Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดวิชาการเงิน ม.ต้น

ชุดวิชาการเงิน ม.ต้น

Published by sowamaon456, 2021-05-24 08:10:08

Description: ชุดวิชาการเงิน ม.ต้น

Search

Read the Text Version

ชุดวชิ า การเงินเพ่ือชวี ติ 2 รายวชิ าเลือกบังคับ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ รหสั สค22016 หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ชุดการเงินเพื่อชวี ิต 2 l ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

คานา ชดุ วิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016 ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ใชก้ บั ผเู้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ชุดนปี้ ระกอบดว้ ยเนอื้ หาความร้เู ก่ียวกับวา่ ด้วยเร่อื งของเงิน การวางแผนการเงนิ สินเชอ่ื สทิ ธิและหน้าทข่ี องผู้ใช้บริการทางการเงนิ และภยั ทางการเงิน ซ่งึ เนื้อหา ความรดู้ ังกล่าว มวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น กศน. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และ ตระหนักถงึ ความจาเปน็ ของการเงนิ เพ่ือชีวติ สานักงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ขอขอบคณุ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย ทใ่ี ห้การสนบั สนนุ องค์ความรู้ประกอบการนาเสนอเนื้อหา รวมทง้ั ผเู้ ก่ียวขอ้ งในการจดั ทาชดุ วชิ า หวงั เปน็ อย่างยิง่ วา่ ชุดวิชานี้จะเกดิ ประโยชน์ต่อ ผ้เู รียน กศน. และนาไปสกู่ ารเงินเพ่อื ชวี ิตอย่างเหน็ คุณคา่ ต่อไป สานกั งาน กศน. กรกฎาคม 2559 ชุดการเงนิ เพื่อชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

คาแนะนาการใช้ชดุ วชิ า ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 2 รหัสวิชา สค22016 ใช้สาหรับผู้เรียนหลักสูตร การศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แบ่งออกเป็น 2 สว่ น คือ สว่ นที่ 1 โครงสร้างของชุดวิชา แบบทดสอบก่อนเรียน โครงสร้างของหน่วยการ เรยี นรู้ เนอ้ื หาสาระ กิจกรรมเรยี งลาดบั ตามหนว่ ยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน สว่ นท่ี 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เฉลยกจิ กรรมเรียงลาดบั ตามหนว่ ยการเรียนรู้ วธิ กี ารใช้ชดุ วชิ า ให้ผู้เรียนดาเนนิ การตามขน้ั ตอน ดังน้ี 1. ศกึ ษารายละเอียดโครงสร้างชดุ วิชาโดยละเอียด เพื่อให้ทราบว่าผู้เรียน ตอ้ งเรยี นรู้เนอื้ หาในเรื่องใดบ้างในรายวชิ าน้ี 2. วางแผนเพ่ือกาหนดระยะเวลาและจดั เวลาทผี่ ู้เรียนมีความพร้อมท่จี ะ ศึกษาชดุ วชิ าเพอื่ ใหส้ ามารถศึกษารายละเอียดของเน้ือหาไดค้ รบทุกหน่วยการเรยี นรู้ พรอ้ มทา กจิ กรรมตามท่กี าหนดให้ทันก่อนสอบปลายภาค 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวชิ าตามทก่ี าหนด เพ่ือทราบพื้นฐาน ความรูเ้ ดิมของผเู้ รียน โดยใหท้ าลงในสมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละตรวจสอบคาตอบจาก เฉลยแบบทดสอบเฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเล่ม 4. ศึกษาเน้ือหาในชดุ วิชาในแตล่ ะหน่วยการเรียนรอู้ ย่างละเอยี ดให้เขา้ ใจ ทัง้ ในชุดวชิ าและสื่อประกอบ (ถา้ มี) และทากจิ กรรมท่ีกาหนดไว้ใหค้ รบถว้ น 5. เมอ่ื ทากจิ กรรมเสรจ็ แตล่ ะกิจกรรมแลว้ ผเู้ รียนสามารถตรวจสอบ คาตอบได้จากเฉลย/แนวตอบ ท้ายเลม่ หากผู้เรยี นยังทากจิ กรรมไม่ถูกตอ้ งให้ผู้เรยี นกลบั ไป ทบทวนเนื้อหาสาระ ในเรอ่ื งนนั้ ซ้าจนกวา่ จะเข้าใจ 6. เมื่อศกึ ษาเน้อื หาสาระครบทกุ หนว่ ยการเรียนรแู้ ลว้ ใหผ้ เู้ รียนทา แบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคาตอบจากเฉลยทา้ ยเล่มว่าผเู้ รียนสามารถทาแบบทดสอบได้ ถกู ตอ้ งทกุ ขอ้ หรือไม่ หากขอ้ ใดยังไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ู้เรียนกลบั ไปทบทวนเน้อื หาสาระในเร่ืองน้นั ใหเ้ ขา้ ใจอีกครั้งหน่ึง ผู้เรียนควรทาแบบทดสอบหลงั เรยี นให้ไดค้ ะแนนมากกวา่ แบบทดสอบ ก่อนเรียน และควรไดค้ ะแนน ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด (หรือ 24 ขอ้ ) เพอ่ื ให้ม่นั ใจวา่ จะสามารถสอบปลายภาคผา่ น 7. หากนกั ศกึ ษาได้ทาการศึกษาเนือ้ หาและทากิจกรรมแล้วยังไม่เขา้ ใจ ผเู้ รียนสามารถสอบถามและขอคาแนะนาได้จากครหู รือแหล่งคน้ ควา้ เพมิ่ เติมอน่ื ๆ ชุดการเงินเพอื่ ชวี ิต 2 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

หมายเหตุ : การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน และทากจิ กรรมทา้ ยเร่ือง ใหท้ าและ บันทกึ ลงในสมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า การศึกษาค้นควา้ เพมิ่ เตมิ ผเู้ รยี นอาจศึกษาหาความรู้เพ่มิ เตมิ ไดจ้ ากแหล่งเรียนรอู้ น่ื ๆ เช่น ศนู ย์คุ้มครอง ผ้ใู ช้บริการทางการเงนิ ธนาคารแห่งประเทศไทย โทร.1213, เวบ็ ไซต์ : www.1213.or.th , เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/hotline1213 การศกึ ษาจากอนิ เทอร์เนต็ พิพิธภณั ฑ์ นิทรรศการ หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องกบั การเงินการธนาคาร การศึกษาจากผูร้ ู้ เป็นต้น การวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผู้เรยี นตอ้ งวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ดังน้ี 1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากิจกรรมหรอื งานที่ได้รับมอบหมายระหว่างเรียน รายบุคคล 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาขอ้ สอบวัดผลสมั ฤทธิ์ปลายภาค ชดุ การเงินเพื่อชวี ติ 2 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

โครงสรา้ งชุดวชิ า สาระการเรียนรู้ สาระการพัฒนาสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 5.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนงั ถึงความสาคัญเกีย่ วกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรับใช้ในการดารงชีวิต มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนักเก่ยี วกับภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครองในทอ้ งถิน่ ประเทศ นามาปรับใชใ้ นการดาเนินชวี ติ และการประกอบ อาชีพ เพื่อความม่นั คงของชาติ ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั - อธบิ ายข้อมูลเกีย่ วกับเรื่องการเงินไดอ้ ย่างถกู ต้อง - วิเคราะห์ เปรยี บเทียบ การชาระเงนิ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ตลอดจนบญั ชเี งินฝาก ประเภท ตา่ ง ๆ และเลอื กใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม - คานวณอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และดอกเบยี้ บญั ชีเงนิ ฝากได้ - ประยุกตใ์ ชแ้ ละเลอื กใชค้ วามรทู้ างการเงินมากาหนดเปา้ หมายมาออกแบบวางแผน การเงนิ ของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม - มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ การใช้จา่ ย จัดการการเงินไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คมุ้ ค่า ตระหนักถงึ สทิ ธิและหนา้ ที่ทางการเงิน สาระสาคัญ เงินเป็นปัจจยั สาคญั ในการดารงชีวิตของประชาชนทุกคน เน่อื งจากเปน็ ส่อื กลางที่ใช้ สาหรับแลกเปลี่ยนกับสินคา้ และบรกิ ารต่าง ๆ ที่จาเป็นตอ้ งใช้ในชวี ติ ประจาวัน นอกจากนัน้ “เงนิ ” ยังเป็นปจั จัยสาคัญสาหรบั การลงทนุ เพ่อื เพิ่มพูนรายได้ อย่างไรกต็ าม ในปจั จบุ ันนสี้ ภาพ สงั คม เศรษฐกิจท่เี ปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว มีวธิ ีทางการเงินใหม่ ๆ ถกู พฒั นาขึ้นอย่าง หลากหลาย เช่น บัตรเครดิต บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม การทาธุรกรรมทางโทรศพั ท์ ทาง อินเทอร์เนต็ การลงทุนทางการเงินประเภทต่าง ๆ เปน็ ต้น และเมือ่ มกี ารพัฒนาทางการเงนิ เพม่ิ ขนึ้ ภัยทางการเงนิ ก็เพ่มิ ข้ึนเปน็ เงาตามตัว เชน่ เงินกู้นอกระบบ แชร์ลกู โซ่ ภยั การเงนิ ออนไลน์ เป็นต้น จงึ ต้องพัฒนาทักษะความสามารถด้านการเงนิ ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจ ชดุ การเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 l ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

สามารถออกแบบวางแผน และตัดสนิ ใจทางการเงิน ตลอดจนหลีกเล่ยี ง ความเสีย่ งภยั ทาง การเงิน อนั เป็นประโยชนต์ อ่ การดารงชีวิตในปจั จุบัน ขอบข่ายเนื้อหา หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1. ว่าดว้ ยเร่ืองของเงิน 2. การวางแผนการเงนิ 3. สนิ เชื่อ 4. สิทธิและหน้าทข่ี องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน 5. ภัยทางการเงนิ สื่อประกอบการเรียนรู้ 1. ชุดวิชา 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ประกอบชมุ วชิ า 3. ส่อื เสริมการเรียนร้อู ่นื ๆ จานวนหนว่ ยกิต 3 หนว่ ยกิต (120 ชั่วโมง) กจิ กรรมเรียนรู้ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม 2. ศึกษาเนือ้ หาสาระในหน่วยการเรยี นรู้ทกุ หนว่ ย 3. ทากจิ กรรมตามที่กาหนด และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่ 4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม การประเมนิ ผล 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน 2. ทากิจกรรมในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ 3. เขา้ รบั การทดสอบปลายภาค ชุดการเงนิ เพื่อชีวิต 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

สารบัญ หนา้ คานา คาแนะนาการใชช้ ดุ วชิ า โครงสร้างชุดวิชา สารบญั หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงนิ 1 เรื่องที่ 1 ความหมายและประโยชน์ 4 เรื่องท่ี 2 ประเภทของเงิน 6 เรื่องที่ 3 การฝากเงินและการประกันภัย 20 เรอ่ื งท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ 42 เร่ืองท่ี 5 ผ้ใู หบ้ ริการทางการเงินในประเทศไทย 47 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน 52 เรอื่ งที่ 1 การรู้จักฐานะการเงินของตนเอง 54 เรอื่ งที่ 2 การประเมินฐานะการเงนิ ของตนเอง 57 เรือ่ งที่ 3 การบนั ทึกรายรับ-รายจา่ ย 64 เรอื่ งท่ี 4 การตัง้ เป้าหมายและจดั ทาแผนการเงนิ 71 เรอื่ งท่ี 5 การออม 78 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สินเชื่อ 83 เรื่องที่ 1 การประเมินความเหมาะสมกอ่ นตดั สนิ ใจก่อหนี้ 85 เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะของสินเช่ือรายย่อยและการคานวณดอกเบ้ยี 87 เรอ่ื งที่ 3 เครดิตบูโร 98 เร่ืองท่ี 4 วิธกี ารปอ้ งกันปัญหาหนี้ 100 เร่ืองที่ 5 วิธีการแก้ไขปัญหาหนี้ 101 เรื่องที่ 6 หน่วยงานทใ่ี หค้ าปรกึ ษาวธิ ีการแก้ไขปัญหาหน้ี 103 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 สิทธแิ ละหน้าท่ขี องผูใ้ ชบ้ รกิ ารทางการเงนิ 105 เรือ่ งที่ 1 สิทธขิ องผู้ใช้บริการทางการเงนิ 106 เรอ่ื งที่ 2 หน้าทขี่ องผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ 108 เรือ่ งท่ี 3 บทบาทศูนย์ค้มุ ครองผูใ้ ช้บริการทางการเงิน (ศดง.) 110 และหน่วยงานทร่ี บั เรอ่ื งร้องเรยี นอืน่ ๆ เร่อื งที่ 4 ข้นั ตอนการรอ้ งเรียนและหลกั การเขยี นหนังสอื รอ้ งเรียน 112 ชุดการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 l ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ หนา่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 ภัยการเงนิ 115 เรื่องท่ี 1 หนนี้ อกระบบ 116 เรื่องท่ี 2 แชร์ลกู โซ่ 120 เรอื่ งท่ี 3 ภยั ใกล้ตัว 122 เรอ่ื งท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ 124 เรื่องท่ี 5 ภยั ออนไลน์ 127 131 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน 132 เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรือ่ ง 177 บรรณานกุ รม 180 คณะผู้จัดทา ชดุ การเงินเพอื่ ชวี ิต 2 l ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงิน สาระสาคัญ เงินเป็นสิ่งสาคัญท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นส่ิงท่ีใช้ในการ ซื้อหาส่ิงของหรือบริการเพ่ือให้สามารถดารงชีพ หรือเพื่อความสะดวกสบาย เงินที่รู้จักกันส่วนใหญ่ มี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยในประเทศไทยใช้สกุลเงินบาท อย่างไรก็ดี หาก ต้องเดินทางหรือทาการค้าท่ีต่างประเทศ ก็จะต้องเข้าไปเก่ียวข้องกับเงินตราของประเทศอ่ืน ๆ ดว้ ย เมอ่ื ไดร้ บั เงินจากแหลง่ ต่าง ๆ เช่น จากการประกอบอาชีพ ส่ิงที่ควรทาคือ แบ่งเงิน บางสว่ นไปเกบ็ ออมเพ่ือวตั ถุประสงคต์ ่าง ๆ เชน่ ไว้ใชย้ ามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลังเกษียณหรือ เลิกทางาน แต่บางคร้ังการเก็บออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉินอาจไม่เพียงพอที่จะรองรับเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน จึงอาจต้องพิจารณาความจาเป็นในการทาประกันภัยเพ่ือรองรับความเส่ียงที่ ไมค่ าดคดิ เช่น ประสบอุบัติเหตุ หรือเสียชีวิต ซ่ึงหากเกิดเหตุการณ์นั้นบริษัทประกันภัยจะเป็น ผ้จู า่ ยสินไหมทดแทนให้ตามเงอ่ื นไขท่ตี กลงไวใ้ นกรมธรรม์ ด้วยยุคสมัยปัจจุบันเปลี่ยนไป มีการนาเทคโนโลยีมาอานวยความสะดวกเพ่ือให้ ใช้เงินได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องพกพาเงินสดจานวนมาก เช่น บัตรเดบิต และบัตรเครดิต ซ่ึงแต่ละชนิด ออกแบบมาเพ่ือลักษณะการใช้งานที่ต่างกัน นอกจากนี้ ยังมีช่องทางการชาระเงินท่ีรวดเร็ว ยิง่ ขน้ึ เช่น internet payment, mobile payment ทท่ี าให้การโอนเงิน ชาระเงินเป็นเร่ืองง่าย ไม่ต้องเสยี เวลาเดนิ ทางไปทาธรุ กรรมทีธ่ นาคาร นอกจากเงินจะมีบทบาทสาคัญต่อชีวิตประจาวันของทุกคน ยังเป็นสิ่งสาคัญ ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจทั้งระบบ ทั้งในด้านการลงทุน การผลิต และการจ้างงาน จึงมี ผู้ให้บริการทางการเงินในระบบจานวนมากซ่ึงมีบทบาทหน้าท่ีแตกต่างกันไปในการตอบสนอง ระบบเศรษฐกิจในแต่ละด้าน โดยสถาบันการเงินมีทั้งท่ีรับฝากเงิน และไม่ได้รับฝากเงิน ซ่ึง ผู้ใช้บริการทางการเงินสามารถวางใจและเช่ือถือได้ เนื่องจากมีหน่วยงานท่ีทาหน้าที่กากับดูแล อย่างใกล้ชดิ ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรือ่ งของเงนิ

2 ตัวช้ีวัด 1. อธิบายความหมายและประโยชน์ของเงนิ 2. บอกความหมายและความแตกต่างของการให้เงนิ และการให้ยมื เงิน 3. บอกประเภทและลกั ษณะของเงินตราไทย 4. อธบิ ายวิธีการตรวจสอบธนบัตร 5. บอกเงินสกลุ ของประเทศในทวปี เอเชยี 6. คานวณอตั ราแลกเปลยี่ นเงนิ ตราตา่ งประเทศ 7. บอกช่องทางการแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศ 8. บอกลกั ษณะบญั ชีเงินฝากแต่ละประเภท 9. บอกประโยชน์และขอ้ จากัดการฝากเงนิ ประเภทตา่ ง ๆ 10. บอกความหมายของดอกเบ้ยี เงินฝาก 11. คานวณดอกเบี้ยเงนิ ฝากอย่างง่าย 12. บอกความหมายของการคุ้มครองเงนิ ฝาก 13. บอกประเภทของเงนิ ฝากท่ีไดร้ บั การคมุ้ ครอง 14. อธบิ ายความหมายและประโยชน์ของการประกนั ภัย 15. บอกประเภทและลักษณะการประกนั ภยั แต่ละประเภท 16. บอกความหมายและประโยชนข์ องการชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 17. บอกลักษณะของบตั รเอทีเอม็ บตั รเดบิต บตั รเครดิต 18. เปรยี บเทยี บความแตกตา่ งบตั รเอทเี อม็ บัตรเดบิต บตั รเครดติ 19. บอกผูใ้ ห้บริการทางการเงนิ ในประเทศไทย 20. บอกประเภทของสถาบันการเงินและหน่วยงานอ่ืน ๆ ภายใต้การกากับของ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย 21. อธิบายบทบาทหน้าที่ของสถาบันการเงินและหน่วยงานอื่น ๆ ภายใต้การ กากับของธนาคารแหง่ ประเทศไทย ขอบข่ายเน้ือหา เรอื่ งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน เรอื่ งท่ี 2 ประเภทของเงนิ เรอ่ื งที่ 3 การฝากเงิน และการประกันภัย ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงิน

3 เรอ่ื งที่ 4 การชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เรอ่ื งท่ี 5 ผู้ให้บรกิ ารทางการเงินในประเทศไทย สอื่ การเรยี นรู้ 1. เวบ็ ไซตธ์ นาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) www.bot.or.th 2. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) www.sec.or.th 3. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภยั (คปภ.) www.oic.or.th เวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา 24 ชวั่ โมง ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรือ่ งของเงนิ

4 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงนิ ความหมายและประโยชนข์ องเงนิ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “เงิน” คือ วัตถุที่กาหนดให้ใช้เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนหรือชาระหน้ี ปัจจุบันส่วนใหญ่ คือ ธนบัตร และเหรียญกษาปณ์ อย่างไรก็ดี เงินอาจไม่ได้จากัดอยู่ในรูปธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เท่าน้ัน แตอ่ าจอยู่ในรูปแบบอ่ืน ๆ อีก เชน่ เงนิ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ “เงิน” เป็นส่ิงสาคัญท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นส่ิงท่ีใช้ใน การซ้ือหาสงิ่ ของหรอื บริการเพอื่ ให้สามารถดารงชีพได้ หรือเพื่อความสะดวกสบาย เช่น การซ้ือ หาอาหาร สิ่งของจาเป็น การศึกษา การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายเดินทาง ดังนั้น ทุกคนจึง จาเป็นต้องประกอบอาชีพ สร้างอาชีพให้ตนเองเพื่อให้มีเงินหรือมีรายได้เลี้ยงตนเองและคนใน ครอบครัว เม่ือได้เงินมาแล้วก็ควรรู้จักวางแผนการเงินของตนเอง เพ่ือให้ใช้เงินอย่างรู้คุณค่า และมีเงินเพียงพอต่อการดารงชีพ เช่น เม่ือมีรายได้ให้นาไปเก็บออมส่วนหน่ึงก่อน โดยลาดับแรก ควรออมเผ่ือฉุกเฉินเม่ือเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันจะได้ดึงเงินท่ีออมมาใช้จ่ายได้ หรือการรู้จัก วางแผนการใช้จ่าย โดยใช้จ่ายในส่ิงท่ีจาเป็นก่อน หรือหากมีเงินออมเพียงพอแล้ว อาจนาเงินออม บางส่วนไปสร้างผลตอบแทนเพิ่มข้ึน เช่น การฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาเพ่ือรับดอกเบี้ย ทีส่ ูงข้นึ หรือการลงทุนภายใต้ความเส่ยี งท่ียอมรับได้ เพือ่ ใหเ้ งนิ ที่หามาไดส้ รา้ งมลู ค่าทีเ่ พิม่ ข้นึ การใหเ้ งนิ และการใหย้ มื เงนิ การใหเ้ งิน หมายถงึ การใหเ้ งินโดยไมไ่ ด้หวังผลตอบแทน และไม่ได้หวังให้มีการ นาเงนิ ดงั กลา่ วมาจ่ายคนื ให้ เช่น พอ่ แมใ่ หค้ า่ ขนมแก่ลูก การบรจิ าคเงินเพือ่ การกุศล การใหย้ ืมเงิน หมายถงึ การใหเ้ งินโดยคาดหวงั ให้มีการจ่ายคืนภายในระยะเวลา ที่กาหนด และมีการกาหนดอัตราผลตอบแทนของการให้ยืมเงินนั้นด้วย ซ่ึงเรียกว่า “ดอกเบี้ย” เช่น สมชายให้สมหญิงกู้ยืม 10,000 บาท คิดดอกเบ้ีย 2% ต่อปีและให้ใช้คืนเม่ือครบ 1 ปี หมายความวา่ สมหญิงต้องจา่ ยเงนิ คนื สมชาย 10,200 บาท เมือ่ ครบ 1 ปี จะเห็นว่าการให้เงินเป็นการให้เปล่าไม่ต้องคืน แต่สาหรับการให้ยืมเงินเป็นการ คาดหวังให้มีการจ่ายเงินคืน ซึ่งผู้ให้ยืมอาจต้องการดอกเบี้ยหรือไม่ต้องการดอกเบ้ียก็ได้ ดังน้ัน ก่อนที่จะให้เงินหรือให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรอธิบายให้ชัดเจนและเข้าใจตรงกันว่า ต้องการให้เงิน ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงิน

5 หรือต้องการให้ยืมเงนิ ซึ่งหากเป็นการให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรแจ้งอัตราดอกเบ้ีย ระยะเวลาท่ีต้อง ชาระคนื และควรทาเอกสารเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรเพ่ือเป็นหลักฐานการใหย้ ืมเงินไวด้ ้วย กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน (ให้ผเู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่อื งที่ 1 ทส่ี มดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นร)ู้ ชดุ วชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรือ่ งของเงิน

6 เรือ่ งท่ี 2 ประเภทของเงนิ เงินตราไทย เงินตราท่ีใช้ในประเทศไทย ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้ ธนบัตร ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานที่ทาหน้าท่ีบริหารจัดการธนบัตร ภายในประเทศทุกขั้นตอน เริ่มต้ังแต่การผลิต นาธนบัตรใหม่ออกใช้หมุนเวียนและทาลาย ธนบัตรเก่า รวมท้ังประเมินความต้องการใช้ธนบัตรใหม่ในแต่ละปีว่าควรจะผลิตธนบัตรชนิด ราคาใดออกมาจานวนมากน้อยเพียงใด เพ่ือให้เพียงพอต่อความต้องการใช้จ่ายของประชาชน ในประเทศ ซ่ึงในแต่ละปีปริมาณการผลิตธนบัตรจะผันแปรไปตามความต้องการใช้ธนบัตร ท่เี พ่มิ ขน้ึ หรือลดลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารแหง่ ประเทศไทยเป็นผู้มีสิทธิ์พิมพ์และออกใช้ธนบัตรในประเทศไทย แต่เพียงผู้เดียว โดยปฏิบัติตามท่ีพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 กาหนดไว้ว่าการนา ธนบตั รออกใชห้ มุนเวยี นในระบบเศรษฐกจิ สามารถทาได้ 2 กรณี คือ 1. แลกเปลี่ยนทันทีกับธนบัตรท่ีออกใช้หมุนเวียนอยู่แล้วในมูลค่าท่ีเท่ากัน เช่น ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท 10 ฉบับ มูลค่า 10,000 บาท แลกเปลี่ยนกับธนบัตรใหม่ชนิด ราคาเดียวกันหรือชนิดราคาอื่นในมูลค่าท่ีเท่ากัน อาทิ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท จานวน 20 ฉบับ 2. แลกเปลี่ยนทันทีกับสินทรัพย์ท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นทุนสารองเงินตรา ในมลู ค่าท่ีเทา่ กัน เชน่ นาทองคามลู ค่า 100 ล้านบาทมาเข้าบัญชีทุนสารองเงินตรา แลกเปล่ียน กับธนบัตรเพือ่ นาออกใชม้ ูลค่า 100 ลา้ นบาทเท่ากัน ทาไมธนบัตรจึงมีคา่ การท่ีธนบัตรได้รับความเชื่อถือและมีมูลค่าตามราคาที่ระบุไว้ได้น้ัน เนื่องจาก กฎหมายกาหนดให้ต้องนาสินทรัพย์ เช่น ทองคา เงินตราต่างประเทศ หลักทรัพย์ต่างประเทศ มาแลกเปล่ียนเท่ากับจานวนมูลค่าของธนบัตรท่ีจะนาออกใช้ ซ่ึงสินทรัพย์ดังกล่าวจะโอนเข้าไว้ ในบัญชีทุนสารองเงินตรา โดยธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นผู้ดูแลรักษาบัญชี และมีสานักงาน ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงิน

7 การตรวจเงินแผน่ ดินตรวจสอบเปน็ ประจาทุกปี ดงั นั้น จงึ ม่นั ใจได้ว่าธนบัตรทุกฉบับมีมูลค่าตาม ราคาทตี่ ราไวอ้ ย่างแทจ้ ริง ธนบัตรท่ีใช้หมนุ เวียนในปจั จุบัน นับจากปี พ.ศ. 2445 ท่ีเร่ิมนาธนบัตรแบบแรกออกใช้ จนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีธนบัตรออกใช้หมุนเวียนรวมจานวน 16 แบบ โดยธนบัตรแบบปัจจุบัน คือ ธนบัตรแบบสิบหก1 มี 5 ชนิดราคา ได้แก่ 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ในฉลองพระองคค์ รุยมหาจกั รีบรมราชวงศ์ ลักษณะธนบตั รด้านหนา้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรยี ์พอ่ ขนุ รามคาแหง มหาราช ลกั ษณะธนบตั รดา้ นหลัง ขนาด ภาพประกอบ : ภาพการประดษิ ฐ์อักษรไทย ภาพศิลาจารึก วันประกาศออกใช้ หลักที่ 1 จารึกพอ่ ขุนรามคาแหง ภาพลายสอื ไทย ภาพทรง วนั ออกใช้ รับเรื่องราวร้องทุกขข์ องราษฎร ภาพกระดง่ิ และภาพ เครอื่ งสงั คโลก 7.20 x 13.80 เซนตเิ มตร ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 วนั ท่ี 1 เมษายน 2556 1 ขอ้ มลู ณ เดอื นมิถนุ ายน 2559 ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ด้วยเรอ่ื งของเงิน

ลักษณะธนบัตรดา้ นหนา้ 8 ลักษณะธนบัตรดา้ นหลงั ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเดจ็ ขนาด พระเจา้ อยหู่ วั ในฉลองพระองค์ครยุ มหาจักรบี รมราชวงศ์ วนั ประกาศออกใช้ วันออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรยี ส์ มเด็จพระนเรศวร มหาราช ลักษณะธนบตั รดา้ นหน้า ภาพประกอบ : ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ทรงพระแสงดาบ ลกั ษณะธนบัตรด้านหลัง นาทหารเข้าตีคา่ ยพมา่ พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ อนุสรณ์ ขนาด ดอนเจดีย์ และพระเจดยี ช์ ัยมงคล วัดใหญ่ชยั มงคล จงั หวดั วันประกาศออกใช้ พระนครศรอี ยุธยา วนั ออกใช้ 7.20 x 14.40 เซนตเิ มตร ลงวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน 2554 วันที่ 18 มกราคม 2555 ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว ในฉลองพระองคค์ รยุ มหาจกั รีบรมราชวงศ์ ภาพประธาน : ภาพพระบรมรปู สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ภาพประกอบ : ภาพทรงเกลย้ี กลอ่ มให้ประชาชนรวมกาลงั กนั ตอ่ ส้กู ู้อิสรภาพ ภาพท้องพระโรงพระราชวงั กรุงธนบุรี ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงมา้ พระท่นี งั่ ออกศกึ และภาพป้อมวไิ ชยประสทิ ธิ์ 7.20 x 15.00 เซนติเมตร ลงวนั ที่ 27 ธันวาคม 2557 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2558 ชดุ วิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงิน

ลกั ษณะธนบตั รดา้ นหน้า 9 ลกั ษณะธนบตั รดา้ นหลัง ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์พระบาทสมเดจ็ ขนาด พระเจา้ อย่หู ัว ในฉลองพระองค์ครุยมหาจักรีบรมราชวงศ์ วันประกาศออกใช้ วนั ออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ลกั ษณะธนบัตรด้านหน้า ภาพประกอบ : ภาพวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ลักษณะธนบัตรด้านหลงั ภาพป้อมพระสเุ มรุ ขนาด 7.20 x 15.60 เซนติเมตร วนั ประกาศออกใช้ ลงวันท่ี 27 ธันวาคม 2556 วนั ออกใช้ วันท่ี 12 พฤษภาคม 2557 ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ในฉลองพระองค์ครยุ มหาจกั รบี รมราชวงศ์ ภาพประธาน : ภาพพระบรมรูปพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ภาพประกอบ : ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัวทรงม้าพระท่นี ัง่ ภาพพระทีน่ ง่ั อนันตสมาคม และภาพการเลิกทาส 7.20 x 16.20 เซนตเิ มตร ลงวันที่ 24 มิถุนายน 2558 วันท่ี 21 สงิ หาคม 2558 ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ

10 ขนาดมาตรฐานของธนบตั รแบบปจั จบุ ัน2 (แบบสิบหก) การกาหนดขนาดธนบัตรมุ่งเน้นถึงความสะดวกในการพกพาเป็นหลัก และเพื่อ ประโยชน์ต่อการสังเกตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ที่มีความบกพร่องทางสายตาซึ่ง สามารถแยกแยะชนิดราคาธนบัตรด้วยการสัมผัสเท่านั้น จึงกาหนดให้ธนบัตรทุกชนิดราคา มีความกว้างเทา่ กนั คอื 72 มิลลเิ มตร แตม่ ีความยาวที่ลดหลัน่ กันชนิดราคาละ 6 มลิ ลเิ มตร วิธีการตรวจสอบธนบตั รแบบสบิ หก 1. สัมผัส 1.1 สมั ผสั กระดาษธนบัตร ธนบตั รทาจากกระดาษชนิดพิเศษท่ีมีใยฝ้ายเป็นส่วนประกอบหลัก จึง มคี วามแกรง่ ทนทาน ไม่ยุย่ งา่ ย เมื่อจับสัมผัสจะให้ความรู้สกึ แตกต่างจากกระดาษท่ัวไป 1.2 ลายพมิ พ์เส้นนูน สามารถสัมผัสความนูนตามจุดต่าง ๆ ได้แก่ ตัวเลขอารบิกแจ้งชนิด ราคาที่มุมขวาบนของธนบัตร ตัวอักษรคาว่า “รัฐบาลไทย” และตัวเลขไทยแจ้งชนิดราคา ด้านหนา้ ธนบัตร นอกจากนี้ ท่ีบริเวณมุมล่างด้านขวาของธนบัตรทุกชนิดราคาจะมีลายพิมพ์ เสน้ นูนรูปดอกไม้ ซงึ่ เปน็ สัญลกั ษณ์แจ้งชนิดราคาธนบตั รทป่ี ระยุกต์มาจากอักษรเบรลล์ เพื่อ อานวยความสะดวกแกผ่ ู้มคี วามบกพรอ่ งทางสายตา 2 ขอ้ มลู ณ เดอื นมถิ นุ ายน 2559 ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงนิ

11 2. ยกส่อง 2.1 ลายนา้ ลายน้าเกิดข้ึนในข้ันตอนการผลิตกระดาษท่ีทาให้เนื้อกระดาษมีความหนา ไม่เท่ากัน เมื่อยกธนบัตรส่องกับแสงสว่างจึงมองเห็นภาพที่มีการไล่ระดับของแสงเงา และ ตัวเลขไทยตามชนิดราคาธนบัตรท่ีมีความโปร่งแสงเป็นพิเศษ ประดับควบคู่ลายน้าพระบรม ฉายาสาทสิ ลกั ษณพ์ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั 2.2 แถบสีและแถบส่ีเหล่ียมเคล่ือนไหวสลับสี ธนบัตรทุกชนิดราคามีแถบสีต่าง ๆ ตามชนิดราคาธนบัตรที่ฝังไว้ใน เนื้อกระดาษตามแนวต้ัง มีบางส่วนของแถบปรากฏให้เห็นเป็นระยะ ๆ ท่ีด้านหลังของธนบัตร เม่ือยกส่องดูกับแสงสว่างจะเห็นเป็นเส้นตรงยาวต่อเนื่อง บนแถบมีตัวเลขและตัวอักษร โปร่งแสงแจ้งชนิดราคาธนบัตรที่มองเห็นได้ทั้งสองด้าน และสามารถมองเห็นการเปลี่ยนสี ของแถบนีเ้ มื่อพลกิ เอยี งธนบตั รไปมา ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 3 ภาพที่ 4 ภาพท่ี 5 ภาพที่ 1 - 3 เป็นแถบสี ซึ่งมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 20 บาท 50 บาท และ 100 บาท ภาพที่ 4 - 5 เป็นแถบสีที่มีสี่เหลี่ยมเคลื่อนไหวสลับสี ซึ่งมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 500 บาท และ 1000 บาท ชดุ วชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงิน

12 2.3 ภาพซอ้ นทบั บรเิ วณมุมบนด้านซ้ายของธนบัตรมีตัวเลขอารบิกแจ้งชนิดราคาธนบัตร ที่พิมพ์แยกไว้ในตาแหน่งตรงกันของด้านหน้าและด้านหลังธนบัตร จะมองเห็นเป็นตัวเลข ทส่ี มบูรณเ์ มื่อยกธนบตั รสอ่ งกับแสงสว่าง 3. พลิกเอยี ง 3.1 หมึกพิมพ์พิเศษสลับสี เป็นจุดสังเกตสาหรับธนบัตรชนิดราคา 500 บาท และ 1000 บาท เท่าน้ัน โดยให้สังเกตที่มุมล่างด้านซ้ายของธนบัตรเม่ือพลิกขอบล่างธนบัตรขึ้น ลายประดิษฐ์ สีทองจะเปล่ยี นเป็นสเี ขียว ชดุ วิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเรื่องของเงนิ

13 3.2 แถบฟอยล์ 3 มติ ิ แถบฟอยล์ 3 มิติที่ผนึกอยู่บนด้านหน้าธนบัตรชนิดราคา 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท จะมองเห็นเป็นหลายมิติแตกต่างกันตามชนิดราคาและจะเปลี่ยน สีสะท้อนแสงวาววับเมอ่ื พลกิ เอียงธนบตั รไปมา 3.3 ตวั เลขแฝง ในลายประดิษฐ์มมุ ล่างซา้ ยของธนบัตรทุกชนิดราคาเม่ือยกธนบัตรเอียง เข้าหาแสงสว่างและมองผ่านจากมุมล่างซ้ายเข้าหากึ่งกลางธนบัตรในมุมที่เหมาะสม จะเห็น ตัวเลขอารบิกแจ้งชนิดราคาธนบัตรฉบบั นนั้ เหรยี ญกษาปณ์ กรมธนารักษ์ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนออกใช้ในระบบเศรษฐกิจตั้งแต่ พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ซ่ึงมีหลากรุ่นหลายแบบ โดยได้ปรับเปล่ียนรูปลักษณะ ลวดลาย และ กรรมวิธีการผลติ เรอ่ื ยมา เพอ่ื ให้สะดวกตอ่ การพกพา การใช้สอยและยากตอ่ การปลอมแปลง เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ใช้หมุนเวียนกันอยู่ท่ัวไป ในชีวิตประจาวัน มี 9 ชนิดราคาคือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ แต่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ ชดุ วชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

14 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ มีใช้ในทางบญั ชีเท่านั้น ในปี พ.ศ. 2551 กระทรวงการคลังได้อนุมัติให้กรมธนารักษ์ จัดทาเหรียญ กษาปณ์ออกใชห้ มุนเวยี นชุดใหมใ่ นระบบเศรษฐกิจ โดยมลี ักษณะและชนดิ ราคา ดังนี้ 1. เหรียญกษาปณ์โลหะสองสี (สีขาวและสีทอง) ชนดิ ราคา 10 บาท 2. เหรียญกษาปณ์โลหะสีขาว (ทองแดงผสมนิกเกิล เคลือบไส้ทองแดง) ชนิดราคา 5 บาท 3. เหรียญกษาปณ์โลหะสีทอง (ทองแดงผสมนิกเกิลและอลูมิเนียม) ชนิดราคา 2 บาท 4. เหรียญกษาปณโ์ ลหะสขี าว (ไสเ้ หล็กชุบนกิ เกิล) ชนดิ ราคา 1 บาท 5. เหรียญกษาปณ์โลหะสแี ดง (ไส้เหลก็ ชบุ ทองแดง) ชนิดราคา 50 สตางค์ 6. เหรยี ญกษาปณ์โลหะสีแดง (ไส้เหล็กชุบทองแดง) ชนิดราคา 25 สตางค์ 7. เหรียญกษาปณ์โลหะสีขาว (อลูมิเนียม) ชนิดราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์ 1 สตางค์ เหรียญกษาปณ์กับการใช้ชาระหนี้ตามกฎหมาย ตามพระราชบญั ญัตเิ งินตรา พ.ศ. 2501 มาตรา 11 ระบุว่า เหรียญกษาปณ์เป็น เงินทชี่ าระหนไี้ ดต้ ามกฎหมาย ไม่เกนิ จานวนท่ีกาหนดโดยกฎกระทรวง ดงั นี้ ชนิดราคา จานวนการชาระหน้ีตอ่ ครัง้ เหรยี ญชนิดราคา 1 สตางค์ ชาระหนไี้ ดค้ รั้งละไม่เกิน 5 บาท เหรยี ญชนดิ ราคา 5, 10, 25 และ 50 สตางค์ ชาระหน้ีได้คร้ังละไมเ่ กนิ 10 บาท เหรยี ญชนดิ ราคา 1, 2 และ 5 บาท ชาระหน้ีได้ครงั้ ละไม่เกิน 500 บาท เหรียญชนิดราคา 10 บาท ชาระหน้ีไดค้ รั้งละไมเ่ กนิ 1,000 บาท สาเหตทุ ีก่ ฎหมายต้องกาหนดจานวนเงินในการชาระหน้ีของเหรียญกษาปณ์ คือ เพ่อื ปอ้ งกนั การกลน่ั แกลง้ ระหว่างลูกหน้กี ับเจา้ หนใ้ี นการชาระหนี้ ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ

15 เงนิ ตราต่างประเทศ ในการดาเนินชีวิตประจาวันท่ัว ๆ ไป เราจะใช้เงินสกุลของประเทศไทยคือ เงนิ บาทในการจบั จ่ายใชส้ อยในประเทศ แต่หากต้องเดินทางหรือมีการทาธุรกิจระหว่างประเทศ เรากจ็ ะตอ้ งเข้าไปเก่ยี วข้องกับเงินตราของประเทศอื่น ๆ เงนิ สกุลตา่ งประเทศในทวีปเอเชีย ชอ่ื ประเทศ ชอื่ สกุลเงนิ อักษรย่อสกุลเงนิ บงั คลาเทศ ตากา (Bangladesh Taka) BDT ภูฏาน งลุ ตรมั (Bhutanese Ngultrum) BTN อนิ เดีย รปู อี นิ เดีย (Indian Rupee) INR มลั ดีฟ รฟู ยี าห์ (Maldivian Rufiyaa) MVR เนปาล รูปีเนปาล (Nepalese Rupee) NPR ปากีสถาน รปู ปี ากีสถาน (Pakistani Rupee) PKR ศรีลังกา รูปศี รีลงั กา (Sri Lankan Rupee) LKR บาหเ์ รน ดีนารบ์ าหเ์ รน (Bahraini Dinar) BHD อัฟกานิสถาน อัฟกานี (Afghan Afghani) AFN อริ ัก ดีนาร์อิรกั (Iraqi Dinar) IQD อหิ รา่ น เรียลอิหร่าน (Iranian Rial) IRR อสิ ราเอล เชคเกล (Israeli Shekel) ILS จอรแ์ ดน ดีนารจ์ อรแ์ ดน (Jordanian Dinar) JOD ตรุ กี ลีรา (Turkish Lira) TRY คเู วต ดีนารค์ เู วต (Kuwaiti Dinar) KWD เลบานอน ปอนดเ์ ลบานอน (Lebanese Pound) LBP โอมาน เรียลโอมาน (Omani Rial) OMR ปาเลสไตน์ เชคเกล (Israeli Shekel) ILS กาตาร์ ริยัลกาตาร์ (Qatari Riyal) QAR ซาอดุ ีอาระเบีย รยิ ัลซาอดุ ีอาระเบีย (Saudi Arabian Riyal) SAR ซีเรยี ปอนดซ์ ีเรีย (Syrian Pound) SYP สหรัฐอาหรบั เอมิเรตส์ ดแี รห์มสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ AED (Emirati Dirham) เยเมน เรียลเยเมน (Yemeni Rial) YER คาซคั สถาน เทงก้ี (Kazakhstani Tenge) KZT ครี ก์ ีซสถาน ซอมคีรก์ ีซสถาน (Kyrgyzstani Som) KGS ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ

16 ชื่อประเทศ ชอื่ สกุลเงนิ อกั ษรย่อสกุลเงนิ ทาจกิ สิ ถาน โซโมนี (Tajikistani Somoni) TJS เติร์กเมนสิ ถาน มานัตเติร์กเมนสิ ถาน (Turkmenistani TMT Manat) อุซเบกสิ ถาน ซอมอซุ เบกสิ ถาน(Uzbekistani Som) UZS อารเ์ มเนยี ดรัม (Armenian Dram) AMD อาเซอร์ไบจาน มานัตอาเซอรไ์ บจาน (Azerbaijani Manat) AZN จอร์เจยี ลารี (Georgian Lari) GEL ไทย บาท (Thai Baht) THB กมั พูชา เรยี ล (Cambodia Riel) KHR บรูไน ดอลลาร์บรไู น (Bruneian Dollar) BND อนิ โดนีเซีย รเู ปียห์ (Indonesian Rupiah) IDR ลาว กบี (Laotian Kip) LAK เมยี นมา จตั (Myanmar Kyat) MMK มาเลเซยี รงิ กิต (Malaysian Ringgit) MYR ฟิลิปปินส์ เปโซ (Philippine Peso) PHP ติมอร-์ เลสเต ดอลลารส์ หรัฐ (United States Dollar) USD สิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar) SGD เวียดนาม ดอง (Vietnames Dong) VND ไตห้ วนั ดอลลาร์ไตห้ วนั (Taiwan Dollar) TWD จนี หยวน (Chinese Yuan, Renminbi) CNY เกาหลีใต้ วอน (South Korean Won) KRW เกาหลเี หนือ วอน (North Korean Won) KPW มองโกเลยี ทกู รกุ (Mongolian Tugrik) MNT มาเก๊า ปาตากาส์ (Macau Pataca) MOP ฮอ่ งกง ดอลลาร์ฮอ่ งกง (Hong Kong Dollar) HKD ญี่ป่นุ เยน (Japanese Yen) JPY ซึง่ คา่ ของเงินในแต่ละสกุลจะไม่เท่ากัน จึงต้องมีการกาหนดอัตราแลกเปล่ียนข้ึน อตั ราแลกเปล่ียน หมายถงึ ราคาของเงินตราสกลุ หนงึ่ เม่ือเทยี บกบั เงนิ ตราอกี สกุลหนงึ่ เช่น 1 USD เท่ากับ 31 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 31 บาท แลกเป็นเงิน ดอลลาร์สหรัฐได้ 1 ดอลลารส์ หรัฐ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ

17 1 EUR เท่ากับ 42 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 42 บาท แลกเป็นเงินยูโรได้ 1 ยูโร อตั ราแลกเปลยี่ นไม่ไดค้ งที่แต่มีการเปล่ียนแปลงข้ึนลงอยู่เสมอในแต่ละช่วงเวลา ตามปัจจัยทีม่ ีผลกระทบ เช่น ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เศรษฐกจิ โลก ภาวะตลาดการเงิน การดูอัตราแลกเปล่ียนอยา่ งง่าย ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างเงินต่างประเทศและเงินบาท ที่ผู้ให้บริการ ซึ่งประกอบธุรกิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศไว้ (เงนิ บาทตอ่ 1 หน่วยสกลุ เงินตราต่างประเทศ) ประเทศ สกุลเงนิ อัตรารบั ซ้ือ อตั ราขาย สหรัฐอเมรกิ า USD 34.89 35.22 สหราชอาณาจักร GBP 49.84 50.69 ยโู รโซน EUR 39.25 39.96 ญ่ีปุ่น (ตอ่ 100 เยน) JPY 31.68 32.37 ฮ่องกง HKD 4.47 4.55 มาเลเซีย MYR 8.85 9.13 อัตรารับซ้อื คือ อตั ราทผ่ี ูใ้ หบ้ ริการเสนอซอ้ื เงนิ ตราตา่ งประเทศ อัตราขาย คือ อตั ราทีผ่ ู้ให้บริการเสนอขายเงินตราต่างประเทศ  หากต้องการนาเงินบาทไทยไปแลกเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ กล่าวคือ ต้องการ ซอื้ เงินดอลลาร์สหรัฐ เราต้องดูราคาท่อี ตั ราขาย จากตวั อย่างข้างต้น 1 USD = 35.22 บาท  หากตอ้ งการนาเงินดอลลารส์ หรัฐไปแลกเป็นเงินบาท กล่าวคือ ต้องการขาย เงินดอลลารส์ หรฐั เราต้องดูราคาทอี่ ัตรารับซอ้ื จากตัวอยา่ งข้างตน้ 1 USD = 34.89 บาท วิธกี ารคานวณอตั ราแลกเปลีย่ นเงนิ ตราตา่ งประเทศ ในกรณีท่ีต้องเดินทางไปต่างประเทศ เราอาจต้องแลกเปลี่ยนสกุลเงินเป็นของ ประเทศนนั้ ๆ ซึ่งสามารถคานวณอัตราแลกเปลยี่ นได้ ดังน้ี ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ

18 ตัวอย่างท่ี 1 หากต้องการเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD) สมมตุ ิวา่ อัตราแลกเปล่ียนขณะนั้นอยู่ที่ 1 USD = 30 บาท หากต้องการแลก 100 USD ต้องใช้เงนิ บาทไทยแลกเปน็ จานวนเทา่ ไร วิธคี านวณ 1 USD = 30 บาท 100 USD = [30 x 100] ÷ 1 = 3,000 บาท ดงั นนั้ ต้องใช้เงินบาทไทยจานวนเงิน 3,000 บาท จึงจะแลกได้ 100 USD ตวั อย่างท่ี 2 หากต้องการนาเงินดอลลาร์สหรัฐมาแลกเป็นเงินบาท สมมุติว่า อัตรา แลกเปล่ียนขณะน้ันอยู่ที่ 1 USD = 30 บาท หากต้องการแลก 1,500 บาท จะต้องใช้เงิน ดอลลาร์สหรัฐจานวนเงินเท่าไร วธิ ีคานวณ 30 บาท = 1 USD 1,500 บาท = [1 x 1,500] ÷ 30 = 50 USD ดงั นั้น ต้องใชเ้ งนิ ดอลลาร์สหรัฐจานวนเงิน 50 USD จึงจะแลกได้ 1,500 บาท ชอ่ งทางการแลกเปลย่ี นเงินตราตา่ งประเทศ การติดต่อขอแลกเปล่ียนเงินตราต่างประเทศสามารถติดต่อกับผู้ให้บริการ ซึ่ง ประกอบธุรกิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เช่น - นิติบุคคลรับอนุญาต (authorized financial institution) หมายถึง ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน ให้ยืม หรือโอนเงินตรา ตา่ งประเทศ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรอื่ งของเงิน

19 - บุคคลรับอนุญาต (authorized money changer) หมายถึง นิติบุคคล ท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจซ้ือและขายธนบัตรต่างประเทศ และรับซื้อเช็คเดินทาง เช่น ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม หรือบริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตรา ตา่ งประเทศ กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของเงนิ (ใหผ้ ู้เรยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 ท่ีสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้) ชดุ วชิ าการเงินเพ่อื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงนิ

20 เร่ืองท่ี 3 การฝากเงนิ และการประกันภยั การฝากเงิน เมื่อได้รับเงินจากแหล่งต่าง ๆ เช่น รายได้จากการประกอบอาชีพ สิ่งที่ควรทา คือแบ่งเงินบางส่วนไปเก็บออมเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลัง เกษียณหรือเลิกทางาน การมองหาสถานท่ีเก็บรักษาเงินจึงเป็นเร่ืองจาเป็น โดยแหล่งเก็บเงิน ที่นิยมกันคือการฝากเงินไว้กับธนาคาร ซึ่งนอกจากมีความปลอดภัยกว่าการเก็บเงินสดไว้กับตัว หรือไว้ที่บ้านแล้ว การฝากเงินไว้กับธนาคารยังทาให้ได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบ้ีย เงนิ ฝากดว้ ย อย่างไรก็ดี การจะได้รับดอกเบ้ียมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าเป็นบัญชีเงินฝาก ประเภทใด มีเง่ือนไขอย่างไร เราจึงจาเป็นต้องรู้จักบัญชีเงินฝากแต่ละประเภท เพื่อเลือกบัญชี ท่ีเหมาะสมและตรงกับความต้องการของเรามากท่ีสุด โดยปัจจุบันบัญชีเงินฝากท่ีรู้จักและ ใชก้ นั มาก เช่น บญั ชีเงินฝากออมทรพั ย์ บัญชเี งินฝากประจา ประเภทของบญั ชีเงนิ ฝาก 1. บญั ชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์ ลักษณะ  สามารถฝากหรือถอนเงนิ เมอื่ ไหร่กไ็ ด้  กาหนดจานวนเงนิ ฝากขั้นต่าไวไ้ มส่ ูงนัก เชน่ 100 - 1,000 บาท  จา่ ยดอกเบยี้ ปีละ 2 คร้งั ในเดอื นมถิ นุ ายนและธนั วาคมของทุกปี ประโยชน์  ถ้าดอกเบี้ยรับไม่เกิน 20,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี 15% ของดอกเบ้ีย ท่ีได้รับ (รวมรับจากทุกสถาบันการเงินใน 1 ปี) ถ้าเกิน 20,000 บาท ธนาคารจะหักภาษี ณ ที่จ่าย ไว้เลยจากบัญชเี งนิ ฝาก  มีบริการบัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิต สาหรับใช้ถอนหรือโอนเงินที่เครื่อง เอทีเอ็มได้สะดวก (บัตรเดบิตยังสามารถใช้ชาระค่าสินค้าและบริการได้ด้วย) แต่หากต้องการเปิด บญั ชีเพียงอย่างเดยี วกส็ ามารถทาได้โดยไมจ่ าเปน็ ตอ้ งทาบตั รใด ๆ ข้อจากดั ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ

21  อตั ราดอกเบ้ียคอ่ นข้างตา่  มีค่าธรรมเนียมกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคล่ือนไหวและมียอดเงินฝาก คงเหลอื น้อยกวา่ ทก่ี าหนด  กรณีทาบัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิตมักจะต้องเสียค่าทาบัตรและ คา่ ธรรมเนยี มรายปี บัญชีนเี้ หมาะกบั ใคร:  ผู้ท่ีใช้บรกิ ารรบั โอนเงินเดอื นหรอื คา่ จ้าง หรือคา่ สินคา้  ผูท้ เี่ บกิ ถอนบ่อยครงั้ หรือใชบ้ รกิ ารหกั บัญชีเพื่อชาระค่าใช้จ่ายรายเดือน เชน่ ค่าน้า ค่าไฟ ค่าบัตรเครดติ และค่าใช้จ่ายอนื่ ๆ  ผู้ท่ีต้องการออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เน่ืองจากถอนได้สะดวก (ถอนได้ หลายช่องทางและถอนเมือ่ ไหร่ก็ได้) นอกจากน้ี บางธนาคารมีบัญชีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ ซ่ึงให้อัตราดอกเบ้ีย ทส่ี ูงกว่าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ แต่จะมีเงื่อนไขที่เพิ่มข้ึนด้วย เช่น เงินฝากขั้นต่า 10,000 บาท ถอนได้ไม่เกิน 2 คร้ังต่อเดือน หากถอนตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไปในเดือนนั้นจะถูกคิด ค่าธรรมเนียมคร้ังละ 500 บาท ซ่ึงบัญชีในลักษณะน้ีเหมาะกับการออมเงินมากกว่าท่ีจะใช้เป็น บญั ชีเพอ่ื ชาระค่าใชจ้ ่าย คาแนะนา 1. ควรทารายการฝาก ถอน หรือโอนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพ่ือหลีกเลี่ยง การถูกคิดค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคล่ือนไหว และมียอดเงินฝากคงเหลือ น้อยกวา่ ที่กาหนด 2. ปรับสมุดบัญชีอย่างสม่าเสมอเพ่ือดูว่ามีเงินคงเหลือในบัญชีเพียงพอ สาหรับการหักบัญชีหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ที่กาหนดหรือไม่ เช่น ค่าใช้จ่ายที่จะถูกตัดออกจากบัญชี ยอดเงนิ ขั้นต่าท่ีธนาคารกาหนด เพ่ือไม่ให้พลาดการชาระเงินหรือมีเงินไม่พอท่ีจะชาระซ่ึงอาจทาให้ ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่มิ เตมิ 3. หากไม่มีความจาเป็นต้องใช้บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิตควรแจ้งยกเลิก บัตร หรือแจ้งเจ้าหนา้ ทว่ี ่าไม่ตอ้ งการทาบัตร จะชว่ ยประหยัดค่าธรรมเนียมท่ีไมจ่ าเป็นได้ 2. บัญชเี งินฝากประจา มหี ลายรปู แบบ เชน่ ชดุ วชิ าการเงนิ เพื่อชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงิน

22 2.1 บญั ชีเงนิ ฝากประจาทั่วไป ลักษณะ  มรี ะยะเวลาการฝากหลายแบบ เช่น 3 เดอื น 6 เดือน 12 เดอื น  สว่ นใหญจ่ ะกาหนดจานวนเงินฝากข้นั ต่าไวป้ ระมาณ 1,000 บาท  การจา่ ยดอกเบี้ย แล้วแต่เง่ือนไขธนาคาร เช่น บัญชี 3 เดือน 6 เดือน และ 12 เดือน จ่ายดอกเบ้ียเม่ือครบกาหนด บัญชี 24 เดือน และ 36 เดือน จ่ายดอกเบ้ียทุก 3 เดอื น โดยอาจจะนาดอกเบ้ียที่ได้มาฝากเข้าบัญชีเงินฝากประจา (ทบต้น) หรืออาจจะโอน ดอกเบ้ียเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซ่ึงธนาคารจะแจ้งให้ทราบ ตั้งแต่ตอนเปดิ บัญชกี ับธนาคาร  กรณีถอนก่อนครบกาหนด อาจไม่ได้รับดอกเบ้ีย หรือได้รับใน อัตราดอกเบ้ียเงินฝากออมทรัพย์ เช่น ธนาคารอาจกาหนดว่าหากเลือกฝากประจา 6 เดือน แต่ฝากยังไม่ถึง 3 เดือนแล้วต้องการถอนออกมา จะไม่ได้รับดอกเบ้ีย หรือถอนหลัง 3 เดือนไปแล้ว แต่ยังไม่ครบกาหนด 6 เดือน จะได้รับดอกเบ้ียในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ พร้อมท้ัง ถกู หกั ภาษี ณ ทจี่ ่าย นอกจากนี้ บางธนาคารมีรูปแบบการฝากประจาแบบพิเศษ เช่น ให้ เลือกระยะเวลาการฝากได้ตามที่สะดวก กาหนดระยะการฝากเป็นจานวนวัน (เช่น 99 วัน) หรือ จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากต้ังแต่วันแรกที่ผู้ฝากเปิดบัญชี โดยอาจมีเงื่อนไขที่กาหนดจานวนเงินฝาก ทค่ี อ่ นขา้ งสูง เชน่ 100,000 บาทข้ึนไป บญั ชนี ีเ้ หมาะกับใคร  ผูท้ ตี่ อ้ งการเก็บออมเพ่อื เพ่ิมรายได้จากดอกเบ้ีย  ผู้ที่มีเงินก้อนและไม่มีความจาเป็นท่ีจะใช้เงินท่ีออมไว้ในช่วง ระยะเวลาหน่งึ ชดุ วิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเรื่องของเงิน

23 2.2 บัญชีเงนิ ฝากประจาแบบปลอดภาษี ลักษณะ  เป็นบัญชีเงนิ ฝากประจาทีไ่ ด้รับยกเวน้ ภาษี แตเ่ ปดิ ได้เพยี งบญั ชีเดียว  ตามเกณฑส์ รรพากรไมไ่ ดม้ กี ารกาหนดจานวนเงินฝากขน้ั ตา่ ไว้ แต่มี เพดานฝากสูงสุดอยู่ที่ 25,000 บาทต่อเดือน และเมื่อรวมจานวนเงินที่ฝากทุกเดือนแล้วต้อง ไม่เกิน 600,000 บาท ซ่ึงต้องฝากต่อเน่ืองในจานวนท่ีเท่ากันทุก ๆ เดือน เดือนละ 1 ครั้ง เป็น เวลาไม่นอ้ ยกว่า 24 เดอื น  หากเงินฝากครบกาหนด บางธนาคารจะโอนเงินต้นและดอกเบี้ย เข้าบัญชีออมทรพั ย์หรอื บัญชกี ระแสรายวันตามท่ีลูกค้าแจ้งความประสงค์ไว้ตอนเปิดบัญชี หรือ บางกรณีหากลูกค้าไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารก็อาจเปล่ียนประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้ อัตโนมตั ิโดยมีเงือ่ นไขการฝากเงนิ และอัตราดอกเบ้ยี ตามประกาศของธนาคารทใ่ี ช้อยใู่ นขณะน้นั  ในระหว่างระยะเวลาการฝาก ขาดฝากได้ไม่เกิน 2 คร้ัง และยังคง ต้องฝากใหค้ รบตามวงเงนิ ทก่ี าหนด  กรณีถอนก่อนครบกาหนด ส่วนใหญ่มักกาหนดว่าหากฝากไม่ถึง 3 เดือน จะไม่ได้รับดอกเบ้ีย หากถอนหลังจาก 3 เดือนไปแล้วจะได้รับในอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก ออมทรพั ย์ พรอ้ มท้งั ถกู หกั ภาษี ณ ท่จี า่ ย  จ่ายดอกเบ้ียเม่ือครบกาหนดระยะเวลาการฝาก โดยท่ัวไปจะโอน ดอกเบ้ียไปยังบัญชเี งินฝากออมทรพั ยห์ รอื กระแสรายวัน ประโยชน์  ได้รับอตั ราดอกเบี้ยเงนิ ฝากสงู กวา่ บัญชีเงินฝากออมทรัพย์  ได้ฝึกวินยั การออม (ต้องนาเงนิ ไปฝากทกุ เดอื น เดอื นละเท่า ๆ กัน)  ดอกเบ้ียที่ได้รับไมต่ ้องเสียภาษี ข้อจากัด มีข้อจากัดและเงื่อนไขในการถอน เช่น หากมีการถอนก่อน ระยะเวลาที่กาหนดไวอ้ าจไมไ่ ด้รับดอกเบี้ย และไมไ่ ดร้ บั สทิ ธยิ กเวน้ การหักภาษี ณ ท่ีจ่าย 15% ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงนิ

24 บญั ชนี ้เี หมาะกับใคร  ผทู้ ต่ี อ้ งการสรา้ งวินยั การออม และเพมิ่ รายได้จากดอกเบยี้  ผู้ท่ีไม่มีความจาเป็นที่จะใช้เงินท่ีออมไว้ในช่วงระยะเวลาหน่ึง (อยา่ งน้อย 2 ป)ี คาแนะนา ผู้สนใจจะฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาทั้ง 2 ประเภทน้ี ควรศึกษา เง่ือนไขการฝากและถอนเงินให้เข้าใจ และต้องมั่นใจว่ายังไม่มีความจาเป็นต้องใช้เงินในระหว่าง ที่ฝากเงินไว้กับธนาคาร เพื่อป้องกันปัญหาการไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขและทาให้ไม่ได้รับดอกเบี้ย ตามทก่ี าหนด 3. บญั ชีเงนิ ฝากแบบข้ันบนั ได ลกั ษณะ  จานวนเงินฝากขั้นต่า ส่วนใหญ่มักจะสูงกว่าบัญชีเงินฝากประจาทั่วไป เชน่ ไม่น้อยกวา่ 5,000 บาท  กาหนดการจ่ายดอกเบ้ยี ขึ้นอยกู่ บั เงื่อนไขของธนาคาร เช่น จ่ายดอกเบี้ย ทุกเดือน โดยจะโอนดอกเบ้ียเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซ่ึงธนาคาร จะแจ้งให้ทราบตั้งแตต่ อนเปดิ บญั ชกี บั ธนาคาร  มกั จูงใจผู้ฝากด้วยการโฆษณาวา่ ใหอ้ ตั ราดอกเบี้ยสูงมาก แต่ในความจริง แล้วมักเป็นเพียงช่วงเวลาส้ัน ๆ (ส่วนใหญ่จะสูงมากเฉพาะเดือนสุดท้าย) และในแต่ละช่วงเวลา การฝากดอกเบย้ี จะคอ่ ย ๆ เพมิ่ สูงขนึ้ อาทิ เดอื นที่ 1 - 5 อตั ราดอกเบี้ย 1% เดอื นที่ 6 - 7 อัตราดอกเบย้ี 1.7% เดือนท่ี 8 - 9 อัตราดอกเบ้ยี 1.9% เดอื นที่ 10 อตั ราดอกเบีย้ 8% ดังนั้น ผู้สนใจฝากต้องมองหาอัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยต่อปีของทั้งโครงการ ที่ธนาคารต้องเขียนไว้ในใบโฆษณา หรือสอบถามจากเจ้าหน้าที่ธนาคารเพ่ิมเติมเพ่ือ ขอรายละเอียดที่ชดั เจน  หากเงินฝากครบกาหนด แล้วไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารมักจะเปล่ียน ประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้อัตโนมัติโดยมีเง่ือนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบี้ยตาม ประกาศของธนาคารท่ใี ช้อยู่ในขณะน้ัน ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงิน

25  ข้อกาหนดในเรื่องถอนก่อนครบกาหนดมีหลายรูปแบบ อาทิ อาจต้อง ปิดบัญชีเลย หรือต้องถอนทั้งจานวนของแต่ละยอดการฝาก เช่น ฝากครั้งแรก 10,000 บาท คร้ังที่ 2 ฝาก 20,000 บาท หากต้องการถอนเงินท่ีฝากไว้จะต้องถอนเงินท่ียอด 10,000 บาท หรอื 20,000 บาท เทา่ นนั้ ไม่สามารถถอนบางสว่ นได้  สาหรับเร่ืองดอกเบี้ย ผู้ฝากท่ีถอนก่อนครบกาหนดอาจได้ดอกเบ้ียตาม อัตราท่ีกาหนดไว้ในแต่ละช่วงระยะเวลาการฝาก หรืออาจไม่ได้ดอกเบี้ย หรือได้รับอัตรา ดอกเบย้ี เงินฝากออมทรัพย์ ขนึ้ อยู่กบั เง่ือนไขทธ่ี นาคารกาหนด ข้อจากัด  ให้อัตราดอกเบ้ียเงินฝากสูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์ แต่ส่วนใหญ่มักอยู่ ในรูปแบบของบัญชเี งินฝากประจาจึงจะถกู หักภาษี ณ ทจ่ี ่าย 15% ของดอกเบ้ยี ทไี่ ด้รบั  มีข้อจากัดและเงื่อนไขในการถอน เช่น กรณีการถอนก่อนครบกาหนด (อยา่ งทก่ี ลา่ วไปแล้ว) บญั ชนี เ้ี หมาะกับใคร  ผทู้ ีต่ อ้ งการเก็บออมเพื่อเพิม่ รายไดจ้ ากดอกเบี้ย  ผู้ที่มเี งินก้อนและไม่มีความจาเป็นท่ีจะใช้เงนิ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงนิ

26 ข้อแนะนาการเลอื กประเภทบญั ชีเงินฝาก เม่อื ไดป้ ระเภทบัญชีที่ต้องการแล้ว ให้หาข้อมูลบัญชีประเภทเดียวกันจากหลาย ๆ ธนาคาร เพื่อนามาเปรียบเทียบ ซ่ึงสามารถหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของธนาคารแต่ละแห่ง หรือ แผ่นพับหรือโฆษณาท่ีธนาคารเผยแพร่ อย่างไรก็ตาม ควรดูประกาศอัตราดอกเบ้ียเงินฝากของ ธนาคารประกอบด้วย เนื่องจากจะมีการระบุรายละเอียดและเงื่อนไขในการจ่ายดอกเบี้ยต่าง ๆ ในส่วนท้ายของประกาศ โดยข้อมลู ท่คี วรนามาเปรียบเทียบมดี ังนี้ 1. อัตราดอกเบี้ย ไม่ควรดูเฉพาะในใบโฆษณา แต่ควรดูจากประกาศอัตรา ดอกเบี้ยในเวบ็ ไซต์ของธนาคารท่เี ราสนใจจะนาเงินไปฝากดว้ ย เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่ครบถว้ น 2. ระยะเวลาการฝาก ต้องมนั่ ใจว่าสามารถฝากได้ตามระยะเวลาท่ีเป็นเงื่อนไข ของบญั ชนี ั้น 3. เงินฝากขั้นต่า และเงื่อนไขการฝาก เช่น ต้องฝากต่อเน่ืองทุกเดือนหรือไม่ และท่ีสาคัญควรดูความสามารถในการฝากของตนเองด้วย เพราะหากเป็นเงินฝากท่ีให้อัตรา ดอกเบ้ียสงู ก็มักจะกาหนดจานวนเงนิ ฝากข้นั ต่าไวส้ ูงเช่นกัน 4. วิธีการจ่ายดอกเบี้ย หากเป็นบัญชีออมทรัพย์ท่ัวไป ธนาคารจะนาดอกเบี้ย เข้าบัญชีเงินฝากไปสมทบกับเงินต้นให้ แต่หากเป็นบัญชีเงินฝากประจาบางประเภท ธนาคาร อาจจะโอนดอกเบ้ียเข้าบัญชีออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันตามที่ได้แจ้งให้ลูกค้าทราบตอน เปิดบัญชี ซึ่งการจ่ายดอกเบี้ยจะมีทั้งจ่ายเมื่อครบกาหนดระยะเวลาการฝาก หรือจ่ายดอกเบี้ย ทกุ 3 เดือน 5. เงอ่ื นไขเก่ียวกับภาษี ดอกเบี้ยจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% หรือไม่ เพราะ หากเสยี ภาษี อัตราดอกเบีย้ ที่จะได้รบั กจ็ ะน้อยกวา่ ทีธ่ นาคารประกาศไว้ 6. เง่ือนไขการใช้บริการ ฝาก ถอน โอน หรือเงื่อนไขกรณีการถอนก่อนครบ ระยะเวลา หรือการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เช่น กรณีบัญชีเงินฝากไม่เคล่ือนไหวหรือมียอดเงิน ในบญั ชีตา่ กวา่ ทีก่ าหนดจะถูกเรยี กเก็บค่าธรรมเนยี มรักษาบญั ชี หรือกรณีมีเง่ือนไขเร่ืองจานวน ครั้งการถอน เช่น ถอนได้เพียง 2 ครั้งต่อเดือน หากถอนตั้งแต่คร้ังท่ี 3 เป็นต้นไป จะเสีย คา่ ธรรมเนียมการถอนครง้ั ละ 500 บาท ชดุ วิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงิน

27 ดอกเบย้ี เงินฝาก ดอกเบี้ยเงนิ ฝาก หมายถงึ ผลตอบแทนท่ีผู้ฝากเงินจะได้รับจากการนาเงินไปฝาก ไว้กับสถาบนั การเงิน โดยท่ัวไปแต่ละสถาบันการเงินจะกาหนดเป็นอัตราดอกเบี้ยต่อปี เช่น 3% ต่อปี อย่างไรก็ดี แต่ละสถาบันการเงินจะมีการกาหนดอัตราดอกเบ้ียท่ีแตกต่างกันไป จึงควร ศึกษารายละเอียดอัตราดอกเบี้ยตลอดจนเง่ือนไขอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อหาข้อมูล และเปรียบเทียบ เพ่ือเลือกฝากเงินกับสถาบันการเงินท่ีให้อัตราดอกเบี้ยสูงภายใต้เง่ือนไขที่ผู้ฝากรับได้ เช่น ระยะเวลาการฝาก เงื่อนไขการเบิกถอน โดยสามารถดูรายละเอียดได้จากเว็บไซต์ของสถาบัน การเงนิ นน้ั ๆ หรอื จากประกาศอัตราดอกเบย้ี ทีจ่ ะตดิ ไว้ ณ ทท่ี าการของสถาบันการเงิน ตัวอย่างการคานวณดอกเบย้ี เงนิ ฝากออมทรัพย์ สารวยเปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ธนาคารมุ่งมั่น เม่ือวันที่ 1 ม.ค. 58 จานวน 10,000 บาท ได้รับดอกเบี้ยเงินฝากในอัตรา 3% ต่อปี โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยให้ในวันท่ี 30 มิ.ย. และ 31 ธ.ค. ของทุกปี ในวันที่ 30 มิ.ย. สารวยจะได้รับดอกเบ้ียเงินฝากเป็นจานวน เงินเทา่ ไร และมีเงินฝากในบัญชีรวมดอกเบ้ียเป็นเงินเท่าไร หากสารวยไม่ถอนเงินออกหรือฝาก เงนิ เพม่ิ สูตรคานวณดอกเบ้ียเงนิ ฝาก * จานวนวันใน 1 ปีข้ึนกับการกาหนดของสถาบันการเงิน ซ่ึงอาจเป็น 360 วัน 365 วัน หรือ 366 วันก็ได้ แต่ไม่ว่าจะ กาหนดจานวนวันเป็นเท่าใดก็ตาม สถาบันการเงินจะต้องใช้จานวนวันเดียวกันสาหรับการคานวณทั้งดอกเบี้ยจ่าย เช่น เงินฝาก และดอกเบ้ยี รบั เชน่ สินเชื่อ 1. เงินตน้ คือ ยอดเงนิ ที่นามาฝาก จากตวั อยา่ งนีค้ ือ 10,000 บาท 2. อัตราดอกเบย้ี ต่อปี ในตวั อย่างน้ีธนาคารกาหนดอัตราดอกเบ้ีย 3% ต่อปี ซ่ึง เงนิ ฝากออมทรพั ย์ไมต่ ้องเสียภาษี ณ ทจ่ี า่ ย 15% ดังนั้น จึงนามาคานวณในสตู รได้เลย (แต่หากเป็น ดอกเบย้ี เงนิ ฝากท่ีตอ้ งเสยี ภาษี ณ ที่จา่ ย เช่น เงินฝากประจา จะต้องนาดอกเบี้ยเงินฝากที่ได้รับ คูณด้วย 0.85 ก่อน (เพราะถูกหักภาษีไป 15%) เช่น 3 x 0.85 ก็จะได้อัตราดอกเบ้ียเงินฝาก หลงั หกั ภาษี) ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ

28 3. จานวนวันท่ีฝาก จะคานวณถึงวันก่อนวันท่ีจ่ายดอกเบ้ีย ดังนั้น หากธนาคาร จ่ายดอกเบย้ี 30 มิ.ย. 58 ก็จะเริ่มนับตง้ั แต่วันที่ 1 ม.ค. 58 ถึง 29 ม.ิ ย. 58 รวม 180 วัน คาตอบ ณ 30 มิ.ย. 58 สารวยจะไดร้ ับดอกเบี้ย 147.95 บาท และเม่ือรวมกับ เงนิ ต้นแล้วจะได้รับเงินท้ังส้ิน 10,147 บาท โดยประมาณ สลากออมทรัพย/์ สลากออมสิน เป็นทางเลือกการออมอย่างหนึ่งของผู้ท่ีชอบลุ้นรางวัล แม้จะให้ผลตอบแทน ไม่สูงนัก (หากไม่ถูกรางวัล) แต่จะได้เงินต้นคืนเต็มจานวนเมื่อครบกาหนด ซ่ึงแตกต่างจากการ ซ้ือหวย หรือสลากกินแบ่งรัฐบาล สถาบันการเงินท่ีออกสลากในปัจจุบัน3เป็นสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรฐั ลักษณะของสลากออมทรัพย/์ สลากออมสนิ คือ ขายเปน็ จานวนหน่วยและมีการ กาหนดอายุที่แน่นอน (เช่น อายุ 3 ปี หรอื 5 ป)ี และมักมีการจ่ายดอกเบ้ียเป็นผลตอบแทนหาก ถือจนครบตามเกณฑ์ท่ีผู้ออกสลากกาหนด ผู้ซื้อสลากสามารถลุ้นรางวัลได้ทุกงวดจนกว่าสลาก จะหมดอายุ แตก่ ็อาจมีสลากบางรุ่นซง่ึ หากถอนก่อนครบกาหนดอาจได้คืนเงินต้นน้อยกว่าที่จ่าย ไป หรือมีบริการพเิ ศษทสี่ ามารถใช้สลากค้าประกันการกเู้ งินไดด้ ว้ ย ท้ังนี้ เม่ือซื้อสลาก สถาบันการเงินท่ีออกสลากมักแนะนาให้เปิดบัญชีเงินฝาก ออมทรพั ยค์ ูก่ ันเพอื่ เป็นบญั ชเี งนิ ฝากสาหรับการรบั เงินหากถกู รางวลั 3 ขอ้ มูล ณ มถิ นุ ายน 2559 ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงิน

29 ข้อจากดั 1. เงินที่นามาซ้ือสลากออมทรัพย์ควรจะเป็นเงินเย็น หรือเป็นเงินที่ไม่ต้องการ ใช้ตลอดอายุของสลาก เพราะหากถอนสลากก่อนกาหนด อาจได้รับเงินคนื น้อยกว่าจานวนทซี่ อื้ 2. ควรศกึ ษาเง่อื นไขใหล้ ะเอียดก่อนซือ้ 3. เมอ่ื ได้สลากมาควรตรวจสอบความถูกต้องทกุ ครงั้ เช่น ช่ือ นามสกุล จานวน หน่วย จานวนเงินท่ซี อ้ื 4. ควรเกบ็ รกั ษาสลากใหด้ ี หากทาหายต้องไปแจ้งความ และติดต่อขอทาสลาก ใหมซ่ ่ึงจะมคี ่าธรรมเนยี มในการออกสลากใหมด่ ้วย 5. ควรพิจารณาและเปรียบเทียบผลตอบแทนของสลากแต่ละประเภท หรือ แตล่ ะรนุ่ กอ่ นตัดสนิ ใจซื้อ การคุ้มครองเงนิ ฝาก เป็นการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนท่ีฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งเป็น ระบบสากลท่ีประเทศต่าง ๆ นามาใช้มากกว่า 100 ประเทศ โดยการกาหนดวงเงินที่รับรองว่า ผฝู้ ากจะไดร้ ับคืนเปน็ จานวนทแี่ น่นอนภายในระยะเวลาท่ีกาหนดโดยเร็วหากสถาบันการเงิน ถกู ปิดกจิ การ สาหรบั เงนิ ฝากสว่ นที่เกินวงเงินดังกล่าว ผู้ฝากมีโอกาสได้รับเพิ่มเติมหลังจากการ ขายสนิ ทรัพย์และชาระบัญชีสถาบนั การเงนิ น้ันแลว้ การคุ้มครองเงนิ ฝากในประเทศไทย ในอดีตหากสถาบันการเงินถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะต้องไปดาเนินการฟ้องร้อง เพ่ือให้ได้รับเงินฝากคืนเอง ซ่ึงไม่มีความแน่นอนว่าจะได้รับเงินคืนหรือไม่ จะได้รับเงินคืนเมื่อใด และจานวนเท่าไร ดังน้ัน ภาครัฐจึงได้จัดให้มีระบบคุ้มครองเงินฝากข้ึน เพื่อช่วยเหลือประชาชน ผู้ฝากเงินใหไ้ ดร้ บั เงนิ ฝากคืนภายในเวลาทรี่ วดเร็วหากสถาบนั การเงนิ ถูกปิดกิจการ ซ่ึงการมีระบบ คุ้มครองเงินฝากจะไม่ก่อให้เกิดภาระกับภาครัฐ เนื่องจากมีการเรียกเก็บเงินนาส่งจากสถาบัน การเงินต่าง ๆ สะสมไว้ใช้ในการจ่ายคืนเงินให้กับประชาชนผู้ฝากเงิน ซ่ึงดาเนินการโดยสถาบัน คุ้มครองเงินฝาก (Deposit Protection Agency: DPA) สถาบนั คมุ้ ครองเงินฝาก เปน็ หนว่ ยงานของรัฐ จดั ตง้ั ขนึ้ เม่ือวันท่ี 11 สิงหาคม 2551 เพ่ือคุม้ ครองประชาชนผฝู้ ากเงิน โดยมีหนา้ ท่ีหลัก คือ ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงนิ

30 1. จ่ายเงินคืนผู้ฝากภายในวงเงินและระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด ในกรณีท่ี สถาบันการเงินท่ีอย่ภู ายใตก้ ารคมุ้ ครองถกู ปดิ กิจการ 2. ชาระบัญชีสถาบันการเงินท่ีถูกปิดกิจการ เพ่ือรวบรวมเงินจากการขาย สินทรัพย์มาชาระคืนให้แก่เจ้าหนี้ของสถาบันการเงินนั้น รวมถึงเงินฝากส่วนท่ีเกินวงเงิน คุ้มครองดว้ ย คุ้มครองอะไรบ้าง เงินบาทที่ฝากไว้กับสถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การคุ้มครอง (ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) แต่ไม่ครอบคลุมถึงเงินท่ีฝากไว้กับสถาบันการเงิน เฉพาะกจิ ของรฐั เนอื่ งจากมีกฎหมายเฉพาะจดั ตงั้ ข้นึ ท้ังนี้ สถาบนั การเงินท้ังหมดอยู่ภายใต้การ กากับดูแลของกระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจะกากับดูแลความม่ันคง อย่างใกลช้ ดิ และจะปอ้ งกนั หรอื แกไ้ ขปญั หาที่อาจเกิดข้ึนมใิ หต้ อ้ งปิดกจิ การโดยง่าย เงินฝากทไี่ ดร้ ับความคมุ้ ครอง เงินฝากท่ไี มไ่ ดร้ บั การคุ้มครอง เงินฝากออมทรัพย์  เงินฝากทเ่ี ป็นเงนิ ตราต่างประเทศ เงินฝากประจา  เงินฝากทีม่ ีอนพุ ันธ์แฝง เงินฝากกระแสรายวนั  เงินฝากระหว่างสถาบันการเงิน บตั รเงนิ ฝาก  เงินฝากในบญั ชีเงนิ บาทของผู้มีถิ่นทีอ่ ยนู่ อกประเทศ ใบรบั ฝากเงนิ เงินฝากใน “บัญชีร่วม” หรือ (เป็นประเภทบัญชีพเิ ศษท่ีเปดิ เพ่ือทารายการเฉพาะ “บัญชีเพอื่ ” ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการแลกเปลยี่ นเงิน)  เงินฝากในสหกรณ์ (เน่อื งจากสหกรณไ์ ม่ไดเ้ ป็น สถาบนั การเงินภายใต้กฎหมายค้มุ ครองเงินฝาก)  เงนิ ลงทุนอื่น ๆ เชน่ กองทุนรวม หุ้นกู้ ตั๋วแลกเงนิ พนั ธบัตรรัฐบาล สลากออมทรพั ย์ (เป็น ผลิตภัณฑอ์ ื่นทีม่ ใิ ช่เงนิ ฝากจึงไมไ่ ด้รบั การคุ้มครอง) ชดุ วชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงิน

31 จานวนเงินทีไ่ ดร้ บั การคุ้มครอง4 จานวนเงินฝากรวมดอกเบย้ี ที่จะได้รับการคุ้มครองตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด ดงั นี้ ระยะเวลา จานวนเงินฝากท่ีคุ้มครอง (ตอ่ รายผูฝ้ าก ตอ่ สถาบนั การเงนิ ) 11 ส.ค. 2558 – 10 ส.ค. 2559 11 ส.ค. 2559 – 10 ส.ค. 2561 ไม่เกิน 25 ลา้ นบาท 11 ส.ค. 2561 – 10 ส.ค. 2562 ไมเ่ กนิ 15 ล้านบาท 11 ส.ค. 2562 – 10 ส.ค. 2563 ไมเ่ กนิ 10 ล้านบาท 11 ส.ค. 2563 เป็นตน้ ไป ไม่เกนิ 5 ล้านบาท ไม่เกิน 1 ล้านบาท หมายเหตุ: เงนิ ฝากส่วนทเี่ กนิ ความคุ้มครอง จะได้รับคืนเพิ่มเติมหลังจากการชาระบัญชีสถาบัน การเงนิ ทปี่ ดิ กิจการ การประกนั ภยั ความหมายและประโยชน์ การทาประกันภัยเป็นการบริหารความเส่ียงภัยวิธีหน่ึง ซึ่งจะโอนความเส่ียงภัย ของผเู้ อาประกนั ภัยไปสู่บรษิ ทั ประกันภยั เม่ือเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายจากเหตุการณ์ ไม่คาดฝัน บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามท่ีได้รับความคุ้มครองในกรมธรรม์ ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องเสียเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัท ประกันภยั ตามท่ไี ด้ตกลงกนั ไว้ การประกันภัยจะช่วยสร้างความม่ันคงทางการเงินให้แก่ผู้เอาประกันภัยและ ครอบครัว กล่าวคือ หากเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อส่ิงท่ีเอาประกันจะไม่ส่งผล กระทบต่อฐานะการเงนิ ของผู้เอาประกนั นอกจากน้ี การทาประกนั ภัยยังช่วยให้ผู้เอาประกันภัย คลายความกังวลกับสิ่งที่เหนือการควบคุมหรือคาดเดาได้ยากว่าในอนาคตจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง เช่น การทาประกันชีวิต โดยหากผู้เอาประกันเกิดเสียชีวิตขึ้นมาในขณะที่ยังมีภาระดูแล ครอบครัว ผู้ที่อยู่ข้างหลังจะได้รับค่าสินไหมทดแทนในฐานะผู้รับประโยชน์ตามท่ีผู้เอาประกันภัย ได้ตกลงไวก้ บั บรษิ ทั ประกนั ภัย 4 ข้อมลู นีอ้ าจมีการปรบั เปลีย่ นในอนาคต ดงั น้ัน ควรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันคมุ้ ครองเงินฝาก โทร. 1158 เวบ็ ไซต์ www.dpa.or.th ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

32 หลักการพิจารณาความจาเปน็ ในการทาประกนั ภัย อย่างไรก็ตาม ไม่จาเป็นว่าทุกคนต้องทาประกันภัยเสมอไป หากตัวเราเอง สามารถรับความเส่ียงหรือมีแผนการรองรับที่ดีก็ไม่จาเป็นต้องทาประกันภัย โดยมีหลักในการ พจิ ารณาวา่ จาเปน็ ตอ้ งทาประกันภยั หรือไม่ดงั นี้ 1. ภาระรับผิดชอบที่มี หากเราเป็นเสาหลักทางการเงินของครอบครัว เช่น เป็นคนดูแลค่าใช้จ่ายของทุกคนในบ้าน หรือมีภาระหนี้ท่ีต้องรับผิดชอบ ถ้าเกิดปัญหากับเรา จนไม่สามารถดูแลครอบครัวได้ เช่น เจ็บป่วยหนัก เกิดอุบัติเหตุรุนแรงหรือเสียชีวิต จะสร้าง ภาระให้แก่คนที่อยู่เบ้ืองหลังมากน้อยแค่ไหน เรามีแผนการรองรับความเส่ียงท่ีจะเกิดขึ้นแล้ว หรือไม่ (ถ้าเรามีเงินเก็บมากพอ มีทรัพย์สินที่ปลอดภาระแล้ว การเสียชีวิตของเราไม่ทาให้ผู้ท่ี อยเู่ บ้ืองหลังเดือดรอ้ น ประกนั ภยั กอ็ าจไม่จาเปน็ สาหรับเรา) 2. โอกาสความเป็นไปได้ที่จะเกิดความเสี่ยงหรือประกอบอาชีพที่มีความเส่ียง เช่น ต้องอยู่ในเขตก่อสร้าง ผลิตสารเคมี หรือเดินทางบ่อย ย่อมมีความเส่ียงมากกว่าผู้ท่ีทางาน ในออฟฟิศ ในกรณีนกี้ ็ควรทาประกันภัย ในการประกันภัยจะมีบคุ คลท่เี ก่ยี วข้อง 3 ฝ่าย คือ  ผูร้ ับประกนั ภัย คอื บริษทั ทปี่ ระกอบธุรกิจประกันภยั  ผู้เอาประกันภัย คือ บุคคลที่ต้องการจะทาประกันภัยและมีหน้าท่ีจ่าย เบยี้ ประกนั ภยั ให้แกผ่ ู้รบั ประกันภัย  ผรู้ ับประโยชน์ คือ คนทจี่ ะไดร้ บั สินไหมทดแทนตามท่ีผู้เอาประกันภัยระบุไว้ โดยผ้เู อาประกนั ภัยกบั ผู้รับประโยชน์อาจเปน็ คนคนเดียวกนั ได้ ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

33 รปู แบบประกนั ภยั ก่อนซื้อประกันภัย ผู้เอาประกันภัยควรศึกษาทาความเข้าใจ เปรียบเทียบ รปู แบบ ความคุ้มครอง และเบ้ียประกันภัยของการประกันภัยก่อน เพ่ือให้ได้รับแบบประกันภัย ที่มีความเหมาะสม ตรงตามความต้องการมากท่ีสุด ซึ่งสามารถแบ่งประกันภัยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 1) ประกันชีวิต 2) ประกันวินาศภัย โดยแต่ละประเภทก็ยังมีรูปแบบการ ประกันภยั ที่จาแนกย่อยอกี ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 2 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงิน

34 1. ประกันชีวิต เป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัย (บริษัทประกันชีวิต) กับ ผู้เอาประกันภัย โดยเรียกสัญญาดังกล่าวว่ากรมธรรม์ประกันชีวิต ซ่ึงกาหนดให้ผู้เอาประกันภัย ต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันชีวิต หากผู้เอาประกันภัยเกิดเสียชีวิตขณะท่ี กรมธรรม์มีผลบังคับ (ยังอยู่ในระยะเวลาการคุ้มครอง) ภายใต้เง่ือนไขในกรมธรรม์ เช่น การ เสียชีวิตที่ไม่ใช่การฆ่าตัวตาย บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหนึ่งให้กับผู้รับผลประโยชน์ เรียกว่าเงินสนิ ไหม หากพิจารณาจากลักษณะความคุ้มครองและผลประโยชน์ สามารถแบ่ง แบบการประกันชีวิตได้หลายแบบ โดยหากแบ่งตามแบบการประกันชีวิตพื้นฐานจะมีอยู่ 4 แบบคอื 1) ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา (term insurance) เป็นการประกัน ชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอาประกันภัย เสียชีวิตในระยะเวลาเอาประกันภัย วัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองการเสียชีวิตก่อนวัยอันสมควร การประกันชีวิตแบบนี้ไม่มีส่วนของการออมทรัพย์ เบี้ยประกันภัยจึงต่ากว่าแบบ อนื่ ๆ และไม่มีเงินเหลอื คืนให้หากผเู้ อาประกันภยั มชี วี ิตอยูจ่ นครบกาหนดสญั ญา ตัวอย่างการประกันชีวิตแบบช่ัวระยะเวลา เช่น กรมธรรม์ประกันชีวิตแบบ คุ้มครองสินเช่ือเพื่อที่อยู่อาศัย จะให้ความคุ้มครองการเสียชีวิตของผู้กู้ยืมซึ่งได้แก่ผู้เอา ประกันภัยซึ่งเป็นผู้มีรายได้หลักของครอบครัว หากผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต สมาชิกใน ครอบครัวซึ่งเป็นผู้รับประโยชน์ จะได้รับความคุ้มครองเป็นเงินรายงวดเพ่ือนาไปผ่อนชาระ สินเช่อื ใหแ้ ก่สถาบนั การเงิน 2) ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ (whole life) เป็นการประกันชีวิต ที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต ในขณะท่ีกรมธรรม์มีผลบังคับ หรือหากผู้เอาประกันภัยมีอายุยืนยาวจนครบกาหนดสัญญา ผู้เอาประกันภัยจะได้รับจานวนเงินเอาประกันภัย (ระยะเวลาเอาประกันชีวิตแบบตลอดชีพ กาหนดให้ครบกาหนดสัญญาเมื่อผู้เอาประกันภัยมีอายุครบ 90 ปี ถึง 99 ปี) วัตถุประสงค์เพ่ือ คุ้มครองการเสียชีวิต เพื่อให้บุคคลที่อยู่ในความอุปการะของผู้เอาประกันภัยได้รับเงินทุน จานวนหน่ึงไว้สาหรับจุนเจือ หรือเป็นเงินทุนสาหรับการเจ็บป่วยครั้งสุดท้ายและค่าทาศพ เพอ่ื ไม่ให้ตกเปน็ ภาระของคนอ่ืน 3) ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ (endowment) เป็นการประกันชีวิตท่ี บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย เมื่อมีชีวิตอยู่ครบ ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงนิ

35 กาหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เม่ือผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตลง ภายในระยะเวลาเอาประกันภัย วัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองการเสียชีวิตและการออมทรัพย์ โดยในส่วนของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกันภัยได้รับเงินคืนในระหว่างสัญญาหรือเม่ือสัญญา ครบกาหนด 4) ประกันชีวิตแบบบานาญ (annuity) เป็นการประกันชีวิตที่บริษัท ประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหน่ึงเท่ากันอย่างสม่าเสมอให้แก่ผู้เอาประกันภัยทุกเดือน นับแต่ ผู้เอาประกันภัยเกษียณอายุ หรือมีอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็นต้นไป แล้วแต่เงื่อนไข ในกรมธรรม์ท่ีกาหนดไว้ สาหรับระยะเวลาการจ่ายเงินข้ึนอยู่กับความต้องการของผู้เอา ประกันภัย โดยบริษัทประกันชีวิตจะเก็บเบ้ียประกันภัยจนถึงอายุหนึ่งซึ่งช่วงระยะเวลาที่เก็บ เบี้ยประกันภัยจะอยู่ในช่วงที่ทางาน หรือช่วงก่อนเกษียณอายุ วัตถุประสงค์เพ่ือให้ความ คมุ้ ครองกรณีท่ีผูเ้ อาประกันภยั ทค่ี าดวา่ มอี ายยุ ืนยาว และต้องการให้มีเงินได้ประจาหลังจาก ทเ่ี กษียณอายุ เบย้ี ประกันชีวติ จะแตกต่างกันไปตามประเภทของประกันท่ีทา เช่น ถ้าเป็นประกันชีวิตแบบ สะสมทรัพย์ คา่ เบ้ียประกันภัยจะแพงกวา่ แบบอื่น ๆ นอกจากน้ี ข้อมูลของผู้เอาประกันภัย เช่น เพศ อายุ ก็มผี ลต่อการคานวณเบยี้ ประกนั ภัยด้วยเชน่ กนั 2. ประกันวินาศภัย เป็นการทาประกันภัยเพ่ือให้ความคุ้มครองต่อทรัพย์สิน เช่น ประกันอัคคีภัย ประกันภัยรถยนต์ หากทรพั ยส์ ินท่ีได้รบั การคมุ้ ครองเสียหาย บริษัทอาจจะ จ่ายเป็นตัวเงิน หรือซ่อมแซม หรือหาของมาทดแทน หรือทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิม ข้ึนอยู่กับ เงือ่ นไขทีไ่ ดต้ กลงหรอื กาหนดไว้ ประกันวินาศภัย มี 4 ประเภท ได้แก่ 1) การประกันอัคคีภัย (fire insurance) คือ การประกันภัยเพื่อคุ้มครอง ความเสียหายของทรัพย์สินที่เกิดจากไฟมาเผาผลาญ ซ่ึงเมื่อเกิดภัยขึ้นแล้วบริษัทประกันภัย ชดใช้ค่าเสียหายให้ ซึ่งภัยท่ีคุ้มครอง ได้แก่ ไฟไหม้ ฟ้าผ่า การระเบิดของแก๊สที่ใช้ในครัวเรือน และความสูญเสียหรือเสียหายจากสาเหตุใกล้ชิดของอัคคีภัย เช่น ทรัพย์สินที่เสียหายจากน้า หรอื สารเคมที ีใ่ ชใ้ นการดบั เพลงิ 2) การประกันภัยรถยนต์ (automobile insurance) คือ การประกัน เพ่ือคมุ้ ครองความเสียหายอันเกิดจากการใชร้ ถยนต์ ได้แก่ ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 2 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเรือ่ งของเงิน

36  ความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดแก่รถยนต์ ได้แก่ ความเสียหาย บุบสลาย หรือสญู หายของตวั รถยนต์  ความสูญเสียหรือเสียหายที่รถยนต์ก่อให้เกิดข้ึนแก่ชีวิต ร่างกาย และทรัพยส์ ินของบคุ คลภายนอก รวมทง้ั บคุ คลท่ีโดยสารอยใู่ นรถยนต์นั้นดว้ ย 3) การประกันภัยทางทะเล (marine insurance) คือ การประกันภัย ความเสยี หายของตัวเรอื สนิ ค้าและทรัพยส์ ินที่อยู่ระหว่างการขนส่งภายในประเทศและระหว่าง ประเทศ รวมทั้งพาหนะและสิ่งอ่ืน ๆ ท่ีใช้ในการขนส่งด้วย และยังขยายขอบเขตความคุ้มครอง รวมไปถงึ ภัยทางบกและความสูญเสียในขณะขนส่ง 4) การประกันภัยเบ็ดเตล็ด (miscellaneous insurance) คือ การ ประกันภัยท่ีให้ความคุ้มครองต่อความสูญเสียหรือความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยอ่ืน ๆ ท่ีอยู่ นอกเหนือจากการคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ ประกันภัยทางทะเล ประกัน อคั คภี ยั และประกนั ชีวิต เบีย้ ประกนั วนิ าศภยั ค่าเบี้ยประกันภัยก็จะแตกต่างกันตามระดับความเสี่ยงภัย ระยะเวลาท่ีคุ้มครอง และจานวนเงนิ เอาประกันภัย นอกจากน้ี ยงั มรี ายละเอยี ดเพิม่ เติม เชน่ - เบี้ยประกันอัคคีภัย จะพิจารณาปัจจัยจากสถานท่ีต้ังของสิ่งปลูกสร้าง ลักษณะของส่ิงปลูกสร้าง คานึงถึงความเส่ียงภัยที่จะเกิด เช่น อยู่ในพ้ืนที่ที่มีส่ิงปลูกสร้าง หนาแน่น การเข้าถึงไดข้ องรถดบั เพลงิ หรือส่ิงปลูกสร้างเป็นไมห้ รอื วสั ดุตดิ ไฟ - เบ้ียประกันภัยรถยนต์ ผู้รับประกันภัยจะพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย เช่น อายุ รุ่น ประเภทของรถยนต์ ขนาดของเครื่องยนต์ ประเภทกรมธรรม์ รวมถึงอายุ เพศ ของผูเ้ อาประกันภัยด้วย แบบประกนั ภยั ใกลต้ ัว 1. สัญญาเพมิ่ เติมกรมธรรม์ประกันชีวิต เป็นสัญญาประกันภัยชนิดหนึ่ง เวลา ทเ่ี ราทาประกันชีวิต เราสามารถเลอื กทาสญั ญาเพื่อรบั ความคุม้ ครองเพิม่ เติมได้อีก เช่น 1) คุ้มครองความทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง (สูญเสียสมรรถภาพในการ ทางานอันเกิดจากอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยหรือเชื้อโรคทาให้ไม่สามารถประกอบหน้าท่ีการงาน ได้แบบถาวร) เช่น สูญเสียสายตา มือหรือเท้าหรือท้ัง 2 ข้างหรืออย่างใดอย่างหน่ึงรวมกันต้ังแต่ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชีวติ 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

37 สองอย่างข้ึนไป สัญญาเพิ่มเติมน้ีมักจะเพ่ิมไว้ในกรมธรรม์ประกันชีวิตให้โดยอัตโนมัติ และ กาหนดผลประโยชนเ์ ทา่ กับจานวนเงนิ เอาประกันภยั 2) คุ้มครองโรคร้ายแรงและการเจ็บป่วยข้ันวิกฤต หากป่วยด้วยโรค ร้ายแรงหรือข้ันวิกฤต มักจะมีค่ารักษาพยาบาลเป็นจานวนสูง การทาประกันภัยเพื่อความ คุ้มครองกรณีดังกล่าวจะช่วยแบ่งเบาภาระค่ารักษาลงได้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหวั ใจขาดเลอื ด ไตวาย ซึง่ ผูร้ ับประกันภัยอาจทาเพม่ิ เปน็ อกี หน่ึงกรมธรรมไ์ ด้ 3) ประกันอุบัติเหตุ เป็นสัญญาที่ให้ความคุ้มครองกรณีท่ีผู้เอาประกันภัย ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ รวมถึงให้ผลประโยชน์ด้านค่ารักษาพยาบาลจากการ ได้รับอบุ ตั ิเหตดุ ้วย 4) ประกันสุขภาพ เป็นสัญญาเพ่ิมเติมที่ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการ คุ้มครองเม่ือต้องเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ซ่ึงในสัญญาจะระบุรายการผลประโยชน์ท่ีจะ ได้รับ และจานวนเงินที่ผู้รับประกันภัยจะจ่ายให้ เช่น ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล 1,000 บาทต่อวนั ค่าห้องผา่ ตัด 4,000 บาทตอ่ การเข้ารับการรักษา 1 ครั้ง 2. กรมธรรม์ประกันภัยสาหรับรายย่อยหรือไมโครอินชัวรันส์ (micro insurance) หมายถึง การประกันภัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย-ปานกลาง ซ่ึงมีลักษณะท่ีสาคัญ ดงั นี้ - เบย้ี ประกนั ภัยราคาไมแ่ พง - ความคมุ้ ครองไม่ซบั ซอ้ น เข้าใจงา่ ย - การขอรับเงินคา่ สนิ ไหมทดแทนไม่ยุ่งยาก - ช่องทางการจาหน่ายหลากหลาย เข้าถงึ ประชาชนทกุ กลุ่ม - สามารถเป็นเคร่ืองมือในการรองรับความเสี่ยงของประชาชนได้ โดยเฉพาะผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย กรมธรรม์ประกันภัย 200 สาหรับรายย่อย เป็นประกันภัยท่ีถูกออกแบบมาให้ เหมาะกับผู้มีรายได้น้อย มีขั้นตอนการซ้ือง่ายเพียงใช้บัตรประชาชนพร้อมชาระเบ้ียประกันภัย เพียง 200 บาท ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะได้รับใบรับรองการประกันภัย และได้รับความคุ้มครอง ทันทีเมื่อซ้ือ โดยแบบประกันภัยนี้มีระยะเวลาคุ้มครอง 1 ปี สามารถต่ออายุปีถัดไปได้ ให้ ความคุ้มครองกรณีเสียชีวิต การสูญเสียมือ เท้า สายตา หรือทุพพลภาพถาวรส้ินเชิงจาก อุบัติเหตุหรือถูกฆาตกรรม รวมถึงค่าใช้จ่ายในการจัดงานศพกรณีเสียชีวิตจากการเจ็บป่วย ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรื่องของเงิน

38 ผู้สนใจสามารถติดต่อซ้ือได้ตามช่องทางการจาหน่ายต่าง ๆ เช่น บริษัทประกันภัยและสาขา ตัวแทนประกนั ชวี ิต/ประกันวินาศภยั นายหน้าประกันชีวิต/ประกันวินาศภัย เคาน์เตอร์เซอร์วิส ในร้านเซเว่นอีเลฟเว่น โบรกเกอร์ประกันภัยในห้างเทสโก้ โลตัส ที่ทาการไปรษณีย์ โดยซื้อได้ คนละไมเ่ กนิ 2 กรมธรรม์ 3. ประกันภยั คมุ้ ครองผปู้ ระสบภัยจากรถ (ประกันภัย พ.ร.บ.) เป็นประกันภัย รถยนต์ภาคบังคับท่ีเจ้าของรถหรือผู้เช่าซ้ือรถต้องจัดทาประกันภัยรถยนต์ ตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง ผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 มีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชน ผู้ประสบภยั จากรถที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตเพราะเหตุประสบภัยจากรถ โดยจ่ายชดใช้เป็น คา่ รกั ษาพยาบาลกรณีบาดเจบ็ หรือเป็นคา่ ทาศพในกรณเี สยี ชีวิต อย่างไรก็ดี การทาประกันภัยรถยนต์ภาคบังคับหรือประกันภัย พ.ร.บ. น้ี จะ ไม่คมุ้ ครองความเสียหายทเี่ กิดข้นึ กับรถยนต์ ดังน้ัน ผู้ใช้รถจึงอาจเลือกทาประกันภัยรถยนต์ เพม่ิ เติมได้ ซง่ึ เรียกว่าประกนั ภัยรถยนต์ภาคสมคั รใจ ตัวอยา่ งทพี่ บเหน็ บ่อย ดงั น้ี 1) ประกันภัยรถยนต์ประเภท 1 (ประกันช้ัน 1) ให้ความคุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ความเสียหายของตัวรถ การสูญหายและไฟไหม้ ตวั รถยนตข์ องผู้เอาประกันภยั 2) ประกันภัยรถยนต์ประเภท 2 (ประกันช้ัน 2) ให้ความคุ้มครองชีวิต รา่ งกายและทรพั ยส์ ินของบคุ คลภายนอก การสูญหายและไฟไหม้ตวั รถยนตข์ องผู้เอาประกนั ภัย 3) ประกันภัยรถยนต์ประเภท 3 (ประกันชั้น 3) ให้ความคุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรพั ยส์ ินของบคุ คลภายนอก 4) ประกันภัยรถยนต์แบบคุ้มครองเฉพาะภัย (2+, 3+) ให้ความคุ้มครองชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินของบุคคลภายนอก ความเสียหายของตัวรถจากการชนกับยานพาหนะ ทางบก การสูญหายและไฟไหม้ตัวรถยนต์ของผู้เอาประกันภัย นอกจากนี้ ผู้เอาประกันภัย สามารถซอ้ื ความค้มุ ครองเพม่ิ เติมสาหรบั ผขู้ ับขี่และผ้โู ดยสารทอี่ ยู่ในรถยนต์คันเอาประกันภัยได้ โดยมีความคุ้มครองอุบัติเหตุส่วนบุคคล ความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาล และการประกันตัว ผู้ขบั ขี่ในคดีอาญา 4. ประกันอัคคีภัยสาหรับท่ีอยู่อาศัย ให้ความคุ้มครองการสูญเสียหรือเสียหาย ของทรัพย์สินท่ีเอาประกันภัย ได้แก่ สิ่งปลูกสร้าง (บ้าน ทาวน์เฮ้าส์ ตึกแถวสาหรับอยู่อาศัย ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 2 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

39 โรงรถ กาแพง รั้ว ประตู ห้องชุดสาหรับอยู่อาศัยในแฟลต คอนโดมิเนียม ยกเว้นฐานราก) และ ทรพั ย์สนิ ภายในสิ่งปลกู สร้าง ที่เกิดจาก 1) ไฟไหม้ ฟ้าผ่า (รวมถึงความเสียหายต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้าที่เกิดจาการ ลัดวงจรจากฟ้าผ่า) ระเบิด ภัยจากการเฉี่ยว และ/หรือการชนของยานพาหนะหรือสัตว์พาหนะ ภัยจากอากาศยาน และ/หรือวัตถุท่ีตกจากอากาศยาน ภัยเน่ืองจากน้าที่เกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ จากการปล่อยการรั่วหรือล้นออกมาของน้าหรือไอน้า จากท่อน้า ถังน้า ฯลฯ ทั้งน้ี บริษัทจะ ชดใช้ตามความเสียหายท่เี กดิ ข้นึ จรงิ แต่ไม่เกินจานวนเงนิ เอาประกันภัย 2) กลมุ่ ภยั ธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ภัยลมพายุ ภัยน้าท่วม ภยั แผ่นดินไหว หรือภูเขา ไฟระเบิด หรอื คลื่นใตน้ ้า หรือสึนามิ และภัยจากลูกเห็บ ท้ังนี้ บริษัทจะชดใช้ตามความเสียหาย ท่ีเกิดขึ้นจริง ทุกภยั รวมกันแล้วไม่เกิน 20,000 บาท 3) การขยายความคุ้มครองค่าเช่าที่อยู่อาศัยชั่วคราว กรณีทรัพย์สินที่ เอาประกันภยั เปน็ ส่ิงปลูกสรา้ งและไดร้ บั ความเสยี หายอันเนื่องจากภัยตามข้อ 1) ทั้งนี้ หากผู้รับประกันภัยพบว่าความเสียหายเกิดจากการทุจริตหรือความ ประมาทอย่างร้ายแรง หรือการกระทาโดยเจตนา ของผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ หรือ แสดงขอ้ ความ เอกสารอนั เปน็ เท็จเพือ่ ให้ไดม้ าซึง่ ผลประโยชน์ของการประกันภัยนี้ บริษัทมีสิทธิ ปฏเิ สธการชดใชค้ า่ สนิ ไหมทดแทนในความเสยี หาย โดยไม่ต้องคืนเบี้ยประกันภัย ข้อแนะนาในการตดั สินใจเลอื กประเภทประกันภัย เม่ือเรารู้จักผลิตภัณฑ์ประกันภัยแต่ละประเภทแล้ว ก็อาจทาให้เราอยากจะทา ประกนั ภยั ขึ้นมาบา้ ง และเพ่ือให้เราได้ประกนั ภยั ตามท่ีต้องการ โดยไม่เกินความสามารถในการ จ่ายเบยี้ ประกันภัย กอ่ นตัดสินใจทาประกนั ภยั เราควรพิจารณาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ดังน้ี 1. วัตถุประสงค์ของการทาประกันภัย เป็นส่ิงที่ต้องพิจารณาเป็นอันดับแรก ตอ้ งรกู้ ่อนว่า “เราต้องการทาประกนั ภัยเพื่ออะไร”เพ่ือเลือกไดต้ รงกับความต้องการ เชน่  ต้องการป้องกันความเสี่ยง ควรจะเลือกประกันภัยโดยดูท่ีการคุ้มครอง เป็นหลัก เช่น ถ้ากังวลว่าครอบครัวจะผ่อนบ้านต่อไม่ไหวหากเราซ่ึงเป็นผู้หารายได้หลักของ ครอบครวั เสยี ชวี ติ ไปก่อน ก็ควรเลือกทาประกันคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ ถ้ากังวลว่าจะไม่มีเงินซื้อ รถใหมถ่ ้ารถหาย กค็ วรเลือกทาประกันภยั รถยนตป์ ระเภท 1 ชดุ วิชาการเงินเพือ่ ชวี ิต 2 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงิน

40  ตอ้ งการทาประกนั ชีวติ และเน้นการออมเงนิ ควบคู่ไปดว้ ย อาจจะเลือก ทาประกันภัยแบบสะสมทรัพย์ หรือแบบบานาญที่จะจ่ายคืนเงินก้อนครั้งเดียว หรือทยอยคืน อย่างสมา่ เสมอหลงั เกษียณ  ต้องการทาประกันชีวิตเพื่อให้ลูกหลานไม่ลาบากในอนาคตหาก ตนเองเสียชีวิตกะทันหัน อาจเลือกทาประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา (term insurance) ซึ่งจะ ให้ความคุ้มครองชีวิตสูงในขณะที่จ่ายค่าเบ้ียประกันน้อย (หากเปรียบเทียบกับประกันภัยแบบ สะสมทรัพยใ์ นกรณีทจี่ ่ายคา่ เบีย้ ประกนั ภยั เท่ากัน) ถา้ ผเู้ อาประกันภัยเสียชีวิตในระยะเวลาที่ทา ประกันภัย แบบช่วั ระยะเวลาจะใหผ้ ลตอบแทนแกผ่ รู้ บั ประโยชนม์ ากกว่าแบบสะสมทรพั ย์ 2. การเลือกระยะเวลาทาประกันภัยให้ครอบคลุม ผู้ที่ทาประกันภัยโดยเลือก ระยะเวลาสั้น แต่เพิ่งคิดอยากจะทาต่อเม่ือส้ินสุดกรมธรรม์ มักต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยแพงกว่า การเลือกระยะเวลายาวตั้งแต่แรก เพราะความเส่ียงของตนเองจะสูงขึ้นตามอายุท่ีมากขึ้นใน กรณีประกันชีวิต หรือในกรณีประกันคุ้มครองวงเงินสินเช่ือหากประกันท่ีทาไม่ครอบคลุมกับ ระยะเวลาผ่อนหนี้ และต่อมามีเหตุเกิดขึ้นหลังจากท่ีประกันภัยหมดสัญญา ผู้ขอสินเช่ือหรือ ลกู หลานกต็ ้องเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบภาระหนน้ี น้ั เอง 3. ความสามารถในการจ่ายเบ้ียประกันภัย ควรพิจารณาด้วยว่ามี ความสามารถในการจ่ายเบ้ียประกันภัยหรือไม่ แม้ว่าต้องการทาประกันภัยให้ครอบคลุมความ เส่ียง แตห่ ากเกนิ กาลังในการจ่ายเบี้ยประกันภัย ก็อาจเลือกเงินเอาประกันภัยท่ีจานวนไม่สูงนัก เพื่อทอ่ี ย่างนอ้ ยจะไดช้ ว่ ยแบ่งเบาภาระบางส่วนหากเกดิ เหตุร้ายขึ้นจริง 4. การเปรียบเทียบข้อมูล ควรเปรียบเทียบรายละเอียดความคุ้มครอง ระยะเวลาการคุ้มครอง เบ้ียประกันภัยของบริษัทหลาย ๆ แห่ง เพื่อเลือกประกันภัยที่คุ้มค่า ในราคาท่ีเหมาะสม เม่ือได้รับกรมธรรม์ประกันภัย ควรอ่านสาระสาคัญของกรมธรรม์ประกันภัย และตรวจสอบความถูกตอ้ ง ได้แก่ 1. ชอ่ื - ทีอ่ ยู่ของผู้เอาประกันภัย ทตี่ ัง้ ของทรพั ย์สนิ 2. ระยะเวลาประกันภัย ไดแ้ ก่ วนั ทเี่ ร่มิ ตน้ จนถงึ วันทีส่ น้ิ สุด 3. ข้อมูลของส่ิงที่เอาประกันภัย เช่น กรณีประกันภัยรถยนต์ จะต้องมีข้อมูล ของชอ่ื รุ่น เลขทะเบยี นรถยนต์ ข้อมลู เลขตวั ถงั เลขเครื่อง ปี รุ่นท่ีผลิต จานวนทีน่ ง่ั 4. จานวนเงินเอาประกนั ภัย และรายละเอียดความคุม้ ครอง ชดุ วิชาการเงนิ เพือ่ ชวี ิต 2 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าด้วยเรือ่ งของเงนิ

41 5. เบย้ี ประกันภัยทตี่ อ้ งจา่ ย 6. ชอ่ื ผรู้ บั ประโยชน์ 7. เงื่อนไขท่ัวไป หรือข้อยกเว้นการคุ้มครอง ในส่วนน้ีควรทาความเข้าใจ รายละเอียดความคุ้มครองวา่ ตรงกบั ที่ตอ้ งการหรอื ไม่ กจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 3 การฝากเงิน และการประกันภยั (ให้ผเู้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 3 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้) ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 2 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงนิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook