Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานประวัติศาสตร์ ม 1

ใบงานประวัติศาสตร์ ม 1

Published by preeyapong95, 2020-07-18 23:19:14

Description: ใบงานประวัติศาสตร์ ม 1

Search

Read the Text Version

ใบงาน การใชศ้ ักราชในหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ไทย คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นศึกษากรณีตวั อยา่ ง แลว้ ตอบคาถาม กรณีตวั อยา่ งที่ 1 “ครนั้ ศกั ราช ๘๙๑ ปฉี ลูศก ญ วนั อาทติ ย์ ข้นึ ๕ ค่า เดือน ๘ ขุนวรวงศาธิราชเจา้ แผน่ ดนิ คิดกันกบั แม่อยหู่ วั ศรสี ดุ าจันทร์ให้เอาพระยอดฟ้าไปประหารชวี ติ เสยี ณ วัดโคกพระยา แต่พระศรีศิลปน์ อ้ งชาย พระชนมไ์ ดเ้ จด็ พรรษานนั้ เลย้ี งไว้ สมเด็จพระยอดฟ้าอยู่ในราชสมบัติปีกับสองเดือน” ทีม่ า : พงศาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา 1. จากกรณตี ัวอยา่ งเป็นเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนในสมยั ใด สมยั กรุงศรอี ยุธยา 2. เหตกุ ารณด์ ังกลา่ วเป็นศักราชใด จลุ ศักราช 3. เหตกุ ารณด์ ังกลา่ วเกิดขึน้ เมอื่ ใด วนั อาทติ ยข์ ้ึน ๕ ค่า เดอื น ๘ ปฉี ลูเอกศก จลุ ศักราช ๘๙๑ กรณีตวั อย่างท่ี 2 “...ภายหลังมานบั ถอยหลงั ขึน้ ไปในรตั นโกสินทร์ศก ๘๕ มีจนี คนหนง่ึ ช่ือเจก๊ ฮง จดั ตง้ั โรงรับจานาขึน้ โรงหน่ึงท่ี รมิ ประตูผนี ีเ้ อง...” ท่มี า : วารสารวชริ ญาณวเิ ศษ เล่ม ๖ รตั นโกสนิ ทร์ ๑๐๕ 1. จากกรณตี วั อยา่ งเป็นเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ข้ึนในสมยั ใด สมยั กรุงรตั นโกสินทร์ 2. เหตุการณด์ ังกลา่ วเปน็ ศักราชใด รตั นโกสินทรศ์ ก 3. เหตกุ ารณด์ ังกลา่ วเกิดขน้ึ เมอ่ื ใด รัตนโกสนิ ทร์ศก ๘๕ กรณตี ัวอยา่ งที่ 3 “เมอ่ื ก่อนลายสือไทน้ี บม่ ี ๑๒๐๕ ศก ปีมะแม พอ่ ขุนรามคาแหงหาใคร่ใจในใจ แลใสล่ ายสอื ไทน้ี ลายสอื ไทน้ี จึ่งมีเพื่อพอ่ ขุนผนู้ ้ันใส่ไว้” ทม่ี า : ศิลาจารกึ พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ดา้ นท่ี ๔ 1. จากกรณตี ัวอยา่ งเป็นเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้ึนในสมยั ใด สมยั สุโขทยั 2. เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วเป็นศกั ราชใด มหาศกั ราช 3. เหตุการณ์ดังกลา่ วเกดิ ขึ้นเมอื่ ใด ๑๒๐๕ ศก ปมี ะแม

ใบงาน ที่มาของศกั ราช คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. การนบั ศกั ราชที่ 1 ของแต่ละศกั ราชเริ่มนับเมอ่ื ใดบ้าง - พุทธศักราช เรม่ิ นับจากปที ่พี ระพทุ ธเจา้ ปรินพิ พาน - คริสต์ศักราช เรม่ิ นบั จากปปี ระสตู ขิ องพระเยซู - ฮิจเราะห์ศกั ราช เริ่มนับจากปที ่นี บมี ฮู มั มัดอพยพจากเมอื งเมกกะไปเมอื งเมดินะ - มหาศักราช เรม่ิ นบั จากปที พ่ี ระเจ้ากนษิ กะแหง่ ราชวงศก์ ษุ าณะทรงตงั้ ข้ึน - จุลศักราช เรมิ่ นับจากปีที่โปปะสอระหันกษัตริยพ์ ม่าขน้ึ ครองแผน่ ดนิ - รตั นโกสินทร์ศก เริ่มนบั จากปีทร่ี ชั กาลที่ 1 ทรงสถาปนากรุงรตั นโกสนิ ทร์ 2. ศักราชใดบ้างท่ยี ังคงนยิ มใชอ้ ยู่ในปจั จบุ ัน พทุ ธศกั ราช คริสต์ศกั ราช และฮิจเราะห์ศักราช 3. ประเทศไทยใชศ้ ักราชใดบ้างในการบันทกึ ประวตั ิศาสตร์ มหาศกั ราช จุลศักราช และพุทธศักราช 4. เพราะเหตใุ ด ฮจิ เราะหศ์ กั ราชจงึ มกี ารเปล่ียนแปลงการนับทกุ ๆ 32 ปีครึง่ เพราะฮิจเราะหศ์ ักราช เปน็ ศกั ราชทางศาสนาอสิ ลามใชด้ วงจันทรใ์ นการกา่ หนดเวลา ทา่ ให้ 1 ปี มี 354 วัน ตา่ งจากครสิ ต์ศักราชท่ีมี 365 ¼ วนั 5. ศักราชมีความสาคญั อย่างไรในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ ศักราช ชว่ ยบอกเวลาในการเกดิ เหตุการณ์ทางประวัตศิ าสตรใ์ หช้ ดั เจนขึน้ ทา่ ใหเ้ ราทราบว่า เหตกุ ารณ์ทาง ประวตั ศิ าสตรต์ า่ งๆ นนั้ เกิดขึ้นเมอื่ ใดหรือในช่วงเวลาใด

