Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564_รายงานการประเมินตนเอง SAR วข.สร.

2564_รายงานการประเมินตนเอง SAR วข.สร.

Published by banchongmcu_surin, 2022-07-13 06:31:48

Description: 2564_รายงานการประเมินตนเอง SAR วข.สร.

Search

Read the Text Version

ก คาํ นาํ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับวิทยาเขต ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ เลมนี้ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร จัดทําขึ้นเพื่อรับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยและของรัฐ ซ่ึงในป พ.ศ. ๒๕๕๗ มหาวิทยาลัยออกขอบังคับมหาวิทยาลัย วา ดว ยการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๗ กําหนดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ประกอบดวย (๑) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และ (๒) ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายนอก ครอบคลมุ พนั ธกิจทงั้ ๔ ดา นของมหาวิทยาลยั คือ การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การใหบริการ ทางวชิ าการ และการทาํ นบุ ํารุงพระพุทธศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม สอดคลอ งกับปรชั ญา ปณิธาน วิสัยทัศน ของมหาวิทยาลัย กรอบเวลาการดําเนินงานระหวางวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ถึง วันท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ และวิเคราะหประเมินผลการดําเนินงานดังกลาว โดยยึดตามคูมือประกันคุณภาพการศึกษา ภายใน ระดบั อดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ และคูม ือการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน (ตามตัวบงช้ีเพิ่มเติมตามมาตรฐานการอุดมศึกษา) พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงมีความ สอดคลองกับองคประกอบและตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพ่ือเสนอตอสวน งานตน สงั กดั อน่ึง คณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจําวิทยาเขตสุรินทร ขอขอบคุณผูบริหารทุก ระดับที่ใหขอเสนอแนะ ตอคณะทํางานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับวิทยาเขต ประจําป การศึกษา ๒๕๖๔ ไดจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับวิทยาเขต ตามความรับผิดชอบ องคประกอบและตัวบงช้ี รวมถึงคณาจารย เจาหนาท่ี ตลอดท้ังนิสิตปจจุบัน ศิษยเกาและผูใชบัณฑิต ที่มี สวนรวมในการใหขอมูลและขอเสนอแนะดานการดําเนินงานจากทุกสวนงาน ซ่ึงทําใหรายงานเลมน้ี สําเร็จ สมบรู ณด วยดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร หวังเปนอยางย่ิงวา รายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) ระดับวิทยาเขต ปการศึกษา ๒๕๖๔ เลมนี้ จะเปนขอมูลใหการตรวจประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในของคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน วิทยาเขตสุรินทร ดําเนินไปดวยดี บรรลุวัตถุประสงคของการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบและกลไกท่ี เหมาะสมและสอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของวิทยาเขตสุรินทร ท่ีไดปรับใหการดําเนินงานดานการ ประกนั คุณภาพเปนสวนหนึ่งของการบริหารงานภายในองคกรตามปกติ และไดทราบจุดแข็ง จุดท่ีควรพัฒนา เปน แนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นาการจดั การศกึ ษาใหม ีคุณภาพสบื ตอไป ( พระพรหมวชริ โมล,ี ดร. ) รองอธกิ ารบดีวิทยาเขตสรุ ินทร มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

สารบญั ข คาํ นาํ หนา สารบัญ ก บทสรปุ ผูบรหิ าร ข บทที่ ๑ บทนํา ค ๑ ๑.๑ ชื่อสว นงาน ทต่ี ั้ง ประวัติโดยยอ ๒ ๑.๒ ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ยั ทศั นแ ละพนั ธกจิ ๓ ๑.๓ เอกลกั ษณมหาวทิ ยาลยั อัตลักษณมหาวิทยาลัยและอัตลกั ษณบ ณั ฑิต ๔ ๑.๔ โครงสรา งองคกร และโครงสรางการบริหาร ๖ ๑.๕ รายชอ่ื ผบู รหิ าร กรรมการบริหาร และกรรมการสภาชดุ ปจ จบุ ัน ๗ ๑.๖ หลักสตู รและจาํ นวนนิสติ ๘ ๑.๗ บคุ ลากรและลูกจา ง ๙ ๑.๘ ขอมูลพ้ืนฐานโดยยอ เกีย่ วกับงบประมาณ และอาคารสถานท่ี ๑.๙ การปรับปรงุ ตามขอ เสนอแนะของผลการประเมินปการศึกษา ๒๕๖๒ ๑๑ บทท่ี ๒ ผลการประเมินตามตัวบงช้ี ๑๗ องคป ระกอบท่ี ๑ การผลติ บัณฑิต ๓๐ องคป ระกอบท่ี ๒ การวิจยั ๔๓ องคประกอบที่ ๓ การบริการทางวชิ าการ ๔๙ องคประกอบที่ ๔ การทํานุบํารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม ๕๕ องคประกอบท่ี ๕ การบรหิ ารจดั การ ๖๙ บทที่ ๓ สรุปผลการประเมนิ ๗๑ ๓.๑ ผลการประเมนิ ตนเองรายตวั บงช้ีตามองคประกอบคุณภาพ ๓.๒ ผลการประเมนิ ตนเองตามองคประกอบคุณภาพ ๗๓ ภาคผนวก คาํ สงั่ แตงตง้ั คณะทํางานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดับวิทยาเขต ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ค บทสรุปผบู รหิ าร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ไดตระหนักถึงความสําคัญของการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เปนอยางดี ถือวาเปนหัวใจสําคัญและเปนนโยบายหลักของมหาวิทยาลัย ในอันที่จะเปนกลไกขับเคลื่อนใหมหาวิทยาลัยกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนาและมี คุณภาพในทุกพันธกิจ เร่ิมตั้งแตการผลิตบัณฑิต การวิจัยและการพัฒนา การสงเสริมพระพุทธศาสนา การ บริการวิชาการแกส งั คม การทาํ นุบาํ รงุ ศิลปวัฒนธรรม และการบรหิ ารจดั การองคก ร การดาํ เนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ของมหาวทิ ยาลยั จะกา วไปถงึ จุดหมายที่มุงหวังได นั้น ผูบริหาร คณาจารย เจาหนาท่ี และบุคลากรทุกรูป/คน ตองตระหนักและสรางสัมมาทิฐิรวมกันวา คุณภาพ หมายถึงอะไร ทําไมตองมีระบบประกันคุณภาพ และการประกันคุณภาพ จะมีสวนชวยให มหาวทิ ยาลยั พัฒนาไปสคู วามเปนเลศิ ทางวชิ าการดา นพระพุทธศาสนาไดอยา งไร การจัดทํารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดับวิทยาเขต ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ เปน รายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ท่ีตองจัดทําเพื่อรายงานตอตนสังกัดอยางตอเนื่องทุกป การศึกษา เปนการรวบรวมขอมูลการประกันคุณภาพการศึกษา และเปนเครื่องมือในการสรางความเขาใจใน สวนงานท่ีจัดการศึกษาและสวนงานท่ีสนับสนุนการศึกษา มีความสอดคลองกับปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน วัตถปุ ระสงคแ ละนโยบายของมหาวิทยาลยั ๑. ผลการดาํ เนนิ งานตามพนั ธกจิ ๑.๑ ดา นการผลิตบณั ฑิต ปการศึกษา ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร มีการเปดการ เรียนการสอนระดับปริญญาตรี ๕ หลักสูตร ระดับปริญญาโท ๓ หลักสูตร และระดับปริญญาเอก ๑ หลักสูตร รวม ๙ หลักสูตร โดยมผี ลการประเมินคุณภาพระดับหลกั สตู ร ผา นองคป ระกอบที่ ๑ การกํากับมาตรฐาน ครบ ทุกหลักสูตร และมีผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม ไดคาเฉล่ียของคะแนนประเมินทุกหลักสูตร ๔.๐๘ คะแนน ๑.๒ ดา นการวิจัย ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดรับการพัฒนาดานการจัดทําผลงานทางวิชาการ มี บทความวจิ ยั หรอื บทความวชิ าการที่ตพี ิมพเ ผยแพร บรรลตุ ามเกณฑ สกอ. กําหนด ๑.๓ ดา นการบรกิ ารวิชาการแกสงั คม ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดจัดทําแผนบริการวิชาการ ท่ีสอดคลองกับความตองการ ของสังคม มโี ครงการบรกิ ารวิชาการแกสังคม ใหบ ริการแกห นว ยงานภาครัฐและเอกชน ซึง่ เปนโครงการเพื่อให ผูรับบริการนําความรูที่ไดรับไปพัฒนาตนเองและสังคม ตามแผนบริการวิชาการที่กําหนดไว ซึ่งโครงการ บริการวิชาการแกสังคมของวิทยาเขตสุรินทรท่ีสรางความเขมแข็งกอประโยชนเกิดคุณคาตอชุมชนและสังคม อยางโดดเดน ไดแก โครงการสงเสริมพระบัณฑิตปฏิบัติศาสนกิจชายแดนจังหวัดสุรินทร โครงการศูนย วปิ สสนากัมมฏั ฐานและการเผยแผ และโครงการสอนภาษาองั กฤษแกบ คุ ลากรและบุคคลท่ัวไป

ง ๑.๔ ดา นการทาํ นุบาํ รุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขตสุรินทร ดําเนินการในดานทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยบูรณาการเขากับพันธกิจ อื่นๆ โดยเฉพาะการผลิตบัณฑิต ดานกิจกรรมการพัฒนานิสิต รวมท้ังมีการจัดกิจกรรมอนุรักษ สืบสาน เผยแพรศิลปะและวัฒนธรรม สงเสริมภูมิปญญาทองถ่ิน และในปงบประมาณ ๒๕๖๔-๒๕๖๕ วิทยาเขต สุรินทร อนุมัติงบประมาณสนับสนุนและสงเสริมการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อ สนับสนุนการดําเนินงานโครงการ ไดแก โครงการชุมชนสัมพันธสามัคคีรวมสืบสานประเพณีลอยกระทง โครงการสืบสานประเพณีถวายเทยี นพรรษา และโครงการสืบสานประเพณกี ฐนิ สามัคคี ๑.๕ ดานการบริหารจัดการ วิทยาเขตสุรินทร มีการดําเนินงานดานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบและกลไกที่ เหมาะสม สอดคลองกับพันธกิจและพัฒนาการของวิทยาเขต ที่ไดปรับใหการดําเนินงานดานการประกัน คุณภาพเปนสวนหนึ่งของการบริหารงานวิทยาเขตตามปกติ ที่ประกอบดวย การควบคุมคุณภาพ การ ตรวจสอบคุณภาพและการประเมินคณุ ภาพ ๒. ผลการประเมนิ ตนเอง ผลการประเมนิ ตนเองของมหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ตามตัวบง ชี้ สกอ. และตวั บง ช้เี พ่ิมเติมของมหาวทิ ยาลัย จํานวน ๕ องคประกอบ ๒๐ ตัวบง ชี้ แยกเปน ๑) ตัวบง ชี้ของ สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) จาํ วน ๑๓ ตัวบง ชี้ และ ๒) ตวั บง ชเ้ี พ่ิมเติมของมหาวทิ ยาลยั ตามมาตรฐานการอดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จาํ นวน ๗ ตวั บงช้ี มผี ลการประมนิ เฉลยี่ รวมทุกตวั บงชี้ คะแนน การดาํ เนนิ งานระดบั ดี ๓. ขอเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา ๓.๑ การจัดกิจกรรมและการจัดบริการแกนิสิตระดับปริญญาตรี ควรนําผลการประเมินมาปรับปรุง พัฒนาการใหบริการและการใหขอมูลนิสิต เสนอตอคณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ พิจารณา ให ขอ เสนอแนะ เพ่อื นาํ ขอเสนอแนะไปปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดกจิ กรรมและการจัดบรกิ ารแกน สิ ิตระดับปริญญาตรื ในปการศึกษาถดั ไป ๓.๒ ควรดําเนินการขอเปดหลักสูตรไมมีปริญญา (non degree) ท่ีเปนหลักสูตรบูรณาการระหวาง ศาสตร หรือหลักสูตร ๒ ปริญญา หรอื หลักสูตรขา มสถาบัน เสนอตอสภามหาวทิ ยาลัย ๓.๓ ควรมีการจัดต้ังกองทุนวิจัยหรืองานสรางสรรคของวิทยาเขตสุรินทร โดยใหการสนับสนุนทุน วิจัยแกคณาจารยประจําหลักสูตร พรอมกับมีระบบและกลไกในการขับเคลื่อนกองทุนวิจัยใหเปนไปอยาง ตอเน่ืองและเปนการสงเสริมสนับสนุนใหอาจารยประจําวิทยาเขตสุรินทรไดรับทุนวิจัย และมีผลงานวิจัยหรือ งานสรางสรรคท่ีเพียงพอตอสัดสวนของจํานวนคณาจารยทั้งหมดและเปนไปตามเกณฑมาตรฐานในป การศึกษาถัดไป ๓.๔ ควรมีการสํารวจความตองการของชมุ ชน และกําหนดชมุ ชนเปาหมายที่ชดั เจน แลวมาจัดทําแผน บริการวิชาการแกสังคม ระยะ ๕ ป ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาวิทยาเขตสุรินทร โดยมีผูนําชุมชน องคกร

จ นิสิต และหลักสูตร เปนผูมีสวนรวมในการจัดทําแผนบริการวิชาการ ระยะ ๕ ป เพื่อมุงเนนใหเกิดผลลัพธที่ สรางประโยชนแกชุมชนทองถิ่นและสังคม ตามจุดเนน อัตลักษณและความไดเปรียบเชิงพื้นท่ีของวิทยาเขต สุรนิ ทร โดยประสานความรวมมือกับเครือขายสถาบันอุดมศึกษา องคกรภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและ ตางประเทศ ๓.๕ ควรวเิ คราะหโครงการท่ีไดรับงบประมาณประจําป และคัดเลือกบรรจุไวในแผนทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานโครงการใหบรรลุตามเปาหมาย และวัตถุประสงคของโครงการ โดยใชเ ครือขายที่จัดทาํ บนั ทึกขอตกลงความรวมมือไวในวิทยาเขตสุรนิ ทร ๓.๖ ควรพัฒนาฐานขอมูลสารสนเทศของวิทยาเขตสุรินทร เช่ือมโยงใหครอบคลุมทุกระบบที่จําเปน ตอ การบรหิ ารจดั การองคกร ๓.๗ ควรสรางระบบและกลไก การกํากับ ติดตาม ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําป แผนพัฒนาคุณภาพ แผนบริการวิชาการและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการ และสายสนบั สนุน ท่ีสะทอนใหเ ห็นผลลัพธตามตวั ชีว้ ัดของแผนพฒั นาวทิ ยาเขต ระยะ ๕ ป ๓.๘ ควรจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MoU) ทั้งในประเทศ และตางประเทศ เสนออนุมัติจาก สภาวชิ าการ หรือสภามหาวทิ ยาลัย

บทท่ี ๑ บทนาํ ๑.๑ ช่ือสวนงาน ทตี่ ้งั และประวัติโดยยอ ชอ่ื สวนงาน ท่ตี งั้ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสุรินทร ๓๐๕ หมูท่ี ๘ บา นโคกกระเพอ (หว ยเสนง) ตาํ บลนอกเมอื ง อําเภอเมืองสุรนิ ทร จังหวัดสุรินทร รหัสไปรษณยี  ๓๒๐๐๐ โทรศพั ท ๐๔๔ – ๑๔๒๑๐๗ ประวัตคิ วามเปน มาโดยยอ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร เปนสวนงานระดับวิทยาเขต ซ่ึงไดรับ การอนุมัติใหจัดต้ังข้ึนเปนลําดับที่ ๘ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซ่ึงไดรับการสถาปนาข้ึน โดยพระบาทสมเด็จพระปริมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๕ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ ปจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร มีสถานภาพเปนมหาวิทยาลัยสงฆแหง คณะสงฆไทย และเปนมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ โดยตั้งอยูบนพื้นท่ี จํานวน ๑๐๐ ไร หมูที่ ๘ (หวยเสนง) ตําบลนอกเมอื ง อําเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ ินทร ๓๒๐๐๐ โดยมีประวตั ิการกอตง้ั และพฒั นาการ ดังน้ี แนวคิดท่ีจะต้ังมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ไดเริ่มมาต้ังแตป พทุ ธศักราช ๒๕๒๙ โดยพระราชสิทธิโกศล เจาคณะจังหวัดสุรินทร และพระศรีธีรพงศ ฝายจัดการศึกษาของ คณะสงฆจังหวัดสุรินทร มีแนวคิดที่จะขยายการศึกษาของคณะสงฆจังหวัดสุรินทรใหครบวงจรขึ้น ทั้งน้ีไดรับ ความเห็นชอบและความสนับสนนุ จาก นายเสนอ มูลศาสตร ผวู า ราชการจงั หวัดสุรนิ ทร พระราชสิทธิโกศล เจาคณะจังหวัดสุรินทร จึงมีหนังสือนิมนตเจาคณะพระสังฆาธิการของจังหวัด สุรินทรมารวมประชุมปรึกษาหารือท่ีอุโบสถวัดกลางสุรินทร เมื่อเดือนพฤศจิกายน ๒๕๒๙ ที่ประชุมมีมติเปน เอกฉันทใหจัดตั้ง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ข้ึน ในปพุทธศักราช ๒๕๓๐ แตทางคณะสงฆจ ังหวัดสรุ นิ ทร ไมสามารถดาํ เนินการไดทนั ที เนือ่ งจากขาดบุคลากรผูจะดําเนนิ การ ปพุทธศักราช ๒๕๓๑ คณะสงฆจังหวัดสุรินทรพรอมทั้งขาราชการ คณาจารย พอคาและประชาชน ไดพรอมใจกันประชุมอีกคร้ังหน่ึง ที่วัดกลางสุรินทร โดยมีพระราชสิทธิโกศล เจาคณะจังหวัดสุรินทร เปน ประธานฝายสงฆ และนายเถกิง เจริญศรี ผูวาราชการจังหวัดสุรินทร เปนประธานฝายฆราวาส ที่ประชุมไดมี มติใหดําเนินการขออนุญาตจัดต้ังมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ขึ้น โดยใช อาคารสถานที่ของวัดศาลาลอย อําเภอเมืองสุรินทร เปนสํานักงานและอาคารเรียนชั่วคราว ท่ีประชุมได มอบหมายให พระศรีธีรพงศ รองเจาคณะจังหวัดสุรินทรฝายจัดการศึกษา (ปจจุบัน พระธรรมโมลี,ดร. รอง อธิการบดีวิทยาเขตสุรินทร) และพระมหาประจักษ จกฺกธมฺโม พุทธศาสตรบัณฑิต (ปจจุบัน พระครูปริยัติวิ สุทธิคุณ,รศ.ดร.) พระจรยิ นเิ ทศกประจาํ จังหวดั สุรนิ ทร เปนผูแ ทนคณะสงฆจ ังหวดั สรุ ินทร เปนผูดําเนินการขอ อนุมตั ิจัดต้งั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ตอมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั

๒ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ไดประชุมสภามหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๒/๒๕๓๑ เมอ่ื วันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๓๑ มีมตเิ ปนเอกฉันทใ หจดั ตั้ง วิทยาเขตสุรินทร ขึ้นใน “คณะสังคมศาสตร” โดยมชี ่ือเต็ม วา “มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชปู ถัมภ วิทยาเขตสุรินทร” มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ วิทยาเขตสุรินทร ไดทําการปฐมนิเทศเปด การศึกษารุนแรก เม่ือวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๑ มีพระภิกษุสามเณรสมัครเปนนิสิตรุนแรกจํานวน ๔๙ รูป และไดประกอบพิธีเปดปาย ณ อาคารเรียนโรงเรียนปริยัติธรรม วัดศาลาลอย เมืองสุรินทร เมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๔๑ โดยมีสมเด็จพระพุฒาจารย ปฏิบัติหนาท่ีสมเด็จพระสังฆราช เปนประธานฝายสงฆ และนาย พิศาล มูลศาสตรสาทร ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปนประธานฝายฆราวาส โดยมีเจาคณะจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือท้ัง ๑๗ จังหวัด ผูวาราชการจังหวัดทั้ง ๑๗ จังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระ สังฆาธกิ าร ขาราชการ พอคา และประชาชนรวมในพิธีเปน จํานวนมาก ในปพ ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดรับพระราชบัญญัติรับรอง สถานภาพความเปนนิติบุคคลของมหาวิทยาลัย และมีพระราชบัญญัติของมหาวิทยาลัย เรียกช่ือวา พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ โดยพระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย เม่ือวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๔๐ และประกาศในพระราช กจิ จานเุ บกษา ฉบบั กฤษฎีกา เลม ที่ ๑๑๔ ตอนท่ี ๕๑ ก ลงวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๔๐ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ วิทยาเขตสุรินทร จึงไดชื่ออยางเปนทางการวา “มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสุรนิ ทร” ปพุทธศักราช ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ไดยายมา ดําเนินการยังสถานที่ต้ังถาวรบนเน้ือท่ี ๑๐๐ ไร ณ บานโคกพระเพอ หมูที่ ๘ (หวยเสนง) ตําบลนอกเมือง อาํ เภอเมือง จงั หวดั สรุ ินทร ปพุทธศักราช ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ไดขยายการจัด การศึกษาไปท่ีจังหวัดบุรีรัมย โดยจัดตั้งเปนหองเรียนมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต สุรนิ ทร หอ งเรยี นวดั พระพุทธบาทเขากระโดง จังหวัดบรุ ีรมั ย เปด สอนสาขาวชิ าพระพุทธศาสนา ๑.๒ ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ยั ทัศนและพันธกิจ ปรชั ญา : จดั การศกึ ษาพระพุทธศาสนา บรู ณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสงั คม เชอื่ มโยงการเรียนรใู นภมู ิภาคและประเทศเพ่อื นบาน ปณธิ าน : ศึกษาพระไตรปฎกและวิชาช้นั สงู สําหรบั พระภกิ ษุสามเณรและคฤหสั ถ สุภาษิต : ปญฺ า โลกสฺมิ ปชฺโชโต แปลวา ปญญาเปน แสงสวางในโลก (สํ.ส. ๑๕/๘/๕๑ (บาล)ี , ส.ํ ส. ๑๕/๘๐/๘๕ (ไทย) ฉบบั มหาจฬุ าฯ) วิสัยทศั น : ศูนยก ลางการศกึ ษาพระพุทธศาสนา ท่ีสรางคนดีและเกงอยางมีสมรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจัยดี อยางมคี ุณภาพ บริการวชิ าการดีอยา งมสี ขุ ภาพ บรหิ ารดอี ยา งมปี ระสิทธิภาพ ท้ังในระดับภูมิภาคและประเทศ เพอื่ นบาน

๓ พนั ธกิจ : มหาวิทยาลยั เปน สถาบันการศึกษาระดับอดุ มศกึ ษา มฐี านะเปนนิติบุคคล และมีวัตถุประสงคให การศึกษาวิชาการดานพระพุทธสาสนา สงเสริมการคนควาวิจัย ใหการบริการแกสังคม สงเสริม พระพทุ ธศาศาสนา ทํานบุ ํารุงศลิ ปวฒั นธรรมและอนุรกั ษส ่งิ แวดลอม จึงกาํ หนดพนั ธกิจไว ๔ ดา น ดงั น้ี ๑) ดานการผลติ บณั ฑิต มุงเนนการสรางบัณฑิตใหมีภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปญญา มีทักษะ ความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะการวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการส่ือสารและ การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือใหสามารถปฏบิ ตั งิ านไดท กุ แหงทัว่ โลก ๒) ดา นการวิจยั มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหก าวไปสคู วามเปน เลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพ่ือ สรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและส่ิงแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้งการสรางเครือขา ยกับสถาบนั ทมี่ ีช่ือเสยี งในประเทศและตา งประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให นาํ ไปสคู วามเปนสากล ๓) มุงเนนการใหบริการทางวิชาการในรูปแบบท่ีหลากหลาย มีการบริหารเพ่ือพัฒนา พระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน มีความมุงม่ันในการใหบริการวิชาการ ทางพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมท้ังสงเสริมการเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวาง พทุ ธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ ๔) ดานทาํ นุบํารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม มุงสงเสริมการศึกษาผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดาน พระพทุ ธศาสนา โดยการทาํ นบุ ํารุงศิลปวฒั นธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยางมีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตางทางวัฒนธรรมและการอยูรวมกันในประชาคมโลกอยางมีเอกลักษณและ ศักดิศ์ รี เพื่อการสรา งสรางวัฒนธรรมและคา นิยมทีพ่ งึ ประสงคใ หเกิดขึน้ บุคคล องคกรและสงั คม ๑.๓ เอกลกั ษณ อตั ลักษณมหาวิทยาลยั และอตั ลักษณบัณฑิต ๑.๓.๑ เอกลักษณม หาวิทยาลัย : บริการวชิ าการดานพระพทุ ธศาสนา ๑.๓.๒ อตั ลกั ษณม หาวิทยาลัย : ประยกุ ตพระพุทธศาสนาเพอ่ื พฒั นาจติ ใจและสังคม ๑.๓.๓ อัตลักษณบ ณั ฑติ : มีศรทั ธาอทุ ศิ ตนเพ่ือพระพุทธศาสนา

๔ ๑.๔ โครงสรา งองคการ และโครงสรางการบริหาร ๑) โครงสรางองคกร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสุรินทร ดังแสดงใน ภาพที่ ๑ ๒) โครงสรางการบรหิ ารงาน มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร ดัง แสดงในภาพ ที่ ๒

๕ ๑.๕ รายชอื่ ผูบริหาร กรรมการบรหิ าร และกรรมการชดุ ปจจบุ นั ๑.๕.๑ รายชื่อผูบริหารวทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๑) พระพรหมวชริ โมลี, ดร. รองอธิการบดี ๒) พระครูศรสี ุนทรสรกิจ, ผศ.ดร. ผูช ว ยอธกิ ารบดฝี า ยบริหาร ๓) พระราชวมิ ลโมลี, ผศ.ดร. ผูชว ยอธกิ ารบดีฝายวชิ าการ ๔) รศ.ดร.ทวีศักด์ิ ทองทิพย ผชู ว ยอธิการบดฝี ายกจิ การท่วั ไป ๕) พระปลดั วัชระ วชิรญาโณ, ผศ.ดร. ผูอํานวยการสํานักวิชาการวิทยาเขตสุรนิ ทร ๖) พระครวู ริ ยิ ปญญาภวิ ฒั น, ผศ.ดร. ผูอํานวยการวทิ ยาลยั สงฆสรุ ินทร ๗) นายพลนภัส แสงศรี ผอู าํ นวยการสํานักงานวทิ ยาเขตสรุ ินทร ๘) นางสาวฐิติรัตน ดาทอง รองผูอํานวยการสํานกั งานวทิ ยาเขตสุรนิ ทร ๙) พระครูปลดั สุวฒั นอดุ มคุณ ผอู ํานวยการสาํ นักงานวทิ ยาลัยสงฆส ุรนิ ทร ๑๐) นายไชยรัตน ปญ ญาเอก ผอู าํ นวยการสวนสนับสนนุ วิชาการ ๑๑) นายอิทธพิ ล จาํ นงรกั ษ ผอู าํ นวยการสว นงานบริหาร ๑๒) นางสาวศริ ลิ กั ษณ เติมกลา ผอู ํานวยการสว นคลงั และทรัพยส นิ ๑.๕.๒ รายชือ่ คณะอนกุ รรมการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประจาํ วิทยาเขตสรุ ินทร ๑) รองอธิการบดีวิทยาเขตสรุ ินทร ประธานกรรมการ ๒) ผูชวยอธกิ ารบดีฝายวิชาการ รองประธานกรรมการ ๓) ผูชวยอธกิ ารบดฝี ายบริหาร รองประธานกรรมการ ๔) ผชู ว ยอธกิ ารบดีฝายกิจการทัว่ ไป อนกุ รรมการ ๕) ผูอ าํ นวยการวิทยาลยั สงฆสุรินทร อนกุ รรมการ ๖) ผอู ํานวยการสํานกั งานวิทยาเขตสรุ นิ ทร อนกุ รรมการ ๗) รองผอู ํานวยการสาํ นกั งานวทิ ยาเขตสุรินทร อนุกรรมการ ๘) ผอู าํ นวยการสาํ นกั งานวิทยาลัยสงฆส ุรินทร อนกุ รรมการ ๙) ผอู ํานวยการสวนงานบรหิ ารวทิ ยาเขตสุรนิ ทร อนกุ รรมการ ๑๐) ผอู าํ นวยการสวนคลงั และทรัพยสนิ อนุกรรมการ ๑๑) ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนู ศรที อง อนกุ รรมการ ๑๒) ผชู วยศาสตราจารย บรรจง โสดาดี อนุกรรมการ ๑๓) ผูชว ยศาสตราจารย ทนนท รัตนรวมการ อนุกรรมการผูทรงคุณวฒุ ิ ๑๔) นางศรอี ุบล อนิ ทรแปน อนกุ รรมการผทู รงคณุ วุฒิ ๑๕. นายพทิ ักษ แสนกลา อนุกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ ๑๖) ผูอาํ นวยการสํานักวิชาการวิทยาเขตสุรินทร อนกุ รรมการและเลขานุการ ๑๗) ผูอํานวยการสว นสนบั สนนุ วิชาการ อนกุ รรมการและผชู ว ยเลขานุการ ๑๘) นักวิชาการศึกษา (งานประกันคุณภาพฯ) อนุกรรมการและผูช ว ยเลขานกุ าร

๖ ๑.๖ หลกั สูตรและจาํ นวนนสิ ติ ๑.๖.๑ หลักสตู ร ในปก ารศึกษา ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร มหี ลกั สตู รท่ี เปดดําเนินการเรยี นการสอน รวม ๙ หลักสตู ร ดงั นี้ ๑) ระดับปริญญาตรี เปด สอน ๕ หลักสตู ร คือ ๑.๑) หลักสตู รพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๑.๒) หลักสูตรครุศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาสงั คมศึกษา ๑.๓) หลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษ ๑.๔) หลกั สูตรรัฐศาสตรบณั ฑิต และ ๑.๕) หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรบณั ฑติ ๒) ระดับปริญญาโท เปดสอน ๓ หลกั สตู ร คอื ๒.๑) หลกั สูตรพุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา ๒.๒) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนสงั คมศึกษา ๒.๓) หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ๓) ระดบั ปรญิ ญาเอก เปด ทาํ การเรียนการสอน ๑ หลักสูตร คือ ๓.๑) หลักสูตรพุทธศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

๗ ๑.๖.๒ จาํ นวนนสิ ิต ในปการศึกษา ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร มีนสิ ติ รวมทง้ั สิน้ จาํ นวน ๔๖๕ รปู /คน ดงั แสดงตามตารางจํานวนหลักสตู ร และจาํ นวนนิสิต ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ ได ดังนี้ จาํ นวนนสิ ิต ระดบั สงั กดั คณะ ท่ี หลักสูตร รวม บรรพชิต คฤหสั ถ พทุ ธศาสตร ๑ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา ๑๑๗ ๒ ๑๑๙ ๒ ครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าสังคมศึกษา ๔๓ ๓๑ ๕๘ ปริญญาตรี ครศุ าสตร ๓ ครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ ๑๘ ๑๘ ๓๖ สังคมศาสตร ๔ รัฐศาสตรบัณฑิต ๖๔ ๓๖ ๑๐๐ ๕ รฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต ๒๓ ๒๐ ๔๓ รวมนิสิตระดับปริญญาตรี ๓๕๖ ปรญิ ญาโท บัณฑิต ๖ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ า ๒๘ ๒ ๓๐ วทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนา ปริญญาโท บัณฑิต ๗ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสงั คม ๑๖ ๑๕ ๓๑ วิทยาลัย ศกึ ษา ปรญิ ญาโท บณั ฑิต ๘ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ๑๖ ๑๔ ๓๐ วทิ ยาลยั ปริญญาเอก บัณฑิต ๙ พุทธศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชา ๑๒ ๖ ๑๘ วทิ ยาลยั พระพุทธศาสนา รวมนสิ ติ ระดบั ปรญิ ญาโท-เอก ๑๐๙ รวมนสิ ิต ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ ๔๖๕ รูป/คน ทม่ี า : กลมุ งานทะเบยี นและวดั ผล สาํ นักวชิ าการวทิ ยาเขตสุรินทร ขอมลู ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

๘ ๑.๗ บุคลากรและลูกจาง ๑) จํานวนบคุ ลากรและลูกจางสายวิชาการ ในปการศึกษา ๒๕๖๔ มอี าจารยทัง้ หมด ๓๙ รูป/คน จําแนกเปน อาจารยที่ไมมีตําแหนงทาง วชิ าการ ทีม่ ีวุฒปิ ริญญาโท จํานวน ๑๕ รูป/คน อาจารยประจําที่ไมม ตี ําแหนง ทางวิชาการ ท่ีมวี ุฒปิ ริญญาเอก จําวน ๕ รปู /คน อาจารยประจํามีตําแหนงผูชว ยศาสตราจารย ทีม่ ีวุฒปิ ริญญาโท จํานวน ๕ รปู /คน อาจารยป ระจํามีตําแหนงผูชว ยศาสตราจารย ท่มี วี ุฒปิ รญิ ญาเอก จํานวน ๑๒ รูป/คน และอาจารยประจาํ มี ตาํ แหนง รองศาสตราจารย ที่มีวุฒปิ รญิ ญาเอก จาํ นวน ๒ รูป/คน ดงั ปรากฏในตาราง ดังนี้ จํานวนอาจารย ท่ี ประเภท ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก รวม อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ. อ. ผศ. รศ. ศ ๑ อาจารยประจาํ ๑๓ ๔ ๑๑ ๑ ๕ ๑๔ ๑ ๒ อาจารยอ ัตราจา ง ๑๔ ๒ ๑๑ ๑ ๑๕ ๓ ๑ รวม ๒๐ ๑๗ ๒ รวมทัง้ ส้นิ ๓๙ รปู /คน ๒) จํานวนบุคลากรและลกู จางสายสนับสนุน ในปก ารศึกษา ๒๕๖๔ มีบุคลากรประเภทตําแหนง สายปฏบิ ตั กิ ารวิชาชีพและบริหารงานทว่ั ไป (นับ รวมอัตราจา งที่มีสญั ญาจางและคา ตอบแทน) รวมทงั้ หมด ๓๑ รูป/คน อัตราประจํา ๑๑ รปู /คน อัตราจาง ๒๐ รปู /คน โดยจําแนกตามคณุ วฒุ ิระดับตาํ่ กวา ปรญิ ญาตรี จาํ นวน ๑๒ รปู /คน ระดบั ปริญญาตรี จํานวน ๑๑ รปู /คน ระดับปริญญาโท จาํ นวน ๘ รูป/คน ดังปรากฏตามตาราง ดงั นี้ ท่ี ประเภท ‹ปรญิ ญาตรี จํานวนบุคลากรสายสนับสนุน จําแนกตามคุณวุฒแิ ละระดบั ตาํ แหนง ๑ ประจาํ ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท ปริญญาเอก รวม ๒ ลกู จา ง ปฏบิ ัตกิ าร ป. ช. บริหาร ป. ช. บรหิ าร ป. ช. บริหาร ป. ช. บริหาร รวม ๑๒ ๓๑ ๔ ๖๑ ๔ ๑๑ ๙ ๒๐ ๑๒ ๑๑ ๘ ๓๑ รปู /คน หมายเหตุ : ป. = ปฏบิ ัตกิ าร ช. = ชาํ นาญการ บริหาร = ผอู ํานวยการ,รองผอู ํานวยการ,ผอู ํานวยการสวน ท่ีมา : กลุมงานบรหิ าร งานบุคคล สํานกั งานวทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ขอมูล ประจาํ ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๙ ๑.๘ ขอ มลู พืน้ ฐานโดยยอเก่ียวกับงบประมาณ และอาคารสถานท่ี ๑.๘.๑ งบประมาณ ปงบประมาณ ๒๕๖๔-๒๕๖๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตสุรินทร มี งบประมาณรายได ทั้งทเี่ ปนงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ และเงนิ รายไดของวทิ ยาเขต และงบประมาณ รายจา ย ดงั น้ี รายการงบประมาณ ป พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่ รายการงบประมาณ จาํ นวน ๑ รายรบั ทั้งหมดของมหาวิทยาลยั (ปง บประมาณ) ๒๕,๖๔๙,๖๐๐.๔๐ ๒ รายรบั จากการบริการวิชาการและวิชาชีพ คาใชจ า ยทงั้ หมดของมหาวิทยาลยั โดยไมรวมครุภณั ฑ อาคารสถานที่และท่ีดิน (ป ๓ การศึกษา) มิ.ย. ๖๔ – พ.ค. ๖๕ ๓๑,๑๔๖,๔๖๑.๗๘ ๔ คาใชจายทั้งหมดของมหาวทิ ยาลัย โดยไมรวมครภุ ณั ฑ อาคาร สถานทีแ่ ละ ๓๓,๖๑๓,๘๔๙.๓๘ ทีด่ นิ (ปงบประมาณ) ต.ค. ๖๓ – ก.ย. ๖๔ ๕ คาใชจ ายดานครภุ ัณฑ อาคาร สถานที่และท่ีดนิ (ปง บประมาณ) ๓๑๙,๒๒๐.๐๐ ๖ คา ใชจายและมูลคา ในการบริการวชิ าการและวิชาชีพ ๖๔๒,๙๓๐.๐๐ ๗ คา ใชจา ยและมลู คา ในการทํานุบํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ๒๘๑,๓๒๓.๐๐ ๘ คา ใชจ า ยเพ่ือพัฒนาอาจารย ๑๑,๕๐๐.๐๐ คาใชจ ายท่ีใชในระบบหอ งสมุด คอมพวิ เตอรและศูนย สารสนเทศ ๙ (ปงบประมาณ) ๑๔๑,๔๐๐.๐๐ ๑๐ เงินเหลือจายสุทธิ (ปงบประมาณ) ๕,๔๗๒,๓๕๒.๑๑ ๑๑ สินทรัพยถาวร (ปง บประมาณ) ไมรวมบริจาค ๔๔,๖๖๐,๘๓๕.๖๘ รวมบรจิ าค ๔๔,๖๖๕,๐๘๗.๓๕ ทม่ี า : สว นคลังและทรพั ยส ิน สํานกั งานวทิ ยาเขตสุรนิ ทร ขอ มูล ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔

๑๐ ๑.๘.๒ อาคารสถานที่ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร มอี าคารเรยี น และอาคารบริการ จํานวน ๑๘ หลัง ดงั นี้ ที่ ช่ืออาคาร/จาํ นวน พื้นท่ีใชสอย ประโยชนใ ชส อย (ตรม.) ๑ อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๕๐ พรรษา ๒,๖๐๑ เปนสาํ นกั งาน/ที่เรยี น (๓ ช้ัน ๑ หลงั ) ๒ อาคารหอสมดุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑,๓๖๘ เปนหอ งสมุด/สํานักงาน/ (๓ ช้นั ๑ หลัง) ศกึ ษาคนควา วิจยั ๓ อาคารหอประชุมเฉลมิ พระเกียรติ ๑,๓๑๓ เปนสํานกั งาน/ที่เรยี น (๓ ชั้น ๑ หลงั ) ๔ อาคารสาํ นักงานวิทยาเขต (เกา) (๑ ชน้ั ๑ หลงั ) ๒๐๔ เปนทเ่ี กบ็ พสั ดุ ๕ ศาลาปฏิบตั ธิ รรมพระวิเทศธรรมรงั สี ๗๒๙ เปน สถานท่ีปฏิบตั ธิ รรม (๑ ชน้ั ๑ หลงั ) ๖ อาคารกุฎรี บั รอง (๑ ช้นั ๖ หลัง) ๒๘๐ เปนที่พักพระวิปส สนาจารย ๗ อาคารรบั รอง(กฎุ สี มเด็จฯ) (๑ ชัน้ ๑ หลัง) ๑๖๒ เปนท่รี บั รองพระอาคนั ตุกะ ๘ อาคารอเนกประสงค (๑ ช้ัน ๑ หลัง) ๖๒๑ เปน หองประชุม/สัมมนา ๙ อาคารศาลาปฏิบตั ธิ รรม (๑ ช้นั ๑ หลงั ) ๘๐ เปน สถานท่ีปฏิบตั ธิ รรม ๑๐ อาคารพระธรรมโมลี (สนง.วข. ใหม) ๑,๗๗๓ เปน สาํ นักงานและหองเรียน (๓ ชัน้ ๑ หลงั ) ๑๑ อาคารพระพรหมบัณฑิต (๓ ชัน้ ๑ หลัง) ๓,๒๘๓.๕ เปน สํานักงานและหองเรยี น ๑๒ โรงจอดรถ (๑ ชัน้ ๒ หลัง) ๖๐๐ เปน สถานที่จอดรถ ๑๓ อาคารหองนํ้า-หอ งสุขา ( ๓ หลงั ) ทม่ี า : กลุมงานทรัพยสินและพัสดุ สํานักงานวทิ ยาเขตสุรินทร ขอมูล ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖๔

๑๑ ๑.๙ การปรับปรงุ ตามขอ เสนอแนะจากผลการประเมนิ ปการศึกษาทีผ่ า นมา จดุ ที่ควรพัฒนา/ขอเสนอแนะจากผลการ การดําเนินงานปรบั ปรงุ /พฒั นา ประเมิน ปการศกึ ษา ๒๕๖๓ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ องคประกอบที่ ๑ การผลติ บัณฑิต ๑ . ค ว ร นํ า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ที่ ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนว คณะกรรมการประจําวิทยาเขตเห็นชอบมา ทางการดาํ เนินงาน ไวด ังนี้ ๑. ประเมินความพึงพอใจของนิสติ ตอ การบรกิ าร ในชว งเดือน ปรับปรุงพัฒนาการใหบริการและการให มกราคมของทกุ ป ขอมลู ในปการศึกษาตอไป (ตบช.ท่ี ๑.๕ การบรกิ ารนสิ ติ ระดบั ปริญญา ๒. นาํ ผลการประเมนิ มาวิเคราะห ตร)ี ๓. นําผลการประเมินและผลการวิเคราะหขอมูล เสนอตอ คณะกรรมการประจาํ วทิ ยาลยั สงฆ ๔. นําขอ เสนอแนะของคณะกรรมการประจําวิทยาลยั สงฆ - เพื่อปรบั ปรงุ ระบบและกลไกการบรกิ ารนสิ ิต - เพ่ือปรับปรงุ พัฒนาการใหบ ริการและการใหขอมลู ในป การศึกษาถดั ไป ๒. ควรวางแผนเตรียมการในการ วิทยาลัยสงฆสุรินทร ไดจัดประชุมคณะกรรมการบริหาร ดําเนินการตามตัวบงช้ี ๑.๗ ควรพัฒนา หลักสูตร คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆสุรินทรและ หรือปรับปรุงหลักสูตรบางสวน หรือพัฒนา คณะกรรมการประจําวิทยาเขตสุรินทร เพ่ือขอความเห็นชอบ หลักสูตรใหมแบบไมมีปริญญาตามเกณฑ เปดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโท หลักสูตรพุทธบริหาร ตัวบงช้ี เพื่อใหครอบคลมุ ผลลัพธการเรียนรู การศึกษา ซ่ึงเปนหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยสภา ดานบุคคลผูมีความรู ดานผูรวมสรางสรรค มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรและ นวตั กรรม และดา นพลเมืองทเี่ ขมแขง็ เปดสอนหลักสูตร ต้ังแตแตภาคการศึกษาที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป ในการประชุมคร้ังท่ี ๕/๒๕๖๕ เม่ือวันท่ี ๒๕ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ องคป ระกอบที่ ๒ การวจิ ัย ๑ . ค ว ร พั ฒ น า / ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรนิ ทร ไดดาํ เนนิ ปรับปรงุ สารสนเทศท่ีสามารถแสดงผลการวิเคราะห ตามขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพปการศึกษาที่ผาน มา ดังน้ี ขอมูลในรูปแบบสารสนเทศที่เอ้ือตอการ ๑. แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาระบบเทคโนโลยี เผยแพรผลงานวิจัยหรือบทความทาง วิชาการของคณาจารยท่ีดําเนินการเสร็จ สารสนเทศ แลว เพื่อเปนประโยชนตอสาธารณะท่ี ๒. จัดทาํ และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อรวบรวม ขอมูลผลงานวิชาการและวิจัยของคณาจารย/อาจารย เพ่ือเปน สามารถนําไปประยกุ ตใ ชแ ละเปนประโยชน แหลงสบื คน ในอางอิงการบริหารงานวิจัยหรืองาน ๓. ประเมินความสําเร็จการดําเนินงานตามแผนพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ เสนอตอคณะกรรมการประจําวิทยาเขต

๑๒ จุดทคี่ วรพฒั นา/ขอเสนอแนะจากผลการ การดําเนินงานปรับปรงุ /พฒั นา ประเมิน ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ในปก ารศึกษา ๒๕๖๔ สรางสรรคได และเปนคลังแหงองคความรู สรุ ินทร เพอ่ื พิจารณา ทางวิชาการของคณาจารยเพ่ือสนับสนุน ๔. นําผลการประเมินและขอเสนอแนะของคณะกรรมการ ประจําวิทยาเขตสรุ ินทร มาวางแผน เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงใน วิสัยทัศนข องวิทยาเขต ปก ารศึกษาถัดไป (ตบช.ที่ ๒.๑ ระบบและกลไกการบริหาร และพัฒนางานวจิ ยั หรืองานสรางสรรค) ๒. วทิ ยาเขตควรมกี ารจดั ตั้งกองทุนวิจัย วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ในป หรืองานสรางสรรคของวทิ ยาเขตโดยใหการ การศกึ ษา ๒๕๖๔ ไวดงั น้ี ๑. แตงตั้งคณะกรรมการบริหารงานวจิ ยั สนับสนุนทุนวิจัยหรืองานสรางสรรคและ ๒. จัดหาทุนสนับสนุนงานวิจัย จากแหลงทุนทั้งภายในและ การตีพิมพเผยแพรผลงานวิจัยหรืองาน ภายนอก สรางสรรคอยางเปนรูปธรรม พรอมกับมี ๓. สนับสนุนทุนแกคณาจารย/อาจารย เพื่อดําเนินการวิจัย ระบบและกลไกในการขับเคลื่อนกองทุน หรือตีพมิ พผ ลงานทางวชิ าการและวจิ ัย วิจัยใหเปนไปอยางตอเนื่องและเปนการ อนึง่ ในปการศึกษาน้ี การดําเนนิ งานไมบรรลตุ ามเปาหมายที่ รองรับและเปนการสงเสริมสนับสนุนให ไดวางไว อาจารยประจําไดมีผลงานวิจัยหรืองาน สรางสรรคที่เพียงพอตอสัดสวนของจํานวน คณาจารยทั้งหมดและเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานในปตอไป (ตบช.ที่ ๒.๒ เงนิ สนับสนุนงานวจิ ยั และงาน สรา งสรรค) ๓. ควรเรงสงเสริมการวิจัยพัฒนาองค ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทรไดกําหนดแนว ความรูหรือนวัตกรรมทางพระพุทธศาสนา ทางการดําเนินงานไว ดังน้ี และมีการบูรณาการกับหลักสูตร ชุมชน ๑. จัดโครงการ/กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรูงานวิจัยที่มีการ ทองถ่ิน หรือองคกรตาง ๆ เพ่ือนําสูการใช นําไปใชประโยชน ๒. ประกาศ ยกยอง คณาจารย/อาจารย ท่ีมีงานวิจัย เพ่ือ ประโยชนจากงานวิจัย และมีการสํารวจ นาํ สูการใชป ระโยชนจ ากงานวิจัย และมผี ลงานทางวชิ าการ โดย การใชป ระโยชนจ ากงานวิจัยดวย การพิจารณาความดีความชอบในการประเมินการปฏิบัติงาน (ตบช.ที่ ๒.๔ งานวิจัยพัฒนาองคความรู ประจาํ ป หรือนวัตกรรมทางพระพุทธศาสนาที่มีการ ผลการดําเนินงานในปการศึกษาน้ี มีคณาจารยประจําวิทยา นาํ ไปใชประโยชน) เขตสุรินทรไดรับคัดเลือกเปนนักวิจัย ระดับดี พ.ศ. ๒๕๖๔ จํานวน ๑ ทาน และไดรับรางวัลบทความดีเดน ในโครงการ ประชุมวิชาการระดับชาติ สธ.มมร คร้ังที่ ๑ แบบออนไลน

๑๓ จุดท่คี วรพัฒนา/ขอเสนอแนะจากผลการ การดาํ เนนิ งานปรับปรงุ /พัฒนา ประเมนิ ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ในปการศึกษา ๒๕๖๔ องคป ระกอบที่ ๓ การบริการวชิ าการ “พทุ ธศาสตรเพื่อการพัฒนาสงั คมทีย่ ัง่ ยืน” วิทยาเขตสริ ินธรราช วิทยาลยั และเครือขาย จาํ นวน ๒ รปู /คน ๑. ควรประเมนิ จํานวนโครงการของ ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทรไดกําหนดแนว แผน และจํานวนโครงการท่ีทําไดจ รงิ แลว ทางการดําเนินงานเพ่ือเปนการปรับปรุงจากผลการประเมิน นาํ ผลประเมนิ มาปรับปรุงแผนบรกิ าร คณุ ภาพปก ารศึกษาท่ีผานมา ไวด งั นี้ วิชาการเพอ่ื พิจารณาปรับลดจํานวน ๑. แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนบริการวิชาการ เพ่ือ โครงการ วิเคราะหโครงการที่มีความจําเปนและสอดคลองกับอัตลักษณ ของมหาวทิ ยาลัย หรอื ความตองการของชมุ ชน/สงั คม ๒. เสนอผลการวเิ คราะหจ าํ นวนโครงการบรกิ ารวิชาการ เพ่อื จดั ทําเปน แผนปฏบิ ัติการประจําป ๒. ควรประเมินและปรับปรุงแผน ผลการดําเนินงานในปก ารศกึ ษาน้ี วทิ ยาเขตสรุ ินทร ได บริการวิชาการใหมีจํานวนโครงการที่ ประเมนิ ความสาํ เร็จการดําเนินงานตามแผนบริการวิชาการ ปฏิบัติไดจริงและสอดคลองกับจํานวน และเสนอตอคณะกรรมการประจําวิทยาเขตสุรนิ ทร เพือ่ โครงการในแผนงบประมาณประจําป พจิ ารณาและใหข อเสนอแนะ (ตบช.ที่ ๓.๑ การบรกิ ารวิชาการแกสงั คม)

๑๔ จดุ ทคี่ วรพฒั นา/ขอเสนอแนะจากผลการ การดาํ เนินงานปรับปรงุ /พฒั นา ประเมิน ปก ารศึกษา ๒๕๖๓ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔ องคป ระกอบที่ ๔ การทํานบุ ํารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม ๑. ควรจัดทําแผนดานการทํานุบํารุง ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนว ศิลปะและวัฒนธรรมท่ีมีการวิเคราะห ทางการดําเนนิ งานไว ดังนี้ สภาพแวดลอ มท่ีเก่ียวของ นํามาจัดทําแผน ๑. แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนทํานุบํารุงศิลปะและ ท่ีนําสูการปฏิบัติ ที่มุงเนนใหสืบสาน รักษา วฒั นธรรม โดยมีองคประกอบของคณะกรรมการที่หลากหลาย ๒. จัดทําแผนทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยการ ตอยอดศลิ ปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา วิเคราะหกิจกรรม/โครงการ และความตองการของชุมชนหรือ โดยมีกระบวนการศึกษาหรือวิจัยสราง/ สังคม เพื่อเสนอจัดทาํ แผนปฏิบัตกิ ารประจาํ ป รวบรวมองคความรู อยางมีสวนรวมกับ ชุมชน สามารถเพ่ิมคุณคาทางจิตใจ และ ๓. สํารวจความตองการ หรือประสานความรวมมือกับองคกร สรางมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกวัดหรือ หรือชุมชนกลุมเปาหมาย เพื่อวางแผนในการดําเนินกิจกรรม/ ชมุ ชนได โครงการ ๒. ควรกํากับติดตาม และประเมินผล ๔. ประชุมกับองคกรหรือชุมกลุมเปาหมาย เพ่ือประเมิน/ สรุปผลการดาํ เนินกิจกรรม/โครงการ ตามแผนฯ และโครงการอยางเปนระบบ ๕. นําผลการประเมินกิจกรรม/โครงการ/แผนฯ เสนอ อยางนอยปละ ๒ เพื่อนําสูการปรับปรุง คณะกรรมการประจําวิทยาเขต เพื่อรับทราบ/พิจารณา ให และเกิดผลลัพธท่ีดีทั้งดานการเพิ่มมูลคา ขอ เสนอแนะ ทางจติ ใจ และสรา งเศรษฐกิจชุมชน ๖. นําผลการพิจารณา/ขอเสนอแนะของคณะกรรมการ ๓. ควรมีการศึกษา สํารวจความ ประจําวิทยาเขต มาปรับปรุง/พัฒนา แผนฯ/การดําเนิน ต อ ง ก า ร พั ฒ น า สื บ ส า น ต อ ย อ ด กจิ กรรม/โครงการ ตอ ไป ศิลปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อ นําสูการดําเนินการแบบมีสวนรวม อันจะ กอใหเกิดประโยชน และสอดคลองกับ ความตอ งการของชุมชน (ตบช.ที่ ๔.๒ ผลของการสบื สาน รักษาและ ตอยอดศิลปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา แบบสรา งสรรค)

๑๕ องคป ระกอบที่ ๕ การบรหิ ารจัดการ ๑. ควรแสดงความเชื่อมโยงระหวางผล ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนว การวิเคราะห SWOT กับการจัดทําแผนกล ทางการดาํ เนินงานไว ดงั นี้ ๑. แตงตั้งคณะกรรมการประเมินผลแผนพัฒนาวิทยาเขต ยุทธ/แผนปฏิบัติการใหชัดเจนเพ่ือสะทอน สรุ นิ ทร ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) และประเมนิ แผนปฏิบัติ ถงึ การวางแผนและการนําแผนสูการปฏิบัติ การประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๔ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ (ตบช.ที่ ๕.๑ การบริหารของคณะเพ่ือการ ๒. แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาเขตสุรินทร ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ.๒๕๖๕-๒๕๖๙) กํากบั ติดตามผลลพั ธตามพนั ธกิจฯ) ๓. แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ที่ สอดคลอ งกบั แผนพัฒนาฯ ๔. ถายทอดแผนพัฒนาฯ/แผนปฏิบัติการประจําป ใหแก บคุ ลากรทุกสว นงาน ๕. กํากับ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงาน ตามแผนพัฒนาวิทยาเขตสุรินทร และแผนปฏิบัติการประจําป ตอคณะกรรมการประจาํ วทิ ยาเขตสรุ ินทร ๒. ควรดําเนินกิจกรรมการจัดความรู การปรับปรับปรุงขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพป (KM) ใหครอบคลุมพันธกิจ เปนไปตาม การศึกษาท่ีผานมา วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนวทางการ กระบวนการจัดความรูอยางเปนระบบเพื่อ ดําเนินงานไว ดงั นี้ คนหาแนวปฏิบัติท่ีดี (Best practice) ๑. แตงต้ังคณะกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการการจัดการ แ ล ว นํ า สู ก า ร เ ผ ย แ พ ร ใ น ช อ ง ท า ง ท่ี ความรูของวิทยาเขตสุรินทร พรอมกําหนดประเด็นความรูอยาง หลากหลายเพ่ือใหบุคลากรภายในและ นอ ยครอบคลุมพนั ธกจิ ดา นการผลติ บณั ฑิต และการวิจัย ภ า ย น อ ก นํ า ไ ป ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ก า ร ๒. ถายทอดแผนปฏิบัติการการจัดการความรู ใหแกบุคลากร ปฏบิ ัติงานไดอ ยา งเปนรูปธรรม ทกุ ระดบั (ตบช.ท่ี ๕.๑ เกณฑข อที่ ๕ คนหาแนว ๓. จัดกจิ กรรม/โครงการ การประกวด KM เพอื่ คนหาความรู ปฏบิ ตั ทิ ีด่ จี ากความรูฯ) จากบุคลากร กระบวนการทํางาน ทเ่ี ปนแนวปฏิบัติที่ดี ๔. รวบรวมและเผยแพรองคความรู ในเว็บไซตและชอง ทางการสือ่ สารของวิทยาเขตสรุ ินทร ๕. สงเสริมใหบุคลากรทุกสวนงานของวิทยาเขตสุรินทร เขา ถึงองคความรูและนําไปใชใ นการปฏบิ ตั ิงาน ๖. ติดตาม และรวบรวมผลดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการ จัดการความรู นําเสนอผูบริหาร และคณะกรรมการประจํา วิทยาเขตสรุ ินทร ๓. ควรจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรทั้ง ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดแนว ส า ย วิ ช า ก า ร แ ล ะ ส า ย ส นั บ ส นุ น ใ ห ทางการดําเนินงานไว ดังน้ี

๑๖ ค ร อ บ ค ลุ ม ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร เ ป น ๑. แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรสาย รายบุคคล (ID Plan) เพื่อสะทอนใหเห็นถึง วิชาการ และสายปฏิบัติการวิชาชีพ ทั้งระยะส้ัน (๑ป) และ ความกาวหนาในหนาท่ีการงานในอนาคต ระยะยาว (๕ ป) โดยวิเคราะหจากแผนพัฒนาบุคลากร อยางชัดเจน รายบุคคล Individual Development Plan (ID. Plan) ๒. ติดตาม รวบรวมและประเมินผลแผนการบริหารและ แผนพัฒนาบุคลากร รายงานคณะอนุกรรมการบริหารบุคคล และกรรมการประจําวทิ ยาเขต อยา งนอย ปละ ๑ ครั้ง ๓. นําผลการประเมนิ และขอ เสนอแนะของคณะกรรมการ มา ปรับปรงุ การดาํ เนินงานในปถ ดั ไป โดยมีบุคลากรของวิทยาเขตสุรินทร ไดเขียนพัฒนาบุคลากร เปนรายบุคคล (ID Plan) ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๕ เสนอตอ สํานักงานวิทยาเขตสุรินทร เพื่อรวบรวมจัดทําแผนบริหาร บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนนุ ตอไป ๔ . ค ว ร นํ า ข อ เ ส น อ แ น ะ จ า ก วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินงาน แตงตั้งคณะทํางานการ คณะกรรมการประจําวิทยาเขตสูการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ โดยใหมีหนาทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ ดงั นี้ ปรับปรุงแกไขครบตามตัวบงช้ีท่ีระบุไวใน ๑. จัดทาํ ขอ มูล และจัดเก็บรวบรวมขอมลู เอกสาร/หลักฐาน แตละองคประกอบใหชดั เจน ตามความรบั ผิดชอบองคป ระกอบ ตัวบง ชี้ และเกณฑมาตรฐาน (ตบช.ที่ ๕.๑ เกณฑข อท่ี ๖ การกาํ กบั การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดบั วทิ ยาเขต ป ติดตามผลการดําเนนิ งานตามแผนการ การศึกษา ๒๕๖๔ บรหิ ารและแผนพัฒนาบุคลากรฯ) ๒. รายงานผลการดาํ เนินงานการประกนั คุณภาพการศึกษา ภายใน ระดบั วิทยาเขต ตามแผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan) ชว งระยะเวลา ๖ เดือน และ ๙/๑๒ เดือน ตอคณะอนุกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษา ประจาํ วทิ ยาเขตสรุ ินทร ๓. จัดทาํ ราง รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ระดบั วทิ ยา เขต ตามความรบั ผดิ ชอบองคป ระกอบ ตวั บง ช้ี และเกณฑ มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ เสนอตอคณะอนุกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ประจาํ วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร เพื่อพิจารณา ใหขอ เสนอแนะ ๔. จดั ทาํ รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ระดับวิทยาเขต ปการศึกษา ๒๕๖๔ ฉบับสมบรู ณ ๕. รับการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน ระดบั วทิ ยาเขต ปการศึกษา ๒๕๖๔ ๖. ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ทม่ี หาวิทยาลยั มอบหมาย

บทที่ ๒ ผลการประเมินตามตัวบง ช้ี องคประกอบท่ี ๑ การผลติ บณั ฑติ ตวั บงชท้ี ่ี ๑.๑ ผลการบริหารจดั การหลกั สูตรโดยรวม ชนิดของตัวบงช้ี ผลลพั ธ ท่ี หลกั สูตร หนว ยนบั ผลการ ดําเนนิ งาน ๑ หลักสตู รท้งั หมดทจี่ ดั การเรยี นการสอนในสว นจัดการศึกษา หลกั สตู ร น้ี ๙ คะแนน ๒ คะแนนประเมนิ หลักสตู รพุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวิชา ๓.๖ พระพทุ ธศาสนา คะแนน ๓.๗๘ ๓ คะแนนประเมินหลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสังคม คะแนน ศึกษา ๓.๘๓ คะแนน ๓.๕๖ ๔ คะแนนประเมนิ หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการ คะแนน ๓.๑๑ สอนภาษาอังกฤษ คะแนน ๓.๘๙ ๕ คะแนนประเมินหลักสตู รรฐั ศาสตรบัณฑิต คะแนน ๓.๘๓ ๖ คะแนนประเมนิ หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑิต ๓.๑๘ ๗ คะแนนประเมนิ หลักสตู รพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา คะแนน ๒.๕๑ คะแนน ๓๑.๒๘ พระพทุ ธศาสนา ๔.๐๘ ๘ คะแนนประเมนิ หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา คะแนน คะแนน การสอนสงั คมศึกษา ๙ คะแนนประเมนิ หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ๑๐ คะแนนประเมนิ หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ า พระพุทธศาสนา ๑๑ ผลรวมคา คะแนนประเมินของทุกหลกั สตู ร ๑๒ คาเฉลย่ี ของคะแนนประเมนิ ทุกหลักสตู ร การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดาํ เนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปาหมาย บรรลุ ๓.๕๑ คะแนน ๔.๐๘ ๔.๐๘

๑๘ รายการหลักฐาน รหัสเอกสาร/หลกั ฐาน ชอื่ รายการเอกสาร/หลักฐาน ๑.๑-๑ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพฯ หลักสูตร พธ.บ.(พระพทุ ธศาสนา) ๑.๑-๒ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพฯ หลกั สูตร ค.บ.(สังคมศึกษา) ๑.๑-๓ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพฯ หลกั สตู ร ค.บ.(การสอนภาษาอังกฤษ) ๑.๑-๔ รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพฯ หลกั สูตร ร.บ. ๑.๑-๕ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพฯ หลักสตู ร รป.บ. ๑.๑-๖ รายงานผลการประเมินคุณภาพ หลกั สตู ร พธ.ม. (พระพทุ ธศาสนา) ๑.๑-๗ รายงานผลการประเมนิ คุณภาพ หลกั สูตร รป.ม. ๑.๑-๘ รายงานผลการประเมินคณุ ภาพ หลักสูตร ค.ม. (การสอนสังคมศึกษา) ๑.๑-๙ รายงานผลการประเมินคุณภาพฯ หลกั สูตร พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ตัวบงชีท้ ่ี ๑.๒ อาจารยประจําท่ีมีคณุ วฒุ ิปริญญาเอก ชนดิ ของตัวบงช้ี ปจจัยนาํ เขา ท่ี รายการ หนวยนบั ผลการ ดาํ เนนิ งาน ๑ จาํ นวนอาจารยประจาํ ท้งั หมด รปู /คน ๒ จํานวนอาจารยป ระจําท่มี ีคุณวฒุ ิปริญญาเอก รูป/คน ๓๙ ๓ รอ ยละของอาจารยประจาํ ทม่ี ีคณุ วุฒปิ ริญญาเอก รอยละ ๔ แปลงคารอ ยละที่คํานวณไดเทยี บกบั คะแนนเต็ม ๕ โดย ๑๙ คะแนน กาํ หนดใหค ะแนนเต็ม ๕ = รอ ยละ ๔๐ ๔๘.๗๒ ๕ การประเมนิ ตนเอง ผลการดาํ เนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปา หมาย เปา หมาย ๔๘.๗๒ ๕ บรรลุ รอยละ ๓๕ รายการหลักฐาน รหัสเอกสาร/หลกั ฐาน ชอ่ื รายการเอกสาร/หลกั ฐาน ๑.๒-๑ ฐานขอมลู อาจารยประจาํ วทิ ยาเขตสุรินทร แยกตามคุณวุฒิปรญิ ญาเอก ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๑๙ ตวั บง ช้ที ี่ ๑.๓ อาจารยป ระจาํ คณะทดี่ าํ รงตําแหนงทางวิชาการ ชนดิ ของตัวบงชี้ ปจจัยนาํ เขา ท่ี รายการ หนวยนบั ผลการ ดําเนนิ งาน ๑ จํานวนอาจารยป ระจําทั้งหมด รปู /คน ๒ จาํ นวนอาจารยประจาํ ที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการทงั้ หมด รูป/คน ๓๙ รปู /คน ๑๙ ๒.๑ จาํ นวนอาจารยประจําที่ดํารงตําแหนงผูช วย ๑๗ ศาสตราจารย รูป/คน ๒ ๒.๒ จํานวนอาจารยประจําท่ดี าํ รงตําแหนง รอง ศาสตราจารย รปู /คน ๔๘.๗๒ ๒.๓ จํานวนอาจารยประจําที่ดํารงตาํ แหนงศาสตราจารย รอยละ ๔.๐๖ ๓ รอ ยละของอาจารยป ระจําทีด่ ํารงตาํ แหนง ทางวชิ าการ คะแนน ๔ แปลงคา รอ ยละท่ีคาํ นวณไดเทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดย กาํ หนดใหค ะแนนเต็ม ๕ = รอ ยละ ๖๐ การประเมินตนเอง เปา หมาย ผลการดาํ เนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย ๔.๐๖ บรรลุ รอยละ ๔๕ ๔๘.๗๒ รายการหลกั ฐาน ช่อื รายการหลักฐาน/เอกสาร รหสั เอกสาร/หลกั ฐาน ฐานขอมลู อาจารยป ระจําวิทยาเขตสุรินทร แยกตามตําแหนงทาง ๑.๓-๑ วชิ าการ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ๑.๓-๒ คาํ สัง่ มหาวิทยาลยั เร่อื ง แตง ตั้งผูชวยศาสตราจารย และรอง ศาสตราจารย

ตัวบง ชที้ ี่ ๑.๔ จาํ นวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทาตอ จาํ นวนอาจารยป ระจาํ ๒๐ ชนดิ ของตัวบงช้ี ปจ จัยนาํ เขา ผลการดําเนินงาน ๑๓๑.๕๘ ท่ี รายการ หนว ยนับ ๖๕.๖๓ ๓๘.๙๗ ๑ จาํ นวนนิสติ เตม็ เวลาเทียบเทาตอป (FTES) ของ FTES ๑๓๓.๔๔ หลกั สูตรพุทธศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาพระพทุ ธศาสนา ๕๓.๑๖ ๒ จาํ นวนนสิ ิตเตม็ เวลาเทยี บเทา ตอป (FTES) ของ FTES ๔๑.๔ หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าสงั คมศึกษา ๓ จาํ นวนนสิ ติ เต็มเวลาเทยี บเทา ตอ ป (FTES) ของ FTES ๕๕.๘๗ หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ ๔ จาํ นวนนิสิตเตม็ เวลาเทยี บเทาตอป (FTES) ของ FTES ๕๕.๑๒ หลักสูตรรัฐศาสตรบณั ฑิต ๕ จํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเทา ตอ ป (FTES) ของ FTES ๒๙.๗ หลกั สูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ๖๐๔.๙๐ ๖ จาํ นวนนิสติ เต็มเวลาเทยี บเทา ตอ ป (FTES) ของ FTES หลักสูตรพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๓๙ (ใชจาํ นวนทปี่ รับคา เปน ระดบั ปรญิ ญาตรีแลว) ๑๕.๕๑ ๗ จาํ นวนนิสิตเตม็ เวลาเทยี บเทา ตอ ป (FTES) ของ FTES หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ๒๕ (ใชจ าํ นวนทป่ี รบั คาเปนระดบั ปริญญาตรแี ลว ) -๓๗.๙๖ ๘ จํานวนนิสิตเตม็ เวลาเทียบเทาตอป (FTES) ของ FTES หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ๕ (ใชจ าํ นวนท่ีปรับคา เปน ระดบั ปรญิ ญาตรีแลว) ๙ จํานวนนิสติ เต็มเวลาเทยี บเทาตอ ป (FTES) ของ FTES หลกั สูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา (ใชจ ํานวนท่ีปรับคา เปนระดบั ปริญญาตรแี ลว) ๑๐ รวมจํานวนนิสติ เต็มเวลาเทียบเทา ตอ ป (FTES) ของทกุ หลกั สูตร FTES ๑๑ จาํ นวนอาจารยท ง้ั หมด รูป/คน ๑๒ สัดสว นนสิ ิตเต็มเวลาเทยี บเทาตออาจารยป ระจาํ กลุม สาขา รปู /คน สังคมศาสตร/ มนุษยศาสตร/ ครศุ าสตร (ขอ ๖ หารดวย ขอ ๗) ๑๓ คา ความแตกตา งจากเกณฑมาตรฐาน รูป/คน ๑๒ รอ ยละของคา ความแตกตางจากเกณฑม าตรฐาน รอยละ ๑๓ คะแนนผลการดําเนนิ งานหลักสูตร คะแนน ๑๑.๑ รอยละของคาความแตกตางไมเกินรอยละ ๑๐ = ๕ คะแนน ๑๑.๒ คา รอ ยละของคาความแตกตางเกินรอยละ ๒๐ = ๐ คะแนน

๒๑ ที่ รายการ หนวยนับ ผลการดาํ เนินงาน ๑๑.๓ คารอยละของคาความแตกตางตั้งแต ๑๐.๐๑ และ ไมเกนิ รอ ยละ ๒๐ ใหน ํามาคิดคะแนน โดยใชสูตรคํานวณหาคา คะแนน หมายเหตุ : การปรบั คาเปนระดบั ปริญญาตรี คือ ๑.๘ x FTES ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา การประเมินตนเอง เปา หมาย ผลการดาํ เนินงาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง การบรรลุเปา หมาย นอ ยกวาหรอื เทา กับ -๓๗.๙๖ ๕ บรรลุ รอยละ ๕ รายการหลักฐาน ชอื่ รายการเอกสาร/หลักฐาน รหสั เอกสาร/หลักฐาน ตารางคํานวณหาคา FTES นิสิตทล่ี งทะเบยี น ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ๑.๔-๑

๒๒ ตัวบง ชที้ ่ี ๑.๕ การบริการนสิ ติ ระดบั ปรญิ ญาตรี ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ เกณฑการประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งาน เอกสาร/หลกั ฐาน ๑. จัดบริการใหคําปรึกษาทาง ปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขตสุรินทร ๑ . ๕ . ๑ -๑ คํ า ส่ั ง แ ต ง ตั้ ง วิชาการและการใชชีวิตแกนิสิต ไดจัดบริการใหคําปรึกษาดานวิชาการและ อาจารยท ป่ี รึกษา ในวทิ ยาเขต การใชชีวิต ใหนิสิต วิทยาเขตสุรินทร โดย ๑.๕.๑-๒ คูมืออาจารยท่ี ผานกระบวนการ การแตงตั้งอาจารยท่ี ปรกึ ษา ปรึกษาเพ่ือรับผิดชอบใหคําปรึกษาตาม ๑ . ๕ . ๑ -๓ คู มื อ ป ฏิ บั ติ หลกั สูตร โดยคํานึงถึงสัดสวนของอาจารย ศาสนกิจ/บริการสังคม ตอนิสิต สามารถดูแลนิสิตใหทั่วถึงได มี ๑.๕.๑-๔ สมุดบนั ทึกรับรอง ระบบการชวยเหลือนิสิตอยางใกลชิด เนน บรกิ ารสงั คม การพัฒนาผูเรยี นเปน รายบุคคล โดยมีการ ประชุมระหวางอาจารยเกี่ยวกับนิสิตท่ีมี ปญหา กําหนดแนวทางการปองกัน ปญหามากกวาแกปญหา ประเด็นการ จัดบริการใหคําปรึกษาเนนใหคําปรึกษา ดานสุขภาพทางกายและทางจิตใจ ดาน การเรียนการสอน ดานสภาพแวดลอม และครอบครัวของนิสิต ในระดบั หลกั สูตร งานกิจการนิสิต สังกัดสํานักงาน วิทยาลัยสงฆสุรินทร บริการใหคําปรึกษา แกนิสิตทั้งในดานการเรียน และการใช ชีวติ ๒. มีการใหขอมูลของหนวยงาน วิทยาเขตสุรินทร บริการใหขอมูลของ ๑.๕.๒-๑ เว็ปไซตวทิ ยาเขต ที่ใหบริการ กิจกรรมพิเศษนอก หนวยงานท่ีใหบริการกิจกรรมพิเศษนอก สรุ นิ ทร หลักสูตร แหลงงานท้ังเต็มเวลา หลักสูตร แหลงงานท้ังเต็มเวลาและนอก ๑.๕.๒-๒ เวป็ กองทนุ กยศ. และนอกเวลาแกนสิ ิต เวลาแกนิสิต โดยประชาสัมพันธเสียงตาม ๑.๕.๒-๓ บอรด สาย ติดบอรดประชาสัมพันธ ตลอดทั้ง ประชาสมั พนั ธ เผยแพรทางเว็บไซต และชองทางส่ือสาร ๑.๕.๒-๔ เฟสบุค กลมุ งาน ออนไลนของวิทยาเขตสรุ นิ ทร บรกิ ารการศึกษา ๑.๕.๒-๕ เฟสบคุ /กลุมไลน โครงการพระสอนฯ ๓. จดั กจิ กรรมเตรยี มความพรอม วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินการเตรียม ๑.๕.๓-๑ คมู อื การปฎบิ ัติ เพ่ือการทาํ งานเม่ือสาํ เรจ็ ความพรอมเพ่ือการทํางานแกนิสิตโดย ศาสนกิจ/บรกิ ารสงั คม การศกึ ษาแกน ิสิต กําหนดใหนิสิตท่ีศึกษาครบตามหลักสูตร ๑.๕.๓-๒ กจิ กรรมเตรียม และจะตองออกปฎิบัติศาสนกิจ เปน ความพรอมกอนออก

๒๓ ร ะ ย ะ เ ว ล า ๑ ป เ พื่ อ เ ผ ย แ ผ ปฏิบตั กิ ารสอนใน พระพุทธศาสนา การสนองงานคณะสงฆ สถานศึกษา สนองนโยบาย และงานตามพันธกิจของ ๑.๕.๓-๓ รายงานการปฎบิ ัติ มหาวิทยาลัย โดยกอนการออกปฎิบัติ ศาสนกจิ นสิ ิต ศ า ส น กิ จ ห รื อ ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ น ใ น ๑.๕.๓-๔ บันทึกการปฏบิ ตั ิ สถานศึกษา ไดดําเนินการปฐมนิเทศนิสิต ศาสนกจิ /บรกิ ารสงั คม ปฏิบัติศาสนกิจและบริการสังคม และ ปฐมนิเทศนิสิตหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต กอ นออกปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา ๔. ประเมนิ คณุ ภาพของการจัด วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินการ ๑.๕.๔-๑ รายงานผลการ กิจกรรมและการจัดบริการในขอ ประเมินผลความพึงพอใจของคุณภาพการ ประเมินคุณภาพของการจัด ๑-๓ ทกุ ขอ ไมตํ่ากวา ๓.๕๑ จาก บริการครอบคลุม ๓ ดาน มีคาเฉลี่ย กิจกรรมและการจัดบริการ คะแนนเต็ม ๕ โดยรวม ๔.๑๗ แยกเปน รายดาน ไดด ังนี้ ทั้ง ๓ ดาน ๕. นําผลการประเมนิ จากขอ ๔ ๑. ดานการจดั บรกิ ารใหคําปรกึ ษา มาปรบั ปรุงพัฒนาการใหบ ริการ แนะแนวดา นการใชชีวติ และการเขา สู และการใหขอ มูล เพื่อสงใหผ ล อาชีพแกนสิ ติ ผลจัดบรกิ ารใหคําปรกึ ษา การประเมนิ สูงข้นึ หรือเปน ไป ทางวชิ าการและการใชช วี ติ แกนิสติ มี ตามความคาดหวงั ของนิสิต ระดับความพงึ พอใจท่ี ๔.๖๔ ๒. ดา นการใหขอ มลู ของหนวยงานที่ ใหบ รกิ ารกิจกรรมพิเศษนอกหลกั สูตร แหลงงานทงั้ เต็มเวลาและนอกเวลา มี ระดบั ความพึงพอใจท่ี ๔.๒๐ ๓. ดา นกิจกรรมเตรยี มความพรอมเพอ่ื การทาํ งานเมอ่ื สําเรจ็ การศึกษาแกน ิสิต มี ระดบั ความพึงพอใจที่ ๔.๖๑ และมีความ พงึ พอใจโดยรวมท่ี ๔.๔๘ วิทยาเขตสุรินทร ไดนําผลการประเมิน ๑.๕.๕-๑ ตารางเปรยี บเทียบ และขอเสนอแนะของนิสิต มาปรับปรุง การประเมินคุรภาพของการ และพัฒนางานดงั น้ี จั ด กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ก า ร - แตงตง้ั คณะกรรมการดาํ เนินงานโดย จัดบริการเทียบระหวางป การมีสวนรวมทุกหลักสูตร กําหนดกรอบ ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๓ กั บ การจัดปฐมนิเทศ และไดนําผลจาการ ๒๕๖๔ ประเมินคุณภาพของการจัดกิจกรรมและ ๑.๕.๕-๒ บันทึกขอความ การจัดบริการเปรียบเทียบระหวางป ป แจงรายงานผลการประเมิน การศึกษา ๒๕๖๓ กับ ๒๕๖๔ เพ่ือ ใหหลักสูตรและสวนงานที่ ปรบั ปรงุ และพัฒนา เก่ยี วขอ ง

๒๔ ๖. ใหขอมูลและความรทู ่ีเปน ในปการศึกษา ๒๕๖๔ วิทยาเขต ๑.๕.๖-๑ การจัดการศึกษา ประโยชนใ นการประกอบอาชีพ สุรินทร จัดกิจกรรมใหขอมูลและความรูที่ หลักสูตรพระสอนศีลธรรม แกศ ิษยเกา เปนประโยชน ตอศิษยเ กา ดงั น้ี (ป.สศ.) ๑.หลักสูตรประกาศนียบัตรครูพระ ๑.๕.๖-๒ เว็ปไซตวิทยาเขต สอนศีลธรรมในโรงเรียน (ป.สศ.) เปน สรุ ินทร เพจ เฟส หลักสูตรระยะส้ัน ๑ ป ๒ ภาคการศึกษา บุก กลุมงานกิจการนิสิต ใหความรูและฝกอบรมดานการสอนแก วิทยาเขตสรุ นิ ทร ศิษยเกา และพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๑ . ๕ . ๖ -๓ ก า ร ติ ด ต า ม ๒.ขอมูลสําหรับศิษยเกาทางเว็บไชต บณั ฑติ /ศิษยเ กา วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ๑.๕.๖-๔ รายงานผลการ ติดตามศษิ ยเกา ๑.๕.๖-๕ ฐานขอมูลศิษยเกา วิทยาเขตสุรินทร ๑ . ๕ . ๖ . ๖ เ ว ป ไ ซ ต ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ข อ มู ล ด า น ก า ร จดั หางานใหแ กศิษยเ กา เกณฑการประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ คะแนน ๑ มกี ารดาํ เนินการ มีการดาํ เนนิ การ มีการดําเนินการ มกี ารดําเนินการ มีการดาํ เนินการ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๑ ขอ การประเมินตนเอง ผลการดาํ เนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย เปาหมาย ๖ ขอ ๕ บรรลุ ๖ ขอ

๒๕ ตัวบง ชีท้ ี่ ๑.๖ กิจกรรมนสิ ติ ระดับปริญญาตรี ชนดิ ของตัวบงชี้ กระบวนการ เกณฑการประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน เอกสาร/หลกั ฐาน ๑. จัดทําแผนการจัดกิจกรรม วิทยาลัยสงฆสุรินทร ไดจัดทําแผน ๑.๖.๑-๑ แผนพัฒนานิสิต พัฒนานิสิตในภาพรวมของคณะ กิจกรรมพัฒนานิสิตโดย สอดคลองกับ ประจําปการศกึ ษา ๒๕๖๔ โดยใหนิสิตมีสวนรวมในการ ยุทธศาสตรและกลยุทธตามแผนพัฒนา ๑ . ๖ . ๑ -๒ คํ า ส่ั ง แ ต ง ต้ั ง จัดทาํ แผนและการจัดกจิ กรรม มหาวิทยาลัยระยะท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐- ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร จั ด ทํ า ๒๕๖๔) และแผนพัฒนานิสิตระยะ ๕ ป แผนพฒั นากจิ กรรมนสิ ิต ซึ่งไดกําหนดกระบวนการใหผูมีสวน ๑.๖.๑-๒ บันทึกขอความ เกี่ยวของไดมีสวนรวมในการจัดทําแผนฯ (แจงสวนงานเก่ียวของ/แจง กระบวนการถายทอดแผนสูการปฏิบัติ รวมกจิ กรรม/ประเมินผลฯ) การมีสสนรวมในกิจกรรม การปฏิบัติ การ ป ร ะ เ มิ น ผ ล สํ า เ ร็ จ ต า ม แ ผ น แ ล ะ กระบวนการนําผลการดําเนินการไปแกไข พํฒนา และปรับปรุง แผนตามวงจร คณุ ภาพ ๒. ในแผนการจัดกิจกรรมพัฒนา วิทยาลัยสงฆสุรินทร ไดดําเนินการ ๑.๖.๒-๑ แผนพัฒนานิสิต นิสติ ใหดําเนินกิจกรรมท่ีสงเสริม จัดทําแผนพัฒนานิสิตทุกกิจกรรมมุง ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ คณุ ลักษณะบณั ฑิตตามมาตรฐาน สงเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามกรอบ ครอบคลุมมาตรฐานคุณวุฒิ ผ ล ก า ร เ รี ย น รู ต า ม ก ร อ บ มาตรฐานทั้ง ๕ ดาน ประกอบดวย ดาน ๕ ประการ มาตรฐานคุณวุฒิแหงชาติ ๕ คุณธรรม จริยธรรม ดานความรู ดาน ๑.๖.๒-๒ โครงการปฎิบัติ ป ร ะ ก า ร ใ ห ค ร บ ถ ว น ทกั ษะทางปญ ญา ดานทักษะความสัมพันธ วปิ ส สนากัมมฏั ฐาน ประกอบดวย ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ และ ๑.๖.๒-๓ โครงการเสริม ๑) คณุ ธรรม จริยธรรม ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ ความเปนครู ๒) ความรู ส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑.๖.๒-๔ โครงการใหความรู ๓) ทกั ษะทางปญ ญา กิจกรรมที่ดําเนินการในปการศึกษา ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ๔ ) ทั ก ษ ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ ๒๕๖๔ อาทิ โครงการปฎิบัติวิปสสนา การศึกษา ร ะ ห ว า ง บุ ค ค ล แ ล ะ ค ว า ม กัมมัฏฐาน โครงการไหวครู กิจกรรมเสริม ๑.๖.๒-๕ โครงการวันไหวค รู รบั ผิดชอบ หลักสูตร ที่เนนเสริมความรู ทักษะทาง ๑.๖.๒-๖ โครงการนิสิตจิต ๕) ทักษะการวิเคราะหเชิง ปญญา ความรับผิดชอบ การสื่อสาร และ อาสาบริการวิชาการ เสริม ตัวเลข การสื่อสารและการใช การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ หลักสูตร สาขาวิชาสังคม เทคโนโลยสี ารสนเทศ ศึกษา ๑.๖.๒-๗ กิจกรรมการให ความรูดานสารสนเทศ ๑.๖.๒-๘ กิจกรรมเสริม หลกั สตู ร

๒๖ เกณฑก ารประเมิน ผลการดาํ เนนิ งาน เอกสาร/หลกั ฐาน ๓. จัดกิจกรรมใหความรูและ วิทยาเขตสุรินทร จัดกิจกรรมให ๑ . ๖ . ๓ -๑ เ อ ก ส า ร ทักษะการประกันคุณภาพแก ความรูและทักษะการประกันคุณภาพ ประกอบการบรรยาย นสิ ติ การศึกษาแกนิสิต เพ่ือสรางความรูความ ๑.๖.๓-๒ เอกสาร เพาเวอร เขาใจเบ้อื งตน เกยี่ วกับการประกันคุณภาพ พอยต นําเสนอใหความรูแก การศึกษา และบทบาทหนาท่ีของนิสิตที่มี นิสิต ตอการประกันคุณภาพการศึกษา ผาน ๑.๖.๓-๓ เอกสารรายวิชา ระบบออนไลน เอกสารใบความรูท่ี ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ สามารถสืบคนในเวปไซต งานประกัน การศึกษา คณุ ภาพการศึกษาของวิทยาเขตสรุ ินทร ๔. ทุกกิจกรรมท่ีดําเนินการ มี โครงการในแผนการจัดโครงการและ ๑ . ๖ . ๔ -๑ ร า ย ง า น การประเมินผลความสําเร็จตาม กิจกรรมพัฒนานิสิต ประจําปการศึกษา ความสําเร็จของโครงการที่ วัตถุประสงคของกิจกรรมและนํา ๒๕๖๔ (มิถุนายน ๒๕๖๔ –พฤษภาคม จดั ตามแผนพฒั นานสิ ติ ผลการประเมินมาปรับปรุงการ ๒๕๖๕) จํานวนท้ังสิ้น ๑๐ โครงการ มีผล ดาํ เนนิ งานครง้ั ตอ ไป การประเมินความสําเร็จตามวัตถุประสงค ของโครงการ ๘ โครงการ เพื่อนําผลการ ปรับปรุงโครงการในปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ๕. ประเมินความสําเร็จตาม วิทยาเขตสุรินทร ไดจัดทํารายงานผล ๑.๖.๕-๑ รายงานผลการ วัตถุประสงคของแผนการจัด การดําเนินงานตามแผนพัฒนานิสิต (ผลิต ประเมินความสําเร็จตาม กิจกรรมพฒั นานิสิต บัณฑิต) ตามแผนปฏิบัติการประจําป วัตถุประสงคของแผนพัฒนา ๒๕๖๕ เพื่อรายงานคณะกรรมการประจํา นสิ ิต วิทยาเขตสรุ ินทร ไดรบั ทราบและพิจารณา ใหข อเสนอแนะ ๖. นําผลการประเมินไปปรับปรุง วิทยาเขตสุรินทร ไดนําขอเสนอแนะ ๑ . ๖ . ๖ -๑ ร า ย ง า น ก า ร แผนหรือปรบั ปรุงการจัดกิจกรรม จากพิจารณา ของคณะกรรมการประจํา ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เพอ่ื พัฒนานิสิต วิทยาเขตสุรินทร มาแกไขปรับปรุง ประจาํ วทิ ยาเขตสุรินทร แผนพัฒนานิสิต ในปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑.๖.๖-๒ บันทึกขอความ รวมท้ังรายงานผลการประเมินแจงให รายงานผลการประเมินแจง หลกั สตู ร และสวนงานท่ีเกย่ี วของรับทราบ หลักสูตรและสวนงานท่ี เกย่ี วขอ ง เกณฑก ารประเมนิ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ คะแนน ๑ มีการดาํ เนินการ มกี ารดําเนนิ การ มีการดําเนนิ การ มีการดําเนนิ การ มีการดาํ เนนิ การ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๑ ขอ

การประเมนิ ตนเอง ๒๗ เปาหมาย ผลการดาํ เนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ๖ ขอ ตัวบงช้ีท่ี ๑.๗ หลักสูตรปรับปรุง หรือหลักสูตรใหม หรือหลักสูตรไมมีปริญญา (non degree) ท่ีเปน หลักสูตรบูรณาการระหวางศาสตร หรือหลักสูตร ๒ ปริญญา หรือหลักสูตรขามสถาบัน มี ผลลัพธการเรียนรทู ี่ชดั เจน ชนดิ ของตัวบง ช้ี ผลลพั ธ ท่ี รายการ หนวยนบั ผลการดําเนนิ งาน ๙ ๑ จาํ นวนหลกั สตู รที่เปดสอนท้ังหมด หลกั สตู ร ๕ ๓ ๑.๑ จาํ นวนหลักสตู รประกาศนยี บัตร หลักสตู ร ๑ ๑.๒ จาํ นวนหลกั สตู รปริญญาตรี หลักสูตร ๑ ๑.๓ จาํ นวนหลกั สตู รปรญิ ญาโท หลกั สตู ร ๑.๔ จํานวนหลักสตู รปริญญาเอก หลกั สูตร ๒ จํานวนหลักสตู รปรบั ปรงุ หรอื หลักสูตรใหม หรือหลกั สตู รไมม ี ปรญิ ญา (non degree) ที่มีการบูรณาการระหวางศาสตร หลกั สูตร ๒ ปริญญาและหลกั สูตรขามสถาบัน มีผลลัพธก าร หลักสูตร เรยี นรูท ชี่ ดั เจน ๒.๑ จาํ นวนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รท่ีมีการบรู ณาการ หลกั สตู ร ระหวา งศาสตร ๒.๒ จาํ นวนหลักสตู รปริญญาตรีที่มกี ารบรู ณาการระหวา ง หลักสตู ร ศาสตร ๒.๓ จํานวนหลักสูตรปริญญาโททม่ี กี ารบรู ณาการระหวา ง หลักสตู ร ศาสตร ๒.๔ จํานวนหลกั สตู รปรญิ ญาเอกทมี่ กี ารบูรณาการระหวา ง หลกั สูตร ศาสตร ๒.๕ จาํ นวนหลักสูตรปรญิ ญาตรที ีเ่ ปนหลักสตู ร ๒ ปริญญา/ หลกั สตู ร หลักสตู รขามสถาบนั ๒.๖ จาํ นวนหลักสูตรปริญญาโทท่เี ปน หลกั สูตร ๒ ปรญิ ญา/ หลกั สตู ร หลักสตู รขา มสถาบนั

๒๘ ท่ี รายการ หนวยนบั ผลการดําเนินงาน ๒.๗ จาํ นวนหลักสูตรปริญญาเอกท่เี ปน หลักสูตร ๒ หลักสตู ร ปรญิ ญา/หลักสูตรขา มสถาบัน ๓ รอยละของหลักสูตรในขอ ๒ รอยละ ๔ แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดเทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดย กาํ หนดใหค ะแนนเตม็ ๕ = รอยละ ๕๐ คะแนน การประเมนิ ตนเอง ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลเุ ปา หมาย เปา หมาย ๑๑.๑๑ ๑.๑๑ ไมบรรลุ รอ ยละ ๔๐ รายการหลกั ฐาน ชอ่ื รายการเอกสาร/หลักฐาน รหัสเอกสาร/หลกั ฐาน มคอ. ๒ หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา ๑.๗.-๑ มตสิ ภามหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พิจารณาใหก ารอนุมัติ ๑.๗.-๒ หลกั สตู รและการเปดสอนหลักสตู ร ค.ม. พทุ ธบริหารการศึกษา ตวั บง ชี้ที่ ๑.๘ ผลการประเมินบัณฑิตปริญญาตรีที่มีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค สอบผาน ชนดิ ของตัวบง ช้ี ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผลลัพธ ที่ หลกั สูตร หนว ยนบั ผลการดาํ เนนิ งาน ๑ จาํ นวนหลกั สตู รปริญญาตรีทั้งหมด หลักสูตร ๕ ๒ คะแนนประเมนิ บัณฑติ ปริญญาตรี ตัวบง ช้ีท่ี ๒.๓ คะแนน ๒.๐๖ หลักสตู รพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คะแนน ๓.๗๕ ๓ คะแนนประเมนิ บัณฑิตปริญญาตรี ตวั บงชีท้ ี่ ๒.๓ หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวชิ าสงั คมศึกษา คะแนน ๕ ๔ คะแนนประเมินบัณฑิตปริญญาตรี ตวั บงช้ที ี่ ๒.๓ คะแนน ๑.๙๓ หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาอังกฤษ คะแนน ๑.๘๖ ๕ คะแนนประเมินบัณฑิตปริญญาตรี ตัวบงช้ีที่ ๒.๓ หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑติ ๖ คะแนนประเมินบัณฑติ ปริญญาตรี ตัวบงชี้ที่ ๒.๓ หลักสตู รรัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ

๗ ผลรวมคะแนนประเมินบัณฑิตปริญญาตรีทุกหลักสูตรท่ีมี คะแนน ๒๙ คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคของมหาวิทยาลัย มีทักษะ คะแนน ๑๔.๑๖ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามเกณฑท่ี ๒.๘๓ มหาวิทยาลัยกาํ หนด ๘ คา เฉลยี่ ของคะแนนประเมินทุกหลกั สูตรในขอ ๗ การประเมินตนเอง ผลการดําเนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปา หมาย เปาหมาย ๑๔.๑๖ ๒.๘๓ ไมบ รรลุ ๓.๕๑ คะแนน รายการหลกั ฐาน ชื่อรายการเอกสาร/หลกั ฐาน รหสั เอกสาร/หลักฐาน ผลรวมคะแนนประเมินบัณฑิตปรญิ ญาตรีทุกหลักสูตรทีม่ ีคุณลกั ษณะบัณฑิต ๑.๘-๑ ทีพ่ ึงประสงคของวทิ ยาเขตสุรินทร จากการประเมนิ คุณภาพระดับหลักสตู ร วิเคราะหจุดแข็งและจดุ ทค่ี วรพัฒนา องคประกอบที่ ๑ จดุ แขง็ ๑. วทิ ยาเขตสุรนิ ทร มกี ารสนับสนุนสง เสริม และพัฒนาอาจารยประจาํ ใหมวี ุฒิปรญิ ญาเอก และดํารง ตําแหนง ทางวิชาการ บรรลุตามเกณฑที่ สกอ. กาํ หนด ๒. วิทยาเขตสรุ นิ ทร มีผลการประเมินบณั ฑติ ปริญญาตรีทีม่ ีคณุ ลักษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค สอบผา น ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศ บรรลตุ ามเกณฑตัวบงเพิม่ เติม ของ มจร ทก่ี ําหนดไว จดุ ท่ีควรพัฒนา ๑. ยงั ไมมีการดําเนินการขอเปดหลักสตู รไมมปี ริญญา (non degree) ทเ่ี ปน หลกั สูตรบรู ณาการระหวาง ศาสตร หรอื หลกั สูตร ๒ ปริญญา หรือหลักสตู รขามสถาบนั มีผลลพั ธการเรียนรทู ่ีชดั เจน แนวทางเสริมจุดแขง็ และปรับปรงุ จดุ ที่ควรพัฒนา ๑. ควรดําเนินการขอเปดหลักสตู รไมม ปี ริญญา (non degree) ทเ่ี ปนหลกั สตู รบรู ณาการระหวา งศาสตร หรือหลกั สตู ร ๒ ปริญญา หรอื หลกั สูตรขามสถาบนั เสนอตอ สภามหาวทิ ยาลัย

๓๐ ตวั บงชท้ี ี่ ๒.๑ องคประกอบท่ี ๒ งานวจิ ยั ชนิดของตัวบงชี้ ระบบและกลไกการบริหารและพฒั นางานวจิ ัยหรืองานสรา งสรรค กระบวนการ เกณฑก ารประเมิน ผลการดาํ เนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑. มีระบบสารสนเทศ วิทยาเขตสุรินทร ใชระบบสารสนเทศการบริหาร ๒ . ๑ . ๑ -๑ ฐ า น ข อ มู ล เ พื่ อ ก า ร บ ริ ห า ร งานวิจัยของสวนกลาง คือระบบสารสนเทศสถาบันวิจัย อาจารยและนักวิจัย วิทยา งา นวิ จัย ท่ี ส า มา ร ถ พุทธ ศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช เขตสรุ นิ ทร นําไปใชประโยชนใน วิทยาลัย คือ http://bri.mcu.ac.th เพื่อความเปน ๒.๑.๑-๒ ขอมูลจํานวน ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ จั ย ศู น ย ก ล า ง ใ น ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ อาจารยและขอมูลอาจารย หรอื งานสรางสรรค งานวิจัย/ ใหบริการ/ จัดเก็บขอมูลนักวิจัย มจร. โดย ที่ มี ตํ า แ ห น ง วิ ช า ก า ร ระบบศูนยกลางของสถาบันวิจัยพุทธศาสตรมีความ วิ ท ย า ลั ย เ ข ต สุ ริ น ท ร เชื่อมโยงขอมูลเครื่อขายอุดมศึกษา และหนวยงาน ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ตางๆ รวมไปถึงการพัฒนาการใชระบบฐานขอมูล ๒.๑.๑-๓ ระบบสารสนเทศ งานวิจัยหรืองานสรางสรรค เพื่อใหนักวิจัยดําเนินงาน ก า ร บ ริ ห า ร ง า น วิ จั ย ด า น ก า ร ข อ ทุ น อุ ด ห นุ น ง า น วิ จั ย จ า ก แ ห ล ง ทุ น วิ จั ย ส ถ า บั น วิ จั ย พุ ท ธ ศ า ส ต ร ตางๆ วิทยาเขตฯ เปนหนวยวิจัยยอยภายใตการกํากับ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง ข อ ง ส ถ า บั น วิ จั ย พุ ท ธ ศ า ส ต ร ท้ั ง นี้ ก ร ณ ร า ช วิ ท ย า ลั ย ระบบสารสนเทศท่ีใชในการบริหารงานวิจัย จึง https://bri.mcu.ac.th จําเปนตองปฎิบัติตามประกาศ/ คําสั่ง/ ระเบียบและ ๒.๑.๑-๔ ระบบสารสนเทศ แบบแผนในการดําเนินงานวิจัย ภายใตนโยบายของ (รูปแบบออนไลน) ลิงค สถาบันวิจัยพุทธศาสตร มจร. และจําเปนตอการบริหาร facebook messages งานวิจัยของวิทยาเขตสุรินทร ทั้งสามารถนําไปใช หรือ LINE Group ที่ ประโยชนในการบริหารงานวิจัยหรืองานสรางสรรคได อํานวยความสะดวกในการ อยางสูงสดุ ตอ คณาจารยแ ละนักวิจยั ท้ังปจจบุ นั /อนาคต ประสานงาน กํากับและ ๑) ฐานขอมูลอาจารยและนักวิจัย เปนขอมูลรูปแบบ ติดตามงานวิจัย วิทยาเขต Data ที่อปั เดทจํานวนอาจารยและนักวิจัยในปการศึกษา สุรนิ ทร ปจจุบันจากขอมูลที่เพิ่ม-ลด จากฐานขอมูลจํานวนจริง ๒.๑-๕ ภาพประกอบระบบ ผานโปรแกรม Microsoft excel เปนฐานขอมูลจริงที่ สารสนเทศ (ระบบออนไลน) สามารถนํา ไปใชประโยชนในการบริหารงานวิจัยไดใน ปจจุบันและอนาคต ผานการสํารวจขอมูลจากกลุมงาน บุคคลเพื่อนําไปใชประโยชนในการบริหารงานวิจัยตอไป ๒) ขอมูลจํานวนอาจารยและขอมูลอาจารยที่มี ตําแหนงวิชาการ วิทยาลัยเขตสุรินทร ประจําปกําร ศึกษํา ๒๕๖๔ ๓) เว็บไซตและฐานขอมูลระบบสาระสนเทศการ

๓๑ บริหารงานวิจัย เปนศูนยรวมฐานขอมูลของนักวิจัยที่ เช่ือมโยง ประสานงานกับสถาบันวิจัยพุทธศาสตร โดยตรง รวมถึงเอกส ารบริหารงานวิจัยอ่ืนๆ ที่ สถาบันวิจัยกําหนดไว เปนขอมูลฐานท่ีมีขอมูลการ ดําเนินงาน ดานการวิจัย เอกสารหรือหลักฐานที่ เกี่ยวของกับกับการบริหารงานวิจัย ลิงคเขาสูระบบ สารสนเทศการบริหารงานวิจัย สถาบันวิจัยพุทธ ศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย http://bri.mcu.ac.th ๔) มีระบบสารสนเทศ กลองขอความสําหรับสนทนากลุม , ติดตอสอบถามและประชาสัมพันธขาวสารงานวิจัยและ เปนชองทางในการแจงขาวสารแกสมาชิกในกลุม ผาน ชองทางกลองขอความ facebook กลุมชื่อ“กลุมงานวิจัย แ ล ะ ง า น ส ร า ง ส ร ร ค วิ ท ย า เ ข ต สุ ริ น ท ร https://www.facebook.com/messages/t/19464679 08718579 และ อีกชองทางในการประสานและติดตาม งาน คือ https://line.me/R/ti/g/v3 Yj3 ft9 k3 Line กลุม ชอ่ื “งานวิจยั มจร.สร” โดยมีสมาชิกในกลุม เปน อาจารยและนักวิจัยวิทยาเขตสุรินทร มึการเคล่ือนไหวเพ่ือ รั บ รู ข า ว ส า ร ง า น วิ จั ย อ ย า ง ต อ เ น่ื อ ง ๕) ภาพประกอบระบบสารสนเทศกลองขอความสําหรับ สนทนากลุม, ติดตอสอบถาม, ประชาสัมพันธขาวสาร งา นวิ จัย แ ล ะ เป นช อ งท าง ใน ก าร แจ งข า ว ส าร แ ก สมาชกิ “ระบบสารสนเทศออนไลน facebook messages และ LINE Group” ๒. สนบั สนนุ พันธกจิ วิทยาเขตสุรินทรมีการสนับสนุนพันธกิจดานการ ๒ . ๑ . ๒ -๑ ภ า พ ถ า ย ดา นการวิจยั หรอื งาน วิจัยหรืองานสรางสรรคแกอาจารย/นักวิจัย บุคลากร/ ห อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร วิ จั ย / สรางสรรคใ น ๔ เจาหนาที่ นิสิตจนรวมไปถึงผูท่ีมีความสนใจจะใชบริการ หองสมุดและเทคโนโลยี ประเด็นตอไปนี้ ดานวิชาการ ทงั้ ในสวนของการสืบคนขอมูลตําราวชิ าการ สารสนเทศ สํานักวิชาการ - หองปฏิบัติกา ร สาระความรูจากหนังสือหองสมุด สืบคนขอมูลหรือ วิทยาเขตสุรนิ ทร วิ จั ย ฯ ห รื อ ห อ ง ความรูระบบอิเล็กทรอนิค และยินดีตอนรับหนวยงาน ๒.๑.๒-๒ ขอมูลอีบุคออน ปฏิบัติงานสรางสรรค หรือผูท่ีจะเขามาเยี่ยมชมหอสมุดและเทคโนโลยี ไลน (แหลงเรียนรูวัฒนธรรม หรือหนวยวิจัยฯ หรือ สารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แ ล ะ ห อ ง ส มุ ด ชุ น โ ด ย ศูนยเครื่องมือ หรือ วิทยาเขตสุรินทร ก ร ะ ท ร ว ง วั ฒ น ธ ร ร ม ) ศูนยใหคําปรึกษาและ วิทยาเขตสุรินทร สนับสนุนพันธกิจดานการวิจัย http://anyflip.com/bseo สนับสนนุ การวิจยั ฯ หรืองานสรางสรรคในประเด็นตางๆ และการบริการ j/tpaw - ห อ ง ส มุ ด ห รื อ วิชาการท่ีอํานวยความสะดวกใหแก บุคลากรหรือ ๒.๑.๒-๓ โครงการสราง

แหลงคนควาขอมูล ประชาชน/หนวยงานภายในภายนอก ที่มีความสนใจเขา ๓๒ สนบั สนนุ การวจิ ัยฯ ม า สื บ ค น จ า ก แ ห ล ง เ รี ย น รู สํ า นั ก วิ ช า ก า ร วิ ท ย า เ ข ต - ส่ิงอํานวยความ ณ หอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหา สุรินทร/ภาระงาน/บุคลากร สะดวกหรือการรักษา จฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร ประกอบดวย ฝายปฏิบัติการ (ประจําสวน ความปลอดภัยในการ ๑)หองปฏิบัติการวิจัย ท่ีเปนฐานเก็บรวบรวมองค งานสนบั สนนุ วิชาการ สํานัก วิ จั ย ฯ เ ช น ร ะ บ บ ความรูตางๆ ตําราวิชาการ วิทยานิพนธหรืองานวิจัย เปน วชิ าการวทิ ยาเขตสุรินทร เทคโนโลยีสารสนเทศ แหลงความรูท่ีใหประโยชนและสามารถนําไปใชอางอิง ร ะ บ บ รั ก ษ า ค ว า ม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ซึ่งรวมไว ณ หอสมุดและ ๒ . ๑ . ๓ -๑ แ ผ น พั ฒ น า ป ล อ ด ภั ย ใ น เทคโนโลยีสารสนเทศ สาํ นกั วิชาการ วทิ ยาเขตสรุ ินทร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง หอ งปฏบิ ัติการ ๒) หอสมดุ และเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลยั มหา กรณราชวิทยาลัย ระยะที่ - กิจกรรมวิชาการ จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ไดร บั รางวลั ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) ท่ีสงเสริมงานวิจัยฯ และความรวมมือจากกระทรวงวฒั นธรรมตามนโยบายใน ๒.๑.๓-๒ แผนปฏิบัติการ เชน การจัดประชุม การสงเสริมพฒั นาแหลงเรยี นรขู องชมุ ชน/ทองถ่นิ ในมติ ิ วิชาการ การจัดแสดง ทางวัฒนธรรม เพอ่ื ใหเปน พื้นท่ีแหง การศึกษาเรยี นรขู อมลู งานสรางสรรค การจัด สารสนเทศ องคความรูและประสบการณต ามอธั ยาศัย ถือ ใ ห มี ศ า ส ต ร า จ า ร ย เปนแหลงเรยี นรูตลอดชีวติ ในมติ ิทางวฒั นธรรมท่ีมี อ า คั น ตุ ก ะ ห รื อ ศกั ยภาพและความพรอมประเภทละ 2 แหง ใหเ ปนพื้นที่ ศาสตราจารยรับเชิญ แหง การศึกษาเรยี นรูขอ มูลสารสนเทศ มีหลกั ฐานผลงาน (visiting professor) ผานขอมูลอีบุคออนไลน http://anyflip.com/bseoj/tpaw (แหลงเรียนรูวฒั นธรรมและหองสมดุ ชนุ โดยกระทรวง วัฒนธรรม) ๓) บุคลากรฝา ยปฏบิ ัติการ (สวนงานสนับสนุนวิชาการ สํานักวิชาการวิทยาเขตสุรินทร) มีเจาหนาที่ท่ีปฏิบัติงาน เฉพาะดาน ใหบริการวิชาการและสนุบสนุนประสาน ติดตามงานดานการวิจัย เจาหนาที่ปฏิบัติงานประจํา หองสมุด และเจาหนาที่ที่ดําเนินงานดานการบริการ วิชาการในสวนของหอสมุดเทคโนโลยีสารสนเทศประจํา วิทยาเขตสุรินทร ไดรับคําสั่งแตงต้ังและดําเนินงานตาม ภาระงานท่ีไดรับมอบหมาย ตามโครงสราง งานสนับสนุน เพ่ือใหบรรลุพันธกิจดานการวิจัยหรืองานสรางสรรคและ งานบรกิ ารวชิ าการไป ๓. จัดสรรงบประมาณ วิทยาเขตสรุ ินทรไ ดจ ัดสรรงบประมาณ เพ่ือสงเสริม ของคณะ เพ่ือเปนทุน กจิ กรรมทางวิชาการและเพ่ือการสนบั สนุนใหอ าจารย/ วิ จั ย ห รื อ ง า น นักวจิ ัย นสิ ติ และบคุ ลากรของวิทยาเขตสุรนิ ทร รว มถงึ สรา งสรรค ภาคเี ครือขายระดับอดุ มศึกษาหรือประชาชนทวั่ ไป ได เขา รวมนําเสนอบทความวชิ าการและบทความวจิ ยั ใน

เวทกี ารประชุมวิชาการระดับชาติท่วี ทิ ยาเขตสุรนิ ทรได ๓๓ จดั ขึน้ ประจําปง บประมาณ 2565 (ในวนั ท่ี ๓พฤษภาคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่ผา นมา) คอื งานประชมุ วชิ าการ กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต ระดบั ชาติ มหาจฬุ าฯ สรุ ินทร ครง้ั ที่ ๒ (รปู แบออนไลน) สุ ริ น ท ร ป ร ะ จํ า ป ในหวั ขอ “พทุ ธบูรณาการทองถน่ิ วถิ ีใหมส กู ารพฒั นา งบประมาณ ๒๕๖๕ สังคมที่ยงั่ ยนื ” The 2nd MCUSR National ๒.๑.๓-๓ สรุปโครงการท่ี Conference The Local Buddhist Integration in ตอบสนองยุทธศาสตรและ New Normal towards Sustainable Social พนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัย Development. ณ มจร.วทิ ยาเขตสรุ ินทร ๒.๑.๓-๔ สรปุ ผลการดาํ เนิน ลงิ คเวบ็ ไซน https://mcusrnc2022.com โครงการ/กิจกรรม โครงงาน ประชุมวิชาการระดบั ชาติ โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ คร้ังที่ ๒ ของ มหาจุฬาฯ สรุ นิ ทร ครง้ั ที่ ๒ วิทยาเขตสุรินทร ดําเนินโครงการจากงบประมาณรายได ในหัวขอ “พทุ ธบูรณาการ ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ คอื พระปลดั วชั ระ วชิรญาโณ, ผศ. ทอ งถ่นิ วถิ ใี หมส กู ารพฒั นา ดร. (ผูอํานวยการสํานักวิชาการ) เชื่อมโยงกับมาตรฐาน สังคมท่ียงั่ ยืน” (ระบบ สกอ. องคประกอบท่ี ๒ ดานการวิจัยและผลงาน ออนไลน) (Link เว็บไซต : อาจารย/ องคประกอบที่ ๓ ดานการบริการวิชาการ https://mcusrnc2022.co โ ด ย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ใ น ก า ร จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม วิ ช า ก า ร m) ระดับชาติ คร้ังที่ ๒ ดงั นี้ ๒.๑.๓-๕ วารสารวนัมฎอง แหรกพุทธศาสตรปริทรรศน - เพื่อสง เสริมให คณาจารย นักวิจัย นักวิชาการ นิสิต/ https://so06.tcithaijo.org นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยภาครัฐและ / เอกชน และหนวยงานตางๆ ไดนําเสนอผลงานวิจัยและ index.php/Vanam_434 เผยแพรผ ลงานวชิ าการสสู าธารณชน ๒.๑.๓-๖ วารสารมหา จุฬาคชสาร - เพอ่ื เปน เวทีทางดา นวิชาการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู https://so06.tci- ความคิดเห็น ประสบการณดานการวิจัยระหวางบุคลากร thaijo.org/index.php/gaj สายวิชาการ ภาคีเครือขายคณาจารย/นักวิจัย นักวิชาการ asara นิสิต และประชาชนผูส นใจ - เพ่ือเปนการสรางเครือขายนักวิจัยกับหนวยงานตางๆ ภายในประเทศ วิทยาเขตสุรินทร เล็งเห็นความสําคัญของการจัด เวทีเพื่อและเปล่ียนประสบการณทางดานวิชาการและ งานวิจัยระดับชาติ เพ่ือนําไปสูการพัฒนาตนในสายงาน อาจารย/นักวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย และเครือขาย/ หนวยงาน อุดมศึกษาภายนอก ไดตีพิมพบทความ วิชาการและบทความวิจัย (ฐานการตีพิมพผลงาน ระดับพ้ืนฐาน) จึงไดบรรจุโครงการดังกลาวไวในแผน ปฎิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๕ เพื่อสงเสริม อาจารย/นักวิจัยของวิทยาเขตสุรินทรและผลิตงาน

๓๔ วิชาการอยางสรางสรรคสืบตอไปในอนาคต ระบุไวใน แผนดังนี้ ๑) แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ระยะท่ี ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) ที่แสดงถึงความ เชื่อมโยงยทุ ธศาสตร/เปา ประสงคและกําหนดตัวช้ีวัด ตาม องคประกอบมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒) แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ ๒๕๖๕ (ผูจัดทํา : กลุมงานวางแผนและงบประมาณ วิทยาเขต สุรินทร) สาระสําคัญของแผนปฎิบัติการประจําป งบประมาณ ๒๕๖๕ มีความสอดคลองกับ แผนพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ระยะท่ี ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) เชื่อมโยงยุทธศาสตร/เปาประสงคและ กําหนดตัวช้ีวัด ตามองคประกอบมาตรฐานการประกัน คุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย เพ่ือการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตอการดาํ เนินงานของมหาวทิ ยาลัย ๓) ขอมลู การสรปุ โครงการทตี่ อบสนองยุทธศาสตรและ พันธกิจของมหาวิทยาลัย ในแผนปฎิบัติการวิทยาเขต สุรนิ ทร ประจําปง บประมาณ ๒๕๖๕ (ยทุ ธศาสตรที่ ๒ : สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ ทางพระพุทธศาสนาระดับชาติและนานาชาติ) ขอมูล โครงการ/กิจกรรม จากแผนปฎิบัติการวิทยาเขตสุรินทร ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๕ (สรุปผลการดําเนิน โครงการ/กิจกรรม) รวมถึงสรุปผลการประเมินการ ปฏิบัติงาน เพ่ือใหเกิดมิติของการพัฒนากลุมงานวิชาการ และงานดานวิจัยในเชิงสรางสรรค บรรลุเปาหมายตาม พนั ธกิจของมหาวิทยาลยั ตอ ไป ๔. จัดสรรงบประมาณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต ๒.๑.๔-๑ ตารางสรปุ เ พ่ื อ ส นั บ ส นุ น ก า ร สรุ นิ ทร มีระบบและกลไกสนับสนุนการเผยแพรผลงานวิจัย งบประมาณรายจายตาม เผยแพรผลงานวิจัย หรืองานสรางสรรค ใหแกคณาจารย เพ่ือสนับสนุนการ แผนงาน ผลผลติ หรืองานสรางสรรคใน เผยแพรผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคในการประชุม แผนปฏิบตั ิการประจาํ ปงบ การประชุมวิชาการ วชิ าการ หรอื การตีพิมพในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติ ประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (** ห รื อ ก า ร ตี พิ ม พ ใ น โดยมีการจัดสรรงบประมาณในประจําป ๒๕๖๕ ในการ งบประมาณรายจา ย วารสารระดับชาติหรือ ดําเนิน โครงการ/กิจกรรม ที่ตอบสนองยุทธศาสตรและ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. นานาชาติ พันธกิจของมหาวิทยาลัย (ยุทธศาสตรท่ี ๒ : สงเสริมการ ๒๕๖๕) วิจัยแล ะพัฒนาองคคว ามรูเพ่ือเพ่ิมศักยภ าพทาง

พระพทุ ธศาสนาระดับชาตแิ ละนานาชาติ) ๓๕ โดยจาํ แนกเปน ขอ มูลงบประมาณรายจายตามแผนงาน ๒.๑.๔-๒ วารสารวนัมฎอง แหรกพุทธศาสตรปรทิ รรศน ผลผลติ แผนปฏิบัตกิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ https://so06.tcithaijo.org (**งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕) / index.php/Vanam_434 ๕ . มี ก า ร พั ฒ น า วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินการคัดเลือกอาจารย/ ๒.๑.๔.๓ วารสารมหา สมรรถนะอาจารยและ นักวิจัย ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑที่สถาบันวิจัยฯ ได จุ ฬ า ค ช ส า ร นักวิจัย มีการสราง กําหนด มาตรฐานนักวิจัยผูที่จะรับรางวัลระดับดีเดนไว https://so06.tci- ข วั ญ แ ล ะ กํ า ลั ง ใ จ โดยแนบเอกสาร การสงช่ือนักวิจัยของวิทยาเขตสุรินทร thaijo.org/index.php/gaj ต ล อ ด จ น ย ก ย อ ง (สวนสนับสนุนวิชาการ สํานักวิชาการ) ในสวนของกลุม asara อาจารยและนักวิจัยที่ งานวิจัยประจําวิทยาเขตสุรินทร ดําเนินการคัดเลือก ๒.๑.๕-๑ ภาระงานของ มีผลงานวิจัยหรืองาน นักวิจัย ที่มีคุณสมบัติตรงตามเปาประสงคและมี บุคลากรสายวชิ าการ สรางสรรคด เี ดน ผลงานวิจัย ผลงานวิชากาและงานสรางสรรค ในรอบ 3 ๒.๑.๕-๒ ประกาศผลการ ป ยอนหลังอยางตอเนื่อง จึงสงหลังฐานและประวัติ คัดเลือกผลงานวิจยั ดีเดน ผลงานตางของนักวิจัยประจําวิทยาเขตสุรินทร ไดเขารับ และนกั วจิ ยั ดีเดน ประจาํ ป รางผลงานวิจยั และนักวิจัยดีเดน ประจําป ๒๕๖๔ คอื ดร. ๒๕๖๔ ธ น รั ฐ ส ะ อ า ด เ อี่ ย ม อ า จ า ร ย ป ร ะ จํ า ห ลั ก สู ต ร https://bri.mcu.ac.th/?p พระพุทธ ศาสนามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหา =12856 จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร สงขอมูล ๒.๑.๕-๓ เกียรติบัตรหรือ ประวัตินักวิจัยและผลงานวิชาการ ผลงานวิจัยและงาน วุฒิบั ตร มอ บนัก วิจั ยที่ มี สรางสรรค รอบ ๓ ป ยอ นหลัง ผ ล ง า น วิ จั ย ห รื อ ง า น สรางสรรคดีเดน ประจําป ๑) บันทึกขอความจากตนสังกัด สงขอมูลประวัติ/ ๒๕๖๔ ผลงานวิชาการของนักวิจัยวิทยาเขตสุรินทร เพื่อเขารับ รางวลั นักวจิ ัยดเี ดนประจําป ๒๕๖๔ ๒) ประกาศรายช่ือนักวิจัยที่ผานการคัดเลือกจาก คณะกรรมการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร มจร. (เขารับ รางวัลนกั วจิ ัยดีเดน ประจาํ ป ๒๕๖๔) ๓) ภาพกิจกรรมการเขารับรางวัลนักวิจัยดีเดน ประจําป ๒๕๖๔ เขารวมในการประชุมวิชาการระดับ นานาชาติคร้ังท่ี ๑ และระดับชาติคร้ังท่ี ๘ พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ วทิ ยาลัยสงฆลาํ พนู มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย เกียรติบัตร โดยสถาบันวิจัยพุทธศาสตร มจร. ๓๖ มอบให ดร.ธนรฐั สะอาดเอยี่ ม เพอ่ื แสดงวาเปน อาจารย/ ๒.๑.๖-๑ ประกาศ นักวิจัยที่มีคุณภาพ และคูควรกับรางวัลนักวิจัยดีเดน สถาบันวิจยั พุทธศาสตร ประจาํ ป ๒๕๖๔ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลง ๖. มีระบบและกลไก อาจารย/นักวิจัย วิทยาเขตสุรินทร ไดรับทุนอุดหนุน กรณราชวิทยาลัย เรอื่ ง การ เ พื่ อ ช ว ย ใ น ก า ร การวิจัยในจาก สถาบันวิจัยพุทธศาสตร มจร. ใน นําผลงานวิจัยไปใช คุ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ์ ข อ ง ปงบประมาณ ๒๕๖๔ และดําเนินการปดเลมรายงานวิจัย ประโยชน ง า น วิ จั ย ห รื อ ง า น ฉ บั บ ส ม บู ร ณ ท้ั ง ชุ ด แ ผ น ง า น โ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น ท่ี ๒.๑.๖-๒ ประกาศ สรางสรรคที่นําไปใช ประกอบดวย ระบบและกลไกท่ีชวยคุมครองสิทธิ์ของ สถาบนั วิจยั พทุ ธศาสตร ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ ผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรค พรอมเอกสารแนบเพ่ือนํา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลง ดาํ เนินการตามระบบที่ ผลงานวิจยั ไปใชประโยชนและเผยแพรผลงานวิจัย ในการ กรณราชวทิ ยาลัย เรอ่ื ง การ กําหนด ตีพิมพบทความวิจัย ตอไป นาํ สง รายงานผลงานวจิ ยั ๑) เอกส ารประกอบ การประกาศอนุมัติจบ ฉบับสมบรู ณ ปงบประมาณ ๒๔๖๔-๒๕๖๕ ๒.๑.๖-๓ ขัน้ ตอนการ ๒) เอ กส าร ปร ะ กอ บ รา ยง า นก าร วิจั ยฉ บั บ ดาํ เนินงานวิจัย สถาบนั วิจยั สมบูรณ (เลมรายงานการวจิ ัยสมบูรณ) พุทธศาสตร มหาวทิ ยาลัย ๓) เอกสารประกอบ บันทึกขอความนําสงและแนบ มหาจุฬาลงกรณราช เอกสารหลักฐาน วิทยาลัย ประกอบดวยเอกสารการปดเลมและแนบเอกสาร ๒.๑.๖-๔ บนั ทกึ ขอความ หลักฐานที่เกี่ยวของ ไดแก บันทึกขอความสงเลมวิจัย, นําสง และแนบเอกสาร เอกสารสัญญาวิจัย, หนังสือตอบรับการตีพิมพบทความ หลักฐาน(รวมเอกสาร วิจัยหรือเกียรติบัตร (หากมี), รวมไปถึงหลักฐานหนังสือ หลกั ฐาน/ชดุ แผนงาน รวม รั บ ร อ ง ก า ร ใ ช ป ร ะ โ ย ช น จ า ก ผ ล ง า น วิ จั ย ห รื อ ง า น ๔ เลม) สรางสรรค (แบบ สพ.๐๙.) แนบทายเลมรายงานวิจัย ๒.๑.๖-๕ รายงานการวิจยั เพื่อใหสภาบันวิจัยฯ ตรวจสอบหลักฐานและเอกสาร ฉบบั สมบูรณ ผลการวจิ ยั ท่นี ําประใชป ระโยชนต อ ไป (เลม รายงานการวิจัย สมบูรณ/ ชดุ แผนงาน รวม ๔ เลม) ๒.๑.๖-๖ หนงั สอื รับรองการ ใชป ระโยชนจากผลงานวิจยั หรอื งานสรา งสรรค มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลง กรณราชวิทยลัย (รวม หนังสือรับรองการนาํ

๓๗ ผลงานวิจัยไปใชป ระโยชน/ ชดุ แผนงาน รวม ๔ เลม ) ๒.๑.๖-๗ ชุดองคความรจู าก แผนงานวิจัยเพอื่ นาํ ไป เผยแพรหรือใชประโยชน จากผลงานวิจัยและงานวิชา การเชิงสรา งสรรค เกณฑก ารประเมิน คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดาํ เนนิ การ มีการดาํ เนนิ การ มีการดําเนินการ มกี ารดาํ เนนิ การ คะแนน ๑ มกี ารดาํ เนินการ ๒ ขอ ๓-๔ ขอ ๕ ขอ ๖ ขอ ๑ ขอ ผลการดําเนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลเุ ปาหมาย การประเมนิ ตนเอง ๖ ขอ ๕ บรรลุ เปาหมาย ๖ ขอ

๓๘ ตัวบงชี้ที่ ๒.๒ เงนิ สนับสนนุ งานวจิ ยั และงานสรางสรรค ชนิดชองตัวบงชี้ ปจ จยั นําเขา ที่ รายการ หนว ยนบั ผลการดาํ เนนิ งาน ๑ จาํ นวนอาจารยป ระจาํ (นับเฉพาะทีป่ ฏบิ ตั งิ านจริงไมนับรวมผูลา รูป/คน ๓๙ ศกึ ษาตอ ) ๒ จํานวนนักวิจัย (นับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริงไมนับรวมผูลาศึกษา รูป/คน - ตอ) ๓ จํานวนอาจารยประจําและนักวิจัยทั้งหมด (นับเฉพาะที่ปฏิบัติ รูป/คน - งานจริงไมนบั รวมผลู าศกึ ษาตอ ) ๔ จํานวนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัยจากภายในและภายนอกทัง้ หมด บาท ๔.๑ จาํ นวนเงนิ สนับสนุนงานวิจัยจากภายใน บาท - ๔.๒ จาํ นวนเงินสนับสนนุ งานวจิ ัยจากภายนอก บาท - ๕ แปลงจํานวนเงนิ ที่คํานวณไดเทียบกบั คะแนนเต็ม ๕ โดยกําหนด คะแนน - ใหค ะแนนเตม็ ๕ = ๒๕,๐๐๐ การประเมนิ ตนเอง ผลการดําเนนิ งาน คะแนนการประเมนิ ตนเอง การบรรลเุ ปา หมาย เปาหมาย - - ไมบรรลุ ๒๕,๐๐๐ บาท รายการหลักฐาน ชื่อรายการเอกสาร/หลักฐาน รหสั เอกสาร/หลกั ฐาน

ตัวบง ชที้ ี่ ๒.๓ ผลงานวิชาการของอาจารยประจาํ และนกั วจิ ยั ๓๙ ชนดิ ของตัวบงช้ี ผลผลิต ผลงานวิชาการ ผลการ ดําเนนิ งาน ท่ี รายการ หนวยนับ ๒๘ ๑ จํานวนบทความวิจยั หรอื บทความวชิ าการท่ีตีพิมพมีคาน้าํ หนัก ๐.๒๐ เรอ่ื ง ๖ ๒ จาํ นวนบทความวิจยั หรอื บทความวิชาการทตี่ พี ิมพมคี า นาํ้ หนกั ๐.๔๐ เรอ่ื ง ๘ ๓ จาํ นวนบทความวจิ ยั หรือบทความวชิ าการท่ีตีพิมพมีคานํา้ หนกั ๐.๖๐ เรือ่ ง ๒ ๔ จาํ นวนบทความวิจยั หรือบทความวิชาการที่ตีพิมพมคี านาํ้ หนกั ๐.๘๐ เรื่อง ๕ จาํ นวนผลงานวิชาการทงั้ หมดที่ตพี มิ พม ีคา น้าํ หนกั ๑.๐๐ เร่อื ง ๑ เรื่อง ๕.๑ จํานวนบทความวิจัยหรอื บทความวชิ าการทต่ี ีพิมพ เรื่อง ๕.๒ จาํ นวนผลงานไดรบั การจดสทิ ธิบัตร เรื่อง ๕.๓ จาํ นวนผลงานวชิ าการรบั ใชสังคมทีผ่ า นการประเมนิ ตําแหนง เรอ่ื ง เรอ่ื ง ทางวิชาการแลว ๕.๔ จํานวนผลงานวิจัยทห่ี นวยงานหรอื องคกรระดบั ชาตวิ า จางให เรอ่ื ง ดาํ เนินการ ๕.๕ จํานวนตําราหรอื หนงั สือที่ผานการประเมินตําแหนงทาง วชิ าการแลว ๕.๖ จํานวนตาํ ราหรือหนังสอื ที่ผานการพิจารณาตามหลักเกณฑการ ประเมนิ ตําแหนง ทางวิชาการแตไมไดน ํามาขอรบั การประเมิน ตาํ แหนง ทางวชิ าการ ผลการดาํ เนนิ งาน ที่ รายการ หนว ยนบั ผลการดําเนนิ งาน ๑ จาํ นวนอาจารยประจําท้ังหมด รปู /คน ๓๙ ๒ ผลรวมถว งน้าํ หนักของผลงานวชิ าการ/ผลงานสรางสรรค ของ ผลรวม ๒๒.๖๔ อาจารยป ระจาํ ถวงน้าํ หนกั ๓ รอยละของผลรวมถวงนํ้าหนักของผลงานวชิ าการ/ผลงาน ๕๘.๖๔ สรางสรรค ของอาจารยป ระจาํ รอยละ ๔ แปลงคารอ ยละท่ีคํานวณไดเทียบกบั คะแนนเต็ม ๕ โดย คะแนน ๑๔.๕๑ กาํ หนดใหค ะแนนเต็ม ๕ = รอยละ ๒๐

การประเมินตนเอง ๔๐ เปา หมาย ผลการดาํ เนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย รอ ยละ ๒๐ ๕๘.๐๕ ๕ บรรลุ รายการหลกั ฐาน รหัสเอกสาร/ ชอ่ื รายการเอกสาร/หลักฐาน หลักฐาน บทความวิจัยหรอื บทความวิชาการทต่ี ีพิมพมคี าน้ําหนัก ๐.๒๐ ๒.๓-๑ ตารางสรุปจํานวนบทความวิจัยหรือบทความวิชาการท่ตี ีพิมพมคี าน้ําหนัก ๐.๒๐ ของอาจารย ประจาํ วิทยาเขตสรุ นิ ทร ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๓-๒ ตารางสรุปจํานวนบทความวิจัยหรอื บทความวชิ าการท่ตี ีพมิ พม คี า น้ําหนกั ๐.๔๐ ของอาจารย ประจาํ วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร ประจาํ ปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๓-๓ ตารางสรุปจาํ นวนบทความวิจัยหรอื บทความวิชาการท่ตี ีพิมพม ีคา นํ้าหนัก ๐.๖๐ ของอาจารย ประจาํ วิทยาเขตสุรนิ ทร ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๓-๔ ตารางสรุปจํานวนบทความวจิ ัยหรอื บทความวิชาการทต่ี ีพมิ พม ีคา น้ําหนกั ๐.๘๐ ของอาจารย ประจาํ วทิ ยาเขตสุรินทร ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๖๔ ๒.๓-๕ ตารางสรุปจํานวนบทความวิจัยหรอื บทความวิชาการท่ตี ีพิมพมีคา นํ้าหนัก ๑.๐๐ ของอาจารย ประจาํ วทิ ยาเขตสรุ ินทร ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔

๔๑ ตวั บง ชท้ี ี่ ๒.๔ งานวิจัยพัฒนาองคความรหู รอื นวัตกรรมทางพระพทุ ธศาสนาทีม่ ีการนําไปใชป ระโยชน ชนิดของตัวบงชี้ ผลลัพธ ผลดําเนนิ งาน ที่ รายการ หนว ยนับ ผลการดําเนนิ งาน ๑ จํานวนงานวิจยั ทั้งหมดที่แลวเสรจ็ ในปก ารศึกษาทปี่ ระเมิน เร่อื ง ๕ ๒ จํานวนงานวิจัยพัฒนาองคความรูหรือนวัตกรรมทาง เรือ่ ง ๕ พระพุทธศาสนาทนี่ าํ ไปใชประโยชน ๓ รอยละของงานวิจัยพัฒนาองคความรูหรือนวัตกรรมทาง รอ ยละ ๑๐๐ พระพุทธศาสนาท่ีนําไปใชประโยชนของคณะ วิทยาเขตหรือ วทิ ยาลยั ๕ ๔ แปลงคารอยละท่ีคํานวณไดเทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกําหนด คะแนน ใหค ะแนนเตม็ ๕ = ๕๐ การประเมนิ ตนเอง ผลการดาํ เนนิ งาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลเุ ปา หมาย เปา หมาย ๑๐๐ ๕ บรรลุ รอ ยละ ๔๐ รายการหลกั ฐาน รหสั เอกสาร/หลกั ฐาน ช่อื รายการหลักฐาน/เอกสาร ๒.๔-๑ หนงั สอื รบั รองการใชป ระโยชนจากผลงานวิจยั หรืองานสรางสรรค วเิ คราะหจุดแขง็ และจดุ ท่คี วรพฒั นา องคป ระกอบที่ ๒ จุดแขง็ ๑. คณาจารยของวทิ ยาเขตสุรินทร มคี วามตระหนักและกระตอื รือรน ในการเขยี นและเสนองานวิจยั อยางตอเน่อื งท้งั งานวิจยั เฉพาะรายบคุ คลและงานวจิ ยั กลุม ๒. คณาจารย ของวทิ ยาเขตสุรินทร ไดร ับการพฒั นาดานการจดั ทาํ ผลงานทางวชิ าการ จนสามารถสง บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการตีพิมพเ ผยแพรใ นวารสารที่มีคา นํ้าหนัก ๑.๐๐ จดุ ที่ควรพฒั นา ๑ วิทยาเขตสุรนิ ทร ยังขาดการดําเนินงานจดั ทาํ ระบบขอมูลสารสนเทศทคี่ รบถวน ทเ่ี ปนประโยชนเพื่อ การบรหิ ารงานวิจยั ของผูบ ริหาร หรอื นาํ มาใชเพือ่ พฒั นา และวางแผนงานวจิ ยั อยา งเปนระบบ ๒ ควรมกี ารจัดตง้ั กองทนุ วิจัยหรอื งานสรา งสรรคข องวทิ ยาเขตสรุ ินทร โดยใหก ารสนบั สนุนทุนวิจยั แก คณาจารยประจําหลักสตู ร พรอ มกบั มรี ะบบและกลไกในการขบั เคล่ือนกองทนุ วิจัยใหเปนไปอยา งตอ เนื่องและ

๔๒ เปน การสงเสรมิ สนบั สนุนใหอาจารยประจําวิทยาเขตสรุ ินทรไ ดรับทนุ วิจยั และมีผลงานวิจัยหรืองานสรางสรรคท่ี เพียงพอตอสัดสว นของจํานวนคณาจารยท ้ังหมดและเปน ไปตามเกณฑมาตรฐานในปก ารศกึ ษาถัดไป แนวทางเสริมจุดแข็งและปรับปรุงจดุ ทค่ี วรพฒั นา ๑. ควรพัฒนาตอยอดฐานขอ มลู ของคณาจารย พรอมจัดทําขอ มูลผลงานวิจัยของคณาจารยท ี่ไดรบั การ ตีพิมพเผยแพร ประจําปการศึกษา และสถิตงิ บประมาณวจิ ัยจากแหลง ทนุ วจิ ัยจากสถาบันวจิ ยั และแหลง ทนุ อื่นๆ

๔๓ ตัวบงช้ีท่ี ๓.๑ องคป ระกอบที่ ๓ การบริการวชิ าการ ชนิดของตัวบงช้ี การบรกิ ารวิชาการแกส งั คม กระบวนการ เกณฑก ารประเมนิ ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลกั ฐาน ๑. จัดทําแผนการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช ๓.๑.๑-๑ แผนปฏิบัติการ ประจําปท่ีสอดคลองกับความ วิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร ไดมีคําส่ัง ท่ี ประจาํ ปงบประมาณ ๒๕๖๔ ตองการของสังคมและกําหนดตัว ๑๔๑/๒๕๖๓ เร่ืองแตงตั้งคณะกรรมการ วิทยาเขตสรุ นิ ทร บงช้ีวัดความสําเร็จในระดับแผน จัดทําแผนบริการวิชาการและแผนทํานุ ๓.๑.๑-๒ แผนการบริการ และโครงการบริการวิชาการแก บํารุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาเขต วชิ าการ วทิ ยาเขตสรุ ินทร สังคมและเสนอกรรมการประจํา สุรินทร ปงบประมาณ ๒๕๖๔ โดย ประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๔ วิทยาเขต เพ่อื พิจารณาอนุมตั ิ วิเคราะหความเช่ือมโยงในแผนปฏิบัติการ ๓.๑.๑-๓ รายงานการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๔ มีหนาที่ใน ประชุมคณะทาํ งานจัดทาํ การจัดทําแผน กํากับ ติดตาม และ แผนบริการวชิ าการ บริหารงานบริการวิชาการแกสังคม และ ประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๔ เสนอแผนบริการวิชาการ ปงบประมาณ ๓.๑.๑-๔ บันทึกขอ ความ ๒๕๖๔ ตอ คณะกรรมการประจําวิทยาเขต เสนอแผนบรกิ ารวชิ าการตอ สุรนิ ทร คณะกรรมการประจาํ วิทยา วิทยาเขตสุรินทร ไดกําหนดตัวช้ีวัด เขตสรุ นิ ทร และคาเปา หมายในแผนบริการวิชาการ ไว ดังนี้ จํานวนของโครงการบริการวิชาการแก สังคมที่บริการแบบใหเปลา จํานวน ๓ โครงการ จํานวนของโครงการบริการวิชาการแก สังคมท่ีบูรณาการกับการเรียนการสอน จาํ นวน ๒ โครงการ จํานวนของโครงการบริการวิชาการแก สังคมท่ีบูรณาการกับการวิจัย จํานวน ๑ โครงการ จํานวนพ้นื ทช่ี มุ ชนทไ่ี ดร ับการบริการ วิชาการแกสังคมกอใหเกิดผลตอการ เสริมสรา งความเขมแขง็ แกช มุ ชน จํานวน ๑ ชุมชน เปนตน ซึ่งปรากฏในแผน บริการวชิ าการ วทิ ยาเขตสุรินทร ประจาํ ป งบประมาณ ๒๕๖๔

๔๔ เกณฑก ารประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลกั ฐาน ๒. โครงการบริการวิชาการแก วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินการ ๓.๒.๒-๑ รายงานผลการ สังคมตามแผน มีการจัดทํา โครงการบริการวิชาการแกสังคม ตาม ดําเนินโครงการสอน แผนการใชประโยชนจากการ แผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ ภาษาอังกฤษแกบุคลากร บริการวิชาการเพ่ือใหเกิดผลตอ ๒๕๖๔ และมีการจัดทําแผนการใช และบุคคลท่วั ไป การพัฒนานิสิต ชุมชน หรือ ประโยชนจากการใหการบริการวิชาการ สังคม ไดแกโครงการสอนภาษาอังกฤษแกบุคลา และบุคคลทั่วไป โดยอาจารยประจํา วิชาการสอนภาษาอังกฤษ เปนผูดําเนิน โครงการ โดยการนํานิสิตไปใหการบริการ วิชาการแกชมุ ชนและสังคมเพื่อเปนการให นิสิตไดนําองคความรูจากการเรียนใน หอ งเรียนไปสูการปฏบิ ัตจิ ริง ๓. โครงการบริการวิชาการแก วิทยาเขตสุรินทร ไดดําเนินการ ๓.๒.๓-๑ รายงานผลการ สังคมในขอ ๑ อยางนอยตองมี โครงการบริการวิชาการแกสังคม ตาม ดําเนินโครงการศูนยปฏิบัติ โครงการทบี่ รกิ ารแบบใหเปลา แผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ วิปสสนากัมมัฏฐานและการ ๒๕๖๔ มีโครงการทบ่ี ริการแบบใหเปลา ท่ี เผยแผ กําหนดไวในแผนบริการวิชาการ จํานวน ๓.๒.๓-๒ รายงานผลการ ๓ โครงการ ไดแก ดําเนนิ โครงการสอน ๑. โครงการศูนยปฏิบัติวิปสสนา ภาษาองั กฤษแกบุคลากร กมั มฏั ฐานและการเผยแผ และบคุ คลทั่วไป ๒. โครงการสอนภาษาองั กฤษแก บุคลากรและบคุ คลท่ัวไป ๔. ประเมินความสําเร็จตามตัว วิ ท ย า เ ข ต สุ ริ น ท ร ไ ด ป ร ะ เ มิ น ๓.๑.๔-๑ แบบสรุปผลการ บง ชขี้ องแผนและโครงการบริการ ความสําเร็จตามตัวบงช้ีของแผนปฏิบัติ ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ วิชาการแกสังคมในขอ ๑ และ การประจาํ ปงบประมาณ ๒๕๖๓ ดานการ การประจําปงบประมาณ นําเสนอกรรมการประจําวิทยา ใหบริการวิชาการ มาจัดทําแผนการ ๒๕๖๔ ดานการใหบริการ เขต เพือ่ พิจารณา บริการวิชาการ ประจําปงบประมาณ วชิ าการ ๒๕๖๔ นําเสนอคณะกรรมการประจํา วิทยาเขตสุรินทร เพื่อพิจารณา และมีการ ประเมินความสําเร็จตามตัวบงชี้ของแผน บริการวิชาการ วิทยาเขตสุรินทร ประจําป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๖ ๔ ใ น ช ว ง เ ดื อ น กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ตอ ไป ๕. นําผลการประเมินตามขอ ๔ วิทยาเขตสุรินทร ไดมีการประชุม ๓ . ๑ . ๕ -๑ ร า ย ง า น ก า ร มาปรับปรุงแผนหรือพัฒนาการ คณะกรรมการประจําวิทยาเขตเพื่อ ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร