Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EDUC191

EDUC191

Published by preechasilpp, 2021-11-22 03:36:40

Description: EDUC191

Search

Read the Text Version

สำหรับโรงเรยี น คู่มือการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู รายวิชา EDUC 191 การฝกึ ปฏบิ ัติวิชาชพี ครูระหวา่ งเรียน 1 (Practicum 1) คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม

คำนำ คมู่ อื การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู เลม่ นี้เป็นค่มู อื ใน รายวชิ า EDUC 191 การฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพครู ระหว่างเรียน 1 (Practicum 1) ซึ่งเป็นรายวิชาที่ 1 ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ พิบูลสงคราม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2562 คู่มือเล่มนี้ ประกอบด้วย เนื้อหาสาระทั้งหมด 4 บท ไดแ้ ก่ บทท่ี 1 หลกั การและแนวคิด วัตถปุ ระสงค์ และกระบวนการการฝึกปฏบิ ัติการสอน บทที่ 2 ขอบขา่ ยและแนวทาง การฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ครูระหวา่ งเรยี น 1 บทที่ 3 บทบาทหน้าทีข่ องบุคลากรท่เี ก่ยี วข้อง บทที่ 4 การประเมนิ ผล การฝึกปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ครูระหวา่ งเรยี น 1 หวงั เป็นอยา่ งย่งิ ว่าคู่มือเลม่ น้ี จะเป็นประโยชนส์ ำหรับผูเ้ กยี่ วข้องทกุ ทา่ น ได้แก่ นักศึกษา คณาจารย์ คณะครุศาสตร์ รวมไปถึงบุคลากรในสถานศึกษา ได้ใช้เป็นแนวทางในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ใหบ้ รรลุสำเร็จ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการศึกษาต่อไป ฝา่ ยฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พบิ ูลสงคราม

สารบัญ เรือ่ ง หน้า บทที่ 1 1 หลกั การและแนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์ และกระบวนการการฝกึ ปฏิบัตกิ ารสอน 4 บทท่ี 2 ขอบข่ายและแนวทาง การฝึกปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพครูระหว่างเรียน 1 7 บทที่ 3 12 บทบาทหนา้ ท่ขี องบคุ ลากรทีเ่ ก่ียวข้อง 15 บทท่ี 4 16 การประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ครรู ะหวา่ งเรียน 1 23 26 ภาคผนวก 29 ใบงานท่ี 1 แบบบนั ทกึ การวิเคราะห์ตนเอง ใบงานที่ 2 การสังเกตการปฏิบัติหนา้ ที่ครู ใบงานท่ี 3 การสังเกตการจดั การเรียนรู้ของครู ใบงานที่ 4 การศึกษาสงั เกตบรบิ ทของสถานศึกษาและความสัมพันธ์กบั ชุมชน ใบงานที่ 5 กจิ กรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นรูปแบบกจิ กรรม PLC ใบงานท่ี 6 กจิ กรรมวเิ คราะห์ตนเองตามสมรรถนะครู ใบงานท่ี 7 สรปุ องค์ความร้ทู ่ีไดจ้ ากประสบการณ์เรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา ใบงานท่ี 8 สรปุ องค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากประสบการณเ์ รียนร้ใู นสถานศกึ ษา

บทที่ 1 หลกั การ แนวคดิ วตั ถปุ ระสงค์ และกระบวนการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู หลักการและแนวคิด การผลิตครูตามหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชาการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม หลักสูตรปรบั ปรุง พุทธศักราช 2562 มุ่งที่จะผลิตบัณฑติ ท่ีมีความล่มุ ลกึ ทางวชิ าการ และมีความเชี่ยวชาญในทางปฏบิ ัติ และมคี ณุ ธรรม จริยธรรมทเ่ี ป็นแบบอย่างในความเป็นครูท่ีดี ซึ่งในการปฏิบัติ นอกจากจะฝึกปฏิบัติในชั้นเรียนแล้ว จำเป็นต้องอาศัยการฝึกปฏิบัติจากสถานการณ์จริงใน สถานศึกษาดว้ ย วตั ถุประสงค์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู การจัดกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้มีประสิทธิภาพจะช่วยส่งเสริมคุณภาพ การผลติ ครู ซึ่งจำเป็นตอ้ งกำหนดวัตถุประสงค์โดยรวม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ด้านคุณลักษณะ เพื่อให้นักศึกษามีการพัฒนาตนเองให้มีความรัก ความศรัทธา ความภูมิใจใน วชิ าชีพครู มคี า่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ ต้งั ม่ันในคุณธรรม จรยิ ธรรม มจี รรยาบรรณวชิ าชพี ครู มีความเป็นคนดีที่มี วินัยในตนเอง มคี วามรับผดิ ชอบ มคี วามรักความเมตตาต่อเด็ก มีความขยนั มคี วามเพียร มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี กบั ผู้อนื่ 2. ด้านความรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ โดยมีความรู้ ในเน้ือหาวิชาทจี่ ะนำไปสอน ความร้ใู นวชิ าชีพครทู ี่จะนำไปใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน และความรอบรู้ ในการทำงาน และการอย่รู ่วมกับผ้อู น่ื 3. ด้านเทคนิควิธี เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถ มีทักษะในการปฏิบัติงาน สามารถแก้ปัญหา และพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้นประกอบด้วยการวางแผนการศึกษา ระบบการจัดการเรียนการสอน เทคนิควิธี ในดา้ นการจดั การเรียนรู้ การแกป้ ญั หาพัฒนาผู้เรียน การปฏิบตั หิ นา้ ท่สี นบั สนุนการเรยี นการสอน กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2562) คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พิบลู สงคราม มีการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารในสถานศึกษา โดย มีรายละเอยี ดดังน้ี

คำอธิบายรายวิชา EDUC191 การฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชีพครรู ะหว่างเรยี น 1 2(90) Practicum 1 วิชาบงั คบั กอ่ น : ไม่มี สรุปคุณลักษณะของตนเองและครูที่แสดงออกถึงความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อวิชาชีพ รอบรู้บทหน้าที่ครูผู้สอนและครูประจำชั้นในสถานศึกษา เข้าใจ บริบทชุมชน ร่วมมือกับผู้ปกครองในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนา ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบในรปู แบบของ การศึกษารายกรณี (Case Study) โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ทางจิตวิทยา เทคโนโลยีดิจิทัล การพัฒนา หลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ สรุปแนวทางและลักษณะกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของครูทั้งใน และนอกสถานศึกษา ผ่านกระบวนการสังเกตและวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู ถอดบทเรียนจาก ประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และนำผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไป ประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้(PLC) เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทันสมยั และทันต่อการเปล่ียนแปลง

บทที่ 2 ขอบขา่ ยและแนวทาง การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ครูระหว่างเรียน 1 รายวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 (Practicum 1) เป็นรายวิชาที่กำหนดไว้ใน โครงสร้างหลักสูตรของกลุ่มวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (Professional Training) ตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชาการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2563 ประกอบด้วย 2 หน่วยกิต ใช้เวลาในการฝึกไม่น้อยกว่า 90 ชั่วโมง โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ครูโดยแสดงพฤติกรรมและทักษะเฉพาะ เกี่ยวกับการสอนได้อย่างดี แก้ปัญหาและพัฒนางานการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมืออาชีพ และนำเสนอผลการ ปฏิบัติการจดั การเรียนรู้ และการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ของตนไดอ้ ย่างมรี ะบบ แนวทางการจัดการฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพครรู ะหวา่ งเรยี น 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ได้มีการวางแผนเตรียมการในการจัดระบบ การบริหารจัดการการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์ เพื่อทำหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและแนวทางในการบริหาร การฝึกฯ การคัดเลือกสถานศึกษาท่จี ะเปน็ โรงเรยี นร่วมพฒั นาวิชาชพี ครู ตลอดจนการกำหนดกรอบแนวทาง ในการนเิ ทศนักศึกษา ภายใตค้ วามร่วมมอื จากเขตพ้นื ที่การศึกษา สถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ หน่วยฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู และคณาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยร่วมกันพัฒนากระบวนการ นิเทศและกำกับการปฏบิ ตั ิการสอนใหม้ ีคณุ ภาพ มาตรฐานและเพอ่ื ให้ประสบการณ์การสอน 1 ปี เปน็ เงื่อนไข ในการออกใบประกอบวิชาชพี ครใู ห้กบั นักศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ลู สงคราม ได้กำหนดให้นกั ศกึ ษาที่ได้ออกฝกึ ปฏบิ ตั วิ ิชาชีพครู ระหว่างเรยี น 1 ภายใต้เง่ือนไข ดงั ต่อไปนี้ 1. นักศึกษาจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในวิชาชีพครู เช่น งานธุรการในชั้นเรียน และงานโครงการพัฒนา นักเรยี นอย่างนอ้ ย 1 โครงการ 2. นักศึกษาจะต้องปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยจัดให้มีการวิเคราะห์หลักสูตร และจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ตลอดภาคเรียน แล้วนำไปทดลองสอน ทั้งนี้ ต้องสอนในสาขาวิชาเอกตามกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ โดยมีเวลาในการสอนประมาณ 8-12 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์ 3. นักศึกษาจะต้องบันทึกผลการปฏิบัติงานครูด้านต่างๆ ทั้งในส่วนงานที่รับผิดชอบในงานธุรการ งานโครงการพัฒนานักเรียน งานปฏิบัติการสอนในชัน้ เรียน และงานวจิ ัยในชน้ั เรียน การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 นักศึกษาจะต้องศึกษาและทำความเข้าใจ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรของรายวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 ซึ่งประกอบด้วย ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ และการจัดการเรียนรู้ ดังตอ่ ไปนี้

ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั ศึกษาจะตอ้ งปฏิบตั หิ น้าท่ีครโู ดยแสดงพฤติกรรม และทักษะเฉพาะเก่ียวกับการสอนไดอ้ ย่างดี 2. นักศึกษาจะต้องนำทฤษฎีหลักการจากชุดวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มาบูรณาการกับ การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพครูระหวา่ งเรียน 1 3. นกั ศกึ ษาจะต้องแกป้ ญั หาและพัฒนางานและการจดั การเรยี นรู้ได้อยา่ งมืออาชีพ 4. นักศึกษาจะต้องนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ของตนไดอ้ ย่างเป็นระบบ สาระการเรียนรู้ 1. ทฤษฎแี ละหลกั การท่บี ูรณาการมาใชจ้ ากทกุ ชดุ วชิ าการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู 2. มาตรฐานการเรียนรู้ 3. สาระการเรยี นร้ตู ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 6. การสะท้อนผลการเรียนรแู้ ละการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ 1. ปฏิบัติงานครูและพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการสอน โดยใช้เวลาปฏิบัติการสอนไม่เกินครึ่งหนึ่ง ของครูประจำการและใชเ้ วลาเพ่ือเตรียมการจัดการเรียนรอู้ ย่างนอ้ ย 2 เทา่ ของเวลาปฏิบัติงานสอน 2. สังเคราะห์องค์ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์จากการฝึกที่ผ่านมา มาบูรณาการกับ การปฏบิ ัตกิ ารสอน 3. วางแผน และวิเคราะหห์ ลักสูตร ตลอดภาคการศึกษา โดยองิ หลักสูตรสถานศึกษา 4. ฝึกปฏิบตั ิจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั และสอดคลอ้ งกบั ศาสตร์ของกล่มุ สาระ 5. รายงานผลการปฏิบัติงานและการพัฒนาคุณภาพการสอนของตน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในกลุม่ และมกี ารเผยแพร่สู่ประชาคมวิชาชีพครู ดังปรากฏในตารางแสดงความสัมพันธ์แต่ละองคป์ ระกอบดังนี้

รายวิชา การฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพครูระหวา่ งเรยี น 1 (Practicum 1) รหสั วชิ า EDUC191 จำนวน 2 หน่วยกิต 90 ช่ัวโมง ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรู้ 1. นักศกึ ษาจะต้องปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ครู 1. ทฤษฎีและหลักการท่ี 1. ปฏิบัติงานครูและพัฒนา ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มี บ ู ร ณ า ก า ร ม า ใ ช ้ จ า ก ทุ ก คุณภาพการปฏิบัติการสอน โดยใช้ ค ุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ร ิ ย ธ ร ร ม ต า ม รายวชิ า เว ลาปฏ ิบัติการสอนไม่เกิน จ ร ร ย า บ ร ร ณ ว ิ ช า ช ี พ โ ด ย แ ส ด ง 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ ครึ่งหนึ่งของครูประจำการและใช้ พฤติกรรมและทักษะเฉพาะเกี่ยวกับ 3. สาระการเรียนรู้ตาม เวลาเพื่อเตรียมการจัดการเรียนรู้ การสอนได้เปน็ อยา่ งดี กลุ่มสาระ อย่างน้อย 2 เท่าของเวลา 2. นักศึกษาจะต้องนำทฤษฎี 4. กระบวนการจัดการ ปฏบิ ตั ิงานสอน ห ล ั ก ก า ร อ อ ก แ บ บ น ว ั ต ก ร ร ม เรยี นร้ทู ่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ 2. สังเคราะห์องค์ความรู้จาก การออกแบบเน้ือหาสาระและกิจกรรม 5. การวัดและประเมินผล ทฤษฎีและประสบการณ์จากการ การจัดการเรียนรู้สื่อและเทคโนโลยี การเรยี นรู้ ฝึกที่ผ่านมามาบูรณาการกับการ จากรายว ิช า ปฏิบัติการส อนใน 6. การสะท้อนผลการ ปฏบิ ตั กิ ารสอน สถานศกึ ษา 2 มาบรู ณาการองคค์ วามรู้ เรียนรู้ในรูแบบ AAR และ 3. วางแผนและวิเคราะห์ ทางการบริหารการศึกษา ออกแบบ PLC หลักสูตรตลอดภาคการศึกษา นวตั กรรม กบั การฝึกปฏิบัตกิ ารสอนใน โดยอิงหลกั สตู รสถานศกึ ษา สถานศึกษา 2 4. ฝึกปฏิบัติจัดการเรียนรู้ที่ 3. นักศึกษาจะต้องแก้ปัญหาและ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ พัฒนางานและการจัดการเรียนรู้ได้ สอดคล้องกบั ศาสตรข์ องกลมุ่ สาระ อย่างมืออาชีพ 5. นำเสนอผลจากการเรียนรู้ใน 4. นกั ศกึ ษาจะต้องนำเสนอผลจาก สถานศึกษาไปประเมินสะท้อน การเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมิน กลับ (AAR) เป็นรายบุคคลและ สะทอ้ นกลบั (AAR) เปน็ รายบุคคลและ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบ รว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ในรูปแบบชุมชน ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ( PLC) แห่งการเรียนรู้ (PLC) เพื่อนำไปใช้ใน เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ให้มีความรอบรู้ทนั สมัยและทันตอ่ การเปลยี่ นแปลง ทนั สมัยและทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง

บทที่ 3 บทบาทหนา้ ทีข่ องบุคลากรทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ในการฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ครูระหวา่ งเรียน 1 1. บทบาทหนา้ ทขี่ องบุคลากรในสถานศึกษา 1.1 บทบาทหนา้ ท่ีของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 1.2 บทบาทหนา้ ท่ีของครูนเิ ทศ 1.3 บทบาทหน้าท่ีของครพู ี่เล้ียง 2. บทบาทของอาจารยน์ เิ ทศก์ 3. บทบาทหนา้ ทข่ี องนกั ศกึ ษา 1.บทบาทหน้าทขี่ องบุคลากรในสถานศกึ ษา 1.1 บทบาทหน้าทขี่ องผบู้ ริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นผู้ที่บทบาทสำคัญยิ่ง ในการจัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูร่วมกับคณะครุศาสตร์ ซึ่งอาจจะจำแนกบทบาทหน้าทีข่ องผู้บริหาร ในสว่ นทเี่ กีย่ วข้องดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี 1. ด้านการจดั การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครใู นสถานศึกษา 2. ดา้ นการปฐมนิเทศนักศกึ ษาและการดำเนนิ การฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู 3. ดา้ นการจดั ครูนเิ ทศ และครูพเ่ี ลย้ี งของสถานศกึ ษา 1.2 บทบาทหนา้ ท่ีของครนู เิ ทศ ครูนิเทศของสถานศึกษา เป็นบุคคลที่ผู้บริหารแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ทำหน้าที่ประสานงาน กับครูในสถานศึกษา และอาจารย์นิเทศก์ของมหาวิทยาลัย เป็นผู้ที่มีบทบาทในการให้คำปรึกษา คำแนะนำ ตลอดจนให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่นักศึกษา โดยเฉพาะในการพิจารณาเลือกสรร ครูพี่เลี้ยงที่สามารถให้ คำแนะนำ และมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการฝึกปฏบิ ตั ิงานวิชาชีพครู 1.3 บทบาทหนา้ ทข่ี องครพู ่ีเล้ยี ง ครูพี่เลี้ยง เป็นบุคลากรประจำการที่ผู้บริหารหรือครูนิเทศก์ของสถานศึกษา ได้พิจารณา ตามคุณสมบัติ และสอดคล้องกับสาขาวิชาของนักศึกษาโดยได้รับการมอบหมายให้ทำหน้าที่ ให้คำแนะนำ ดูแล ช่วยเหลือในการให้ข้อมูลต่างๆ รวมถึงร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน และประเมินผลการฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพครู ดังนน้ั ครพู เ่ี ลี้ยงจึงเปรียบเสมือนบุคลากรท่ีมีความสัมพันธ์ใกล้ชดิ กับนักศึกษา และมีส่วนใน การสนบั สนุนท่จี ะทำให้นักศึกษาไดป้ ฏิบตั ิงานได้เปน็ อย่างดี ดงั นั้นจงึ ไดก้ ำหนดบทบาทของครูพ่ีเล้ียงเพ่ือเป็น แนวในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ครพู เี่ ลย้ี ง ดังนี้ 1. ครูพี่เลี้ยงสามารถดูแลนักศึกษาที่ฝึกในชุดวิชา EDUC191 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC 291 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 จำนวนไม่เกิน 3 คน ซึ่งต้องไม่ทับซ้อนกับนักศึกษาท่ีฝึกในชุด วิชา EDUC391 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1, EDUC392 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC491 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1

2. ครูพี่เลี้ยงสามารถดูแลนักศึกษาที่ฝึกในชุดวิชา EDUC191 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC 291 ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 2 จำนวน 1 คนเท่านน้ั 3. ใหค้ ำแนะนำเก่ียวกบั การทำแผนการสอนรายวิชา และแผนการสอนรายสัปดาห์ 4. สังเกตการสอน แนะนำ และทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน ไม่ปล่อยให้สอนโดยลำพัง ชว่ ยแก้ไขข้อบกพร่องตามหลักการ เพ่อื ใหส้ อนเปน็ ไปดว้ ยดี 5. ตรวจแผนการสอนรายสปั ดาห์ พร้อมเขียนข้อเสนอแนะลว่ งหน้ากอ่ นท่นี กั ศึกษา จะทำการสอน 6. เพื่อปรึกษาหารือ และวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหา ดา้ นตา่ งๆ ของนกั ศกึ ษา 7. วัดและประเมนิ ผล ทง้ั นไี้ ดก้ ำหนดคณุ สมบัตขิ องครูพี่เลี้ยงตามทค่ี ุรุสภากำหนดดังน้ี 7.1 มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี 7.2 มีคุณวุฒิตรงในสาขาวิชาเอกที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์ หรือมีประสบการณ์ในการ สอนในสาระวิชาเอก หรอื วิชาน้ันๆ ไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี 1. บทบาทของอาจารย์นเิ ทศก์ อาจารยน์ ิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ เป็นบุคลากรท่ีคณะครศุ าสตร์แต่งต้ังจากอาจารย์ในสาขาวิชาที่มี นกั ศกึ ษาออกฝกึ ปฏบิ ตั ิงานวชิ าชีพครู หรือเปน็ อาจารย์อ่นื ในคณะทมี่ ีความรู้และประสบการณ์ทีส่ อดคล้องกับ การฝึกปฏิบัติงานของนกั ศึกษา จึงได้กำหนดบทบาทและหน้าทขี่ องอาจารย์นิเทศ ไวด้ ังนี้ 1. รว่ มประชุมวางแผนกับคณะกรรมการฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครูของคณะครุศาสตร์ 2. การนิเทศติดตามนักศึกษาในชุดวิชา EDUC191 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC 291 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 อาจารย์นิเทศต้องดำเนินนิเทศติดตามนักศึกษา ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง ต่อภาคเรียน เพื่อตรวจแผนการสอนรายวิชา และแผนการสอนรายสัปดาห์ สังเกตการ สอนของนักศึกษาในช้ันเรียน เพอื่ ติดตามการพฒั นาของนักศึกษา 3.เข้ารว่ มปฐมนเิ ทศ ระหว่าง และหลงั การจัดนำเสนอผลงาน เพื่อรับทราบปัญหาและเสนอแนะแนว ทางแก้ไขแกน่ กั ศึกษา 4. ร่วมวางแผน ใหค้ ำแนะนำ ขอ้ เสนอแนะและประเมินผล การปฏิบตั ิการวชิ าชีพครู 5. พบผู้บริหารโรงเรียน เพื่อทราบนโยบายของโรงเรียน และสร้างสัมพันธภาพอันดีตามโอกาส อันสมควร 6. พบครพู ่ีเล้ียง เพ่อื ปรกึ ษาและวางแผนร่วมกัน เพอ่ื พฒั นาและแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ของนักศึกษา 7.ประเมินผลการปฏิบัติการวิชาชีพครูของนักศึกษาตามระยะเวลาที่กำหนด โดยร่วมกับครูพี่เล้ี ยง และคณะกรรมการฝา่ ยฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครขู องคณะครุศาสตร์ ท้งั นไี้ ด้กำหนดคุณสมบัติของอาจารย์นิเทศก์ 1. มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาโท หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่ตรง หรือสมั พันธก์ บั สาขาวิชานนั้ ๆ

2. มีทักษะการนิเทศ โดยมีประสบการณ์การนิเทศไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี หรือมีประสบการณ์ ในการสอน สาขาวิชานั้นๆ ไม่น้อยกว่า 3 ปี ในกรณีที่มีประสบการณ์ไม่ได้มาตรฐานให้ใช้การนิเทศร่วมกับผู้ที่มี ประสบการณต์ ามมาตรฐาน 3. มคี ุณลกั ษณะที่เป็นแบบอย่างทดี่ ี 4. มีจำนวนนักศึกษาที่ฝึกในชุดวิชา EDUC191 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC 291 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 และนักศึกษาที่ฝึกในชุดวิชา EDUC391 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1, EDUC392 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ EDUC491 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 รวมกัน ไม่เกนิ 1 : 10 3. บทบาทหนา้ ทข่ี องนกั ศึกษา บทบาทหนา้ ที่ของนักศึกษา 1. เข้ารว่ มการปฐมนิเทศทงั้ ท่ีมหาวิทยาลยั และสถานศึกษาตามปฏทิ นิ ทกี่ ำหนดไว้ 2. ทำความเข้าใจ ศึกษารายละเอียดในคู่มือการฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู เอกสารหลักฐานที่เกี่ยวกับ การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู รวมถงึ การทบทวนความรภู้ าคทฤษฎี 3. พบอาจารยน์ เิ ทศก์ตามสาขาวชิ า เพอ่ื วางแผนการฝึกปฏบิ ตั ิงานวิชาชีพครู 4. วางแผนกระบวนการฝึกร่วมกบั ครูนิเทศก์ ครพู เ่ี ลีย้ ง และบคุ ลากรท่ีเกีย่ วข้องในสถานศึกษา 5. ปฏิบัติงานตามขอบข่ายทีก่ ำหนดไวใ้ นโครงการสอนของชดุ วิชาฝกึ ปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพครู 6. มสี ว่ นร่วมกบั สถานศึกษาในการปฏบิ ัติงานตามโอกาส 7. เขา้ รว่ มประชุมสัมมนาเพอ่ื สะท้อนผลทีเ่ ปน็ องค์ความร้ปู ระสบการณ์ และสภาพปญั หาทีพ่ บจากการ ฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพครู 8. ทบทวน รวบรวมผลงาน และจดั ทำแฟม้ สะสมงาน เพอื่ นำเสนอต่ออาจารย์นิเทศก์ แนวปฏิบตั ิสำหรับนักศึกษา 1. แตง่ กายถูกตอ้ งตามระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั 2 มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย 3. ให้ความเคารพนบั ถือ และให้เกียรติต่อบคุ ลากรในสถานศึกษา 4. สร้างสัมพนั ธภาพท่ีดีกบั เพื่อนนกั ศึกษาและผูเ้ รยี น 5. ปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของผบู้ รหิ าร ครูนเิ ทศก์ ครูพีเ่ ลีย้ งของสถานศกึ ษา และอาจารยน์ เิ ทศก์ 6. รับผิดชอบในการปฏิบัติงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนดไว้ 7. ให้ความร่วมมอื กบั บคุ ลากรในสถานศกึ ษาเพอื่ มสี ว่ นรว่ มในการฝกึ ปฏิบัติงาน 8. ขอคำแนะนำปรึกษากับบคุ ลากรในสถานศึกษาเพื่อให้สามารถปฏิบัตงิ านได้ตามวัตถปุ ระสงค์ 9. นักศึกษาจะต้องลงเวลาทำงานทั้งไปและกลับในสมุดลงเวลามาทำงานที่มหาวิทยาลัยจัดให้ นักศึกษาที่มาลงเวลาทำงานสาย จะต้องชี้แจงตอ่ ผู้บริหารหรอื ผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมายอย่างเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และมาสายไดไ้ มเ่ กินระเบียบขา้ ราชการ

ข้ันปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 1. คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะฝึกประสบการวิชาชีพครู ชุดวิชา การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู ระหว่างเรยี น 1 1.1 ต้องเป็นนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (หลักสูตร 4 ปี) ชั้นปีที่ 1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบูลสงคราม 1.2 ต้องสอบผา่ นทกุ รายวชิ าตามแผนการศกึ ษาในหลักสตู ร 2. ระเบยี บปฏิบัติหน้าท่สี อนในสถานศึกษา 2.1 ตอ้ งคอยดแู ลควบคมุ การเข้าแถวของนักเรยี น 2.2 ต้องจัดทำแผนการสอนรายวิชาให้เสร็จก่อนเปิดภาคเรียนของสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 1 สปั ดาห์ 2.3 ตอ้ งทำแผนการสอนรายสปั ดาห์ ให้ครพู ี่เล้ยี งตรวจกอ่ นเข้าสอน อยา่ งน้อย 1 สัปดาห์ 2.4 ตอ้ งเตรยี มการสอนก่อนเขา้ สอนทุกครง้ั 2.5 ตอ้ งปฏิบัติการสอนในชน้ั เรยี นทไ่ี ด้รับมอบหมายตามตาราง และวชิ าทกี่ ำหนดไว้ 2.6 ตอ้ งมีการประเมนิ การสอนดว้ ยตนเอง เพื่อปรบั ปรุงการเรียนการสอน 2.7 ตอ้ งจดั เตรยี มสือ่ การเรยี นการสอนด้วยตนเอง เพ่ือปรบั ปรุงการเรียนการสอน 2.8 ต้องตรวจงานท่ีมอบหมายใหผ้ ูเ้ รียนทำทุกครง้ั ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 2.9 ต้องสร้างบรรยากาศของช้ันเรียนใหเ้ ปน็ บรรยากาศแห่งการเรยี นรู้ 2.10 ตอ้ งเลือกวธิ ีการสอนให้เหมาะสมกบั เน้ือหาวชิ าที่สอน 3. การลาประเภทต่างๆ กรณีนักศึกษามีความจำเป็นไม่สามารถมาปฏิบัติงานที่โรงเรียนได้ และจำเป็นต้องลาใหป้ ฏิบตั ิ ดงั น้ี 3.1 กรณลี ากจิ ไมอ่ นญุ าตให้ลาในวนั ท่ีมีการเรียนการสอน ยกเวน้ กรณที ีจ่ ำเปน็ จริงๆ และต้อง ส่งใบลาล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย 3 วัน โดยต้องได้รับอนุญาตจากผบู้ รหิ ารกอ่ นจึงจะลาได้ 3.2 กรณีลาป่วย อนุญาตให้ลาได้ตามความจริง ให้ส่งใบลาในวันที่สามารถมาปฏิบัติงาน ที่โรงเรียนไดท้ นั ที และถ้าเกนิ 3 วัน ตอ้ งมีใบรบั รองแพทย์ หมายเหตุ การลาทุกชนิด นักศึกษาจะต้องปฏิบัติการสอนชดเชยให้เท่ากับจำนวนวันที่ลา แต่ท้ังน้ีมสี ิทธใ์ิ นการลาได้ไม่เกิน 3 คร้ังตอ่ ภาคเรยี น และรวมกันแล้วไม่เกิน 7 วัน โดยบนั ทึกวันที่สอนชดเชย ไว้ในสมุดบันทึกการปฏิบัติงานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และลงชื่อรับรองโดยครูพี่เลี้ยงซึ่งให้ใช้ใบลาของ สถานศกึ ษา 3.3 ในระหว่างเวลาราชการไม่อนุญาตให้กลับที่พัก หรือออกนอกบริเวณสถานศึกษา หากมี กิจจำเป็นจริงๆ ให้ขออนุญาตผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร และต้องลงชื่อในสมุดออกนอก บรเิ วณสถานศึกษา 4. ให้นักศึกษามาเข้าร่วมประชุมสัมมนาที่มหาวิทยาลัย 2 ครั้ง ได้แก่ การประชุมสัมมนา ระหว่าง ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู และการสมั มนาหลงั การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู

บทที่ 4 การประเมินผลการฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ครูระหว่างเรยี น 1 หลกั การประเมินผลการปฏิบัตวิ ชิ าชพี ครรู ะหวา่ งเรียน 1 การประเมินผลเป็นวิธีการตรวจสอบและประเมนิ ความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และคุณลักษณะ ในการปฏิบัติตน และปฏิบัติงานตามขอบข่ายของชุดวิชาการปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 จึงมีหลักการ ดงั น้ี 1. ประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณลักษณะและการปฏิบัติตนในหน้าที่ครู โดยถือว่าเป็นการประเมินเพ่ือ วินิจฉัยข้อดีและข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะๆ เพื่อให้นักศึกษามีสมรรถภาพ ด้านความเป็นครู ด้าน บคุ ลิกภาพและเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ขี องตน 2. ประเมินผลเพื่อประเมินสมรรถภาพของนักศึกษา ในด้านการปฏิบัติงาน โดยเน้นการศึกษางานท่ี เกย่ี วกบั ครู เช่น งานธรุ การในช้ันเรียน งานกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน งานปฏบิ ตั ิการสอนในชั้นเรียนและงานวิจัย ในชั้นเรียน 3. ประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ โดยใช้การติดสินผลแต่ละรายการในแบบประเมินคุณภาพ ตามเกณฑท์ กี่ ำหนดไว้ แลว้ นำมาตัดสินผล จุดประสงคก์ ารประเมินผลการปฏิบัติวิชาชีพครรู ะหวา่ งเรียน 1 การประเมนิ ผลการปฏิบัตวิ ชิ าชีพครูระหว่างเรียน 1 มจี ุดประสงคส์ ำคญั 2 ประการคือ 1. เพื่อประเมนิ ผลการปฏิบัติตน และการปฏิบตั ิงานของนักศึกษาขอบข่ายของภาระงานท่ีกำหนดไว้ ในรายวิชา การปฏบิ ัตวิ ชิ าชีพครูระหว่างเรียน 1 2. เพือ่ ตดั สินผลรวมของการการปฏิบตั วิ ิชาชีพครรู ะหวา่ งเรยี น 1 คำชี้แจงในการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิวชิ าชีพครรู ะหวา่ งเรยี น 1 การปฏิบัติวิชาชีพครูระหว่างเรียน 1 ในคู่มือได้กำหนดให้นักศึกษาจะต้องปฏิบัติงานทั้งสิ้น 21 สัปดาห์ ทั้งนี้ ฝ่ายวิชาการได้กำหนดให้มีการวางแผนร่วมกับอาจารย์นิเทศก์ของคณะ และสถานศึกษา ตลอดจนจัดให้มีระบบการนิเทศติดตามผลจากบุคลากรทั้ง 2 ฝ่าย ดังนั้น คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม จึงกำหนดแนวทางในการประเมินผลตามบทบาทหนา้ ทแี่ ละผู้เกยี่ วขอ้ ง ดงั น้ี 1. ครูนิเทศก์ / ครูพี่เลี้ยงของสถานศึกษา มีหน้าที่ประเมินผลจากการวางแผนการประเมิน คณุ ลักษณะและการปฏบิ ตั ิงานของนักศกึ ษา ตลอดจนประเมินผลการสอนในช้นั เรยี น 2. อาจารย์นิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ มีหน้าที่ประเมินผลจากการวางแผนการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู การตรวจสอบผลการปฏิบัติงานทั้งส่วนผลจากใบงาน การสัมภาษณ์ การนำเสนอผลงาน แฟม้ สะสมงานและการจัดนทิ รรศการ

การประเมนิ ผลการฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ครรู ะหวา่ งเรียน 1 (Practicum 1) สำหรับสถานศึกษา มีหน้าที่ประเมินผลตามลักษณะของเครื่องมือวัดผลและเกณฑ์การประเมิน โดยแบบประเมินท่ีใชใ้ นการประเมินมี 1 ฉบบั ฉบับที่ 1 บป.1 ประเมินคณุ ลักษณะการปฏิบตั ิตนของนักศึกษา สำหรับสถานศึกษา มีหน้าที่ประเมินผลตามลักษณะของเครื่องมือวัดผลและเกณฑ์การประเมิน โดยแบบประเมินท่ใี ชใ้ นการประเมินมี 9 ฉบบั ฉบบั ที่ 1 บป.2 ประเมินการวิเคราะหต์ นเอง ฉบบั ท่ี 2 บป.3 ประเมนิ การสงั เกตการปฏบิ ตั หิ นา้ ทค่ี รู ฉบบั ท่ี 3 บป.4 ประเมินการสังเกตการจดั การเรียนรู้ของครู ฉบับท่ี 4 บป.5 ประเมนิ การศกึ ษาสงั เกตบรบิ ทของสถานศึกษาและความสัมพนั ธ์ กับชมุ ชน ฉบบั ที่ 5 บป.6 ประเมนิ รายงานผลการศึกษารายกรณี ฉบบั ที่ 6 บป.7 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบกจิ กรรม PLC ฉบับท่ี 7 บป.8 กิจกรรมวเิ คราะห์ตนเองตามสมรรถนะครู ฉบับที่ 8 บป.9 สรปุ องคค์ วามร้ทู ่ีได้จากประสบการณ์เรยี นรใู้ นสถานศึกษา ฉบับที่ 9 บป.7 ประเมินแฟ้มสะสมงาน Portfolio และกำหนดใหผ้ ทู้ ี่มสี ่วนเกี่ยวข้องในการประเมนิ นกั ศึกษา ปฏิบตั ดิ งั น้ี คะแนนรวม ร้อยละ 60 ขึน้ ไป ผ่าน คะแนนรวม ต่ำกว่าร้อยละ 60 ไม่ผ่าน 1. สถานศึกษา ให้ครูพี่เลี้ยงประเมนิ นักศึกษา โดยใช้แบบประเมิน ฉบับที่ 1 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 40 โดยใชแ้ บบประเมินที่กำหนดระดบั คณุ ภาพ 4 ระดบั คือ ดีมาก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ สำหรบั แบบประเมิน ฉบบั ท่ี 1 2. คณะครุศาสตร์ ให้อาจารย์นิเทศก์ของคณะครุศาสตร์ เป็นผู้ประเมินนกั ศึกษาโดยใช้แบบประเมนิ ฉบับที่ 2-6 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 โดยใช้แบบประเมินที่กำหนดระดับคุณภาพ 4 ระดับ คือ ดีมาก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ หมายเหตุ ต้องได้ผลการประเมิน “ผ่าน”ทั้งส่วนของสถานศึกษา และคณะครุศาสตร์ จึงจะถือว่า นกั ศึกษาผา่ น ในชุดวชิ าน้ี

ภาคผนวก การปฏิบัตวิ ชิ าชพี ครูระหว่างเรียน 1 ใบงานที่ 1 แบบบนั ทึกการวเิ คราะห์ตนเอง ใบงานที่ 2 การสงั เกต การปฏิบัติหนา้ ท่ีครู ใบงานที่ 3 การสังเกตการจดั การเรยี นรูข้ องครู ใบงานท่ี 4 การศึกษาสงั เกตบรบิ ทของสถานศึกษาและความสัมพนั ธก์ ับชมุ ชน ใบงานที่ 5 การศกึ ษารายกรณี ใบงานที่ 6 กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นรปู แบบกิจกรรม PLC ใบงานท่ี 7 กิจกรรมวิเคราะห์ตนเองตามสมรรถนะครู ใบงานท่ี 8 สรปุ องคค์ วามรู้ทไี่ ด้จากประสบการณเ์ รยี นรู้ในสถานศึกษา

ใบงานที่ 1 แบบบนั ทึกการวิเคราะหต์ นเอง คำชแี้ จง ให้นักศึกษาบนั ทึกผลการวิเคราะห์ตนเอง ในประเดน็ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ความใฝ่ฝนั อยากเปน็ ครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 2. ความรักและศรทั ธาในวชิ าชีพครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 3. ทศั นคติทีด่ ีตอ่ วชิ าชีพครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………………… 4. ความสนใจเรอ่ื งราวเกย่ี วกับครู (การตดิ ตามข้อมลู ข่าวสารเกี่ยวกับคร)ู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 5. การเตรยี มพร้อมสคู่ วามเป็นครู ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………….……………………… 6. สามารถนำผลจากการเรยี นรใู้ นสถานศึกษามารว่ มแลกเปล่ยี นเรียนร้กู ับเพื่อนรว่ มชัน้ เรยี น ไดอ้ ยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………

ใบงานที่ 2 การสังเกต การปฏบิ ัตหิ น้าที่ครู สาระสำคัญ ครมู คี วามรักและศรทั ธาในวิชาชพี ครู ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณและวนิ ัยครู ปฏิบตั ติ ามบทบาท หน้าที่ครูผสู้ อนและครปู ระจำชัน้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม วตั ถุประสงค์ 1. แสดงพฤติกรรมทสี่ ะท้อนถึงการมจี ติ วิญญาณความเป็นครู 2. ระบุบทบาทหน้าที่ของครผู ูส้ อนและครปู ระจำชน้ั ในการชว่ ยเหลอื และพฒั นาผเู้ รยี น เน้อื หาสาระ 1. ความรักและศรทั ธาในวิชาชีพครู 2. จรรยาบรรณและวินยั ครู 3. บทบาทหนา้ ทีค่ รูผสู้ อนและครปู ระจำชน้ั กิจกรรมการเรียนการสอน 1. ศกึ ษาเอกสารเก่ียวกบั บทบาทหนา้ ท่ีครผู ู้สอนและครูประจำช้ัน จรรยาบรรณวชิ าชีพครู 2. สนทนา อภปิ ราย แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั คุณลักษณะที่ดีของครตู ามจรรยาบรรณวชิ าชีพครู ความรกั และศรทั ธาในวิชาชพี ครู 3. กำหนดหวั ขอ้ สำหรับการศกึ ษาสงั เกตและสรปุ ลงในแบบบันทึก 4. นำผลการศึกษาสงั เกตมานำเสนอเพ่ืออภปิ รายในชนั้ เรยี น ส่ือการเรียนรู้ 1. แบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรมการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีครู 2. เอกสารประกอบการศึกษาดว้ ยตนเอง การวดั ประเมนิ ผล 1. ตรวจแบบบันทกึ การสังเกต 2. สงั เกตพฤตกิ รรมการให้ความรว่ มมอื ในชั้นเรียน 1.วิธีการแสดงออกท่ีใหเ้ หน็ ถึงความรกั และความศรทั ธาในวิชาชพี ครู ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. การปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณและวินยั ครผู สู้ อนและครูประจำชัน้ ต่างๆ ดงั น้ี 2.1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.2 จรรยาบรรณตอ่ วิชาชีพ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.3 จรรยาบรรณตอ่ ผู้รบั บริการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….…………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… 2.4 จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.5 จรรยาบรรณต่อสังคม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. บทบาทหน้าที่ของครูผู้สอนและครูประจำชนั้ ด้านต่างๆ ดงั น้ี 3.1 ความรับผิดชอบของครู ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.2 การเอาใจใส่ ส่งเสริมผ้เู รยี นตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.3 การปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอย่างที่ดแี กผ่ ู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.4 การสร้างแรงบันดาลใจใหก้ บั ผเู้ รยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานท่ี 3 การสังเกตการจดั การเรียนรูข้ องครู วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ให้นกั ศึกษาสังเกตการควบคุมชัน้ เรยี นของครูผูส้ อน 2. เพือ่ ให้นักศึกษาสังเกตการจัดการเรียนรขู้ องครูผู้สอน เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษานำส่ิงที่ได้จากการสงั เกต การควบคุมช้นั เรยี น และการจัดการเรยี นรู้ของครูผู้สอนมาเปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ ของตนเอง 3. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาสังเกตและฝึกทักษะการแกป้ ัญหาเฉพาะหน้า ขอบเขต ให้นักศึกษา ศึกษา สังเกต และฝึกทักษะจากผู้ที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา แล้วบันทึกข้อมูล ในแบบบนั ทึกตามประเด็น ดังน้ี 1. สงั เกตเทคนิคการควบคุมชนั้ เรยี นของครผู ้สู อน 2. สงั เกตการจดั การเรียนรู้ของครูผูส้ อน 3. นำส่ิงที่ไดจ้ ากการสงั เกตการควบคมุ ช้นั เรยี น และการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อนมาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนรู้ 4. สงั เกตปัญหาทีพ่ บในการจัดการเรียนรู้ของครผู ู้สอน และเทคนิคแนวทางในการแก้ไขปญั หา ผู้เกย่ี วข้อง/แหล่งข้อมูล 1. ผอู้ ำนวยการ / รองผู้อำนวยการโรงเรียน 2. ครผู สู้ อน / ครพู ีเ่ ลีย้ ง / นักเรียน หมายเหตุ สังเกต 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ รวมอยา่ งน้อย 9 ครงั้

แบบสังเกตการจัดการเรยี นรู้ ครั้งท่.ี ........ โรงเรยี น..................................................................................ระดบั ชัน้ ............................................................. รายวชิ า..................................................................รหัสวชิ า...........................จำนวน............ ............หนว่ ยกติ วนั ท.ี่ ...............................................................................เวลา.......................น. จำนวน........................ชัว่ โมง ครผู สู้ อน........................................................................................................................................................... ประเดน็ รายละเอียด ดา้ นที่ 1 การออกแบบการเรยี นรู้ ด้านที่ 2 การใชจ้ ติ วิทยาในการจดั การเรยี นรู้ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ดา้ นที่ 3 สงั เกตการจดั การเรียนรู้ (ตวั อย่างขั้นตอนการจัดการเรยี นรสู้ ามารถปรบั เปล่ียนไดต้ าม สถานการณ์จรงิ ) - ข้นั นำ ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ - ขั้นสอน ........................................................................................................ ........................................................................................................ ........................................................................................................ - ขน้ั สรุป ........................................................................................................ ....................................................................................................... ดา้ นที่ 4 ปัญหาท่พี บ / แนวทางแกไ้ ข ปัญหาทพ่ี บในการจดั การเรียนรู้ ........................................................................................................ ........................................................................................................ การแกไ้ ขปญั หาในชนั้ เรียนของครผู ้สู อน ........................................................................................................ ........................................................................................................ ด้านท่ี 5 ครมู รี ายงานผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ........................................................................................................ ในรปู แบบการศึกษารายกรณหี รือไม่ อยา่ งไร ........................................................................................................ ดา้ นท่ี 4 ส่ิงทีไ่ ด้รบั / การประยุกตใ์ ช้ ........................................................................................................ ........................................................................................................ หมายเหตุ สังเกต 3 คร้งั ต่อสัปดาห์ รวมอย่างน้อย 9 ครั้ง

ใบงานที่ 4 การศึกษาสังเกตบริบทของสถานศึกษาและความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหน้ ักศึกษาสงั เกตบรบิ ทของสถานศึกษา ขอบเขต ให้นกั ศึกษา ศึกษา สังเกต และฝึกทักษะจากผทู้ ี่เกย่ี วข้องในสถานศึกษา แล้วบนั ทึกข้อมลู ในแบบบันทึกตามประเด็น ดังนี้ 1. ทำเล ที่ตั้งของสถานศึกษาสงั เกตการจัดการเรียนรขู้ องครผู สู้ อน 2. อาคารเรยี น และอาคารประกอบการอนื่ ๆ 3. หอ้ งเรียน และเคร่ืองใช้ตา่ งๆ ในหอ้ งเรยี น 4. มุมพยาบาล / หอ้ งพยาบาล / เรอื นพยาบาล 5. โรงอาหาร / ท่รี บั ประทานอาหาร 6. โรงประชุม / หอประชุม 7. หอ้ งพักครู 8. ห้องสมุด / หอสมุด 9. ห้องปฏิบัติการต่างๆ (วิทยาศาสตรฯ์ ลฯ) 10. นำ้ ดืม่ / นำ้ ใช้ 11. ห้องน้ำ / ห้องสว้ ม / ที่ปัสสาวะ 12. สนามกีฬา / สนามเด็กเล่นต่างๆ 13. สถานที่พักผอ่ นหย่อนใจ 14. แหลง่ ขอ้ มลู ทใี่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า / อ้างอิงหนว่ ยที่ 1 สภาพทั่วไปของสถานศกึ ษา ผเู้ กย่ี วข้อง/แหลง่ ข้อมูล ผูอ้ ำนวยการ / รองผู้อำนวยการโรงเรยี น ครผู สู้ อน / ครพู ีเ่ ลย้ี ง / นกั เรียน

ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับสถานศกึ ษา ชอื่ สถานศึกษา ........................................................................................................... ปรัชญา ........................................................................................ ................... คติธรรม ........................................................................................................... วสิ ัยทัศน์ ........................................................................................................... เป้าหมาย ........................................................................................................... ........................................................................................................... ........................................................................................................... 1. อาคารเรียน และอาคารประกอบการอน่ื ๆ ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. หอ้ งเรียน และเคร่ืองใช้ตา่ งๆ ในห้องเรยี น ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หอ้ งพกั ครู หอ้ งปฏิบตั ิงานและเจา้ หน้าท่ี ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ (วิทยาศาสตรฯ์ ลฯ) ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. สถานทพี่ ักผ่อนหยอ่ นใจ/สนามเดก็ เล่น ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. แหล่งข้อมลู ท่ีใช้ในการศกึ ษาค้นคว้า / อา้ งอิงหนว่ ยท่ี 1 สภาพทว่ั ไปของสถานศกึ ษา ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ข้อมูลความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกบั ชมุ ชน 1. ศกึ ษาบรบิ ทของชุมชนทีส่ ถานศึกษาต้งั อยู่ ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างโรงเรียนกับชุมชน ……………...…………………………………………………………………………………………………………………...…………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………...…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ 5 แบบรายงานผลการศึกษาช้ันเรยี นคณติ ศาสตร์ เรื่องที่สอน.............................................................................................ระดบั ชน้ั ................../........................... ช่อื ครูประจำชั้น................................................................................................................................................... 1. สภาพปัญหาในชน้ั เรียน .......................................................................................................................... .................................................. ............................................................................................................................. ............................................... 2. จดุ ประสงคใ์ นการศกึ ษา ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... 3. สภาพทั่วไปของชนั้ เรยี น ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... 4. แนวทางการแก้ปญั หา/ส่งเสริม 1. ............................................................................. 2. ............................................................................. 3. ............................................................................. 5. การศกึ ษารายกรณคี รงั้ นีม้ ปี ระโยชน์ตอ่ การประกอบวิชาชีพครูของนักศกึ ษา ดังนี้ 1. ............................................................................. 2. ............................................................................. 3. ............................................................................. (ลงชอื่ )…………………………………………ผู้บนั ทึก (…..……………………………………..) (ลงชอ่ื )………………………………………ครูพีเ่ ล้ยี ง (…..……………………………………..)

ใบงานที่ 6 กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในรปู แบบกจิ กรรม PLC (กรณีทีท่ างโรงเรียนทำกจิ กรรม PLC) ชอื่ -สกลุ ........................................................................................................................................................................... รหัสนกั ศึกษา..........................................................................สาขาวชิ า.......................................................................... ชื่ออาจารยน์ เิ ทศก์........................................................................................................................................................... ชอ่ื ครพู ี่เล้ยี ง.................................................................................................................................................................... ชอ่ื โรงเรียนที่ออกปฏบิ ัตกิ ารสอน................................................................................................................................... 1. กลมุ่ PLC ....................................................................................................................................................................................... 2. สมาชิกกล่มุ PLC 1) ............................................................................................................................................... 2) .............................................................................................................................................. 3) ............................................................................................................................................... 3. สมาชิกรว่ มกันกำหนดปญั หา ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 4. สมาชิกรว่ มกนั ออกแบบกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 5. สมาชิกร่วมกนั เสนอผลของการนำไปใช้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 6. สมาชิกรว่ มอภิปรายผล และสรุปผล ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... 7. สรุปรายงานนวัตกรรมสำหรบั การพัฒนาผู้เรยี น .................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................

ใบงานที่ 6 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรปู แบบกจิ กรรม PLC (กรณีท่ที างโรงเรยี นไมท่ ำกิจกรรม PLC) ชือ่ -สกลุ ......................................................................................................................... ...................................... รหสั นกั ศกึ ษา..................................................................สาขาวชิ า..................................................................... ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) 1. ตอนที่ 1 ทำไมต้องเป็น PLC …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตอนท่ี 2 PLC มีลกั ษณะอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ตอนท่ี 3 กระบวนการสรา้ ง PLC ทำอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ตอนที่ 4 อะไรคือปัจจยั แห่งความสำเร็จของ PLC …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบงานที่ 7 กิจกรรมรายวิเคราะห์ตนเองตามสมรรถนะครู ชือ่ -สกุล.................................................................................................................................................................................. รหสั นกั ศึกษา................................................................................................สาขาวิชา........................................................... ชื่ออาจารย์นเิ ทศก.์ ................................................................................................................................................................. ชื่อครพู ี่เล้ียง........................................................................................................................................................................... ชือ่ โรงเรียนทอี่ อกปฏบิ ัตกิ ารสอน........................................................................................................................................... สมรรถนะ ตวั บ่งชี้ รายงานพฤติกรรมของ นักศกึ ษา 1. การมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ ในการ 1.1 ความสามารถในการวางแผน การกำหนดเปา้ หมาย ปฏบิ ตั ิงาน (Working การวิเคราะห์ สังเคราะหภ์ ารกจิ งาน Achievement Motivation) 1.2 ความมุ่งม่นั ในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ให้มคี ุณภาพ ถกู ต้อง ครบถว้ นสมบรู ณ 1.3 ความสามารถในการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน 1.4 ความสามารถในการพัฒนา การปฏบิ ัตงิ านใหม้ ี ประสิทธภิ าพอย่าง ตอ่ เนอ่ื งเพอื่ ให้งานประสบความสำเรจ็ 2. การบรกิ ารทดี่ ี (Service 2.1 ความตัง้ ใจและเต็มใจใน การให้บรกิ าร Mind) 2.2 การปรับปรงุ ระบบบรกิ ารใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ 3. การพฒั นาตนเอง (Self- 3.1 การศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ ตดิ ตาม องคค์ วามรใู้ หม่ๆ Development) ทางวิชาการและวชิ าชีพ 3.2 การสร้างองค์ความร้แู ละนวตั กรรมใน การพัฒนา องค์กรและวิชาชพี 3.2 การแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และสร้าง เครอื ข่าย 3. การทำงานเปน็ ทีม (Team 4.1 การให้ความรว่ มมือ ชว่ ยเหลอื และ สนบั สนุน Work) เพอ่ื นร่วมงาน 4.2 การเสรมิ แรงให้กำลงั ใจเพ่ือนร่วมงาน 4.3 การปรบั ตัวเขา้ กบั กลุม่ คนหรอื สถานการณ์ ท่ีหลากหลาย 4.5 การเข้าไปมสี ว่ นร่วมกบั ผู้อนื่ ใน การพฒั นาการจัด การศึกษาให้บรรลุ ผลสำเรจ็ ตามเป้าหมาย 5. จรยิ ธรรม และ 1. ความรกั และศรัทธาในวิชาชีพ จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู 2. มีวินัย และความรบั ผดิ ชอบในวชิ าชพี (Teacher’s Ethics and 3. การประพฤติปฏบิ ัตติ น เปน็ แบบอย่างที่ดี Integrity)

ใบงานที่ 8 สรปุ องค์ความรู้ทีไ่ ด้จากประสบการณเ์ รยี นรูใ้ นสถานศึกษา ชอ่ื -สกุล........................................................................................................................................................................ รหัสนักศกึ ษา........................................................................สาขาวิชา.......................................................................... ชอ่ื อาจารยน์ เิ ทศ........................................................................................................................................................... ชื่อครูพีเ่ ล้ยี ง.................................................................................................................................................................. ชอื่ โรงเรยี นที่ออกปฏิบตั ิการสอน................................................................................................................................... 1. ถอดบทเรยี นจากการสงั เกตการเรยี นรู้................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 2. สงั เคราะห์องคค์ วามรู้ทน่ี ักศกึ ษาไดร้ ับ..................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... 3. การนำผลองค์ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับมาประยุกตใ์ ช้................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ (บป.) สำหรบั สถานศกึ ษา

บป.1 แบบประเมนิ คุณลักษณะและการปฏิบตั ิตนของนักศกึ ษา การปฏิบัติงานวชิ าชีพครูระหวา่ งเรียน 1 (Practicum 1) ช่อื -สกลุ นักศกึ ษา…………………………………………..……..........………………รหสั ประจำตัว………………………………. สาขาวิชา……………………………………………….…........…………..กลมุ่ เรยี น………………………….....……………………… ชอื่ สถานศึกษาทีฝ่ ึก……………………………………………………………………………………….........…………………………… ตำบล…………………………………….อำเภอ………………………………..........…จงั หวัด………………………………………… คำช้ีแจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องผลการประเมินให้ตรงกบั ความคดิ เห็นของท่าน เกณฑ์และผลการประเมิน รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ นอ้ ย 1. มีการแต่งกายถูกตอ้ งตามระเบยี บเหมาะสมกบั ความเป็นนกั ศึกษาครู 43 2 1 2. มกี ริยามารยาทท่ดี ี 3. มคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ที ่ีไดร้ บั มอบหมาย 4. มคี วามตงั้ ใจทำงานอยา่ งเต็มความสามารถ 5. มีมนุษยสัมพนั ธ์ในการทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื ไดด้ ี 6. ปฏิบตั หิ น้าทอี่ ย่างสมำ่ เสมอและตรงต่อเวลา 7. ปฏบิ ตั ิตนตามระเบียบวินัยของสถานศึกษา 8. มีจิตสาธารณะที่ดีตอ่ เพอ่ื นรว่ มงานและสถานศกึ ษา 9. มวี ุฒิภาวะทางอารมณ์ทเี่ หมาะสม 10.มีความรักและศรัทธาในวิชาชพี ครู คะแนนรวมแตล่ ะชอ่ ง คะแนนรวมท้ังหมด

ขอ้ สังเกต/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………....................................... เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 33-40 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก คะแนน 25-32 ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 17-24 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 10-16 ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ สรุปผลการประเมนิ ( ) ดี คะแนน................................... ( ) ปรบั ปรงุ คะแนน....................... ( ) ดมี าก คะแนน................................ ( ) พอใช้ คะแนน............................... ลงชื่อผู้ประเมิน............................................... ............................ (...........................................................................) ตำแหน่ง ครพู ่เี ล้ยี ง วันท่/ี เดือน/ปี ทป่ี ระเมนิ ......................................................

แบบประเมิน (บป.) สำหรบั อาจารย์นิเทศก์ คณะครศุ าสตร์

บป.2 แบบประเมินการวเิ คราะหต์ นเอง การฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ครรู ะหวา่ งเรียน 1 (Practicum 1) ชือ่ -สกุล…………………………………………………………………รหสั ประจำตวั ……………………………………………. สาขาวิชา………………………………………………………………..กลุ่มเรียน…………………………………………………… ชอ่ื สถานศึกษา…………………………………………………………………………………………………………………………… ตำบล…………………………………….อำเภอ…………………………………….จงั หวัด………………………………………… คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องผลการประเมนิ ใหต้ รงกับความคดิ เห็นของทา่ น เกณฑ์และผลการประเมิน รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ นอ้ ย 4 321 1. การบนั ทึกความใฝฝ่ ันอยากเปน็ ครู 2. การบนั ทกึ ความรักและศรัทธาในวชิ าชพี ครู 3. การบันทึกความมที ัศนคติท่ดี ีตอ่ วชิ าชีพครู 4. การบันทึกความสนใจเรอื่ งราวเกีย่ วกับครู (การตดิ ตามข้อมลู ข่าวสาร เกย่ี วกับครู) 5. การบนั ทกึ การเตรยี มความพรอ้ มสู่ความเป็นครู 6. การบันทึกความสามารถในการนำผลจากการเรียนรู้ในสถานศกึ ษามารว่ ม แลกเปล่ียนเรียนรกู้ บั เพือ่ นรว่ มชัน้ เรยี น คะแนนรวมแตล่ ะชอ่ ง คะแนนรวมทงั้ หมด

ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………….......................................... เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 20-24 ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 11-14 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 15-19 ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 6-10 ระดับคุณภาพ ปรับปรุง สรปุ ผลการประเมนิ ( ) ดี คะแนน................................... ( ) ดมี าก คะแนน................................ ( ) ปรับปรงุ คะแนน....................... ( ) พอใช้ คะแนน............................... การเทียบคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนท่ีประเมินได้ × ������������ = 24 ลงช่ือผปู้ ระเมนิ ........................................................................... (...........................................................................) ตำแหนง่ อาจารย์นิเทศก์ วนั ท/่ี เดือน/ปี ท่ีประเมิน................................................................... วัน/เดอื น/ปที ปี่ ระเมิน........................................................

บป.3 แบบประเมินการสงั เกตการปฏบิ ัติหน้าที่ครู การฝึกปฏิบตั ิวิชาชพี ครูระหวา่ งเรยี น 1 (Practicum 1) ชื่อ-สกลุ …………………………………………………………………......รหสั ประจำตัว………………………………………………… สาขาวชิ า…………………………………………………………………….……………..........กลุ่มเรียน………………………………… ชอื่ สถานศึกษา………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตำบล…………………………………….อำเภอ……………………………..….จงั หวดั …………………………………………………. คำช้ีแจง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในช่องผลการประเมนิ ใหต้ รงกบั ความคิดเห็นของทา่ น เกณฑ์และผลการประเมนิ รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ น้อย 1. การสงั เกตและบันทึกการแสดงออกใหเ้ หน็ ถงึ ความรกั และศรทั ธาในวิชาชพี ครู 43 2 1 ของครผู ้สู อนและครปู ระจำชั้น 2. การสงั เกตและบนั ทึกจรรยาบรรณตอ่ ตนเองของครูผสู้ อนและครปู ระจำช้นั 3. การสังเกตและบันทกึ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพของครูผสู้ อนและครปู ระจำชั้น 4. การสงั เกตและบันทึกจรรยาบรรณตอ่ ผูร้ บั บริการของครผู ู้สอนและครูประจำช้ัน 5. การสงั เกตและบนั ทกึ จรรยาบรรณตอ่ ผู้ร่วมประกอบวิชาชพี ของครผู สู้ อน และครปู ระจำชั้น 6. การสงั เกตและบนั ทกึ จรรยาบรรณต่อสงั คมของครผู ู้สอนและครปู ระจำช้นั 7. การสงั เกตและบนั ทึกการแตง่ กายของครูผสู้ อนและครปู ระจำชั้น 8. การสงั เกตและบนั ทกึ การสง่ เสรมิ ผเู้ รียนตามความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของ ครผู สู้ อนและครปู ระจำช้ัน 9. การสงั เกตและบนั ทึกการปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี ก่ผู้เรียนของครูผ้สู อน และครปู ระจำชน้ั 10.การสังเกตและบนั ทึกการสร้างแรงบันดาลใจใหก้ ับผู้เรยี นของครผู สู้ อน และครปู ระจำชั้น คะแนนรวมแต่ละชอ่ ง คะแนนรวมท้งั หมด

ขอ้ สังเกต/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………....................................... เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 17-24 ระดบั คุณภาพ พอใช้ คะแนน 10-16 ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ คะแนน 33-40 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก คะแนน 25-32 ระดับคณุ ภาพ ดี สรปุ ผลการประเมิน ( ) ดี คะแนน................................... ( ) ดีมาก คะแนน................................ ( ) ปรับปรุง คะแนน....................... ( ) พอใช้ คะแนน............................... การเทียบคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทป่ี ระเมนิ ได้ × ������������ = 40 ลงชอื่ ผู้ประเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารยน์ ิเทศก์ วนั ที่/เดือน/ปี ที่ประเมนิ ................................................................... วัน/เดอื น/ปีทป่ี ระเมิน........................................................

บป.4 แบบประเมินการสังเกตการจดั การเรียนรู้ของครู การฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชีพครูระหว่างเรยี น 1 (Practicum 1) ชอื่ -สกลุ …………………………………………………………………......รหสั ประจำตัว………………………………………………… สาขาวิชา……………………………………………………………………..........กลมุ่ เรยี น……………………………………………… ชอื่ สถานศึกษา…………………………………………………………………………….…………………………..……………………….. ตำบล…………………………………….อำเภอ………………………….……………….จงั หวัด………………………………..………. คำชี้แจง โปรดทำเครอื่ งหมาย  ลงในช่องผลการประเมินใหต้ รงกับความคดิ เห็นของทา่ น รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. การสังเกตและบันทกึ เทคนคิ การควบคุมชั้นเรียน ดมี าก ดี พอใช้ นอ้ ย 2. การสงั เกตและบนั ทกึ ขนั้ ตอนในการจัดการเรียนรู้ 4 3 21 3. การสงั เกตและบันทกึ ปัญหาที่พบ 4. การสงั เกตและบันทึกการแกไ้ ขปญั หา 5. การบันทึกสิ่งท่ีไดร้ ับ และการประยกุ ต์ใช้ คะแนนรวมแต่ละชอ่ ง คะแนนรวมท้ังหมด ขอ้ สังเกต / ขอ้ คดิ เหน็ อนื่ ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 9-12 ระดับคณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 17-20 ระดบั คุณภาพ ดีมาก คะแนน 5-8 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง คะแนน 13-16 ระดบั คุณภาพ ดี ( ) ดี คะแนน....................... สรุปผลการประเมิน ( ) ปรบั ปรุง คะแนน..................... ( ) ดมี าก คะแนน................ ( ) พอใช้ คะแนน.................

การเทียบคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทปี่ ระเมนิ ได้ × ������������ = 20 ลงชือ่ ผปู้ ระเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารยน์ เิ ทศก์ วนั ที่/เดือน/ปี ที่ประเมิน................................................................... วัน/เดือน/ปที ีป่ ระเมิน........................................................

บป.5 แบบประเมนิ การศึกษาสังเกตบริบทของสถานศกึ ษาและความสมั พันธ์กับชุมชน การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ครูระหว่างเรยี น 1 (Practicum 1) ชอื่ -สกลุ …………………………………………………………………รหสั ประจำตวั ………………………………………………. สาขาวิชา………………………………………………………………..กลมุ่ เรยี น……………………………………………………… ชือ่ สถานศึกษา…………………………………………………..………………………………………………………………………… ตำบล…………………………………….อำเภอ…………………………………….จังหวัด………………………….……………… คำชแ้ี จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องผลการประเมินให้ตรงกับความคดิ เห็นของท่าน เกณฑ์และผลการประเมิน รายการประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ นอ้ ย บรบิ ทของสถานศึกษา 43 2 1 1. การสงั เกตและบนั ทึกอาคารเรยี น และอาคารประกอบการอน่ื ๆ 2. การสังเกตและบนั ทกึ ห้องเรยี นและอุปกรณเ์ คร่ืองใช้ต่างๆ ในห้องเรยี น 3. การสังเกตและบันทกึ หอ้ งพักครู 4. การสงั เกตและบันทึกหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ เช่น หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ ฯ 5. การสังเกตและบนั ทึกสถานที่พกั ผ่อนหยอ่ นใจ/สนามเดก็ เล่น 6. การสงั เกตและบนั ทกึ แหล่งข้อมูลที่ใชใ้ นการศึกษาคน้ คว้า บรบิ ทของชมุ ชนและความสมั พนั ธข์ องสถานศึกษากับชุมชน 7. การสงั เกตและบนั ทกึ บริบทชุมชนทีส่ ถานศกึ ษาตั้งอยู่ 8. การสังเกตและบันทกึ บทบาทและการมีสว่ นรว่ มของโรงเรียนทีม่ ตี อ่ ชมุ ชน คะแนนรวมแต่ละช่อง คะแนนรวมทั้งหมด ข้อสังเกต / ขอ้ คดิ เหน็ อืน่ ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เกณฑ์การประเมนิ คะแนน 14-19 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 16-32 ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 8-13 ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ คะแนน 20-25 ระดับคณุ ภาพ ดี ( ) ดี คะแนน....................... สรุปผลการประเมิน ( ) ปรบั ปรงุ คะแนน..................... ( ) ดีมาก คะแนน................ ( ) พอใช้ คะแนน................. การเทยี บคะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนทปี่ ระเมนิ ได้ × ������������ = 32 ลงชอ่ื ผปู้ ระเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารยน์ เิ ทศก์ วันที/่ เดอื น/ปี ทปี่ ระเมนิ ................................................................... วัน/เดอื น/ปที ี่ประเมนิ ........................................................

บป.6 แบบประเมินการรายงานผลการศึกษารายกรณี การฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี ครูระหวา่ งเรยี น 1 (Practicum 1) ชือ่ -สกลุ ……………………………………………….........…………………รหัสประจำตัว…………………………………………. สาขาวชิ า…………………………………..………………..…………..กลุม่ เรยี น……………………………………………………… ชือ่ สถานศกึ ษา………………………...........………………………………………………….………………………………………… ตำบล………………………………........…….อำเภอ……………………….…………….จังหวดั …………………………………… คำชแ้ี จง โปรดทำเคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งผลการประเมนิ ให้ตรงกับความคดิ เห็นของท่าน รายการประเมนิ ผลการประเมนิ 1. การศึกษาสงั เกตและบันทกึ สภาพปญั หาของนกั เรยี น ดมี าก ดี พอใช้ น้อย 2. การบนั ทกึ จุดประสงค์ในการศกึ ษา 4 3 21 3. การศึกษาสงั เกตและบันทกึ สภาพทวั่ ไปเกี่ยวกับนกั เรียน 4. การบันทึกการแกไ้ ขปัญหา/สง่ เสรมิ 5. การบนั ทึกประโยชน์ของการศกึ ษารายกรณีต่อการประกอบวิชาชพี ครู คะแนนรวมแต่ละช่อง คะแนนรวมทัง้ หมด ขอ้ สงั เกต / ขอ้ คดิ เหน็ อืน่ ๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 9-12 ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 17-20 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก คะแนน 5-8 ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ คะแนน 13-16 ระดบั คุณภาพ ดี ( ) ดี คะแนน....................... สรปุ ผลการประเมิน ( ) ปรับปรงุ คะแนน..................... ( ) ดีมาก คะแนน................ ( ) พอใช้ คะแนน................. การเทียบคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทีป่ ระเมนิ ได้ × ������������ = 20 ลงชื่อผปู้ ระเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารยน์ ิเทศก์ วันท่ี/เดอื น/ปี ที่ประเมนิ ................................................................... วนั /เดือน/ปที ีป่ ระเมนิ ........................................................

บป.7 แบบประเมนิ การรายงานผลการศึกษารายกรณี การฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ าชีพครรู ะหว่างเรียน 1 (Practicum 1) ช่ือ-สกุล……………………………………………….........…………………รหสั ประจำตัว…………………………………………. สาขาวิชา…………………………………..………………..…………..กลมุ่ เรยี น……………………………………………………… ชื่อสถานศกึ ษา………………………...........…………………………………..………………………………………………………… ตำบล………………………………........…….อำเภอ……………………….…………….จังหวดั …………………………………… คำชีแ้ จง โปรดทำเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งผลการประเมนิ ใหต้ รงกบั ความคดิ เห็นของทา่ น รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. ปญั หาทีเ่ ลอื กศกึ ษามีความเหมาะสม ดีมาก ดี พอใช้ นอ้ ย 2. การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในการออกแบบกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา 4 3 21 3. การอภิปรยผลมีความละเอยี ดและครอบคลุมกบั ปัญหา 4. การบนั ทึกการดำเนินกิจกรรม PLC 5. นวตั กรรมสำหรับการพัฒนาผูเ้ รียนมีความเหมาะสม คะแนนรวมแตล่ ะช่อง คะแนนรวมทั้งหมด ข้อสงั เกต / ขอ้ คดิ เหน็ อื่นๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 9-12 ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 17-20 ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 5-8 ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง คะแนน 13-16 ระดบั คุณภาพ ดี

สรุปผลการประเมิน ( ) ดี คะแนน....................... ( ) ดมี าก คะแนน................ ( ) ปรับปรงุ คะแนน..................... ( ) พอใช้ คะแนน................. การเทียบคะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนที่ประเมินได้ × ������������ = 20 ลงชื่อผู้ประเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารยน์ เิ ทศก์ วนั ท่/ี เดอื น/ปี ท่ีประเมนิ ................................................................... วนั /เดือน/ปีท่ปี ระเมนิ ........................................................

บป.8 แบบประเมนิ การสงั เกตการปฏบิ ัตหิ น้าทีค่ รู การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพครูระหวา่ งเรียน 1 (Practicum 1) ชื่อ-สกลุ …………………………………………………………………......รหสั ประจำตวั ………………………………………………… สาขาวชิ า……………………………………………………………………….…………..........กล่มุ เรียน………………………………… ช่ือสถานศกึ ษา………………………………………………………………………………………………………………………………….. ตำบล…………………………………….อำเภอ………………………………….จังหวัด…………………………………………………. คำชแี้ จง โปรดทำเครอื่ งหมาย  ลงในช่องผลการประเมนิ ให้ตรงกับความคิดเห็นของท่าน เกณฑ์และผลการประเมนิ รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ น้อย 1. ความสามารถในการวางแผน การกำหนดเป้าหมาย การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ 43 2 1 ภารกิจงาน 2. ความมุ่งมัน่ ในการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี ให้มคี ุณภาพ ถกู ต้อง ครบถ้วนสมบูรณ 3. ความสามารถในการตดิ ตามประเมิน ผลการปฏิบตั ิงาน 4. ความสามารถในการพฒั นา การปฏบิ ตั ิงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพอยา่ ง ต่อเน่ือง เพ่ือใหง้ านประสบความสำเรจ็ 5. ความตั้งใจและเตม็ ใจใน การใหบ้ ริการ 6. การปรบั ปรงุ ระบบบรกิ ารใหม้ ี ประสิทธภิ าพ 7. การศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ ติดตาม องค์ความร้ใู หมๆ่ ทางวิชาการและวชิ าชีพ 8. การสร้างองคค์ วามรู้และนวตั กรรมใน การพัฒนาองคก์ รและวิชาชีพ 9. การแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และสร้าง เครือข่าย 10. การให้ความร่วมมอื ชว่ ยเหลอื และ สนบั สนนุ เพ่ือนรว่ มงาน 11. การเสรมิ แรงใหก้ ำลังใจเพื่อนรว่ มงาน 12. การปรับตวั เข้ากบั กลุ่มคนหรอื สถานการณ์ท่หี ลากหลาย 13. การเข้าไปมสี ่วนร่วมกับผอู้ ่นื ใน การพฒั นาการจัดการศกึ ษาใหบ้ รรลุ ผลสำเร็จ ตามเปา้ หมาย 14. ความรกั และศรทั ธา ใน วิชาชีพ 15. มีวินัย และความรับผดิ ชอบ ในวชิ าชีพ 16. การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม 17. การประพฤติปฏบิ ตั ติ น เป็นแบบอยา่ งท่ดี ี คะแนนรวมแต่ละชอ่ ง คะแนนรวมทงั้ หมด

ขอ้ สังเกต/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………....................................... เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 17-24 ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 10-16 ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ คะแนน 33-40 ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก คะแนน 25-32 ระดับคณุ ภาพ ดี สรปุ ผลการประเมิน ( ) ดี คะแนน................................... ( ) ดีมาก คะแนน................................ ( ) ปรับปรุง คะแนน....................... ( ) พอใช้ คะแนน............................... การเทียบคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทป่ี ระเมนิ ได้ × ������������ = 40 ลงชื่อผปู้ ระเมิน........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารย์นเิ ทศก์ วนั ท่ี/เดอื น/ปี ท่ปี ระเมิน................................................................... วัน/เดือน/ปที ี่ประเมนิ ........................................................

บป.9 แบบประเมนิ การวเิ คราะหต์ นเอง การฝกึ ปฏบิ ัติวชิ าชีพครรู ะหว่างเรียน 1 (Practicum 1) ช่อื -สกลุ …………………………………………………………………รหสั ประจำตวั ………………………………………………. สาขาวิชา………………………………………………………………..กลมุ่ เรียน……………………………………………………… ชื่อสถานศึกษา…………………………………………………………………………………………………………………………… ตำบล…………………………………….อำเภอ…………………………………….จงั หวดั ………………………………………… คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องผลการประเมนิ ใหต้ รงกับความคิดเหน็ ของท่าน รายการประเมิน เกณฑแ์ ละผลการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ นอ้ ย 1. การบนั ทึกการถอดบทเรียนการเรยี นรสู้ อื่ ใหเ้ หน็ ถงึ ประสบการณ์ ทีน่ กั ศึกษาได้รับอยา่ งชัดเจน 4 321 2. การวิเคราะห์องค์ความรทู้ ี่ได้รบั มคี วามชดั เจน 3. สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้รับมาสรา้ งแนวทางในการพฒั นาตนเอง ตามวิชาชพี ครูได้ คะแนนรวมแต่ละชอ่ ง คะแนนรวมทั้งหมด ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ……………………………………………………………………………………………………………………..........................................

เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 11-14 ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ คะแนน 20-24 ระดับคณุ ภาพ ดีมาก คะแนน 6-10 ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ คะแนน 15-19 ระดบั คุณภาพ ดี ( ) ดี คะแนน................................... สรุปผลการประเมิน ( ) ปรับปรงุ คะแนน....................... ( ) ดมี าก คะแนน................................ ( ) พอใช้ คะแนน............................... การเทยี บคะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทปี่ ระเมนิ ได้ × ������������ = 24 ลงช่อื ผปู้ ระเมนิ ........................................................................... (...........................................................................) ตำแหน่ง อาจารย์นิเทศก์ วนั ท่/ี เดือน/ปี ที่ประเมนิ ................................................................... วนั /เดือน/ปีที่ประเมนิ ........................................................

บป.10 แบบประเมนิ แฟ้มสะสมงาน Portfolio การฝึกปฏิบตั วิ ชิ าชพี ครรู ะหวา่ งเรยี น 1 (Practicum 1) ชอื่ -สกลุ …………………………………………………………………รหสั ประจำตัว………………………………………………. สาขาวิชา………………………………………………………………..กลุ่มเรียน…………………………………………………… ช่ือสถานศึกษา…………………………………………………………………………………………………………………………… ตำบล…………………………………….อำเภอ…………………………………….จงั หวดั ………………………………………… คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องผลการประเมินใหต้ รงกับความคิดเหน็ ของท่าน ผลการประเมิน รายการประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ นอ้ ย 1. มกี ารจัดขอ้ มูลทจ่ี ำเปน็ ครบถว้ น 43 2 1 2. โครงสร้างภายในแฟ้ม จดั เรียงลำดบั เป็นหมวดหมู่ เป็นระบบอยา่ งเหมาะสมครบถว้ น 3. มีสาระสำคัญชดั เจนและสะท้อนภาพการปฏิบัตงิ าน ของตนเอง 4. มีหลักฐานอา้ งอิงประกอบการนำเสนอข้อมูลถกู ต้อง และสอดคลอ้ ง 5. ชน้ิ งานที่แสดงในแฟม้ มีความสมบูรณ์และเรยี บร้อย คะแนนรวมแต่ละช่อง คะแนนรวมทั้งหมด ข้อสังเกต / ขอ้ คดิ เห็นอื่นๆ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook