Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภูเก็ต2

ภูเก็ต2

Published by wasdfghj, 2018-01-23 20:57:37

Description: ภูเก็ต2

Search

Read the Text Version

ประวตั จิ งั หวดั ภเู กต็

ประวตั ศิ าสตร์จังหวดั ภเู กต็เดิมคาวา่ ภเู ก็ต นั้นใช้คาวา่ \"ภูเก็จ\" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมฬิเรียก มณคี ราม ตามหลักฐาน พ.ศ. 1568ภูเก็ตเป็นทรี่ จู้ กั ของนกั เดินเรือท่ใี ชเ้ สน้ ทางระหว่างจนี กบั อนิ เดีย โดยผ่านแหลมมลายู หลักฐานทเ่ี ก่าแก่ทส่ี ดุ กค็ อื หนังสือภูมศิ าสตร์และแผนที่เดินเรือของทอเลมี เมื่อประมาณ พ.ศ. 700กลา่ วถงึ การเดินทางจากแหลมสวุ รรณภูมิลงมาจนถึงแหลมมลายู ซง่ึ ตอ้ งผา่ นแหลม จังซลี อน หรือเกาะภูเกต็ นั่นเอง จากประวัติศาสตรไ์ ทยภูเกต็ เป็นส่วนหนง่ึ ของอาณาจักรตามพรลิงก์ ตอ่ มาจนถงึ สมยั อาณาจักรศิริธรรมนคร เรยี กเกาะภูเก็ตว่า เมืองตะกวั่ ถลาง เปน็ เมอื งท่ี 11 ใน 12 เมืองนกั ษตั ร โดยใชต้ ราเป็นรูปสุนัข จนถึงสมยั สุโขทัย เมอื งถลางไปข้ึนกบั เมืองตะกั่วป่า ในสมัยอยธุ ยา ชาวฮอลนั ดามาสรา้ งสถานท่ีเกบ็สินค้าเพอ่ื รบั ซ้ือแร่ดบี กุ จากเมืองภูเก็ต ในรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลก ได้เกดิ สงครามเกา้ ทัพขน้ึ พระเจา้ ปดุง กษตั ริยข์ องประเทศพมา่ ในสมัยนัน้ ได้ให้แม่ทัพยกทพั มาตีหัวเมอื งปกั ษ์ใต้ เช่น ไชยา นครศรธี รรมราชและใหย้ ่ีหวุน่ นากาลังทัพเรือพล3,000 คนเข้าตเี มืองตะก่วั ปา่ เมืองตะกวั่ ทุง่ และเมืองถลาง ซง่ึ ขณะน้ันเจา้ เมืองถลาง (พระยาพิมลอัยาขนั ) เพิง่ ถึงแก่อนจิ กรรม ท่านผหู้ ญงิ จัน ภรรยา และคณุ มกุ น้องสาว จงึ รวบรวมกาลงั ตอ่ สูก้ ับพม่าจนชนะเมอ่ื วนั ที่ 13 มนี าคม พ.ศ. 2328 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหท้ ่านผหู้ ญิงจนั เป็น ท้าวเทพกระษัตรี และคณุ มุกเป็นท้าวศรีสุนทรในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ไดร้ วบรวมหวัเมืองชายทะเลตะวันตกตงั้ เปน็ มณฑลภเู ก็จ และเมื่อปี พ.ศ. 2476 ได้ยกเลกิ ระบบมณฑลเทศาภิบาล เปลีย่ นมาเปน็ จงั หวัดภูเก็ตจนถึงปัจจบุ ัน

การต้งั ถิน่ ฐานยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์การคน้ หาหลกั ฐานรอ่ งรอยของมนษุ ยก์ อ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นภูเกต็ ไมไ่ ด้พบหลกั ฐานทอี่ ยู่อาศยั เชน่ ถา้ หรอื เพิงผา คงพบแตเ่ คร่อื งมอื หนิ โดยเฉพาะขวานหินขดั หรือท่ีชาวบา้ นเรยี กวา่ ขวานฟ้าแต่มลี ักษณะไม่สมบรู ณ์นัก ท่ไี ด้พบจากเหมืองแร่และใต้พนื้ ดนิ ที่ทบั ถมกนัมานาน ในเร่อื งถนิ่ ท่ีอยู่อาศยั ในเกาะภูเกต็ น้ันมีความเปล่ียนแปลงทางสภาพภูมิศาสตร์มากกว่าพังงาและกระบี่ ซึ่งถ้าหรือเพงิ ผาอาจถูกลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ทาลายจนไมเ่ หลือหลักฐานชนเผา่ ดงั้ เดิมของภูเกต็ นั้น นักประวตั ิศาสตรแ์ ละนักโบราณคดสี ่วนใหญ่มีความเหน็ ว่าชนเผา่ด้ังเดิมทพ่ี บเหน็ ได้ในปัจจบุ ันในคาบสมุทรมลายูได้แก่ ชาวซาไก (Sakai) และชาวเลหรอืชาวนา้ (C'hau Nam) ชาวซาไกซงึ่ มีลักษณะคล้ายพวกเซมัง (Semang) ซ่ึงปัจจุบนั อาศัยอยู่ทางตะวันตกของคาบสมุทรมลายู สนั นษิ ฐานวา่ ชาวซาไกได้เดินทางมาต้งั ถนิ่ ฐานในบริเวณเกาะถลาง (ภเู กต็ ) ตอ่ มาได้มชี นชาติมอญจากพะโคมาอยใู่ นดินแดนแถบนคี้ อื พวกเซลงั(Selang หรอื Salon) กลมุ่ คนพวกน้ชี านาญในการดาน้า จึงเรียกวา่ ชาวน้า (C'hau Nam)กลุ่มคนพวกนี้ยังอาศยั อยู่ในหลายเกาะแถบอนั ดามันจนถึงปจั จุบัน แต่ชาวซาไกปจั จุบันไม่พบในจงั หวัดภูเกต็ เน่ืองจากชาวเผ่าน้ีรกั สงบกลวั คนแปลกหน้า ฉะนนั้ เม่ือมีคนตา่ งเผา่ ต่างหน้าตา อพยพเขา้ มาอาศยั มากขึน้ ชาวซาไกก็หนีถอยรน่ เข้าป่าลกึ ในท่ีสุดข้ามเขาไปอยู่ในแผ่นดนิ ใหญฟ่ ากตะวันออกได้แก่ ตรงั พัทลุง สงขลา ยะลา และนราธิวาส ทาให้ภูเกต็คงเหลือแตช่ าวเลทย่ี ังคงดารงชวี ติ อยู่ แต่ตามหลักฐานอาจมชี าวมอญ ชาวอินเดยี ชาวไทย ชาวจนี และชาวพม่าเขา้ มาตง้ั ถ่นิ ฐานในภูเก็ตดว้ ยเนอ่ื งจากลักษณะบา้ นเรอื นในโบราณมีลักษณะเช่นเดยี วกับบา้ นชาวมอญทเี่ มืองมะริด และอาจสมรสกนั จนเกิดเปน็ ชนรุ่นใหม่

ยคุ อาณาจกั รตามพรลงิ ก์ และอาณาจกั รศริ ธิ รรมนคร (ศรวี ชิ ยั )อาณาจกั รตามพรลิงก์และอาณาจักรศิรธิ รรมนครมคี วามสาคญั ต่อภเู ก็จคอ่ นขา้ งมากเนือ่ งจากศูนยก์ ลางของอาณาจักรอยู่แถบภาคใต้มีอานาจครอบคลมุ คาบสมทุ รมลายโู ดยตลอดเป็นเวลาถงึ 600 ปรี ะหวา่ งพทุ ธศตวรรษที่ 12-18 แต่ไม่มโี บราณวัตถขุ องสมยั ศรีวิชัยในภเู ก็ตแตไ่ ด้เข้ามาต้ังถ่นิ ฐานในแถบนอ้ี ยา่ งม่ันคง หลกั ฐานทางโบราณคดเี ชน่ ตานาน พงศาวดารตลอดจนประวัตศิ าสตร์ ไดก้ ลา่ วถงึ ตานานเมอื งนครศรีธรรมราชกไ็ ดร้ ะบุว่าในบรรดาเมืองสบิสองนักษตั รของนครศรีธรรมราชโบราณน้นั \"เมอื งตะกั่วถลาง\"เป็นเมอื งลาดบั ท่ี 11 ชอื่ วา่ \"เมืองสนุ ัขนาม\"หรือเมืองประจาปจี อ มตี ราประจาเมืองเป็นรูปสุนขั และผู้ปกครองภเู กจ็ สมัยน้นั ได้ถอื รปู สุนัขมายกย่องนับถอื ซงึ่ เมืองน้อี าจตงั้ อยทู่ ี่อาเภอกะทู้จงั หวดั ภเู กต็ มีตาบลหนึ่งทางตะวันตกช่ือว่า ตาบลกมลา แต่ชาวบา้ นโบราณเรียกวา่ \"บ้านกราหมา้ \" มีความหมายวา่หมบู่ ้าน\"ตราหมา\"ซง่ึ ตรงกบั ตราประจาเมอื ง\"สนุ ขั นาม\"ในอดีต จากหมู่บา้ นกมลามามีพนื้ ท่ีราบกว้างใหญ่ตดิ ต่อเข้าสู่ภูเกจ็ ฝง่ั ตะวนั ออก ในระหวา่ งฟากตะวนั ตกกบั ฟากตะวันออกของท่ีราบน้ี มหี ม่บู ้านชื่อว่า\"บา้ นมานคิ \"ซึ่งมาจากคาภาษาทมฬิ โบราณแปลวา่ ทบั ทมิ หรือ แกว้ มกี ารสันนิษฐานวา่ เปน็ ชื่อผนั แปรมาจากคาวา่ \"มนิกกิมมั \"ในจารกึภาษาทมฬิ ทพ่ี บจากอาเภอตะก่วั ปา่ ใกล้ๆกับเทวรปู ในศาสนาพราหมณ์ ลทั ธิไวษณพนิกายซง่ึ ถกู ท้งิ อยู่ในเขาพระนารายณ์นานมาแลว้ คาว่า \"มนิกกิมัม\"แปลว่า\"เมืองทับทมิ \" หรอื\"เมอื งแก้ว\"หลังจากน้ัน ทมฬิ โจฬะไดเ้ ข้าครอบครองอาราจักรตามพรลงิ ก์ จากพ.ศ.1586 จนถึง พ.ศ. 1602 เปน็ เวลาประมาณ 34 ปี กษตั ริย์แหง่ ตามพรลิงกส์ ามารถขบั ไล่พวกทมิฬโจฬะออกไปไดส้ าเร็จ แลว้ ตัง้ ศิรธิ รรมนครขน้ึ เป็นศนู ยก์ ลางแหง่ ใหมข่ องอาณาจกั รไทยภาคใต้ สามรถดารงอิสรภาพนานประมาณ 220 ปีก็ต้องสญู เสียเอกราชให้แก่อาณาจักรสุโขทยัในปีพ.ศ. 1823

สมยั อาณาจกั รสโุขทยัสมยั กรุงศรีอยธุ ยา ชาวต่างชาติในภเู กต็

ชาวต่างชาติชาวจนี ชาวจนี ไดเ้ ข้ามายงั เกาะถลางเมอื่ ใดไมป่ รากฏแน่ชัด แตม่ ีการสนั นษิ ฐานวา่ เข้ามาในยุคอาณาจักรตามพรลงิ ก์ ดนิ แดนคาบสมทุ รมลายูเปน็ ศนู ย์กลางของการตดิ ต่อคา้ ชายระหวา่ งจนี และอนิ เดยี คนจนี อาจจะรู้จกั ถลางในสมัยน้นั และยงั คงเดนิ ทางแสวงโชคในการค้าขายกบัชาวพืน้ เมอื งจนตกลงใจตั้งรกรากอยู่ท่เี มอื งนี้ เปน็ ชนวนให้ญาติมิตรทางจีนคอ่ ยๆเดนิ ทางมาสมทบเพิ่มขน้ึ เปน็ ลาดบั ดังที่ เจรนิ ีไดเ้ ขียนไวว้ า่ เมือ่ เมืองถลางสิ้นสดุ เจ้าเมอื งฝรั่งชาวยโุ รปลงแลว้ ชาวจนี กไ็ ดเ้ ปน็ เจา้ เมอื งแทนในชว่ ง 30 ปี หลงั จากสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จสวรรคตแล้วในพ.ศ. 2231 คอื ประมาณพ.ศ. 2261 เป็นต้นมา จนกระท่งั ถงึ สมัยกรงุรัตนโกสินทร์ ปรากฏว่าคนจีนได้รว่ มทาการค้าแรด่ ีบุกกบั ท้าวเทพกระษัตรมี ถี ึงกัปตนั ฟรานซิส ไลท์ กร็ ะบถุ ีงชาวจีนท่คี ุมแรด่ บี กุ จากถลางไปยงั ปนี งัชาวโปรตเุ กส ชาวโปรตเุ กสได้เขา้ มาสกู่ รงุ ศรอี ยธุ ยาเม่ือ พ.ศ. 2054 ในรัชสมยั สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 2ดังมีจดหมายเหตขุ องฝร่งั เศสท่ีลงวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2229 ทีว่ า่ \"...แต่ไหนแต่ไรมา ไม่เคยมนี ักพรตของศาสนามาอยู่ในเมืองนเี้ ลย เว้นแต่มิชช่ันนารี ชาวโปรตเุ กสซง่ึ ไดเ้ ลา่ เรียนในโรงเรียนของเราทีก่ รุงศรอี ยุธยาคนเดียวเท่าน้ัน มิชชน่ั นารีคนนี้ได้มาอยู่เมอื งภูเก็ตได้ 3 ปีแล้วและไดก้ ลบั ไปเย 15 ปมี าแล้ว...\" แสดงวา่ มีชาวโปรตุเกสในภูเก็ตเพียงคนเดียว แต่เช้ือสายของชาวโปรตเุ กสยังคงมีอยู่ในเมอื งถลาง ตงั้ แตส่ มยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 2แหง่ กรุงศรอี ยุธยาพ.ศ. 2054 จนถงึ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์พ.ศ. 2452 ผสมกลมกลนื จนกลายเปน็คนไทยในทส่ี ุด

ชาวฮอลนั ดา ประมาณ พ.ศ. 2146 ในรชั สมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช บรษิ ทั ว.ี โอ.ซี.ของชาวฮอลนั ดาได้เขา้ มาสู่ประเทศไทย โดยมาตัง้ สถานีการคา้ ทเี่ มืองปตั ตานีกอ่ นแลว้ ส่งทูตไปเขา้เฝ้าสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในพ.ศ. 2147 เปน็ ผลใหไ้ ดเ้ ปดิ สถานกี ารค้าขึน้ ท่ีกรุงศรอี ยุธยา นครศรีธรรมราช สงขลา ปตั ตานี ไทรบุรี และภูเก็ต (ถลาง) สินค้าทช่ี าวฮอลันดาตอ้ งการ ไดแ้ ก่ ไมฝ้ าง หนงั สัตว์ ขผ้ี งึ้ นา้ ตาล รงั นก ไม้กฤษณา และดบี ุกการซ้อื แรด่ ีบกุ ของชาวฮอลันดาในภเู กต็ ครงั้ นั้น เปน็ ไปอยา่ งขาดความเป็นธรรม จึงถกู ชาวภเู ก็ตและชาวมลายทู าการต่อตา้ นโดยเผาสถานสี ินค้าและฆ่าฟันชาวฮอลนั ดาตายหมดสิ้นเป็นผลใหช้ าวฮอลนั ดาตอ้ งออกจากเกาะภูเก็ตไปชาวองั กฤษ ชาวอังกฤษไดเ้ ข้ามายังกรงุ ศรีอยธุ ยาครงั้ แรกเมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2160 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมแหง่ กรงุ ศรอี ยุธยา แต่ไม่ปรากฏวา่ ไดม้ าทาการคา้ ทีเ่ มอื งถลางแต่ประการใด คงทาการคา้ อยใู่ นกรงุ ศรอี ยธุ ยา แลว้ ไม่ประสบความสาเร็จ เน่ืองจากถกู กีดกนั จากชาวญปี่ ุ่นและชาวฮอลันดา ประกอบกบั เจ้าหนา้ ที่ในบริษัทการคา้ ขององั กฤษท่กี รงุ ศรีอยทุ ธยาทุจริตตอ่ บริษทั จนทาใหข้ าดทุนอย่างมากจงึ ต้องลม้ เลกิ ไปเม่อื พ.ศ. 2165อังกฤษกลับเขา้ มาคา้ ขายในกรงุ ศรีอยุธยาอกี ครัง้ หนึ่งในพ.ศ. 2227 แต่อังกฤษก็ไม่ไดเ้ ขา้ มาซอ้ืขายแรด่ ีบกุ ในเกาะถลาง เน่อื งจากเกาะถลางมเี จ้าเมอื งเป็นชาวฝรัง่ เศสชอ่ื เรเน ชาร์บอนโน (Rene Charbonneau) ซ่งึ ได้รบั แต่งต้งั จากสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ให้เป็นเจา้ เมอื งถลางต้งั แตพ่ .ศ. 2224 การค้าแรด่ บี ุกบนเกาะถลาง จงึ อยภู่ ายใตฝ้ รงั่ เศส องั กฤษไดร้ บั อนญุ าตให้ชอื้ แร่ดบี กุ ทเี่ มืองไชยา ชุมพร และพทั ลงุ องั กฤษกลบั มามีบทบาทสาคญั ในเมอื งถลางอกีครงั้ หน่ึง เม่อื กัปตันฟรานซสิ ไลต์ไดเ้ ขา้ มาตั้งสถานกี ารคา้ ขึ้นทบ่ี ้านทา่ เรอื ในสมยั กรงุ ธนบรุ ีคอื เม่ือพ.ศ. 2315 ในชว่ งท่เี มืองถลางรจู้ กั กนั อย่างแพรห่ ลายแลว้

ชาวฝรงั่ เศส เขา้ มาส่กู รงุ ศรอี ยุธยาเม่อื พ.ศ. 2216 ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณม์ หาราช ซึ่งเปน็ ผลใหก้ รุงศรีอยธุ ยาแต่งต้ังชาวฝรัง่ เศสชื่อ เรเน ชารบ์ อนโน (Rene Charbonneau) มาเปน็เจ้าเมอื งถลางระหว่างพ.ศ. 2224 -พ.ศ. 2228 และแตง่ ตง้ั มองซเิ ออร์ บลิ ล่ี (Sieur de Billi)เป็นเจา้ เมืองต่อจากชาร์บอนโนจนสิน้ สดุ รัชกาลของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชครั้นสมเด็จพระเพทราชาข้ึนครองราชสมบตั ิ กรุงศรีอยุธยาได้เปน็ ปริปกั ษต์ อ่ ฝรั่งเศสอย่างรนุ แรงเปน็ เหตใุ ห้นายทหารฝรั่งเศสชือ่ นายพลเดฟาสจ์ (Desfarges) นากาลงั เรอื รบจานวน4 ลา มายึดเกาะถลางระหว่างพ.ศ. 2231 - พ.ศ. 2232 ปรากฏรายละเอียด อยูใ่ นเอกสารทงั้จดหมายเหตุฝา่ ยฝร่งั และฝ่ายไทย

ยา่ นเมอื งเกา่ ตกึ แถวโบราณอาคารชิโน-โปรตุกสี ยา่ นรวมตกึ เก่าโบราณสไตล์ชโิ น-โปรตกุ ีส คณุ จะพบกบั เสน่ห์ของตวั อาคารที่สร้างขนึ ้ สมยัรัชกาลท่ี 5 ตกแต่งด้านหน้าอาคารด้วยสถาปัตยกรรมแบบยโุ รปอยา่ งสวยงาม มีร้านขายผ้าปาเต๊ะ ผ้าลกู ไม้ ร้านกาแฟ โรตีมะตะบะ และอีกมากมายให้แวะกนั อย่างจใุ จ นอกจากนีย้ งัสามารถเดินชมซ้มุ โค้งแบบโรมนั บานหน้าตา่ ง ช่องแสงลวดลายเรขาคณิตยคุ อาร์ตเดโคสดุสวย ฯลฯ อยากแนะนาให้แวะ \"ซอยรมณีย์\" ท่ีอดีตเคยเป็นซอยบนั เทิง ซง่ึ ปัจจบุ นั ถกู ตกแต่งด้วยสีสนั สวยงามน่าถ่ายรูปสดุ ๆ ตอ่ ด้วย \"องั มอเหลา\" คฤหาสน์แบบนีโอคลาสสกิ & เรอเนสซองส์ ของตระกลู นายเหมืองเก่า ปิดท้ายด้วยแวะเก็บภาพท่ีสถานท่ียอดฮติ อย่าง \"ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด\" \"ศนู ย์รวมขา่ วพรหมเทพ\" และ \"โรงแรมออนออน\" รับรองวา่ คณุ จะหลงรักเมืองนีเ้ ข้ าอย่างจงั

แหลมพรหมเทพ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วฮอตฮติ ทใ่ี ครตอ่ ใครตา่ งตอ้ งไปเยอื นเมอื่ ไปถงึ จงั หวดั ภเู กต็ โดยรอบมีทศั นยี ภาพทส่ี วยงาม อกี ทงั้ ยงั เปน็ จดุ ชมพระอาทติ ยต์ กดนิ ทสี่ วยงามมากทสี่ ดุ แหง่ หนง่ึ ของประเทศ ไทยเลยกว็ า่ ได้ นอกจากนยี้ งั เปน็ ทตี่ งั้ ของประภาคารกาญจนาภเิ ษก โดยสดุ ปลายของแหลมพรหมเทพ มชี อื่ วา่ \"แหลมเจา้ \" บรเิ วณตวั แหลมซง่ึ ยนื่ ออกไปในทะเล โดดเดน่ ดว้ ยตน้ ตาลท่ียนื ตระหงา่ นเกาะกลมุ่ กนั อยอู่ ยา่ งสวยงาม ฉะนน้ั ใครทอ่ี ยากชมแสงสดุ ทา้ ยของวนั ทสี่ วยทสี่ ดุ ...ตอ้ งมาทน่ี ี่ !

อนสุ าวรยี ท์ า้ วเทพกระษตั รแี ละทา้ วศรสี นุ ทร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook