตมิ คำ� ให้ได้ใจความ ๒. นกั เรยี นฝกึ อ่านประโยค ๑. เสือท่.ี ......ดุ ปา ป่า ป้า ป๊า ปา๋ ๒. แดง.......มอง เพอื่ จะ.......เสื้อผา้ จอง จ่อง จอ้ ง จ๊อง จ๋อง ๓. อย่าทำ�ขา.......ดไู ม.่ ...... เก เก่ เก้ เก๊ เก๋ ๔. เดก็ ๆ ต้องรจู้ กั .......ไข จะได้ดี แก แก่ แก้ แก๊ แก็ ๕. ที่วดั มไี ก่.......หลายตัว โตง โตง่ โต้ง โตง๊ โต๋ง ๖. พ่อแม่.......วันน้ีแสงแดด....... จา จ่า จ้า จา๊ จา๋ ๗. ฉันอยูค่ น.......แมไ่ ปตลาด.......มา เดยี ว เดีย่ ว เดี้ยว เดย๊ี ว เดีย๋ ว ๘. .......นอนอยู่ขา้ ง....... เตา เตา่ เตา้ เตา๊ เต๋า ๙. น้องแก.้ ......บอกวา่ อยากกิน....... เกียว เก่ยี ว เกี้ยว เก๊ยี ว เก๋ยี ว ๑๐. เดก็ ๆ ซือ้ .......เพอ่ื จะดนู ก ๓ ........ ตัว ตวั่ ต้วั ตวั๊ ต๋ัว 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook