อารยธรรมของโลกตะวันตกยุคโบราณ ครูธีระพงษ์ สบื โสดา
อารยธรรมเมโสโปเตเมยี อาณาจกั รซเู มเรยี อาณาจักรบาบโิ ลเนยี หรอื บาบโิ ลนเกา่ จกั รวรรดิอัสซีเรีย อาณาจกั รคาลเดียน หรอื บาบิโลนใหม่
“เมโสโปเตเมยี ” เปน็ ชอ่ื เรียก ดินแดนที่อยู่ระหวา่ งแมน่ า้ ไทกรสิ และแมน่ ้ายูเฟรตสิ ในตะวนั ออกกลาง (ปัจจบุ ัน อยใู่ นปะเทศอริ ัก) ดนิ แดนเป็น สว่ นหนง่ึ ของ “ดนิ แดน วงพระจันทรเ์ สียวไพบลู ย์ (Fertile Crescent)” ซึ่งเปน็ ดินแดนรปู คร่งึ วงกลม ผืนใหญ่ ทอดโค้งจากฝ่ังทะเล เมดเิ ตอร์เรเนียนจรดอ่าว เปอรเ์ ซีย
สมัยอาณาจักรซูเมเรยี ชนเผา่ สเุ มเรยี น หรอื ซเู มอร์ (1) - เปน็ ชนเผา่ แรกทป่ี กครองแบบนครรฐั มีการแบง่ ชนชนั ทางสงั คม - เกิดสงั คมเมอื งขึนอย่างต่อเนือ่ ง มีการจัดตงั เป็นนครรฐั - ทดี่ นิ ส่วนใหญเ่ ป็นของกษตั ริย์ นกั บวช และชาวเมืองท่ีม่งั คั่ง โดยมชี าวนาเป็น แรงงานในการเพาะปลูก
Artist conception of a Sumerian city in ancient Mesopotamia.
ชนเผา่ สุเมเรยี น หรอื ซเู มอร์ (2) มกี ารประดิษฐต์ ัวอกั ษรคูนฟิ อร์ม (Cuneiform) หรอื ตวั อกั ษรรปู ล่มิ นับเป็นครังแรกในประวัติศาสตรข์ อง มนษุ ยชาติทป่ี ระดษิ ฐ์ตวั อกั ษรขึนใช้ ตัวอักษรคูนฟิ อรม์ มลี กั ษณะเป็นตัวอกั ษรรูปภาพ โดยใช้ ไมป้ ลายแหลมท่ที า้ จากต้นอ้อ (Stylus) กดลงบนแผน่ ดนิ เหนยี วเปียกๆ เป็นสญั ลกั ษณห์ รอื ตวั อกั ษรรูปภาพแทน ความหมายของคา้ และน้าไปตากแห้งหรืออบด้วยความรอ้ น การประดิษฐต์ วั อักษรคูนฟิ อรม์ มงุ่ ใช้ประโยชนท์ างด้าน ศาสนกิจ โดยพวกพระหรอื นักบวชใช้จดบันทกึ บทบญั ญัติ ทางศาสนา บญั ชีรายรับรายจ่าย
ชนเผ่าสเุ มเรยี น หรือ ซเู มอร์ (3) ชาวสเุ มเรยี นร้จู กั ทา้ ระบบชลประทาน ขุดคคู ลองส่ง นา้ เชื่อมระหว่างแมน่ ้ากับพืนทเี่ กษตรกรรม สรา้ ง ทา้ นบใหญส่ องฝงั่ แมน่ า้ สรา้ งเขือ่ น อ่างเกบ็ นา้ เพอ่ื แกป้ ญั หาปรมิ าณนา้ ฝนมีไมเ่ พยี งพอ ชาวสเุ มเรียนรู้จกั ทา้ นาปลูกข้าวสาลแี ละข้าวบาร์เลย์ ประดิษฐ์คันไถทา้ ด้วยโลหะส้าริด และนา้ วัวมาเทยี ม คันไถ เป็นครังแรกที่มนุษย์นา้ สตั ว์มาช่วยท้างาน
Ancient Sumerian mural depicting farmers and herders of different domesticated animals.
ชนเผา่ สเุ มเรยี น หรือ ซเู มอร์ (4) มสี ่งิ กอ่ สร้างขนาดใหญ่ เรยี กว่า ซิกกแู รต (Ziggurat) มลี กั ษณะคล้ายพรี ะมิดขนั บันได เชื่อว่าเป็นศาสนสถานในการบูชาเทพเจา้
ชนเผา่ สเุ มเรียน หรือ ซเู มอร์ (5) ชาวสุเมเรียนสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์ เพ่อื ใช้ประโยชน์ เชน่ แป้นหรือจานหมุนส้าหรบั ใช้ปั้นภาชนะดินเผา ถอื เปน็ เครอื่ งกลชินแรกของโลก สร้างวงลอ้ ทปี่ ระกอบตดิ กับเพลา ใช้กบั เกวียนและรถศึก
ชนเผา่ สเุ มเรียน หรือ ซูเมอร์ (6) ชาวสเุ มเรยี นมคี วามเจรญิ ดา้ นคณิตศาสตร์ รูจ้ ักน้าระบบฐานเลข 24 60 90 มาใช้ในการแบง่ จ้านวน เช่น แบ่งวันออกเปน็ 24 ช่ัวโมง แบ่งช่ัวโมงเปน็ 60 นาที และนับวนั เดือน ปี แบบจนั ทรคติ แบง่ มุมรอบจุดเปน็ 360 องศา และมมุ ฉากเป็น 90 องศา รจู้ ักวธิ คี ูณ หาร ยกกา้ ลัง คา้ นวนพืนท่ีของวงกลม ค้านวนระยะทาง และคดิ มาตราชั่ง ตวง วดั
ชนเผา่ สเุ มเรยี น หรอื ซูเมอร์ (7) มวี รรณกรรมท่ีส้าคญั คอื มหากาพย์กลิ กาเมช เป็นเร่อื งราวการผจญภยั ของวีรบุรุษชาว สเุ มเรยี นที่พยายามแสวงหาชีวิตอมตะ แต่ไม่ประสบผลส้าเรจ็ เพราะมนษุ ย์ทุกคนหนีความ ตายไมพ่ ้น
สมยั อาณาจกั รบาบิโลเนีย หรือบาบิโลนเกา่ เปน็ ชนเผา่ อะมอไรต์ ทยี่ ึดครองดินแดนของชาวสุเมเรียน มีการปกครองแบบรวมศูนย์ เปน็ รฐั สวัสดกิ าร โดยรฐั ดแู ลชีวติ ความเปน็ อยู่ของประชาชนในดา้ นต่างๆ มีประมวลกฎหมายฮมั มูราบี (The Code of Hammurabi) จารึกอยบู่ นแผ่นศลิ า จัดทา้ สมัยพระเจ้าฮมั มูราบี ใชห้ ลกั “ตาตอ่ ตา ฟนั ต่อฟัน” กลา่ วคือ มบี ทลงโทษบุคคล ที่ทา้ ร้ายผู้อนื่ ต้องไดร้ บั การท้าร้ายแบบเดียวกัน เป็นการตอบแทน เพ่อื สรา้ งความยุติธรรมและ ความมีระเบียบวินัยในสังคม Statue of an Amorite king
สมยั จักรวรรดิอัสซเี รีย ชนเผ่าอัสซีเรียน ชนเผ่าแรกในดินแดนเมโสโปเตเมียทร่ี ้จู กั เหล็กผลติ อาวุธ ท้าให้มีกองทพั ท่ีแข็งแกรง่ มาก รบชนะหลายครงั จนขยายอาณาเขตไปได้ถึงอียปิ ตแ์ ละเปอร์เซยี มรดกทางศิลปกรรมที่ สา้ คัญในยุคนคี อื การปั้นและการแกะสลกั ภาพนนู ต้า่ สถาปตั ยกรรมทีส่ ้าคญั คอื พระราชวัง ซารก์ อน และห้องสมดุ นิเนเวห์
Reception of a victorious general of the Assyrian Empire in Mesopotamia.
อาณาจกั รคาลเดยี น หรอื บาบโิ ลนใหม่ ชนเผา่ คาลเดียน เขา้ ยึดกรงุ นเิ นเวห์ของเผ่าอัสซเี รยี นได้ส้าเรจ็ และสถาปนาบาบโิ ลนเป็นเมอื งหลวงอกี ครงั มีการสร้างสวนขนาดใหญเ่ รยี กว่า สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน (Hanging Gardens of Babylon) ถือเปน็ ส่งิ มหัศจรรยข์ องโลกยคุ โบราณ และต้องใช้ความรู้ชลประทาน ท้าใหส้ วนลอยนีเขยี วขจไี ดท้ งั ปี
อาณาจกั รคาลเดยี น หรอื บาบโิ ลนใหม่ ชนเผา่ คาลเดียน ทางดาราศาสตร์ มีการแบง่ สัปดาหอ์ อกเป็น 7 วนั Aurochs from แบง่ ออกเป็น 12 คาบ คาบล่ะ 120 นาที Ishtar Gate at มีการพยากรณ์สุรยิ ุปราคาและคา้ นวณเวลาโคจร ของดวงอาทิตย์ไดอ้ ย่างถูกต้อง Babylon, ชาวคาลเดียนเป็นชาติแรกทีน่ ้าความรู้ constructed in ดาราศาสตรม์ าท้านายโชคชะตามนษุ ย์ about 575 BCE ภายหลงั ชนเผา่ คาลเดยี น ถูกอาณาจกั ร เปอรเ์ ซยี เข้ายึดครองถอื เป็นจดุ สินสดุ by order of อารยธรรมเมโสโปเตเมีย King Nebuchadnez zar II. Chaldean astrology, 1800 BC known to be the first organized system of astrology.
หลังสนิ สดุ ยคุ เมโสโปเตเมีย ยงั มชี นเผ่าอื่นผลัดกนั ครอบครองดินแดนเมโสโปเตเมียอกี หลายยุค ท่สี า้ คัญๆ มดี งั นี ชนเผา่ ฟินีเชียน ปกครองแบบนครรัฐ ดา้ รงชวี ิตด้วยการเดนิ เรือ และคา้ ขายทางทะเล มรดกทางอารยธรรมที่ส้าคญั คอื พฒั นาตวั อกั ษรขนึ 22 ตวั ถอื เป็นต้นแบบ อกั ษรกรกี และโรมันในปจั จบุ ัน
หลงั สินสดุ ยคุ เมโสโปเตเมีย ยงั มชี นเผา่ อืน่ ผลัดกนั ครอบครองดินแดนเมโสโปเตเมียอีกหลายยคุ ทส่ี า้ คญั ๆ มดี ังนี ชนเผา่ เปอร์เซยี เปน็ จกั รวรรดิทใี่ หญ่อันดับต้นๆของโลก ปกครองแบบจกั รวรรดิ มกี ารสรา้ งถนน เช่อื มเมืองตา่ งๆ เพือ่ ประโยชน์ในดา้ นการปกครองและใชเ้ ป็นเส้นทางล้าเลียงขนสง่ สินคา้ Embossed bas relief carvings of servants bringing gifts to The Battle of Issus between Alexander the Great and Darius the king on the sidewall of stairs in front of Tachara III in 333 BC, leading to the fall of the Persian Empire. Palace, also known as the Palace of Darius, in Persepolis.
หลงั สนิ สุดยุคเมโสโปเตเมยี ยังมีชนเผ่าอืน่ ผลัดกันครอบครองดินแดนเมโสโปเตเมียอกี หลายยุค ทสี่ ้าคญั ๆ มดี ังนี ชนเผ่าฮบิ รู หรือ ชาวยวิ เคยอย่ทู างตอนเหนือของเมโสโปเตเมยี ต่อมาเร่รอ่ นไปถงึ ดินแดน คานาอัน (ปาเลสไตน์) ชาวยวิ มีประมวลกฎหมายเรยี กวา่ กฎหมายโมเสส วรรณกรรมทส่ี า้ คัญ คือ คมั ภรี ไ์ บเบิล เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตรแ์ ละเป็นภาคพระคมั ภรี ์เก่าในคมั ภรี ์ไบเบลิ ของ ศาสนาคริสตด์ ว้ ย
อารยธรรมอยี ิปต์หรือ อารยธรรมล่มุ แม่น้าไนล์
King เมเนส (Menes) เป็นผรู้ วบรวมอาณาจักรใหญ่ 2 อาณาจักรบรเิ วณท่ีราบลมุ่ แมน่ า้ ไนล์ คือ อยี ิปตบ์ นและอียปิ ตล์ า่ งเขา้ เปน็ อันหน่ึงอันเดยี วกัน โดยมีนครเมมฟิส (Memphis) เปน็ เมอื งหลวง เมือ่ 3,100 ปกี อ่ นครสิ ตศ์ ักราช
King อยี ิปต์โบราณ เรียกว่า ชาวอียิปต์โบราณมีความเชอ่ื ฟาโรห์ (Pharaoh) ทรงมี เก่ียวกับศาสนา ดงั นี นบั ถือเทพ ฐานะเปน็ เทวราชา เจ้าหลายองค์ สรุ ยิ เทพหรอื เร (Re,Ra) เปน็ เทพเจ้าสงู สดุ มีความเชื่อเรือ่ งภพหนา้ วญิ ญาณเป็นอมตะ และการ ฟืน้ คนื ชพี ของผู้วายชนม์
มกี ารสรา้ งสสุ านบรรจพุ ระศพของฟาโรห์ พระราชวงศ์ หรอื ขนุ นาง เป็นส่ิงกอ่ สร้างทา้ ดว้ ย หนิ เรียกวา่ พรี ะมิด (Pyramid) เพอ่ื เก็บรกั ษาศพหรอื มมั ม่ี (Mummy) ซ่ึงไดผ้ ่านกรรมวธิ ี รกั ษาศพ มิให้เน่าเป่อื ย สะท้อนถึงความเช่ือเรอ่ื งการมีชวี ติ นริ นั ดร์และการฟื้นคนื ชพี ของผู้ วายชนม์ โฮเวิรด์ คาร์เตอร์ กา้ ลงั สา้ รวจโลงศพฟาโรหต์ ุตนั คาเมน
การสรา้ งพีระมดิ ขนาดใหญ่ท่ีสดุ ของอยี ปิ ต์ คอื พรี ะมิดของฟาโรหค์ ฟู ู (Khufu) หรอื คีออปส์ (Chepos) ทีเ่ มอื งกเิ ซห์ (Gizeh) ใกล้กรงุ ไคโร ข้างหน้าพรี ะมดิ มีตวั สฟงิ ซ์ (Sphinx) ทา้ จากกอ้ นหนิ ขนาดใหญ่ ท้าหน้าทพ่ี ทิ ักษร์ กั ษาพรี ะมิด ถึงแมว้ า่ พระองคจ์ ะ สร้างพรี ะมิดขนาด มหมึ าสูงกวา่ 147 เมตร แต่รูปสลักทา้ จากงาช้างของ พระองค์ชนิ นีกลับมี ความสงู เพียงแค่ 7.5 เซนติเมตร เทา่ นัน
สมยั หลังๆ งานสถาปตั ยกรรมเปลี่ยนเป็นการสรา้ งวิหารขนาดใหญเ่ พอื่ บูชาเทพเจา้ ไม่นิยมสร้างพิระมดิ เชน่ วหิ ารคานัค เพอ่ื บูชาเทพอะมอน ซ่ึงเป็นเทพเจา้ สงู สดุ และวหิ ารอาบูซมิ เบล วิหารคานคั วิหารอาบซู ิมเบล
ชาวอียิปตโ์ บราณประดษิ ฐ์ตัวอักษร เป็นลักษณะอักษรภาพ เรียกว่า ไฮโรกลฟิ ิก (Hieroglyphic) ศลิ าจารึกโรเซตต้า ในบริตชิ มิวเซยี ม ชาวอียปิ ต์ใชต้ ัวอกั ษรภาพบันทึกเรอ่ื งราวทางศาสนา เร่อื งของฟาโรห์ ความรู้ดา้ นการแพทย์ ดาราศาสตร์ และวทิ ยาการตา่ งๆ โดยจารึกลงบนแผ่นศิลาและฝาผนังหนิ ขนาดใหญ่ดว้ ยวธิ แี กะสลัก ตอ่ มาเปลี่ยนมาใชก้ ารเขยี น ลงบนกระดาษทีท่ า้ จากต้นปาปิรัส (Papyrus) และใช้ปล้องหญา้ มาทา้ ปากกาจิมหมกึ ส่วนนา้ หมึกท้าจากถา่ นผสมกบั ยางไม้
วรรณกรรมท่ีส้าคัญ คือ คัมภรี ม์ รณะ หรือบนั ทกึ ของผตู้ าย (Book of the Dead) บันทึกไว้ใน กระดาษปาปิรัส เป็นคูม่ ือการปฏิบตั ิตนกอ่ นและหลังจากเสียชวี ติ โดยเนน้ ใหท้ ้าความดแี ละดา้ เนินชีวติ อยา่ งบรสิ ุทธิ์ สุจรติ และมีศีลธรรม หลงั จากตายไปแล้วจะตอ้ งเดินทางไปพบเทพโอไซริส (Osiris) ซ่ึง เป็นตลุ าการแห่งยมโลก Page from the Book of the Dead of Hunefer From Thebes, Egypt 19th Dynasty, around 1300 BC
ความเจริญด้านวทิ ยาการของอยี ปิ ตโ์ บราณ ทา้ ปฏทิ นิ แบบสุริยคติ และกา้ หนดให้ 1 ปีมี 365 วัน วางรากฐานการศกึ ษาวชิ าเรขาคณติ ซ่ึงใช้ในงานก่อสรา้ งสงิ่ กอ่ สรา้ งขนาดใหญ่ รู้วา่ วงกลมมี 360 องศา และรู้ถงึ ความสัมพันธ์ ระหวา่ งเส้นผ่านศนู ย์กลางกบั เสน้ รอบวง ค้านวนหาพืนท่ีสามเหลีย่ ม และปริมาตรของพรี ะมิด
สภาพสงั คม ผู้คนส่วนใหญเ่ ป็นเกษตรกรและทาส พวกนกั บวชมอี ้านาจและบทบาทในสงั คม ตอ่ มาฟาโรห์พยายามปฏริ ปู ศาสนาเพ่ือลดอา้ นาจ ของพวกนกั บวช จงึ เกิดความขดั แยง้ เป็นสาเหตหุ น่ึงท้าให้อยี ิปตโ์ บราณเกิดความแตกแยก และเสอื่ มอา้ นาจลง โดยถกู ชนต่างชาติเขา้ ยึดครอง ไดแ้ ก่ พวกอสั ซีเรีย เปอรเ์ ซีย กรีก และโรมนั
อารยธรรมกรีก กรีก หรอื กรีซโบราณ ตังอยู่ระหวา่ งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลอเี จียน เกาะครีต (Crete) เปน็ ต้นก้าเนดิ ของอารยธรรมกรีก อารยธรรมกรกี ในระยะแรกๆ เป็นอารยธรรมทางทะเล ความเจริญเกดิ ขึนบรเิ วณเกาะตา่ งๆ และชายฝัง่ ทะเลอเี จียน (เรยี กว่า อารยธรรมอีเจียน) ประกอบดว้ ยอารยธรรม 2 แหลง่ คอื อารยธรรมมิโนน และอารยธรรมไมซินี
แหล่งอารยธรรมมโิ นน เกดิ ขึนบนเกาะครตี ในทะเลอีเจยี น ชนพนื เมอื ง เรยี กวา่ ชาวครตี หรือครีตนั (Cretan) ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเดนิ เรือ คา้ ขายทางทะเลกบั ดนิ แดนตา่ งๆ สนิ ค้าสง่ ออกท่ีสา้ คัญ คอื นา้ มนั มะกอก เหล้าองุ่น และภาชนะโลหะ โดยรัฐเปน็ ผผู้ กู ขาด การคา้ รู้จกั ประดิษฐ์ตวั อกั ษรภาพและตัวอกั ษรท่ีเป็นเสน้ ตรง เรียกสา่ ลีเนียร์ เอ (Linear A) ซ่งึ มสี ัญลกั ษณ์ทังหมด 87 ตวั ใช้แทนคา้ พยัญชนะ King ท่มี อี ้านาจมากท่สี ดุ คือ พระเจา้ มินอส (Minos) มกี ารสร้างพระราชวังนอสซสั หรือคนอสซสุ (Knossos) บนเกาะครตี เป็นสิ่งกอ่ สร้างสงู 3 ชนั สรา้ งดว้ ยอิฐและหนิ แสดงถึงความสามารถดา้ นสถาปตั ยกรรมและวศิ วกรรม และรู้จักท้าน้าประปาใช้
ฝาผนงั หอ้ งในพระราชวังนอสซัส มภี าพวาดปนู เปียก แสดงชวี ติ ความเป็นอยู่ของชาวครตี นั ทม่ี คี วามสุข ชอบร้องรา้ ท้าเพลง เลน่ กีฬา และมีงานเฉลิมฉองใน เทศกาลต่างๆ ผู้หญงิ ได้รบั การยกยอ่ งและมีฐานะ ทดั เทียมกบั ผู้ชาย สงั คมของชาวครตี นั มงุ่ ด้าเนนิ ชีวิตทางโลก เพราะมีสภาพแวดล้อมทางธรรมชาตทิ ่ี สง่ เสริมการประกอบอาชพี ทางทะเลและ ปลอดภัยจากการรุกราน ชาวครีตนั จงึ ไม่ นยิ มสร้างศาสนสถาน เทพเจ้าทีส่ ้าคัญคือ เทพมารดา
อารยธรรมไมซินี ตังอยู่บนคาบสมทุ รเพโลพอนนซี ัส มีความสามารถในการรบและการคา้ ทางทะเล พวกไมซินีเขา้ โจมตเี กาะครีต ทา้ ลายพระราชวังนอสซสั และเข้าครอบครองเกาะครตี แหลง่ อารยธรรมไมนวน พวกดอเรียน ซ่งึ เป็นชาวกรกี อกี เผา่ หน่งึ ไดเ้ ข้ารกุ ราน และยึดครองดนิ แดนของพวกไมซินี
ยคุ มดื ของอารยธรรมกรกี ชาวกรีกอยู่กระจัดกระจาย การคา้ ขายท่ีเคยเจริญรุง่ เรอื งกต็ กเปน็ ของชาวฟนิ เี ซยี อารยธรรมความเจริญ ในด้านต่างๆ หยดุ ชะงัก ถอื วา่ เป็นยคุ มืดของอารยธรรมกรีก งานวรรณกรรมในยุคมดื ของอารยธรรมกรีก คือ มหากาพย์อิเลยี ด และโอดีสซีย์ ของกวี โฮเมอร์ เป็นเรื่องราวการผจญภยั ของวรี บรุ ษุ ซง่ึ ใหค้ วามรู้ทางด้านประวัติศาสตรข์ องอารยธรรมกรกี ในยคุ แรกๆ
อารยธรรมเฮเลน หรอื อารยธรรมกรีก (1) กรกี ได้ฟื้นตวั จากยคุ มดื และมกี ารสรา้ งสรรค์ อารยธรรมของตนใหม่ เรยี กวา่ อารยธรรมเฮเลน หรอื เฮเลนิก เป็นอารยธรรมกรกี แท้ เรยี กช่วงเวลา ดงั กล่าววา่ สมัยคลาสสิก การเมืองการปกครองของกรกี สมยั คลาสสกิ มรี ปู แบบเป็นนครรฐั (City-State) ซึ่งชาวกรีก เรียกวา่ โพลิส (Polis) แตล่ ะนครรัฐตา่ งมีอิสระ ไมข่ ึนต่อกัน นครรัฐที่สา้ คญั ไดแ้ ก่ เอเธนส์ สปารต์ า ไมซเิ น และทบี ส์ เป็นต้น
อารยธรรมเฮเลน หรืออารยธรรมกรีก (2) 700 ปีก่อนครสิ ตศ์ ักราช กษตั ริย์แตล่ ะนครรฐั ต้องสูญเสียอา้ นาจใหแ้ ก่ขนุ นาง ซ่ึงเขา้ มามบี ทบาทในการปกครองและ บรหิ ารนครรัฐแทน นครรฐั สว่ นใหญ่พฒั นารปู แบบการปกครองเปน็ ประชาธิปไตยมากขึน เชน่ ใหส้ ทิ ธพิ ลเมืองในการ เลอื กตงั และเข้าดา้ รงตา้ แหนง่ ผ้ปู กครองนครรฐั ตังแต่ 700 ปกี ่อนครสิ ตศ์ ักราชเป็นตน้ ไป ชาวกรกี ใหค้ วามสา้ คญั กบั การคา้ ทางทะเลมากขึน มกี ารขยายอาณานคิ มและเมอื งท่าคา้ ขายของตน ไปท่วั ดินแดนชายฝ่งั ทะเลเมดิเตอร์เรเนยี น เมือ่ เศรษฐกิจการค้าขยายตวั เป็นผลใหก้ รกี มีความเจรญิ รุ่งเรอื งทางด้านศิลปวัฒนธรรมอกี ครัง
ประมาณ 492-449 ปกี อ่ นครสิ ตศ์ ักราช เกดิ สงครามกรีกกับเปอร์เซยี เอเธนส์และนครรัฐกรกี อ่นื ๆ รวมก้าลังเพ่อื ทา้ สงครามต่อต้านการรกุ รานของกองทพั เปอรเ์ ซีย ฝ่ายกรีกเป็นฝ่ายชนะ และเอเธนสไ์ ดร้ ับการยอมรับใหเ้ ป็นผนู้ ้าของ นครรฐั กรีก
ประมาณ 431-404 ปีก่อนคริสตศ์ กั ราช เกิดสงครามเพโลพอนนีเชียน เอเธนส์รว่ มมอื กับพันธมติ รของ ตนทา้ สงครามกบั สปาร์ตา เนอ่ื งดว้ ยสปาร์ตาเป็นนครรัฐทางทหารท้าใหน้ ครรฐั อ่นื ๆ หวาดระแวงเกรง จะถกู รกุ ราน อีกทงั สปาร์ตายงั ตอ้ งการแย่งชิงอา้ นาจการเป็นผนู้ ้าของนครรฐั กรีก จากสงครามทา้ ให้ นครรฐั กรีกทังหมดออ่ นแอและเสอื่ มอา้ นาจลง
การขยายอ้านาจของรฐั มาซิโดเนยี เม่อื นครรฐั กรกี ออ่ นแอ มาซโิ ดเนยี ซ่งึ เปน็ อาณาจักรอิสระทางตอนเหนอื ได้ ขยายอา้ นาจเข้ายึดครองนครรัฐกรกี ไดท้ ังหมด โดยพระเจ้าอเลก็ ซานเดอรม์ หาราช สมยั พระเจา้ อเลก็ ซานเดอร์มหาราช เรียกว่า ยุคเฮเลนิสตกิ เป็นยุคที่จกั รวรรดกิ รีกขยายดินแดนออกไปกว้างใหญ่ ไพศาล ครอบคลมุ ถึงเอเชยี ตะวนั ตกเฉียงใต้ อยี ิปต์ เปอรเ์ ซยี ไปจนถึงอนิ เดยี และมคี วามเจรญิ ร่งุ เรอื งทางด้าน ศลิ ปวัฒนธรรมอย่างมาก มกี ารจัดตงั เมอื งอเล็กซานเดรีย ชายฝ่ังทะเลเมดิเตอร์เรเนยี นทางตอนเหนอื ของอยี ิปต์ เป็นเมอื งศูนย์กลางการคา้ และศลิ ปวฒั นธรรมของกรีก
มรดกทางอารยธรรมของกรกี (1) สถาปัตยกรรม สิง่ ก่อสรา้ งขนาดใหญ่ของกรีกเป็นวิหารสา้ หรบั บชู าเทพเจ้านิยมสร้างบนเนินสงู เชน่ วหิ ารพาร์เธนอน สรา้ งขึนเพอ่ื ถวายเทพอี ะธีนา รูปแบบของวิหารกรกี สรา้ งด้วยหนิ อ่อน หลงั คาหน้าจว่ั และมีเสา 3 แบบ คือ Doric แบบเรียบงา่ ย ไมม่ ลี วดลายมากนกั Ionic หวั เสาท้าเปน็ ลวดลายโคง้ ม้วนยอ้ ย ลงมาทงั สองขา้ ง Corinthian มีลกั ษณะหรหู รา ประณีต โดยนา้ รปู ใบไม้มาตกแตง่ อยา่ งสวยงาม
วหิ ารพาร์เธนอน ในกรุงเอเธนส์ สรา้ งขนึ ตังแตศ่ ตวรรษท่ี 5 ก่อนคริสตศ์ กั ราช ชือ่ ของวิหารอาจมาจากช่อื ของงาน ประตมิ ากรรมที่เคยตงั อยู่ภายใน คอื Athena Parthenos ซึ่งหมายความว่าเทพีอนั บริสุทธิ์
มรดกทางอารยธรรมของกรกี (2) รูปปัน้ เทพีอะธีนา งานประติมากรรมกรกี ส่วนใหญ่เปน็ รปู ปน้ั เทพเจ้า มลี ักษณะเปน็ มนษุ ย์ ทเ่ี หมือนจรงิ มีทงั รูปปั้นแสดงสรีระ ของมนษุ ย์ในลักษณะเปลือยกาย มกี ลา้ มเนอื และสัดส่วนของร่างกาย ทแี่ ข็งแรงสมบูรณแ์ ละสวยงาม เชน่ รูปปัน้ เทพีอะธนี า วงิ วิกทอรี วงิ วิกทอรี
มรดกทางอารยธรรมของกรกี (3) มกี ารวาดภาพจิตรกรรมฝาผนงั ขนาดใหญ่ โดยน้าหินหรอื กระเบืองสีฉดู ฉาดมาประดับ เรยี กวา่ โมเสก (Mosaic) นาฏกรรม การแสดงศลิ ปะการละครของ กรีกมจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื บูชาเทพเจา้ ไดโอนิซสั ซง่ึ เป็นเทพเจา้ แห่งความอดุ มสมบรู ณ์ ละครมที ังประเภทโศกนาฏกรรม และสุขนาฏกรรม ซง่ึ เปน็ รากฐานของศลิ ปะการละครของโลก ตะวนั ตกในปัจจุบัน
มรดกทางอารยธรรมของกรกี (4) อดุ มการณป์ ระชาธิปไตยของกรกี เปน็ มรดกท่สี า้ คัญ ท่ถี า่ ยทอดให้แก่โลกตะวันตก จนกรีก ได้รับสมญาวา่ “บดิ าแหง่ ระบอบการปกครองประชาธปิ ไตย” การเฉลมิ ฉลองเทพซุส ท่ีจดั ขนึ ทกุ 4 ปี กเ็ ป็นตน้ ก้าเนดิ ของกฬี าโอลิมปกิ ในปัจจบุ ัน
มรดกทางอารยธรรมของกรีก (5) บุคคลส้าคญั ดา้ นปรชั ญา เช่น โซเครตีส เพลโต อรสิ โตเติล โซเครตีส สอนแนวคดิ การใช้ เพลโต ได้รบั ยกยอ่ งวา่ เป็นบดิ า อรสิ โตเติล เป็นบดิ าแห่ง เหตผุ ลและสติปญั ญา โดยการ แห่งปรัชญาสมัยใหม่ วิชาการรัฐศาสตร์ ตังคา้ ถามปลายเปดิ ให้ผถู้ ูกถาม ขบคดิ
มรดกทางอารยธรรมของกรีก (6) การแพทย์ ฮปิ โปคราตสี (Hippocrates) เป็นผู้วางรากฐานการแพทย์ จนได้รับยกยอ่ งใหเ้ ป็นบดิ าแหง่ การแพทย์ ฮปิ โปคราตีสเชือ่ วา่ โรคภัย ทุกชนดิ เกดิ โดยธรรมชาติไม่ใช่เกดิ จากเทพเจ้าลงโทษตามความเช่อื ของ คนในสมัยนนั วิชาฟิสิกส์ อารค์ ิมดิ ีส วิชาคณิตศาสตร์ ยคู ลิด ปที าโกรัส (Pythagoras) (Archimedes) เป็นผู้ (Euclid) พบตัว หรม. เป็นผู้สรา้ งทฤษฎีสามเหล่ยี ม คน้ พบวิธหี าปริมาตรของ วตั ถุ โดยการแทนทน่ี ้า ตังกฎคานดดี คานงัด และคดิ ระหดั วิดนา้ แบบ เกลยี วลูกรอก
Search