ใบงานท่ี การเปรยี บเทยี บศักราชแบบตา่ งๆ คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. นกั เรียนทเ่ี ขา้ เรยี นชัน้ ม. 1 ปี พ.ศ. 2555 จะต้องมีอายุครบ 13 ปี ดังนน้ั นักเรยี นทีจ่ ะเข้าเรียนได้จะตอ้ ง เกดิ ใน พ.ศ. ใด และตรงกบั ค.ศ. ใด นกั เรียนที่จะเขา้ เรยี นช้นั ม. 1 ในปี พ.ศ. 2555 จะตอ้ งเกดิ ปี พ.ศ. 2542 ตรงกบั ค.ศ. 1999 รุงศรอี ยุ 2. ขนุ เดชเขา้ ทางานเป็นเจา้ หนา้ ทอี่ นุรกั ษโ์ บราณสถานในอทุ ยานประวัติศาสตร์สุโขทยั เมอื่ 20 เมษายน ร.ศ. 127 แสดงวา่ ขุนเดชทางานเปน็ เจ้าหน้าทอี่ นุรกั ษโ์ บราณสถานในอทุ ยานประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั ในปี พ.ศ. ใด พ.ศ. 2452 3. “ศุภมศั ดุ จลุ ศกั ราช 1236 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลงกรณ์ เปน็ พระเจา้ แผ่นดนิ ในรชั กาล ท่ี 5 ทรงพระราชดารวิ า่ ไดท้ รงประกาศตง้ั เคานซ์ ิลลอรอ์ อฟสเตด ที่ปรึกษาราชการแผ่นดนิ ไวแ้ ตว่ ันศุกร์ เดือนหก แรมแปดคา่ ปจี อศก เพอื่ จะไดช้ ว่ ยคดิ ราชการแผน่ ดนิ ” พระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ วประกาศใน พ.ศ. ใด พ.ศ. 2417 รุงศรีอยุ 4. ถ้านกั เรียนนับถือศาสนาอสิ ลาม แลว้ สานกั จุฬาราชมนตรปี ระกาศวันออกบวชของชาวมสุ ลมิ ใหต้ รงกบั วนั ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555 จะตรงกับฮจิ เราะห์ศักราชใด ฮ.ศ. 1433 กรงุ ศรีอยุ 5. “๑๒๐๕ ศก ปมี ะแม พอ่ ขุนรามคาแหงหาใครใจในใจ แลใส่ลายสือไทยน้ี” แสดงให้เหน็ ว่า พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงประดษิ ฐ์อกั ษรไทยขึน้ ใน พ.ศ. ใด และตรงกับ จ.ศ. ใด พ.ศ. 1826 และตรงกับ จ.ศ. 645กรงุ ศรอี ยุ บทสรปุ การเปรียบเทยี บศักราชแบบต่างๆ มคี วามสาคญั ต่อการศึกษาประวตั ศิ าสตร์อย่างไรบา้ ง

ใบงานที่ ความหมายและความสาคญั ของประวัตศิ าสตร์ คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามทีก่ าหนดให้ถูกต้อง 1. ประวตั ศิ าสตร์ หมายถึงอะไร 2. เพราะเหตใุ ด การศึกษาประวตั ศิ าสตรจ์ าเป็นตอ้ งอาศัยความร้ทู างด้านโบราณคดี 3. การศึกษาประวตั ศิ าสตรม์ คี วามสาคญั อย่างไร

ใบงานที่ หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. หลักฐานทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย แบ่งออกเปน็ กป่ี ระเภท อะไรบ้าง หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทยแบง่ ออกเปน็ ประเภทใหญๆ่ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ 1) หลักฐานที่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ได้แก่ ต่านาน จารึก พงศาวดาร บันทกึ ของชาวต่างชาติ จดหมายเหตุเอกสาร ทางราชการ 2) หลกั ฐานที่ไมเ่ ป็นลายลักษณอ์ ักษร ได้แก่ โบราณสถาน โบราณวัตถตุ า่ งๆ 2. เพราะเหตใุ ด การนาตานานมาใช้เป็นหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรจ์ ึงต้องใช้ดว้ ยความระมัดระวงั เพราะต่านานเปน็ เร่ืองทเ่ี ล่าต่อๆ กันมา แล้วมีการน่ามาบันทึกเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรในภายหลงั เร่อื งท่ีอยใู่ น ตา่ นานจึงอาจถกู เปล่ียนแปลงจากเรอื่ งเดิมได้ ทัง้ ยงั ไม่มกี ารระบเุ วลาแนช่ ดั อกี ดว้ ย 3. ถ้านกั เรียนศกึ ษาหาความรู้ทางประวตั ศิ าสตรจ์ ากพงศาวดาร นกั เรยี นจะได้รับความร้เู ร่อื งใดบา้ ง เพราะเหตใุ ด เหตกุ ารณ์เกยี่ วกับอาณาจกั ร และพระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั รยิ ์ผ้คู รองอาณาจกั รนัน้ ๆ เน่อื งจาก พงศาวดารเปน็ การบนั ทกึ เรื่องราวในอดตี ภายใตก้ ารอุปถมั ภ์ของราชส่านัก จึงมเี นอื้ หาเกีย่ วขอ้ งกบั ราชอาณาจักรและ พระมหากษัตริย์เปน็ สว่ นใหญ่ 4. การนาบนั ทกึ ของชาวตา่ งชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยมาใชเ้ ปน็ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ จะต้องคานงึ ถึงอะไรบา้ ง ความเข้าใจผิดในวฒั นธรรมของคนไทย เนอื่ งจากชาวตา่ งชาตมิ ีพนื้ ฐานทางความคิด และวฒั นธรรมทแ่ี ตกต่าง จากคนไทย 5. นกั เรยี นคดิ วา่ จดหมายเหตสุ ามารถนามาใชเ้ ปน็ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรไ์ ดห้ รอื ไม่ อธิบายเหตุผล จดหมายเหตุสามารถน่ามาใชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการศึกษาเรอื่ งราวทางประวตั ศิ าสตร์ได้เป็นอยา่ งดี เพราะมีการระบุ เวลาท่ีแนน่ อน ให้รายละเอียดของเหตกุ ารณ์อยา่ งชดั เจน พร้อมทง้ั สอดแทรกความคิดเหน็ ของผบู้ ันทึกลงไปดว้ ย บทสรปุ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์มคี วามสาคัญตอ่ การศึกษาประวัตศิ าสตร์อย่างไรบ้าง

ใบงานที่ พัฒนาการของชุมชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นยกตัวอย่างหลักฐานทางโบราณคดที ่ีแสดงให้เหน็ พัฒนาการของชมุ ชนโบราณในภาค ตา่ งๆ ของไทย พรอ้ มระบแุ หล่งทพี่ บ หลักฐานทางโบราณคดที แี่ สดงให้เห็นพฒั นาการของชมุ ชนโบราณในภาคตา่ งๆ ของไทย ชุมชนยคุ ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคใต้ เครอ่ื งมอื หินกะเทาะ ยุคหนิ เกา่ เครอ่ื งมือหินขดุ สบั ตัด พบที่ถา้ ผแี มน เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะ เครอ่ื งขุด ยคุ หนิ กลาง ขวานหนิ พบท่ี จ.แม่ฮอ่ งสอน ยุคหนิ ใหม่ ขวานหนิ พบท่ี เครื่องขดุ สบั ตดั เครอ่ื งมอื สบั ตัด และ ยุคสารดิ ถา่้ เขาทะลุ ถ่้าเมน่ เครอ่ื งมอื หินกะเทาะ ยุคเหลก็ อ.บ้านเกา่ จ.กาญจนบุรี พบที่ถา้ ผีแมน พบที่ อ.เชยี งคาน จ.เลย ที่พา่ นักอาศยั ของมนุษย์ จ.แมฮ่ อ่ งสอน เครอ่ื งมือหนิ ขดุ สบั ตดั อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบทถ่ี า่้ หลังโรงเรียน ขวานหนิ พบที่ เครื่องมอื หินกะเทาะ ขวานหนิ พบที่ พบทถ่ี ้าผีแมน เครอ่ื งมือหนิ กะเทาะ เครอ่ื งขุด ถา่้ เขาทะลุ ถ้่าเมน่ จ.แมฮ่ อ่ งสอน เครอ่ื งขุด สบั ตดั เครื่องมือสบั ตัด และ อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบรุ ี พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ทพ่ี ่านักอาศยั ของมนุษย์ เครื่องมือหนิ กะเทาะ อ.ดอนตาล จ.มุกดาหาร พบท่ถี ้่าหลังโรงเรยี น เครอ่ื งมอื หินขุด สบั ตัด พบท่ถี า้ ผแี มน ขวานหนิ พบท่ี จ.แม่ฮอ่ งสอน เครอ่ื งมือหินกะเทาะ เคร่อื งขดุ ขวานหนิ พบท่ี เครอ่ื งขดุ สบั ตดั เครือ่ งมือสบั ตดั และ ถ้า่ เขาทะลุ ถ้่าเมน่ เครื่องมือหินกะเทาะ พบที่ อ.เชียงคาน จ.เลย ที่พา่ นกั อาศัยของมนุษย์ อ.บ้านเก่า จ.กาญจนบรุ ี พบทถ่ี ้าผแี มน อ.ดอนตาล จ.มกุ ดาหาร พบท่ีถา่้ หลงั โรงเรียน จ.แมฮ่ ่องสอน เคร่ืองมือหนิ ขุด สบั ตดั เครอ่ื งมอื หนิ กะเทาะ เครื่องขดุ ขวานหิน พบที่ เครอ่ื งขดุ สบั ตัด เครื่องมือสบั ตดั และ ขวานหิน พบที่ พบท่ี อ.เชยี งคาน จ.เลย ท่พี า่ นักอาศัยของมนุษย์ ถ้่าเขาทะลุ ถ้่าเม่น อ.ดอนตาล จ.มกุ ดาหาร พบท่ถี า่้ หลงั โรงเรียน อ.บ้านเกา่ จ.กาญจนบุรี เคร่ืองมอื หนิ กะเทาะ เครือ่ งขุด เครื่องมอื หินขดุ สบั ตัด เครื่องขดุ สบั ตดั เคร่อื งมอื สบั ตัด และ ขวานหิน พบที่ พบท่ี อ.เชียงคาน จ.เลย ทพี่ า่ นกั อาศยั ของมนุษย์ ขวานหิน พบที่ อ.ดอนตาล จ.มกุ ดาหาร พบทถี่ า้่ หลงั โรงเรยี น ถา้่ เขาทะลุ ถ่้าเมน่ อ.บา้ นเก่า จ.กาญจนบุรี

สมัยก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นประเทศไทย นักโบราณคดชี าวตะวันตกและชาวไทย ดังเช่น ดร.แวน ฮิกเกอเรน นายแพทย์สุด แสงวิเชียร และศาสตราจารย์ชิน อยดู่ ี ไดแ้ บ่งสมัยประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนประเทศไทยไว้ 4 ยคุ 1. ยคุ หนิ เก่า รอ่ งรอยของมนุษย์หินเก่าในประเทศไทยพบค่อนข้างน้อย โดยหลังสงครามโลกร้ังที่ 2 พบเคร่ืองมือหินที่สถานีบ้าน เกา่ จงั หวดั กาญจนบรุ ี โดยดร. แวน ฮิกเกอเรน นักโบราณคดีชาวฮอลันดาซงึ่ ขณะนนั้ เป็นเชลยศึกของญ่ีปุ่น ถูกเกณฑ์มา สรา้ งทางรถไฟสายกาญจนบุรี-มะละแหม่ง เม่ือสงครามสงบลงเขาได้ส่งเครื่องมือหินเหล่าน้ันไปตรวจสอบ ท่ีพิพิธภัณฑ์พี บอดี้ มหาวิทยาลัยฮาวาร์ด พบว่าเป็นเคร่ืองมือกรวดกะเทาะหน้าเดียว 6 ก้อน และขวานหินขัดสมัยใหม่ 2 ก้อน จึงเป็น หลกั ฐานยืนยันว่ามีมนุษย์ที่ใช้เครื่องมือหินเก่าอาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยปัจจุบัน และยังพบเคร่ืองมือหินเก่าที่ อาเภอเชยี งแสน จังหวัดเชยี งรายด้วย 2. ยคุ หินกลาง จากการขดุ ค้นทางโบราณคดขี องคณะสารวจก่อนประวตั ิศาสตร์ไทย-เดนมาร์ก ที่ถ้าพระ ตาบลไทรโยค อาเภอไทร โยค จงั หวดั กาญจนบรุ ี เม่อื พ.ศ. 2504 ได้พบร่องรอยของมนุษย์โบราณยุคหนิ กลางในประเทศไทย ดังพบ โครงกระดูก มนุษย์ เคร่ืองมือหินกะเทาะทาด้วยหินกรวดท่ีมีความประณีต (นอกจากที่กาญจนบุรีแล้ว ยังพบเครื่องมือหินกะเทาะท่ี จงั หวดั อ่ืนๆ อกี เช่น แม่ฮอ่ งสอน เชียงใหม่ สระบรุ )ี กระดูกสัตว์ เปลือกหอยกาบ เศษเครื่องป้ันดินเผา เป็นต้น สาหรับ ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องมนุษย์ยุคนี้มักอาศัยอยู่ในถ้าหรือตามเพิงผา ยังคงล่าสัตว์และเก็บผลไม้เหมือนกับมนุษย์ยุคหินเก่า เมือ่ พิจารณาอายุโดยประมาณของยุคหนิ กลางในประเทศไทยนา่ จะอย่รู ะหว่าง 10,000 ถงึ 30,000 ปีกอ่ น ค.ศ. 3. ยุคหินใหม่ จากการขุดค้นของคณะสารวจก่อนประวัติศาสตร์ไทย-เดนมาร์กที่บ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี ได้พบโครงกระดูก มนษุ ยย์ คุ หินใหม่กวา่ 50 โครง (นอกจากทก่ี าญจนบรุ ีแลว้ ยงั มีการพบโครงกระดกู มนษุ ย์ยคุ หินใหม่ท่ีจังหวัดอื่นด้วย เช่น ราชบุรี นครสวรรค์ ลพบรุ )ี เคร่ืองมือเครื่องใชท้ ีท่ าด้วยหนิ ท่เี รยี กวา่ ขวานหนิ ขดั หรือขวานฟ้า ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นขวาน ศกั ดสิ์ ิทธิ์ ที่ตกลงมาจากฟ้าขณะทฟี่ ้าแลบหรือฟา้ ผา่ มอี ายปุ ระมาณ 4,000 ปี นอกจากน้ียังพบเคร่ืองมือ ท่ีทาด้วยกระดูก เปลอื กหอย นักโบราณคดีสันนิษฐานว่ามนุษย์ยุคหินใหม่ดารงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จักทาเครื่องประดับจากเปลือกหอย ลูกปดั กาไลหนิ -กระดูก มีการฝงั ศพผตู้ ายในทา่ นอนหงาย แขนแนบลาตวั วางเครือ่ งปั้นดินเผาไวเ้ หนอื ศรี ษะ ปลายเท้า และบรเิ วณเขา่ นอกจากนนั้ ยังใส่สงิ่ ของเคร่ืองใช้ และเคร่อื งประดับในหลมุ ฝงั ศพดว้ ย 4. ยุคโลหะ นักโบราณคดีขุดพบโครงกระดูกมนุษย์และเครื่องมือที่ทาด้วยสาริดที่บ้านนาดี ตาบลโนนนกทา อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน่ มอี ายุประมาณ 4,475 – 4,075 ปมี าแลว้ เกา่ กว่ายุคสาริดที่พบที่ดองซอน ประเทศเวียดนาม แหลง่ ท่พี บเครือ่ งมอื สาริดอกี แหง่ หนงึ่ คอื ที่ตาบลบา้ นเชยี ง อาเภอหนองหาน จังหวดั อดุ รธานี นกั โบราณคดี พบทั้ง เครอ่ื งมือสาริด เคร่ืองมือเหล็ก เคร่ืองประดับสาริด เครื่องป้ันดินเผารูปทรงแปลกตา และมีลายเขียนด้วยสีแดงเป็นลาย ตา่ งๆ เครือ่ งประดับทาด้วยแก้วสเี ขียว นักโบราณคดีสันนิษฐานว่า วัฒนธรรมบ้านเชียงมีอายุประมาณ 5,000 - 7,000 ปี มาแลว้

ใบงานที่ สมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทย คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. หลกั ฐานใดทแ่ี สดงว่า ดินแดนประเทศไทยในปจั จุบันมีมนุษยอ์ าศยั อยูม่ านาน 2. นักโบราณคดีใช้หลักเกณฑใ์ ดในการแบ่งยคุ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ในดินแดนไทย 3. การดารงชีวติ ของมนษุ ยส์ มัยกอ่ นประวตั ิศาสตรใ์ นดนิ แดนไทยมลี กั ษณะอยา่ งไร 4. ปจั จยั ใดที่ทาใหเ้ กิดชมุ ชนในสวุ รรณภูมิ 5. เพราะเหตุใด เราจึงตอ้ งศกึ ษาพัฒนาการของชุมชนโบราณกอ่ นประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนไทย

ใบงานท่ี ในดนิ แดนประเทศไทย คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ปัจจยั ใดบา้ งทม่ี ีอิทธิพลต่อการสร้างสรรคภ์ ูมปิ ญั ญาของมนุษย์ก่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดินแดนประเทศไทย 1) ความต้องการความมน่ั คงในการด่ารงชวี ิตประจา่ วัน 2) สภาพภูมิศาสตร์และสิ่งแวดลอ้ ม 3) คตคิ วามเชือ่ 2. ภมู ปิ ญั ญาของมนษุ ยก์ อ่ นประวตั ศิ าสตร์ในดนิ แดนประเทศไทยมักเกย่ี วขอ้ งกบั เรื่องใด ภูมิปญั ญาเพอื่ ความมั่นคงในการด่ารงชีวิตประจา่ วัน เชน่ การทา่ เกษตรเพ่ือการบริโภค เปน็ ตน้ 3. ภมู ปิ ัญญาของมนุษยก์ ่อนประวตั ศิ าสตรใ์ นดนิ แดนประเทศไทย สามารถเรยี งลาดับไดอ้ ย่างไร เครอ่ื งมอื หนิ  การสร้างท่พี ักพงิ  การปลกู ข้าว  เคร่อื งมอื เคร่ืองใชส้ า่ รดิ  เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้เหลก็ 4. ตัวอยา่ งพัฒนาการภูมิปญั ญาของมนุษย์กอ่ นประวัติศาสตร์ในดนิ แดนประเทศไทยในด้านต่างๆ ได้แกอ่ ะไรบ้าง 1) พัฒนาการด้านเกษตรกรรม เช่น การทา่ ไร่เล่ือนลอย การท่าเคร่อื งมอื เกษตร เครื่องทุน่ แรง การทดนา่้ 2) พัฒนาการด้านโลหกรรม เช่น การท่าเครอื่ งมือเครอื่ งใชด้ ว้ ยเหล็ก และสา่ รดิ 3) พฒั นาการด้านหัตถกรรม เชน่ การทอผ้าจากเส้นใยพืช ป่าน กัญชา เสน้ ใยจากสตั ว์ ไหม การยอ้ มสดี ว้ ยเปลือกไม้ 4) พัฒนาการด้านการสรา้ งที่อย่อู าศัย เชน่ อาศัยถา่้ หรือเพงิ ผาป้องกันอันตรายจากธรรมชาติ 5) พัฒนาการด้านการรักษาโรค เชน่ การเจาะกะโหลกมนุษยเ์ พือ่ รกั ษาโรคหรอื ปลดปลอ่ ยผรี ้าย 5. ตวั อย่างภูมปิ ัญญาของมนษุ ยก์ ่อนประวตั ิศาสตร์ในดินแดนประเทศไทยทยี่ งั คงมอี ยใู่ นปจั จบุ ัน ไดแ้ กส่ ิ่งใดบา้ ง 1) พฒั นาการด้านเกษตรกรรม เชน่ การทา่ เคร่ืองมือเกษตร การสรา้ งอ่างเกบ็ น้่า 2) พัฒนาการด้านโลหกรรม เช่น การท่าเครอ่ื งมือจากเหล็กที่ไม่เปน็ สนมิ 3) พฒั นาการด้านหตั ถกรรม เชน่ การยอ้ มสีจากสง่ิ ทไี่ ด้จากธรรมชาติ การท่าเครอื่ งป้ันดนิ เผา 4) พฒั นาการด้านการสรา้ งท่อี ยอู่ าศัย เชน่ การสร้างบา้ นใต้ถนุ สูงป้องกนั น่า้ ท่วม 5) พัฒนาการด้านการรกั ษาโรค เชน่ การใช้สมนุ ไพร การแพทย์แผนไทย

ใบงานที่ พัฒนาการจากชมุ ชนมาสูร่ ัฐโบราณ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ปจั จยั ใดท่ที าให้ชมุ ชนสามารถพฒั นามาเป็นบ้านเมืองได้ 2. ปจั จัยใดทที่ าใหบ้ ้านเมืองสามารถพฒั นาเปน็ แคว้นหรือรัฐได้ 3. สภาพสงั คมของแคว้นประกอบดว้ ยชนชัน้ ใดบา้ ง 4. ปจั จัยใดบา้ งทสี่ ง่ ผลให้การพัฒนาจากแควน้ หรอื รฐั ขนึ้ เปน็ อาณาจักรในแต่ละแหง่ มีความแตกต่างกนั 5. รัฐโบราณมีความสาคัญตอ่ รัฐไทยในเวลาต่อมาอยา่ งไรบา้ ง

ใบงาน พัฒนาการของอาณาจกั รโบราณในดนิ แดนไทย คาช้ีแจง ให้นักเรยี นสรปุ ความเจริญของอาณาจกั รโบราณในดินแดนไทย ตามประเด็นทกี่ าหนด 1.อาณาจักรทวารวดี 1) หลกั ฐานทีป่ รากฏเร่ืองราวของอาณาจกั ร เชน่ บนั ทึกการเดินทางของหลวงจีนอ้จี งิ บันทึกของหลวงจนี ฉวนฉงั จารึก หลักท่ี 30 เป็นต้น 2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนษิ ฐานว่าเปน็ ชาวมอญ ตั้งอาณาจกั รอยบู่ รเิ วณท่รี าบล่มุ แมน่ า่้ เจ้าพระยา ปกครองโดยกษตั ริย์ มเี จา้ นายปกครองดว้ ย แต่มคี วามสมั พันธใ์ นลักษณะเครือญาติ มีการแบ่งชนชัน้ นบั ถอื ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และพระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาท 3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจกั ร เชน่ พระพุทธรปู ศิลาขาว วดั พระปฐมเจดีย์ จงั หวดั นครปฐม ธรรมจักรและ กวางหมอบ จารกึ มอญ เปน็ ต้น 2.อาณาจักรละโว้ 1) หลกั ฐานที่ปรากฏเรื่องราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ นี เรยี กละโว้ว่า “หลอห”ู่ จารกึ หลกั ท่ี 18 ทศ่ี าลพระกาฬชินกาลมาลปี กรณ์ 2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนษิ ฐานวา่ เป็นชาวมอญ ตัง้ อาณาจกั รอยู่บรเิ วณแมน่ ้า่ 3 สาย คอื เจ้าพระยา ปา่ สกั และลพบรุ ี ปกครองโดยกษัตรยิ ์ มกี ารนับถือพระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท นกิ ายมหายาน ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู และความเชอ่ื พ้นื เมอื ง เช่น การบชู าบรรพบรุ ุษ มกี ารแบ่งชนช้ัน เศรษฐกิจขน้ึ กับการเกษตร มีการ ติดต่อคา้ ขายกับจีนและอนิ เดีย 3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจกั ร เชน่ พระปรางคส์ ามยอด ปรางคแ์ ขก จังหวดั ลพบุรี เป็นตน้ 3.อาณาจักรโยนกเชียงแสน 1) หลักฐานทปี่ รากฏเรอื่ งราวของอาณาจกั ร เชน่ ตา่ นานสิงหนวตั ิกุมารและต่านานลวจังกราช 2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจกั ร เจา้ ชายจากมณฑลยูนานไดอ้ พยพผคู้ นมาตังเมอื งทเ่ี ชยี งแสน ขอมเข้ายึดครอง จงึ มีการอพยพสรา้ งเมอื งใหมห่ ลายครง้ั ตอ่ มาอพยพจากเชียงแสนมายงั เวยี งไชยปราการ และอพยพมายงั ก่าแพงเพชร จนในทส่ี ดุ ตกเปน็ สว่ นหนง่ึ ของอาณาจักรล้านนา 3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เช่น เจดียว์ ดั ป่าสกั จังหวัดเชียงราย เปน็ ตน้ 4.อาณาจกั รหรภิ ุญชัย 1) หลักฐานทป่ี รากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เชน่ ต่านานจามเทววี งศ์ หรือต่านานเมืองหริภุญชยั 2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร สันนษิ ฐานวา่ เป็นชาวมอญท่ีอพยพมาจากละโว้ จนเมื่อพระเจ้าอาทติ ยราชได้ เขา้ มาปกครอง ไดท้ รงสร้างความเจริญรุ่งเรอื ง โดยเฉพาะการท่านบุ ่ารงุ พระพุทธศาสนา ต่อมาภายหลงั ได้ตกเปน็ สว่ นหนึ่งของ อาณาจกั รลา้ นนา 3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เช่น พระธาตุหรภิ ญุ ชัย จังหวัดล่าพนู เป็นต้น 5.อาณาจกั รลา้ นนา 1) หลักฐานที่ปรากฏเร่ืองราวของอาณาจกั ร เชน่ ตา่ นานพื้นเมืองเชยี งใหม่ พงศาวดารโยนก ตา่ นานมูลศาสนา

2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร ผ้กู ่อต้ังอาณาจกั รลา้ นนา คือ พระยามังรายมหาราช ปกครองแบบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย์ ใชก้ ฎหมายมงั รายศาสตร์ นบั ถอื พระพุทธศาสนาลทั ธิลังกาวงศ์ มีตัวอกั ษร เปน็ ของตนเอง เปน็ ไมตรีกับสโุ ขทยั ภายหลงั ออ่ นแอ ทา่ ใหอ้ ยธุ ยาและพมา่ ผลดั กนั เขา้ ไปปกครองในฐานะ เมอื งประเทศราชจนถึงสมยั รัชกาลท่ี 5 จึงตกเป็นส่วนหนง่ึ ของไทย 3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจกั ร เชน่ กฎหมายมงั รายศาสตร์ สถาปตั ยกรรมเวียงกุมกาม วัดเจดีย์หลวง อกั ษรธรรมลา้ นนา เป็นตน้ 6.อาณาจกั รลงั กาสุกะ 1) หลักฐานทีป่ รากฏเรอื่ งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตุหลวงจีนอี้จิง 2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร มกี ษตั ริย์ปกครอง เป็นเมืองท่าคา้ ขายกับจีน-อินเดยี นับถอื ศาสนา พราหมณ์-ฮินดู และพระพทุ ธศาสนานิกายมหายาน ตอ่ มาภายหลงั อยูใ่ ต้อิทธพิ ลอาณาจักรศรีวิชยั 3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจกั ร เชน่ เมืองโบราณยะรัง จงั หวดั ปตั ตานี เปน็ ต้น 7.อาณาจกั รตามพรลงิ ค์ 1) หลักฐานที่ปรากฏเรื่องราวของอาณาจกั ร เชน่ เอกสารอินเดียเรยี ก “ตมลิง” เอกสารจีนเรยี ก “ถ่ามเหล่ง/ต่านหม่าลงิ่ ” 2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจกั ร มกี ษตั รยิ ์ปกครอง เปน็ เมอื งท่าคา้ ขายกบั พอ่ คา้ อินเดีย-จนี มีความใกล้ชิดกบั พระราชวงศ์พระร่วงแห่งสุโขทัย นบั ถอื ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู พระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน พระพุทธศาสนา นกิ ายเถรวาท ลัทธลิ ังกาวงศ์ 3) มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เช่น เจดีย์พระบรมธาตุในวัดพระมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดนครศรธี รรมราช เป็ 8.อาณาจกั รศรีวชิ ยั 1) หลกั ฐานที่ปรากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เชน่ บันทกึ ของหลวงจีนอจ้ี งิ หนงั สือจฟู านฉีของเกาจกู ัว นายดา่ นศลุ กากรของจีน บนั ทึกสุไลมาน พอ่ คา้ ชาวอาหรบั จารกึ หลักท่ี 23 จารึกหลักที่ 25 ทีไ่ ชยา เป็นต้น 2) พฒั นาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร เป็นศูนย์กลางการค้าทางทะเลระหว่างจีน-อนิ เดีย นับถือศาสนา พราหมณ์-ฮนิ ดู พระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาท และพระพทุ ธศาสนานิกายลังกาวงศ์ 3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เชน่ เจดยี พ์ ระบรมธาตไุ ชยา พระพุทธรปู างนาคปรกสา่ ริดท่ีวดั หวั เวยี ง อ่าเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฏร์ธานี เป็นตน้ 9.อาณาจกั รโคตรบรู ณ์ 1) หลักฐานท่ปี รากฏเร่อื งราวของอาณาจกั ร เชน่ ตา่ นานอุรังคธาตุ พงศาวดารเหนอื เอกสารจีน 2) พัฒนาการความเจริญของอาณาจกั ร มีกษัตรยิ ์ปกครอง ไดร้ บั อทิ ธพิ ลของอินเดีย มีการนับถือพระพุทธศาสนา นกิ ายเถรวาท มีความเช่อื พน้ื เมอื งเรอ่ื งการนับถอื สง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิ และการบูชาพญานาค ภายหลงั ต่อมาตกเป็นเมืองข้นึ ของอาณาจกั รล้านช้าง 3) มรดกทางวัฒนธรรมของอาณาจักร เชน่ พระธาตพุ นม จังหวดั นครพนม เปน็ ต้น 10.อาณาจักรอิศานปรุ ะ 1) หลกั ฐานทปี่ รากฏเรอ่ื งราวของอาณาจกั ร เชน่ จดหมายเหตจุ นี บันทึกของราชทตู จนี โจว ตา้ กวน 2) พัฒนาการความเจรญิ ของอาณาจกั ร เป็นอาณาจกั รขอมตงั้ อยรู่ ะหวา่ งอาณาจกั รทวารวดีและอาณาจกั รจามปา ได้แก่ บริเวณทเ่ี ปน็ ประเทศกัมพชู าในปจั จบุ ัน ปกครองในระบอบสมบูรณาญสิทธิราชย์ มีขนุ นาง ใช้ระบบจตุ สดม 3)มรดกทางวฒั นธรรมของอาณาจักร เชน่ ปราสาทหินขนาดใหญ่ เช่น ปราสาทหนิ พิมาย ปราสาทหินพนมรงุ้ ปราสาทเมืองต่า ปราสาทศีขรภูมิ เปน็ ตน้

ใบงานที่ ภูมปิ ญั ญาของอาณาจักรโบราณกอ่ นสมยั สุโขทยั คาชี้แจง ให้นักเรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. ปัจจัยใดทเ่ี ป็นตวั กาหนดใหม้ นุษยส์ รา้ งสรรค์ภมู ิปัญญาตา่ งๆ ปจั จัยทางภมู ศิ าตร์และสิ่งแวดลอ้ ม 2. ลักษณะทางวฒั นธรรมใดทค่ี นในอาณาจักรโบราณมเี หมอื นกนั วฒั นธรรมการกนิ ขา้ ว 3. ปจั จยั ภายนอกปจั จยั ใดมผี ลตอ่ ภูมิปัญญาของคนในอาณาจกั รโบราณ 4. ภมู ิปญั ญาของคนในอาณาจกั รโบราณมคี วามเกย่ี วขอ้ งกับเร่อื งใดบา้ ง 1) การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม เช่น การพฒั นาพนั ธข์ุ า้ ว การใช้ววั ไถนาแทนคน เปน็ ตน้ 2) การเลอื กทา่ เลที่ตัง้ บา้ นเมอื งให้เหมาะสมกับการประกอบอาชีพ การปกครอง การคา้ ขาย และการติดต่อกบั อาณาจกั รอ่นื ๆ เปน็ ตน้ 3) การประดิษฐต์ ัวอักษรข้ึนใช้ เช่น ดดั แปลงภาษาบาลี-สันสกฤตทรี่ ับมาจากอินเดยี ผสมกบั ภาษาพ้นื เมือง กลายเปน็ ภาษามอญ เป็นตน้ 4) แสดงความศรทั ธาในศาสนา เชน่ การสรา้ งงานสถาปตั ยกรรม วัด ปราสาทหนิ และงานประตมิ ากรรม พระพุทธรูป พระโพธสิ ตั ว์ เป็นตน้ 5. ภูมปิ ัญญาดา้ นใดของคนในอาณาจกั รโบราณทน่ี กั เรียนช่ืนชอบหรือสนใจ อธบิ ายเหตผุ ล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook